You are on page 1of 143

บทที่ 16

ตัวอย่างการออกแบบระบบไฟฟ้ าของ
โรงงานอุตสาหกรรม

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 1


16.1 บทนำ
- แสดงการออกแบบระบบไฟฟ้ าของ
โรงงานอุตสาหกรรม

กระบวนการออกแบบระบบไฟฟ้ า
- พัฒนาตามความต้องการของขบวนการผลิต
- ทางด้านสถาปัตยกรรม
- ทางด้านเครื่องกล

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 2


กระบวนการออกแบบระบบไฟฟ้ า (ต่อ)

- จากข้อมูลเหล่านี้ เราสามารถหาตำแหน่ งของ


- Panelboard
- Distribution System
- บริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ าต่างๆ
- และสามารถนำข้อมูลที่ได้ไปทำ
- Single Line Diagram
- Riser Diagram

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 3


16.2 ข้อกำหนดในการออกแบบระบบไฟฟ้ า
- โครงการนี้ เกี่ยวกับการออกแบบโรงงานแห่งใหม่
ของ บริษทั Siam Plastic Company ( S.P.C. )

- บริษทั S.P.C. นี้ ได้ว่าจ้าง


บริษทั Siam Architect ( S.A. )
มาเพื่อออกแบบ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 4


16.2 ข้อกำหนดในการออกแบบระบบไฟฟ้ า ( ต่อ )
- สถาปนิกของบริษทั S.A. ได้ปรึกษากับเจ้าหน้ าที่
บริษทั S.P.C. ทำให้ทราบว่าต้อง
ใช้พืน้ ที่ประมาณ 3,000 m2

- บริษทั S.A. ได้ติดต่อให้บริษทั PPT มาออกแบบ


ระบบเครื่องกล
ระบบสุขาภิบาล
ระบบไฟฟ้ า
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 5
16.2.1 แบบทางสถาปัตยกรรม

- การออกแบบเบือ้ งต้นของสถาปนิก ได้แสดงในแบบ


A-1
A-2
A-3

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 6


แบบทางสถาปัตยกรรม

- แบบ A-1

พืน้ ที่ส ำนักงานและพืน้ ที่การผลิต พืน้ ที่ทงั ้ หมด


ประมาณ 3,000 m2 และพืน้ ที่ทางด้านหลังสำหรับ
การนำวัตถุดิบ , การขนส่งผลิตภัณฑ์และที่จอด
รถบรรทุกด้วย

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 7


แบบทางสถาปัตยกรรม ( ต่อ )

แบบ A-2
แสดงพืน้ ที่ส ำนักงานซึ่งมีพืน้ ที่ประมาณ 400 m2
โดยแบ่งเป็ น 2 ส่วน
แบบ A-3
แสดงพืน้ ที่การผลิตซึ่งประกอบด้วย
พืน้ ที่เก็บวัตถุดิบ , การผลิต , การเก็บอะไหล่ ,
การประกอบชิ้นส่วนต่างๆ , โกดังและพืน้ ที่การขนส่ง
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 8
16.2.2 อุปกรณ์ใช้ไฟฟ้ าที่ก ำหนดโดยเจ้าของ

แสดงในแบบงาน T-1 และ T-2


- แบบงาน T-1
แสดงข้อมูลของการใช้ไฟฟ้ ารวม
ที่ตำแหน่ งของอุปกรณ์ในพืน้ ที่ส ำนักงาน
- แบบงาน T-2
แสดงข้อมูลของการใช้ไฟฟ้ ารวม
ทัง้ ตำแหน่ งของอุปกรณ์ในพืน้ ที่การผลิต
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 9
16.2.3 อุปกรณ์ไฟฟ้ าจากระบบเครื่องกล
และระบบสุขาภิบาล

แบบงาน M-1
แสดงระบบภายในสำนักงาน

แบบงาน M-2
แสดงระบบของพืน้ ที่การผลิต

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 10


OFFICE BUILDING
TRUCK LOADING AREA MUNUFACTURING BUILDING

ENTRANCE WALKWAY

MAIN ROAD
TRUCK PARKING AREA

SIAM PLASTIC COMPANY


ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
MECHINICAL -
ENGINEER
SANITARRY -
SITE PLAN ENGINEER
TITLE
SITE PLAN
SHEET A1 of 3

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 11


G F E D C B A

CEILING GRID PLAN


G F E D C B A

7
SIAM PLASTIC COMPANY
ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
MECHINICAL -
8 ENGINEER
SANITARRY
ENGINEER
-
TITLE
OFFICE AREA PLAN OFFICE PLAN AND
REFLECTED CEILING PLAN
SHEET A2 of 3

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 12


1 9.50
2 9.50
3 9.50
4 9.50
5 9.50
6 9.50
7

A
EE.ROOM
7.30

B
SHIPPING WAREHOUSE ASSEMBLY
7.30

C
7.30

D
7.30

E
TRUCK PARKING AREA MANUFACTURING PARTS STORAGE
7.30

F SIAM PLASTIC COMPANY


ARCHITECT SAIM ARCHITECT
7.30

ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
MECHINICAL -
G ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
MANUFACTURING AREA MANUFACTURING AREA
SHEET A3 of 3

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 13


G F E D C B A

2 COPIERS UPS SYSTEM


7

WOMENS
ORDER DEPARTMENT

MENS
ACCOUNTING XEROX ROOM

RECEPTION/LOBBY
CORRIDOR # 1 CORRIDOR # 2

EXEC.OFFICE EXEC.OFFICE CONFERENCE OFFICE OFFICE OFFICE OFFICE


8
OWNER FURNISHED EQUIPMENT OWNER FURNISHED EQUIPMENT
MANUFACTURING OFFICE AREA
CONVEYOR SYSTEM OFFICE COPIERS TWO(2) MACHINES EACH 6.82 A 230 V.
CONVEYOR SYSTEM UPS BATTERRY SYSTEM 3600VA 230 V.
CONVEYOR SYSTEM
BATTERRY CHARGERS SIX (6) CHARGERS , EACH 1200VA , 230V.
FOUR(4) MOLDING MACHINES,EACH,33kW 400V. 3PHASE
MOLDING EQUIPMENT SIAM PLASTIC COMPANY
FOUR(4) PLASTIC EXTRUDERS EACH,1.5kW 400V. 3PHASE ARCHITECT SAIM ARCHITECT
TWO(2) ADDITION MOLDING MAUAINES ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
FUTURE MOLDING EQUIPMENT MECHINICAL -
TWO(2) ADDITION EXTRUDERS ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
OFFICE AREA OFFICE AREA
SHEET T1 of 2

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 14


1 9.50
2 9.50
3 9.50
4 9.50
5 9.50
6 9.50
7

A
EE.ROOM
STORAGE RACKS
7.30

( TYPICAL )
WORK RECEPTACLE ( TYPICAL )
B
SHIPPING ASSEMBLY
( PRODUCT INSPECTION. WAREHOUSE
7.30

CONVEYOR MOTOR
PACKAGING & SHIPPING ) ( TYPICAL )

C
SIX BATTERY CHARGERS
7.30

ALONG THIS WALL

D
EXTRUDER
7.30

MOLDING MACHINE
( TYPICAL )
E
RAW MATERIAL STORAGE
7.30

PARTS STORAGE
( STORAGE OF BULK MATERIAL MAXIMUM STACK )

F MANUFACTURING
FUTURE MOLDING
MACHINES
PARTS STORAGE SIAM PLASTIC COMPANY
AND EXTRUDERS ARCHITECT SAIM ARCHITECT
7.30

ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
G MECHINICAL
ENGINEER
SANITARRY
-
-
ENGINEER
TITLE
MANUFACTURING AREA
MANUFACTURING AREA OWNER FURNISHED EQUIPMENT OWNER FURNISHED EQUIPMENT
SHEET T2 of 2

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 15


G F E D C B A

2 COPIERS UPS SYSTEM WH-1


7

WOMENS
ORDER DEPARTMENT

MENS
ACCOUNTING XEROX ROOM

RECEPTION/LOBBY
A/C 2 A/C 1
CORRIDOR # 1 CORRIDOR # 2

EXEC.OFFICE EXEC.OFFICE CONFERENCE OFFICE OFFICE OFFICE OFFICE


8

OFFICE LAYOUT

MECHANICAL EQUIPMENT SCHEDULE OFFICE AREA OWNER FURNISHED EQUIPMENT MANUFACTURING AREA

A/C 1 15T ( 20kVA ) FUTURE A/C 15 kW 400V 3PHASE 10 UNIT


EXHAUST FAN ( EF ) 7.5kW 400V 3PHASE 3 UNIT
SIAM PLASTIC COMPANY
WATER HEATER WH-2 36kW 400V 3PHASE
ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
A/C 2 15T ( 20kVA ) MECHINICAL -
ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
OFFICE PLAN
MECHANICAL COORDINATION
SHEET M1 of 2

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 16


1 2 3 4 5 6 7
WATER HEATER
WH-2
A
EE.ROOM

B
SHIPPING WAREHOUSE ASSEMBLY

D
NOTE : SEE SHEET M-1 FOR SPECIFITIONS
ON MECHANICAL AND PLUMBING EQUIPMENT
E
RAW MATERIAL STORAGE MANUFACTURING PARTS STORAGE
F SIAM PLASTIC COMPANY
ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT.
EF-1 EF-1 EF-1 ENGINEER
MECHINICAL -
G ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
MANUFACTURING AREA
MANUFACTURING AREA MECHANICAL COORDINATION MECHANICAL COORDINATION
SHEET M2 of 2

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 17


16.3 การประมาณโหลด ( Load Estimating )
- จากข้อมูลแบบทางสถาปัตยกรรม
ความต้องการของเจ้าของโครงการ
สามารถทำการประมาณโหลดรวมของ
ทัง้ โรงงาน

- โหลดโดยประมาณใช้หา
ระบบไฟฟ้ า
ขนาดหม้อแปลง
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 18
การประมาณโหลดของโรงงานนี้ เป็ น 3 ส่วนคือ

1. ส่วนของสำนักงาน

2. ส่วนของการผลิต

3. ส่วนบริเวณรอบโรงงาน
เช่น ลานจอดรถ ทางเดินเข้าสำนักงาน

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 19


การประมาณโหลดของโรงงานนี้ เป็ น 3 ส่วนคือ

- การประมาณโหลด สามารถหาได้โดยคิด
เป็ นความหนาแน่ นของการใช้โหลดต่อพืน้ ที่
มีหน่ วยเป็ น VA / m2

- ตามค่าเฉลี่ยจากมาตรฐานของ IEEE และ NEC

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 20


16.3.1 การประมาณโหลดของส่วนสำนักงาน

- Lighting 30 VA / m2

- Receptacle 10 “

รวมโหลดทัง้ หมด 40 “

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 21


การประมาณโหลดของส่วนสำนักงาน

พืน้ ที่ส ำนักงานได้ประมาณ 44 x 9 = 396 m2

- พืน้ ที่สำนักงานจะใช้โหลด 396 x 40 = 15840 VA =


15.84 kVA
- A/C, Water Heater , Xerox, UPS
( 20 x 2 ) + 9 + ( 1.5 x 2 ) + 3.6 = 55.6 kVA
- โหลดโดยรวมของสำนักงานคือ
= 16 + 56 = 72 kVA

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 22


16.3.2 การประมาณโหลดส่วนการผลิต

- Lighting + Receptacle 40 VA / m2

- พืน้ ที่ได้ประมาณ 2500 m2

- โหลดประมาณ 40 x 2500 = 100,000 VA


= 100 kVA
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 23
การประมาณโหลดส่วนการผลิต

- Future Air Condition 20 kVA 10 x 20 = 200 kVA

- Exhaust Fan 7.5 kW ( 10.3 kVA ) 3 x 10.3 = 30.9 “

- ต้องรวมกับโหลดเฉพาะที่ใช้ก ำลังไฟฟ้ ามาก


ที่ใช้กบั ส่วนการผลิต 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ Assembly Area
และ Manufacturing Area ดังนี้
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 24
Assembly Area

- Conveyor Motors

3 x 0.68 = 2.04 kVA

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 25


Manufacturing Area

- Extruder Motor 6 x 2.36 = 14.2 kVA


- Molding Machine 6 x 45 = 270 “
- Water Heater = 36 “

ผลรวมประมาณโหลดของส่วนการผลิต
= 100 + 200 + 30.9 + 2.04 + 14.2 + 270 + 36
= 653 kVA
Approx 653 kVA
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 26
16.3.3 การประมาณโหลดส่วนบริเวณรอบโรงงาน

โหลดแสงสว่างประมาณ 10 VA / m2

พืน้ ที่ 6000 m2 โหลด = 6000 x 10 / 1000


= 60 kVA

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 27


การประมาณโหลดของทัง้ 3 ส่วน

- ส่วนสำนักงาน ประมาณโหลดได้ 72 kVA


- ส่วนการผลิต ประมาณโหลดได้ 653 “
- ส่วนบริเวณรอบโรงงาน ประมาณโหลดได้ 60 “
รวมกัน 72 + 653 + 60 = 785 kVA
เลือกขนาดของหม้อแปลงของโรงงานนี้
คือ 1000 kVA
เพื่อเป็ นการเผือ่ โหลดในอนาคตอีก 25%

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 28


16.4 การวางแผนการออกแบบระบบไฟฟ้ า
การออกแบบระบบไฟฟ้ าอาจแบ่งเป็ น 2 ส่วนคือ

1 ) ส่วนของพืน้ ที่ส ำนักงาน ( Office )

2 ) ส่วนของพืน้ ที่การผลิต ( Manufacturing )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 29


16.4.1 ส่วนของพืน้ ที่ส ำนักงาน

1 ) การกำหนดตำแหน่ งของ
Panelboard และ Distribution Board
ระบบไฟฟ้ าของสำนักงาน แบ่งได้เป็ น 3 ส่วน คือ
- โหลดแสงสว่าง
- โหลดเต้ารับ
- โหลดเครื่องปรับอากาศ
LP1 และ AP1 ที่ Grid Line C,7
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 30
2. ระบบแสงสว่างของสำนักงาน

- ต้องทำตาม Lighting Design

- ระบบแสงสว่างในสำนักงานให้มี
ความสว่าง 500 lx

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 31


2. ระบบแสงสว่างของสำนักงาน
- ดวงโคมหลอด Fluorescent FL 2 x 36 W
แบบ Al-Louvre Type
เป็ นดวงโคมที่มีแผ่นตะแกรง ( Louvre ) ทำจาก
Al Anodized ให้แสงสว่างที่ดี และช่วยป้ องกัน
ความจ้า ( Glare ) จากการมองแสงสะท้อน
จากหลอดไฟโดยตรง

- การออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างจะต้อง
ไม่เกิน 16 W/m2 ตามพระราชบัญญัติอนุรกั ษ์พลังงาน
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 32
ระบบแสงสว่างฉุกเฉิน และไฟแสดงประตูทางออก
- Battery Power Emergency Light ติดตัง้ บริเวณ
ทางเดินในสำนักงาน
- Battery Power Exit Sign ติดตัง้ บริเวณเหนื อ
ประตูทางออก

เนื่ องจากบริเวณนอกอาคารมีทางเดินเข้าสำนักงาน
วิศวกร
ไฟฟ้ าจึงต้องออกแบบให้มีไฟส่องสว่าง
เด.ิ นประสิ
ตามแนวทาง ผศ นี้ ด้วทธิยโดยรั
์ พิทยพับ น์ าจาก แผง LP1 33
ฒไฟฟ้
3. เต้ารับของสำนักงาน

เต้ารับออกเป็ น 2 กลุ่มตามลักษณะของโหลด

- เต้ารับสำหรับโหลดทัวไป

( General Purpose Receptacles )

- เต้ารับสำหรับโหลดเฉพาะ
( Individual Load Receptacle )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 34


เต้ารับสำหรับโหลดทัวไป
่ ( General Purpose Receptacles )
- ใช้กบั โหลดที่มีขนาดเล็ก เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
ดวงโคมตัง้ โต๊ะ

- การออกแบบเต้ารับทัวไป ่ ควรจะมีมากที่สดุ
เท่าที่จะมากได้ เพื่อความสะดวกของผูใ้ ช้

- แสดงในแบบ D-2 และควรใช้ชนิดเต้ารับคู่แบบ


มีขวั ้ สายดิน การออกแบบเต้ารับควร
ใช้ 5 - 6 เต้ารับ/วงจรย่อย
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 35
เต้ารับสำหรับโหลดเฉพาะ ( Individual Load )

- ใช้กบั อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ต้องใช้ก ำลังไฟฟ้ ามากๆ


ต่ออยู่ประจำที่ เช่น UPS , เครื่องถ่ายเอกสาร

- วงจรย่อยหนึ่ งวงจรจะจ่ายเต้ารับของ
โหลดเฉพาะหนึ่ งเต้ารับ

- จากแบบ D-2 ที่ตำแหน่ ง Grid Line E-F,7


เป็ นสำหรับเครื่องถ่ายเอกสาร และ C,7 เป็ น UPS
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 36
G F E D C B A
7.20 7.20 7.20 8.00 7.20 7.20

LP1 AP1
7

C C 9.00

C 8

แบบแสดงดวงโคม SIAM PLASTIC COMPANY


ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
MECHINICAL -
ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
แบบแสดงดวงโคม
SHEET D-01 of 2

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 37


G F E D C B A
7.20 7.20 7.20 8.00 7.20 7.20

LP1 AP1
7

9.00

แบบแสดงเต้ ารั บ SIAM PLASTIC COMPANY


ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
MECHINICAL -
ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
แบบแสดงเต้ ารั บ
SHEET D-02 of 2

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 38


G F E D
7.20 7.20 7.20

LP1-13,15,17
LP1-27 LP1-25
AP1-2
7
LP1-15,17
A/C 2
LP1-17 LP1-14,16,18 9.00
LP1-16 LP1-18

8
รูปที่ 16.1 เต้ารับทัวไปและเต้
่ ารับเฉพาะ
- เต้ารับทัวไปจะใช้
่ 5-6 เต้ารับต่อวงจรย่อย

เช่น LP1-14 , 16 , 18 จะใช้ 6 เต้ารับต่อวงจรย่อย

- เต้ารับเฉพาะจะใช้ 1 เต้ารับต่อวงจรย่อย

เช่น LP1-25 และ LP1-27 เป็ นเต้ารับเฉพาะสำหรับเครื่องถ่ายเอกสาร


ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 39
4. การออกแบบวงจรย่อย และการโยงวงจร
การให้วงจรโหลดแสงสว่าง

่ 1 วงจรย่อยจะใช้ไม่เกิน 10 ชุด
- โดยทัวไป

- การออกแบบต้องมีการ Balance Load


ให้ เฟส A เฟส B เฟส C โดยมีล ำดับการเรียง
ตัวเลขใน Load Schedule ดังนี้ 1( A ) 3( B ) 5( C )
ตามด้วย 2( A ) 4( B ) 6( C ) ต่อกันไปเป็ นลำดับ
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 40
วงจรย่อย LP1-1 ประกอบด้วย FL 2 x 36 W 12 ชุด
วงจรย่อย LP1-3 ประกอบด้วย FL 2 x 36 W 12 “
วงจรย่อย LP1-5 ประกอบด้วย FL 2 x 36 W 12 “
วงจรย่อย LP1-2 ประกอบด้วย FL 2 x 36 W 6 “
วงจรย่อย LP1-4 ประกอบด้วย FL 2 x 36 W 6 “
วงจรย่อย LP1-6 ประกอบด้วย FL 2 x 36 W 6 “

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 41


- การโยงวงจรย่อยสำหรับระบบแสงสว่าง
ใช้ดวงโคมไม่เกิน 10 ชุดต่อหนึ่ งวงจรย่อย ( 16 A )
และควรใช้ดวงโคมไม่เกิน 13 ชุด ต่อหนึ่ งวงจรย่อย ( 20 A )

- การโยงวงจรย่อยสำหรับเต้ารับ
ควรใช้ 5-6 เต้ารับต่อหนึ่ งวงจรย่อย

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 42


C B A
7.20 7.20

LP1 AP1
LP1-5 7
LP1-2
S S S
LP1-11 9.00
S2 S2
S S S S S
LP1-4
LP1-8 LP1-9 8

รูปที่ 16.2 การโยงวงจรแสงสว่าง ควรใช้ดวงโคม


ไม่เกิน 13 ชุดต่อวงจรย่อย ( 20 A )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 43


C B A
7.20 7.20

LP1-29 AP1-3
LP1 AP1 WH-1 AP1-1 7
LP1-22
LP1-20,22,24 LP1-20 A/C 1
LP1-12 9.00

LP1-19,21,23
LP1-23 8
LP1-21,23
รูปที่ 16.3 การโยงวงจรย่อยสำหรับเต้ารับ
ควรใช้ 5-6 เต้ารับต่อหนึ่ งวงจรย่อย
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 44
5. การออกแบบระบบไฟฟ้ าให้กบั ระบบปรับอากาศ
และระบบทำน้ำร้อน

- Distribution Board AP1 ในการจ่ายไฟฟ้ าให้


ระบบปรับอากาศ
- กำหนดตำแหน่ งของ Distribution Board AP1 นี้
วางที่ตำแหน่ งใกล้ LP1 และใกล้ประตูทางเข้าออก
- มี Switch Disconnector อยู่ในกล่อง ( Enclosure )
ที่มีค่า IP 33 ขึน้ ไปซึ่งติดตัง้ ที่ผนังใกล้เครื่อง A/C
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 45
การออกแบบระบบไฟฟ้ าของส่วนการผลิต

แบ่งได้ 6 ส่วนตามแบบ A3 คือ

1. Assemble Area เป็ นพืน้ ที่ประกอบชิ้นส่วน มีสายพาน


ลำเลียงชิ้นส่วนไปประกอบทีละขัน้ ตอน
2. Parts Storage Area เป็ นส่วนเก็บอะไหล่ ชิ้นส่วนต่างๆ
3. Manufacturing Area เป็ นพืน้ ที่การผลิตหลัก มีเครื่องจักร
ขนาดใหญ่ทำงานหล่อ และขึน้ รูปพลาสติก
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 46
การออกแบบระบบไฟฟ้ าของส่วนการผลิต

แบ่งได้ 6 ส่วนตามแบบ A3 คือ

4. Shipping เป็ นพืน้ ที่ส ำหรับขนถ่ายสินค้า หรือวัตถุดิบ

5. Warehouse เป็ นโกดังเก็บสินค้าผลิตภัณฑ์

6. Raw Material Storage เป็ นพืน้ ที่เก็บวัตถุดิบ


ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 47
1 ) การออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างของส่วนการผลิต

โรงงานมีเพดานสูง

- ใช้หลอด Fluorescent ไม่ได้

- ใช้หลอด High Intensity Discharge ( HID )


แบบ Metal Halide

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 48


การผลิตได้ออกแบบไว้เป็ นส่วนย่อยๆ 6 ส่วน

- ระบบแสงสว่างของพืน้ ที่ Assembly


- ระบบแสงสว่างของพืน้ ที่ Parts Storage
- ระบบแสงสว่างของพืน้ ที่ Manufacturing
- ระบบแสงสว่างของพืน้ ที่ Shipping
- ระบบแสงสว่างของพืน้ ที่ Warehouse
- ระบบแสงสว่างของพืน้ ที่ Raw Material Storage

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 49


ไฟฟ้ าส่องสว่างบริเวณนอกโรงงาน

- บริเวณถนน
- ที่จอดรถพนักงาน
- ออกแบบให้ใช้หลอดโซเดียมความดันไอสูง
( High Pressure Sodium Lamps , HPS )
- จากแบบ E4 เป็ นบริเวณรอบนอกโรงงาน

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 50


2 ) การออกแบบระบบไฟฟ้ าสำหรับอุปกรณ์ทวไป ั่
และเต้ารับ
โหลดซึ่งเป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ าทัวไปในโรงงาน
่ ได้แก่
- Battery Charger Receptacle 1200 VA 230 V 6 วงจร
- Manufacturing Receptacle 1800 VA 230 V 1 “
- Storage Receptacle 720 VA 230 V 1 “
- Elec Room Receptacle 360 VA 230 V1 “
- Tel Receptacle 180 VA 230 V1 “
- Shipping Area Receptacle 540 VA 230 V1 “
- Elec Room Light 400 VA 230 V1 “
- Spare 1500 VA 230 V3 “
แผงจ่ายไฟฟ้ า LP4 ขนาด 24 วงจร อยู่ในห้อง MDB
ที่ Grid Line A-B , 1-2
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 51
3 ) การออกแบบระบบไฟฟ้ าให้กบั ระบบ
ของส่วน Assembly
การประกอบชิ้นส่วนบริเวณนี้ มีอปุ กรณ์ไฟฟ้ า ดังนี้
- Conveyor Motor 0.75 kW ( 1.32 kVA ) 400 V 4 ตัว
- Individual Receptacle 1500 VA 230 V 12 เต้ารับ
- Spare 1000 VA 230 V 3 วงจร

จาก LP3 ที่ตำแหน่ ง B-C,7

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 52


4 ) การออกแบบระบบไฟฟ้ าส่วนการผลิต
พืน้ การผลิตหลัก ( Actual Manufacturing Area )
จากแบบ E8 ซึ่งมีโหลดที่ใช้ก ำลังไฟฟ้ ามาก คือ
- Plastic Molding Machine 37 kW ( 47.8 kVA ) 400 V 4 ชุด
- Extruder 1.5 kW ( 2.36 kVA ) 400 V 4 ชุด
- Future Plastic Molding Machine
37 kW ( 47.8 kVA ) 400 V 2 ชุด
- Future Extruder 1.5 kW ( 2.36 kVA ) 400 V 2 ชุด
กำหนดตำแหน่ ง Distribution Board PP1 และ PP2
ที่ Grid Line E,4
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 53
5) การออกแบบระบบไฟฟ้ าเพื่อจ่ายให้
ระบบปรับ อากาศและระบบระบายอากาศ

วิศวกรเครื่องกลได้ออกแบบระบบเครื่องปรับอากาศ
ในส่วนของการผลิตไว้ในอนาคต จากแบบ M2

- Future Air Condition A/C 20 kVA 400 V 10 ชุด


- Exhaust Fan EF 7.5 kW ( 10.2 kVA ) 400 V 3 “

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 54


5) การออกแบบระบบไฟฟ้ าเพื่อจ่ายให้ระบบปรับ อากาศ
และระบบระบายอากาศ ( ต่อ )

- A/C ได้รบั การจ่ายไฟฟ้ าจาก


Distribution Board AP2 และ AP3
ที่ Grid Line D,1 และ D,7 ตามลำดับ
- Exhaust Fan จะได้รบั การจ่ายไฟฟ้ าจาก
Distribution Board EP
ที่ Grid Line G,2
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 55
6 ) การออกแบบระบบไฟฟ้ าเพื่อจ่ายให้ระบบสุขาภิบาล
และเครื่องทำน้ำร้อน
วิศวกรสุขาภิบาลได้ออกแบบระบบสุขาภิบาล
และต้องการเครื่องทำน้ำร้อนในระบบ
- Water Heater WH-236 kW , 400 V 1 ชุด

วิศวกรไฟฟ้ าจึงกำหนดให้
MDB จ่ายไฟฟ้ าให้กบั WH-2

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 56


16.5 ขนาดของระบบไฟฟ้ าโรงงาน
จาก Load Schedule และ Feeder Schedule
ซึ่งได้จาก แบบวงจรไฟฟ้ าสรุปได้ดงั นี้

- โหลดสำนักงาน จ่ายไฟฟ้ าโดยแผง LP1 และ AP1

LP1 จ่ายโหลดรวม 44.3 kVA


AP1 จ่ายโหลดรวม 64.0 “
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 57
โหลดส่วนการผลิต จ่ายไฟฟ้ าโดยแผง
LP2 , LP3 , LP4 , AP2 , AP3 , PP1 , PP2 และ EP
LP2 จ่ายโหลดรวม 69.9 kVA
LP3 จ่ายโหลดรวม 36.8 “
LP4 จ่ายโหลดรวม 15.7 “
AP2 จ่ายโหลดรวม 120 “
AP3 จ่ายโหลดรวม 120 “
PP1 จ่ายโหลดรวม 151 “
PP2 จ่ายโหลดรวม 151 “
EP จ่ายโหลดรวม 40.8 “

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 58


โหลด WH-2 36 kVA
ซึ่งเป็ นโหลดที่รบั ไฟฟ้ าจาก Main Feeder โดยตรง

และ Spare 2 แผงๆ ละ 60 kVA


เพื่อสำหรับในการเพิ่มโหลดในอนาคต

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 59


Total Connected Load = 970 kVA
Demand Factor = 1.00
Demand Load = 970.07 kVA

ใช้ขนาดหม้อแปลง 1000 kVA


ใกล้เคียงกันค่า Load Estimation

เขียน
– Single Line Diagram ได้ดงั แบบ E2

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 60


ปรับปรุงค่า P.F.
- ใช้ประมาณ 30% ของค่าพิกดั หม้อแปลง
ดังนัน้ Capacitors ของโรงงานนี้ จะประมาณ
0.30 x 1000 = 300 kVAR

- ระบบการควบคุมของ Capacitors
จะใช้เป็ นแบบอัตโนมัติ
โดยมี Capacitors Unit ละ 50 kVAR
จำนวน 6 Units
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 61
16.6 ตัวอย่างการคำนวณ
ตัวอย่างที่ 16.1 การคำนวณหากระแส
ในวงจรย่อยแสงสว่าง
เพื่อหา ขนาดสาย และ ขนาดของ CB

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 62


วิธีทำ
วงจรย่อยแสงสว่างหลอด Fluorescent
LP1-1 จ่ายไฟให้ดวงโคม FL 2 x 36 W. LPF จำนวน 12 ชุด

โดย FL 2 x 36 W LPF คิดโหลด = 2 x 100 = 200 VA

ดังนัน้ โหลดทัง้ หมดของวงจรย่อยนี้ คือ


12 x 200 = 2400 VA
จะได้
IL = 2400 /230 = 10.4 A
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 63
วงจรย่อยควรใช้ 60-80 % ของพิกดั

ในที่นี้ใช้ 60% ของพิกดั CB 20 AT จะได้กระแส 12 A


( ซึ่งมากกว่า IL = 10.4 A )
เนื่ องจาก CB ที่ใช้กนั อยู่โดยทัวไปมี
่ AT ( Ampere Trip )
เป็ นลำดับดังนี้ 16 , 20 , 25 , 32 , 40 , 50 AT
และ AF ( Ampere Frame ) มักใช้ 50 AF
จึงเลือกใช้ CB 20 AT/50 AF
เดินสาย IEC 01 ขนาด 2 x 2.5 mm2 ในท่อโลหะ
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 64
วงจรย่อยแสงสว่างของหลอด HID

LP2-1 จ่ายไฟให้ดวงโคม HID


แบบ Metal Halide 400 W ใช้ก ำลังไฟฟ้ า 500 VA
จำนวน 6 ดวงโคม ดังนัน้ โหลดทัง้ หมดของ
วงจรย่อยนี้ คือ 6 x 500 = 3000 VA

IL = 3000 / 230 = 13.0 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 65


วงจรย่อยแสงสว่างของหลอด HID

ใช้วงจรย่อย 70% จึงใช้ CB 30 AT


จะได้กระแสพิกดั จริง = 30 x 0.7 = 21 A
( ซึ่งมากกว่า IL = 13.0 A )
จึงเลือกใช้ CB 30 AT/50 AF
เดินสาย IEC 01 ขนาด 2 x 6 mm2 ในท่อโลหะ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 66


ตัวอย่างที่ 16.2 การคำนวณหากระแสในวงจรย่อยของ
โหลดเต้ารับ
เพื่อหา ขนาดสาย และ ขนาดของ CB

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 67


วิธีทำ
วงจรย่อยของโหลดเต้ารับทัวไป ่
จากแบบ E6 วงจรย่อยจ่ายไฟให้กบั เต้ารับ 6 ชุด
เต้ารับ 1 ชุด มีโหลด 180 VA

IL = 6180 = 4.7 A
230

จากข้อแนะนำการออกแบบ Receptacle จะใช้ประมาณ 50% ของ


วงจรย่อย
ดังนัน้ CB จึงเลือกใช้ 16 AT ซึ่ง 50% ของวงจรย่อย มีค่า 16 x
0.5 = 8 A
( ซึ่งมีค่ามากกว่า 4.7 A )
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 68
ใช้ สายไฟฟ้ า IEC 01 2 x 2.5 mm2 ( พิกดั กระแส 21A )

แต่โดยทัวไปจะเผื
่ อ่ ให้เต้ารับ
สามารถรับโหลดมากขึน้

จึงใช้ CB 20 A
และสาย 2 x 4 mm2 ( พิกดั กระแส 28A )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 69


เต้ารับโหลดเฉพาะ
ระบบ UPS ขนาด 3600 VA , 230 V
IL = 15.6 A
ดังนัน้ CB จึงเลือกใช้ 20 AT
ซึ่งโหลดเฉพาะ ใช้ 80% ของวงจรย่อย
มีค่า = 20 x 0.8 = 16 A
ใช้สายไฟฟ้ า IEC 01 , 2 x 4
mm2
( พิกดั กระแส 28 A )
สายดินตาม CB 20 A , G – 4 mm2
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 70
ตัวอย่างที่ 16.3 การคำนวณแรงดันตกในวงจรย่อย
วิธีทำ
วงจรย่อยแสงสว่าง LP2-5 จ่ายไฟให้กบั
ดวงโคม HID 400 W ( 500 VA ) จำนวน 6 ดวงโคม

จากแบบ E7 ระยะทางจากแผง LP2 ไปยัง


ดวงโคมอันแรกของวงจรย่อยนี้ ประมาณ 95.4 m

และ ระยะห่างระหว่างแต่ละดวงโคม ประมาณ 4.07 m

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 71


- ดวงโคมอันแรกของวงจรย่อยนี้ ประมาณ 95.4 m
- และ ระยะห่างระหว่างแต่ละดวงโคม ประมาณ 4.1 m
คำนวณกระแสในวงจรย่อย

6 500
= 230

= 6 x 2.17

= 13.0 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 72


ตัวอย่างที่ 16.3 ( ต่อ )
จากตาราง ค่าแรงดันตกสูงสุดในสายไฟฟ้ า
ตารางที่ 4 สายขนาด 10 mm2 เดินในท่อโลหะ
มีค่า 4.4 mV/A/m
ดังนัน้ แรงดันตก
= 95.41000 4.413  4.074.452.17  4.074.442.17
1000 1000

 4.074.432.17  4.074.422.17  4.074.42.17


1000 1000 1000
= 5.46 + 0.19 + 0.16 + 0.12 + 0.08 + 0.04
= 6.05 V
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 73
ตัวอย่างที่ 16.3 ( ต่อ )

แรงดันตกในวงจรย่อยไม่ควรเกิน 2 % ในที่นี้

6.05100
คิดเป็ นร้อยละ 230 = 2.63 %

ซึ่งเกิน 2 % จึงไม่สามารถใช้สายขนาด 10 mm2 ได้

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 74


ตัวอย่างที่ 16.3 ( ต่อ )
จากตารางค่าแรงดันตกสูงสุดใน
สายไฟฟ้ า IEC 01 ขนาด 16 mm2 เดินในท่อโลหะ
มีค่า 2.8 mV/A/m

2.63 2.8
ดังนัน้ แรงดันตก = 4.4 = 1.67 %

ซึ่งไม่เกิน 2% จึงสามารถ
ใช้สายขนาด 16 mm2 ได้
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 75
ตัวอย่างที่ 16.4 การหาค่าแรงดันตกในสายป้ อน
วิธีทำ
Panelboard LP1 ใช้ไฟจาก MDB ขนาด 44.3 kVA , 400 V
ใช้สายขนาด 4 x 35 mm2
In = 44.3 x 1.44 = 64 A

จาก MDB ถึง LP1 มีระยะทาง 72 m

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 76


ตัวอย่างที่ 16.4 การหาค่าแรงดันตกในสายป้ อน

จาก MDB ถึง LP1 มีระยะทาง 72 m จากตาราง


ระยะทางสูงสุดของสายไฟฟ้ าขนาด 35 mm2เดินในท่อโลหะ
VD ( T ) = 1.13 mV/A/m
ค่าแรงดันตก 2 % = 8 V
กระแส 64 A ที่ระยะ 72 m
1.136472
ค่าแรงดันตก = 1000 = 5.2 V
5.2100
คิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ของแรงดันตกเท่ากับ 400 = 1.3%
( ซึ่งน้ อยกว่า 2% ) จึงสามารถใช้สาย IEC 01 ขนาด 4 x 35 mm2 ได้
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 77
ตัวอย่างที่ 16.5 การทำ Load Schedule ของ Panelboard LP2
เพื่อหาขนาดของ CB , สายไฟฟ้ า
และท่อร้อยสาย
วิธีทำ
LP2-1
โหลดแสงสว่าง ใช้หลอดMetal Halide ขนาด 400 W ( HPF )
ใช้กำลังไฟฟ้ า 500 VA จำนวน 6 หลอดต่อวงจรย่อย
ในหนึ่ งวงจรย่อยใช้ก ำลังไฟฟ้ า 500 x 6 = 3000 VA

ใช้กระแสไฟฟ้ าเท่ากับ IL = 3000


= 13.0 A
230
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 78
LP2-1

ใช้กระแสไฟฟ้ าเท่ากับ IL = 3000 / 230 = 13.0 A

ใช้ CB 30 AT/50AF
ใช้โหลดแสงสว่าง 50% ของวงจร จะ
ใช้กระแสเท่ากับ 16 A ( ซึ่งมากกว่า IL = 13.0 A )
แต่เนื่ องจากคิดผลของแรงดันตก

จึงใช้สาย IEC 01 ขนาด 2 x 16 mm2


ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 79
ตัวอย่างที่ 16.5 ( ต่อ )

LP2-10
โหลดแสงสว่าง ใช้หลอดแสงจันทร์ ขนาด 400 W ( HPF )
ใช้กำลังไฟฟ้ า 500 VA จำนวน 5 หลอดต่อวงจรย่อย
หนึ่ งวงจรย่อยใช้กำลังไฟฟ้ า 500 x 5 = 2500 VA

IL = 2500 / 230 = 10.9 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 80


ตัวอย่างที่ 16.5 ( ต่อ )
LP2-10
IL = 2500 / 230 = 10.9 A

ใช้ CB 32 AT/50AF ใช้โหลดแสงสว่าง


50% ของวงจร กระแสเท่ากับ 16 A
( ซึ่งมากกว่า IL = 10.9 A )

สาย IEC 01 ขนาด 2 x 6 mm2


ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 81
ตัวอย่างที่ 16.5 ( ต่อ )
LP2-19
Exit Door & MDB Room Lighting ขนาด 420 VA
IL = 420 / 230 = 1.8 A

ใช้ CB 15 AT/50AF ใช้โหลดแสงสว่าง


50% ของวงจร กระแสเท่ากับ 7.5 A
( ซึ่งมากกว่า IL = 1.8 A )

สาย IEC 01 ขนาด 2 x 2.5 mm2


ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 82
ตัวอย่างที่ 16.5 ( ต่อ )
LP2-23
Exit Sign & Emergency Lighting ขนาด 1450 VA

IL = 1450 / 230 = 6.3 A

ใช้ CB 16 AT/50 AF ใช้โหลดแสงสว่าง


50% ของวงจร กระแสเท่ากับ 7.5 A
( ซึ่งมากกว่า IL = 6.3 A )
สาย IEC 01 ขนาด 2 x 2.5 mm2
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 83
ตัวอย่างที่ 16.5 ( ต่อ )
LP2-20
Office Parking Area Lighting
ใช้หลอด HPS ขนาด 400 W ( HPF )
กำลังไฟฟ้ า 500 VA จำนวน 5 หลอดต่อวงจรย่อย
หนึ่ งวงจรย่อยใช้ก ำลังไฟฟ้ า
= 500 x 5 = 2500 VA

IL = 2500 / 230 = 10.9 A


ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 84
ตัวอย่างที่ 16.5 ( ต่อ )
LP2-20
IL = 2500 / 230 = 10.9 A

ใช้ CB 32 AT/50AF ใช้โหลดแสงสว่าง


60% ของวงจร กระแสเท่ากับ 18 A
( ซึ่งมากกว่า IL = 10.9 A )
แต่เนื่ องจากคิดผลของแรงดันตก
จึงใช้ สาย NYY ขนาด 16 mm2 (เนื่ องจากเดินสายใต้ดิน )
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 85
ตัวอย่างที่ 16.5 ( ต่อ )
LP2-24
Walkway Around Manufacturing Building Lighting
โดยใช้หลอด HPS ขนาด 400 W ( HPF )
กำลังไฟฟ้ า 500 VA จำนวน 3 หลอดต่อวงจรย่อย
ดังนัน้ ในหนึ่ งวงจรย่อย
ใช้ก ำลังไฟฟ้ า 500 x 3 = 1500 VA
IL = 1500 / 230 = 6.52 A
ใช้ CB 16 AT/50AF ใช้โหลดแสงสว่าง 60% ของวงจร
กระแสเท่ากับ 9.6 A ( ซึ่งมากกว่า IL = 6.52 A ) สาย IEC 01
ขนาด 2 x 2.5 mm2
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 86
ตัวอย่างที่ 16.5 ( ต่อ )
LP2-25
Spare 1000 VA
IL = 1000 / 230 = 4.35 A
ใช้ CB 20 AT/50AF
ใช้โหลด 50% ของวงจร กระแสเท่ากับ 10 A
( ซึ่งมากกว่า IL = 4.35 A )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 87


ตัวอย่างที่ 16.5 ( ต่อ )
LP2
Total Connected Load = 69.9 kVA = 70 kVA
CB = 2 x L = 2 x 70 = 140 A

ขนาดสาย 4 x 70 mm2
G - 16 mm2
ขนาดท่อ  65 mm ( 2 1/2" )

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 88


ตัวอย่างที่ 16.6 การคำนวณหาขนาดสายป้ อน
และขนาด CB ของ AP1
โหลดทัง้ หมดของ AP1 ประกอบด้วย

Air Conditioner A/C1 และ A/C2 20 kVA 400 V 3 เฟส


Water Heater WH-1 9 kW 400 V 3 เฟส
Spare 15 kVA 400 V 3 เฟส

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 89


วิธีทำ
คำนวณหาขนาด สาย และ CB
ของ A/C 1 และ A/C 2

201000
In = 3 400= 28.8 A

IC = 1.75 In
= 1.75 x 28.8
= 50.4 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 90


ตัวอย่างที่ 16.6 ( ต่อ )

เลือกใช้ CB ขนาด 50 AT/100 AF


IC = 1.25 x In
= 1.25 x 28.8
= 36 A
ใช้สาย IEC 01 เดินในท่อโลหะในอากาศ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 91


ตัวอย่างที่ 16.6 ( ต่อ )
- A/C เป็ นโหลด 3 เฟส
แต่อาจใช้ไฟ 1 เฟส สำหรับ
ระบบ ควบคุมซึ่งกินไฟน้ อยมาก
- สาย Neutral อาจใช้ขนาด 50% สายเฟสได้

ขนาดสาย 4 x 10 mm2
G – 4 mm2
ขนาดท่อ  25 mm ( 1” )
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 92
ตัวอย่างที่ 16.6 ( ต่อ )
คำนวณหาขนาด CB , สายไฟ ของ WH-1
91000
In = 3 400 = 13 A
IC = 1.25 x 13 = 16.3 A

ใช้ CB ขนาด 20 AT/100 AF


ขนาดสาย 4 x 4 mm2
G – 2.5 mm2
ขนาดท่อ  20 mm ( 3/4” )
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 93
ตัวอย่างที่ 16.6 ( ต่อ )
คำนวณหาขนาด สายป้ อน และ CB
IF = 1.25 x 28.8 + ( 28.8 + 13 )
= 77.8 A

ถ้าคิดผลของ Spare 15 kVA 400 V 3 เฟส

91000
IS = 3 400
= 21.6 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 94


ตัวอย่างที่ 16.6 ( ต่อ )
ขนาดกระแสสายป้ อนรวม
IF = 77.8 + 21.6 = 99.4 A
ICB  50 + 28.8 + 13 + 21.6
 113.4 A

ใช้ CB = 110 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 95


ตัวอย่างที่ 16.6 ( ต่อ )
ขนาดกระแสสายป้ อนรวม
IF = 77.8 + 21.6 = 99.4 A

ขนาดสาย 3 x 50 mm2
1 x 25 mm2
G – 16 mm2
ขนาดท่อ  50 mm ( 2” )
เหตุที่เลือกใช้ Half Neutral เนื่ องจากเป็ นโหลด 3 เฟส
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 96
ตัวอย่างที่ 16.6 ( ต่อ ) FROM AP 1

4 x 50,1x25,G-16 mm2
AP1 IEC 01, ϕ 50 mm. IMC

MCCB IC >=15 kA
AT 400 V
100AT
250AF

F1 F2 F3 F4

MCCB MCCB MCCB MCCB


50AT 50AT 20AT 30AT
100AF 100AF 50AF 50AF

4 x 4 mm2 ,G-2.5 mm2


4 x 10 mm2 ,G-6 mm2

4 x 10 mm2 ,G-6 mm2


IEC 01, ϕ 25 mm.

IEC 01, ϕ 25 mm.

IEC 01, ϕ 20 mm.

A/C 1 A/C 2 WH 1 SPARE

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 97


ตัวอย่างที่ 16.7 การทำ Main Schedule
วิธีทำ
เมื่อรวมโหลดทัง้ หมดของ MDB ที่จ่าย
LP1 , LP2 , LP3 , LP4 , AP1 , AP2 , AP3 ,
PP1 , PP2 , EP , WH-2และ
Spare ไว้ 2 x 60 kVA และ
จากการเพิ่ม Capacitor Bank ขนาด 6 x 50 kVAR
Total Connected Load = 970.07 kVA
Demand Factor = 1.00
Demand Load = 1.00 x 970.07
= 970.07 kVA

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 98


ตัวอย่างที่ 16.7 การทำ Main Schedule ( ต่อ )

หม้อแปลงที่ควรใช้คือ 1000 kVA 22 kV / 230-400 V


แบบ Oil Immersed Type
เนื่ องจากมีราคาถูกและประหยัดค่าใช้จ่าย
จากตารางขนาดสายไฟฟ้ าตามพิกดั หม้อแปลง

ใช้สายขนาด
6 ( 3 x 240 , 1 x 120 ) mm2 NYY ติดตัง้ กลุ่มที่ 7
บนรางเคเบิล ขนาด 900 mm
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 99
ตัวอย่างที่ 16.7 ( ต่อ )
การคิดขนาดของอุปกรณ์ป้องกันทาง HV
อุปกรณ์ป้องกันทาง HV นิยมใช้ HV HRC Fuse
สามารถหาขนาดโดยพิจารณาค่ากระแสพิกดั หม้อแปลง

1000
In ( HV ) = 3 22 = 26.2 A

Ic ( HV ) = 1.25 x 26.2 = 32.8 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 100


ตัวอย่างที่ 16.7 ( ต่อ )
จึงสามารถเลือกขนาดสาย
ชนิด SAC 3 x 35 mm2
( พิกดั กระแส 176 A )

โดยทัวไปใช้
่ Fuse = 2 x In
= 2 x 26.2
= 52.4 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 101


ตัวอย่างที่ 16.7 ( ต่อ )
HV HRC Fuse มีขนาดมาตรฐานดังนี้
40 , 63 , 80 , 100 A

ดังนัน้ จึงเลือกใช้

HV HRC Fuse ขนาด 63 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 102


ตัวอย่างที่ 16.7 ( ต่อ )

การคิดขนาดอุปกรณ์ป้องกันทาง LV

1000 103
In ( LV ) = 3 400 = 1443 A

Ic ( LV ) = 1.25 x 1443 = 1804 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 103


ตัวอย่างที่ 16.7 ( ต่อ )
จึงเลือกใช้สาย LV ขนาด
6( 3 x 240 , 1 x 120 ) mm2 NYY
เดินบนรางเคเบิล ( Cable Tray )
ซึ่งมีความกว้าง 900 mm
และสายทางด้าน HV ขนาด 3 x 35 mm2 ชนิด SAC

ขนาด AT ของ CB = 1800 AT/2000 AF

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 104


ตัวอย่างที่ 16.8 การต่อลงดิน
วิธีทำ
System Grounding
หม้อแปลงขนาด 1000 kVA , LV , 230/400 V
ใช้สายประธานขนาด 6 ( 3 x 240 ,1 x 120 ) mm2
ดังนัน้ ขนาดสายประธานรวมจะเป็ น 6 x 240 = 1440 mm2 หา
ขนาดสายต่อหลักดิน
จากตารางสายต่อหลักดิน ( ตัวนำทองแดง )
ขนาด 95 mm2
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 105
ตัวอย่างที่ 16.8 ( ต่อ )

หลักดิน ( Ground Rod )

- ใช้หลักดินทองแดง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ขนาด 16 mm มีความยาว 2.4 m
จำนวน 3 แท่งตอกลงดิน จนสุดความยาวของแท่งหลักดิน

- ตอกเป็ นสามจุดรูปสามเหลี่ยม ห่างกันประมาณ 3 m


ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 106
ตัวอย่างที่ 16.8 (ต่อ)

หลักดิน ( Ground Rod )

- ทัง้ หมดต่อเข้ากับ Copper Ground Bar ของตู้ MDB


และที่หม้อแปลงไฟฟ้ า
- ในบางกรณี ที่โครงอาคารเป็ นโลหะ
ที่วดั ความต้านทานต่อดินไม่เกิน 5 
ก็สามารถใช้เป็ นหลักดินได้
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 107
ตัวอย่างที่ 16.9 การคำนวณกระแสลัดวงจร
S"kQ = 500 MVA

1000 kVA, 22 kV/400 V


% U k = 6 , PL = 35 kW
10 m

F1
63 m

F2

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 108


วิธีทำ
ที่ตู้ MDB ( F1 ) R(m) X(m)
1. ให้ขนาดระบบ 500 MVA 0.04 0.35
2. หม้อแปลง 1000 kVA 2.16 9.60
3. สายไฟฟ้ าแรงดันต่ำ 6( 3 x 240,1 x 120 ) mm2
0.07710 0.0910
=
6 6

ที่ระยะ 10 m = 0.13 0.15


รวม 2.33 10.1

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 109


รวม R = 2.33 m  X = 10.1 m 

ค่าอิมพีแดนซ์ Z = 2.332 10.12


= 10.4 m 

400 x1.00
กระแสลัดวงจร Isc = 3×10.4

= 22.2 kA
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 110
ตัวอย่างที่ 16.9 ( ต่อ )

ที่ Main Circuit Breaker จะต้องเผือ่ 25%


คือ 1.25 x 22.2 = 27.8 kA
ดังนัน้ จะต้องมี Interrupting Capacity ( IC )  31 kA
CB มี IC ให้เลือกดังนี้
10, 14, 18, 25, 30, 35, 42, 50,
65, 85, 100, 125, 150 kA
ดังนัน้ จึงเลือกใช้ CB
มี IC ขนาด 35 kA
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 111
ตัวอย่างที่ 16.9 ( ต่อ )
ที่ตู้ PP1 ( F2 )
- ระยะทางจากตู้ MDB ถึงแผง PP1 = 63 m
- สายป้ อนจาก MDB ไป PP1 ขนาด 3 x 150 mm2

ค่า R = 0.1493 m  /m , X = 0.1088 m /m


= 0.1493 x 63 = 0.1088 x 63
= 9.41 m  = 6.85 m 

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 112


ตัวอย่างที่ 16.9(ต่อ)
รวมกับอิมพีแดนซ์จากหม้อแปลงถึงตู้ MDB
2.33  9.41 2  10.16.85 2
ค่า Z = 











= 11.72 17.02
= 20.06 m 
400 x1.00
Isc = 3 20.06 = 11.2 kA

ดังนัน้ ที่ PP1 จะต้องมี Interrupting Capacity


( IC )  1.25 x 11.2 = 14 kA
จึงใช้ CB มี IC ขนาด 18 kA
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 113
ตัวอย่างที่ 16.10
การปรับปรุง PF
การออกแบบ Capacitors
ที่ใช้แก้ Power Factor ของโหลด 1000 kVA
จาก P.F. = 0.8 lagging
เป็ น P.F. = 0.95 lagging
และอุปกรณ์ป้องกันสำหรับชุดแก้ Power Factor

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 114


วิธีทำ
800 kW

1 2

600 kVAR
1000 kVA kVAR

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 115


ตัวอย่างที่ 16.10 ( ต่อ )
1 = COS -1 0.80 = 36.8O
2 = COS -1 0.95 = 18.2O
kVAR = 800 ( tan 1 - tan 2 )
= 800 ( tan 36.8 - tan 18.2 )
= 335 kVAR

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 116


ตัวอย่างที่ 16.10 ( ต่อ )
จะสังเกตได้ว่า Capacitor
ที่ใช้แก้ P.F. = 0.80 lagging
เป็ น P.F. = 0.95 lagging
มีค่าประมาณ 30% ของพิกดั หม้อแปลง
ดังนัน้ เลือกใช้ Capacitor 1000 x 0.3 = 300 kVAR
หรือ Capacitor 6 ชุด ฯ ละ 50 kVAR
6 x 50 kVAR

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 117


ตัวอย่างที่ 16.10 ( ต่อ )
การหาขนาด Fuse ของ Capacitors แต่ละตัว

50
In = 3 0.4 = 72.2 A

ขนาด Fuse ของ Capacitors IF มักใช้ 1.5 เท่าของ In


IF = 1.5 x 72.2
= 108 A
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 118
ตัวอย่างที่ 16.10 ( ต่อ )
จึงเลือกใช้ Fuse แต่ละตัวขนาด 125 A จำนวน 6 ชุด

การหาขนาด CB Main ของ Capacitors Bank

It = 1.5 x 6 x In
= 1.5 x 6 x 72.2
= 650 A

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 119


ตัวอย่างที่ 16.10 ( ต่อ )
เลือก CB = 700 AT/1000 AF

CT PFC

F13
MCCB 3P
700AT
1000AF

AUTOMATIC CAPACITOR BANK


6x50 kVAR
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 120
16.7 แบบทัง้ หมดของระบบไฟฟ้ า
แบบของระบบไฟฟ้ าจะแสดงไว้ดงั นี้
E-01 แสดงรายการอุปกรณ์และสัญลักษณ์
E-02 แสดง Single Line Diagram
E-03 แสดง Sub Single Line Diagrams
E-04 แสดง Electrical Site Plan
E-05 แสดง Lighting Plan ในส่วนของสำนักงาน
E-06 แสดง Power Plan ในส่วนของสำนักงาน
E-07 แสดง Lighting Plan ในส่วนการผลิต
ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 121
แบบของระบบไฟฟ้ าจะแสดงไว้ดงั นี้ ( ต่อ )

E-08 แสดง Power Plan ในส่วนการผลิต


E-09 แสดง Luminaire Details Plan
E-10 แสดง Grounding Details Plan
E-11 แสดง MDB Room Detail Plan
E-12 แสดง Transformer Installation Detail Plan

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 122


LIST OF DRAWINGS CIRCUITTING
DWG.NO. DESCRIPTION DWG.NO. DESCRIPTION
E-01 LIST OF DRAWINGS AND SYMBOLS BRANCH CIRCUIT CONCEALED IN CEILING OR WALL
E-02 SINGLE LINE DIAGRAM
E-03 SUB SINGLE LINE DIAGRAMS
E-04 ELECTRICAL SITE PLAN
E-05 LIGHTING PLAN - OFFICE AREA
SWITCHES OUTLET
E-06 POWER PLAN - OFFICE AREA DWG.NO. DESCRIPTION
E-07 LIGHTING PLAN - MANUFACTURING AREA S SINGLE POLE SWITCH
E-08 POWER PLAN - MANUFACTURING AREA DISCONNECT SWITCH
E-09 LUMINAIRE DETAILS PLAN S2 TWO WAYS SWITCH
E-10 GROUNDING DETAILS PLAN
E-11 MDB ROOM DETAIL PLAN
E-12 TRANSFORMER INSTALLATION DETAIL PLAN
RECEPTACLE OUTLET
LUMINAIRE SYMBOLS DWG.NO. DESCRIPTION
DWG.NO. DESCRIPTION DUPLEX OUTLET UNIVERSAL TYPE WITH GROUND
2x36 W. FL RECESSED MOUNTING AL LOUVRE
400W HPM ( HIGH POWER FACTOR ) HIGHBAY
OA 400 W. HPS PARKING AREA LUMINAIRE
OB 400 W. HPS GATE AREA LUMINAIRE
PANELBOARDS & SWITCHBOARDS
OC 400 W. HPS FLOODLIGHT BRACKET MOUNTED DWG.NO. DESCRIPTION
OD 80 W. HPS WALKWAY LUMINAIRE MDB MAIN DISTRIBUTION BOARD
20 W PL EXIT DOORS LUMIIRE BRACKET MOUNTED DISTRIBUTION BOARD
C 10 W FL EXIT SIGN BRACKET MOUNTED PANELBOARD
12V-2x35 W HALOGEN AUTOMATIC EMERGENCY LIGHTING V VOLTMETER
A AMPMETER
SIAM PLASTIC COMPANY
PFC POWER FACTER CONTROLLER ARCHITECT SAIM ARCHITECT
EQUIPMENT SYMBOLS CAPACITOR ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
DWG.NO. DESCRIPTION LIGHTING ARRESTER MECHINICAL -
MOTOR ENGINEER
SANITARRY -
J JUNCTION BOX ENGINEER
TITLE
LIST OF DRAWINGS
LIST OF DRAWING AND SYMBOLS SHEET
AND SYMBOLS
E-01 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 123


BY P.E.A.

CT
Wh
VT

3x35 mm2 SAC

LIGHTNING
ARRESTER
5kA DROP OUT FUSE 63 A.

TR
OIL IMMERSED TRANSFORMER
1000 kVA. 22 kV/400-230V. 3 4W.
Dyn11 %Uk = 6
6 ( 3x240,1x120 mm2) T-6
MDB IN CABLE TRAY WIDTH 900 mm
VS V 0-500V
3P 5A
R S T IC >= 30 kA
ACB 3P SOLID STATE TRIP WITH GFP. AT 400 V
1800AT IC >= 30 kA AT 400V.
2000AF
3xCT AS A 0-1500 A
2000/5A
CT PFC
2000A Cu.BUSBAR 50% NEUTRAL 25% GROUND
F1 F2 F3 F4 F5 F6 F7 F8 F9 F10 F11 F12 F13 F14
MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P
90AT 140AT 80AT 40AT 110AT 200AT 200AT 225AT 225AT 80AT 70AT 125AT 125AT 700AT
100AF 250AF 100AF 100AF 250AF 250AF 250AF 400AF 400AF 100AF 100AF 250AF 250AF 1000AF
200 mm CABLE TRAY

200 mm CABLE TRAY


3x150,1x95,G-25,T-4

3x150,1x95,G-25,T-4
3x120,1x70,G-16,T-4

3x120,1x70,G-16,T-4

3x35,1x25,G-10,T-4
3x50,1x25,G-10,T-4

40 mm. IMC
95 mm2 BC.

PROJECT

4x25,G-6,T-4
65 mm. IMC

50 mm. IMC
40 mm. IMC

40 mm. IMC

25 mm. IMC

65 mm. IMC

65 mm. IMC

40 mm. IMC
IN 25 mm. IMC
4x35,G-10,T-4

4x70,G-16,T-4

4x35,G-10,T-4

4x10,G-6,T-4

SIAM PLASTIC COMPANY


AUTOMATIC
CAPACITOR BANK
LP1 LP2 LP3 LP4 AP1 AP2 AP3 PP1 PP2 EP WH-2 SPARE SPARE 6x50 kVAR ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT.
NOTES ENGINEER
MECHINICAL -
1. ALL CBs MUST BE OF THE SAME MANUFACTURER ENGINEER
2. ALL FEEDER CBs IN MDB MUST HAVE IC >= 30 kA AT 400V. SANITARRY -
OR CASCADED TO HAVE PROTECTION OF IC >= 30 kA AT 400V. ENGINEER
TITLE
SINGLE LINE DIAGRAM SINGLE LINE DIAGRAM
SHEET E-02 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 124


FROM PP1,PP2 FROM AP2,AP3

3x150,1x95,G-25 mm2 3x120,1x70,G-16 mm2


PP1,PP2 T-4 200 mm CABLE TRAY AP2,AP3 T-4 65 mm. IMC
MCCB 3P IC >=15 kA MCCB 3P IC >=15 kA
225AT AT 400 V 200AT AT 400 V
400A Cu.BUSBAR 400AF 225A Cu.BUSBAR 250AF
50% NEUTRAL 25% GROUND 50% NEUTRAL 25% GROUND
F1 F2 F3 F4 F5 F6 F1 F2 F3 F4 F5 F6
MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P MCCB 3P
90AT 90AT 15AT 15AT 90AT 15AT 50AT 50AT 50AT 50AT 50AT 50AT
100AF 100AF 100AF 100AF 100AF 100AF 100AF 100AF 100AF 100AF 100AF 100AF
15 mm. IMC
3x2.5,G-1.5,T-4

3x2.5,G-1.5,T-4
40 mm. IMC

15 mm. IMC
40 mm. IMC
3x35,G-10,T-4

3x35,G-10,T-4

MOLDING MOLDING EXTRUDER EXTRUDER FUTURE FUTURE FUTURE FUTURE FUTURE FUTURE FUTURE FUTURE
MACHINE MACHINE MOTOR MOTOR MOLDING EXTRUDER A/C A/C A/C A/C A/C A/C
MACHINE MOTOR
FROM EP NOTE
FR0M AP1
- ALL CBs MUST BE OF THE SAME MANUFACTURER
3x50,1x25,G-10 mm2 3x35,1x25,G-10 mm2
AP1 T-4 50 mm. IMC
EP T-4 40 mm. IMC
MCCB
110AT
250AF
IC >=15 kA
AT 400 V
400A Cu.BUSBAR
MCCB 3P
80AT
100AF
IC >=15 kA
AT 400 V
SUB SINGLE LINE DIAGRAMS
50% NEUTRAL 25% GROUND
F1 F2 F3 F4 F1 F2 F3 F4
MCCB
50AT
MCCB
50AT
MCCB
20AT
MCCB
30AT
MCCB 3P
30AT
100AF
MCCB 3P
30AT
100AF
MCCB 3P
30AT
100AF
MCCB 3P
30AT
100AF
PROJECT
100AF 100AF 50AF 50AF SIAM PLASTIC COMPANY
ARCHITECT SAIM ARCHITECT
25 mm. IMC

25 mm. IMC

20 mm. IMC

20 mm. IMC
20 mm. IMC

20 mm. IMC
4x4,G-2.5,T-4
4x10,G-4,T-4

4x10,G-4,T-4

ELECTRICAL
PPT.
3x4,G-2.5,T-4
3x4,G-2.5,T-4

3x4,G-2.5,T-4

ENGINEER
MECHINICAL -
ENGINEER
SANITARRY
ENGINEER
-
TITLE
A/C 1 A/C 2 WH 1 SPARE EXHAUST EXHAUST EXHAUST FUTURE SUB SINGLE LINE DIAGRAMS
FAN FAN FAN EXHAUST FAN
NO. 1 NO. 2 NO. 3 SHEET E-03 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 125


LP1-26,28

LP2-22 LP2-24 OC LP2 J

OFFICE BUILDING
LP1-30
OB
LP1
OD
TRUCK LOADING AREA MUNUFACTURING BUILDING

ENTRANCE WALKWAY
OD
UG
UG OD
OD
OD
OC
OB OC

MAIN ROAD
OB

LP2-20 OA
OA
UG
TRUCK PARKING AREA
OA OA
OB

PROJECT
SIAM PLASTIC COMPANY
OB
ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT
ENGINEER
MECHINICAL -
ENGINEER
SANITARRY
ELECTRICAL SITE PLAN
-
ENGINEER
TITLE
ELECTRICLE SITE PLAN
SHEET E-04 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 126


G F E D C B A
7.20 7.20 7.20 8.00 7.20 7.20

LP1-10
LP1 AP1
LP1-5 7
LP1-1
LP1-2
S S S S S S S
LP1-7 LP1-11 9.00
C S2 S2 S2 S2 C
S LP1-3 S LP1-6 S S S S S S
LP1-4
LP1-8
C
LP1-9 8

LIGHTING PLAN-OFFICE AREA SIAM PLASTIC COMPANY


ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
MECHINICAL -
ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
LIGHTING PLAN
OFFICE AREA
SHEET E-05 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 127


G F E D C B A
7.20 7.20 7.20 8.00 7.20 7.20

LP1-13,15,17 AP1-3
LP1-27 LP1-25 LP1-29
AP1-2 LP1 AP1 WH-1 AP1-1 7
LP1-15,17 LP1-22
LP1-20,22,24 LP1-20 A/C 1
A/C 2
LP1-17 LP1-14,16,18 LP1-12 9.00
LP1-16 LP1-18
LP1-19,21,23
LP1-23 8
LP1-21,23

POWER PLAN-OFFICE AREA SIAM PLASTIC COMPANY


ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
MECHINICAL -
ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
POWER PLAN
OFFICE AREA
SHEET E-06 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 128


1 9.50
2 9.50
3 9.50
4 9.50
5 9.50
6 9.50
1
TRANSFORMER
A MDB
LP2-19
C
LP2-19
C
LP2-21 LP2-14,16,18 LP2-23
LP2-19 LP2-13,15,17
LP2 LP4 LP2-10,12
7.30

LP2-16,18 LP2-18
LP2-19 LP2-23
LP2-12
B C
LP2-15,17,
LP2-23
7.30

ASSEMBLY LP3
WAREHOUSE
C SHIPPING
LP2-17
7.30

LP2-23
LP2-8 LP2-2,4,6

D LP2-9,11
LP2-23
LP2-4,6 LP2-6
LP2-7
LP2-1,3,5 C

LP2-3,5 LP2-5
LP2-9
7.30

E
MANUFACTURING
7.30

PART STORAGE
RAW MTERIAL STORAGE
F
SIAM PLASTIC COMPANY
7.30

ARCHITECT SAIM ARCHITECT


ELECTRICAL
G C C LP2-19 C ENGINEER
MECHINICAL
PPT.
-
LP2-19 ENGINEER
LP2-19 SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
LIGHTING PLAN
LIGHTING PLAN- MANUFACTURING AREA MANUFACTURING AREA
SHEET E-07 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 129


1 9.50
2 9.50
3 9.50
4 9.50
5 9.50
6 9.50
7

A MDB LP4-8 LP3-13,15,17

LP2 LP4 LP3-1,3,5


7.30

LP4-10 LP3-5 LP3-3,5 LP3-2,4,6


B LP4-11
LP3-6 LP3-4,6
WH-2 LP3-14,16,18
SHIPPING WAREHOUSE
7.30

LP3
LP4-1,3,5 LP3-19,21,23

C LP3-11 LP3-9,11
LP3-7,9,11

LP4-2,4,6
ASSEMBLY LP3-8,10,12
7.30

LP3-12 LP3-10,12
LP4-7

D AP2
LP3-20,22,24
AP3
PP1-3 PP1-4
7.30

LP4-9

E PP1-1
PP2-3
PP1 PP2 PP1-2
PP2-4
PART STORAGE
7.30

RAW MATERIAL STORAGE PP2-1 PP2-2

F MANUFACTURING
SIAM PLASTIC COMPANY
EP1
ARCHITECT SAIM ARCHITECT
7.30

EP2 EP3
ELECTRICAL PPT.
EP ENGINEER
G EF1 EF2 EF3
MECHINICAL
ENGINEER
-
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
POWER PLAN
POWER-PLAN MANUFACTURING AREA MANUFACTURING AREA
SHEET E-08 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 130


LUMINAIRE : AL LOUVRE LUMINAIRE : FLOODLIGHT LUMINAIRE : AUTOMATIC
EMERGENCY
SYMBOL : SYMBOL : LIGHTING
OC
MOUNTING : RECESSED MOUNTING : BRACKET SYMBOL :
MOUNTING : BRACKET
LAMP : 2 x 36 W FL LAMP : 400 W HPS
LAMP : 12V-2 x 35W HALOGEN

LUMINAIRE : HIGHBAY LUMINAIRE : EXIT DOOR LUMINAIRE : EXIT SIGN

SYMBOL : SYMBOL : SYMBOL :


C
MOUNTING : RECESSED MOUNTING : BRACKET MOUNTING : BRACKET

LAMP : 400 W HPM LAMP : 20 W หลอดประหยั ดไฟ LAMP : 1 x 10 W FL

LUMINAIRE : PARKING LUMINAIRE : WALKWAY

SYMBOL : SYMBOL :
OA OB OD
MOUNTING : POLE MOUNTING : POLE
SIAM PLASTIC COMPANY
LAMP : 400 W HPS LAMP : 80 W HPS ARCHITECT SAIM ARCHITECT
ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
MECHINICAL -
ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
LUMINAIRE DETAILS LUMINAIRE DETAILS
SHEET E-09 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 131


GRADE
LID

STARTING
POWDER
WELD METAL GRAPHITE 600 BARE COPPER 70 mm 2
POWDER MOULD
STEEL DISC 50
TAP HOLE
WELD CAMTY
EXPANSION BOLT
WALL GROUND ROD 5" x 3000 mm
8
EARIH ROD
CABLE
6

EXOTHERMIC WELDING COPPER GROUND BAR GROUND RODS

400 STEEL COVER


60
EXOTHERMIC WELDING
300 GROUNDING CONDUCTOR
400
GROUND CLAMP SIAM PLASTIC COMPANY
STEEL COPPER GROUND ROD ARCHITECT SAIM ARCHITECT
REINFORCEMENT
ELECTRICAL PPT.
ENGINEER
MECHINICAL -
TOP VIEW EARTH PIT DETAIL ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
GROUNDING SYSTEM DETAILS
SHEET E-10 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 132


1 2
9.50
95 mm2
TR
GROUND CABLE TRAY
A BAR 900 mm

MDB
4.00
7.30

LP2 LP4

SIAM PLASTIC COMPANY


ARCHITECT SAIM ARCHITECT

B ELECTRICAL
ENGINEER
MECHINICAL
PPT.
-
MDB ROOM DETAIL PLAN ENGINEER
SANITARRY
ENGINEER
-
TITLE
MDB ROOM DETAIL PLAN
SHEET E-11 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 133


0.15 m
SEE NOTE 2

12.00 m. CONCRETE POLE 12.00 m CONCRETE POLE

1.12 m

1.00 m
MIN.
CU. GROUND WIRE

2.90 m
2- 5/8"x 240 cm
DROP FUSE CUTOUT LIGHTNING ARRESTER 1.00 m 1.00 m GROUND RODE
MIN. MIN.

1.00 m
MIN.
2.80 m
TRANSFERMER WARNING SIGN PLATE
WIRE MESH FENCE # 1"
TRANSFORMER INSTALLATION
DETAIL PLAN
3.28 m
SIAM PLASTIC COMPANY
2.50 m
MIN.

1.00 m 1.00 m ARCHITECT SAIM ARCHITECT


MIN. MIN. ELECTRICAL
ENGINEER PPT.
MECHINICAL -
ENGINEER
SANITARRY -
ENGINEER
TITLE
TRANSFORMER INSTALLATION
DETAIL PLAN
SHEET E-12 of 12

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 134


16.8 Load Schedule , Feeder Schedule
และ Main Schedule

Load Schedule , Feeder Schedule


และ Main Schedule แบ่งได้ด ังนี้

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 135


LP1 จ่ายโหลดให้ก ับสว่ นของสำน ักงาน ( Office Area )
LP2 จ่ายโหลดให้ก ับสว่ นของสว่ นพืน ้ ทีก ่ ารผลิต
( Manufacturing Area )
LP3 จ่ายโหลดให้ก ับสว่ นพืน ้ ทีก ่ ารประกอบชน ิ้ สว่ น
( Assembly Area )
LP4 จ่ายโหลดให้ก ับสว่ นพืน ้ ทีก ่ ารขนสง ่
( Shipping Area ) และเต้าร ับทว่ ั ไปในสว่ นการผลิต

AP1 จ่ายโหลดให้ก ับเครือ


่ งปร ับอากาศและ
่ งทำน้ำร้อนของสว่ นสำน ักงาน
เครือ

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 136


Load Schedule , Feeder Schedule และ Main Schedule
แบ่งได้ด ังนี้
AP2 จ่ายโหลดให้ก ับเครือ ่ งปร ับอากาศของ
สว่ นการผลิต
AP3 จ่ายโหลดให้ก ับเครือ ่ งปร ับอากาศของ
สว่ นการผลิต
PP1 จ่ายโหลดให้ก ับเครือ ่ งหล่อพลาสติก
( Molding Machine ) และ
เครือ่ งขึน ้ รูปพลาสติก ( Extruder Motor )
ซงึ่ อยูใ่ นสผศว่ . นของการผลิ
ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ ต 137
Load Schedule , Feeder Schedule และ Main Schedule
แบ่งได้ด ังนี้

PP2 จ่ายโหลดให้ก ับเครือ ่ งหล่อพลาสติก


( Molding Machine ) และเครือ ้ รูป
่ งขึน
พลาสติก
( Extruder Motor ) ซงึ่ อยูใ่ นสว ่ นของการ
ผลิต
EP จ่ายโหลดให้ก ับพ ัดลมระบายความ
ร้อนของสว ่ น ผศ . ประสิทธิการผลิ
์ พิทยพัฒน์ ต 138
Load Schedule , Feeder Schedule และ Main
Schedule แบ่งได้ด ังนี้

MDB จ่ายโหลดให้ก ับแผง


LP1, LP2, LP3, LP4, AP , AP2, AP3 ,
PP1 , PP2 , EP , Water Heater No.2 ( WH-2 ) ,
Future Load , Capacitor Bank

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 139


PANELBOARD LOAD SCHEDULE

PANEL LP1 LOCATION Office Area ( C,7 )


CAPACITY 42 CKT MOUNTING Surface
CONNECTED TO F1 FROM MDB

Ck. DESCRIPTION CONNECTED BRANCH WIRE


LOAD (VA) CB
No. POLE AT AF SIZE TYPE
A B C
1 Lighting 2400 1 20 50 4.0 T-4
3 Lighting 2400 1 20 50 4.0 T-4
5 Lighting 2400 1 20 50 4.0 T-4

38 SPACE - - - - - -
40 SPACE - - - - - -
42 SPACE - - - - - -
13960 14280 16080 MAIN CB 4x35 T-4
TOTAL CONNECTED LOAD G-10
(VA) 44320 3P
90AT/100AF
CONDUIT
50 ( 2" ) IMC

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 140


FEEDER SCHEDULE
FOR EP LOCATION Raw Material Storage Area (G,2)

FEEDER FROM TO CONNECTED LOAD (kVA) CIRCUIT WIRE RACEWAYS REMARKS


TOTAL BREAKER SIZE TYPE SIZE TYPE
A B C
F1 EP Exhaust 3.40 3.40 3.40 10.20 MCCB 3P 3x4, T-4 20 (3/4") IMC
30AT/100AF G-2.5
F2 EP Exhaust 3.40 3.40 3.40 10.20 MCCB 3P 3x4, T-4 20 (3/4") IMC
30AT/100AF G-2.5
F3 EP Exhaust 3.40 3.40 3.40 10.20 MCCB 3P 3x4, T-4 20 (3/4") IMC
30AT/100AF G-2.5
F4 EP Future 3.40 3.40 3.40 10.20 MCCB 3P - - - -
30AT/100AF
TOTAL CONNECTED LOAD (kVA) 13.60 13.60 13.60 40.80 MCCB 3P 3x35,1x25 T-4 40 (1 1/2") IMC
DEMAND FACTOR 1.00 80AT/100AF G-10
DEMAND LOAD 40.80

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 141


คำถามท้ายบท
1. การประมาณโหลดจะต้องทำอย่างไร
2. ในโรงงานอุตสาหกรรมส่วนมากระบบไฟฟ้ าแบ่งเป็ น
กี่ส่วนอะไรบ้าง
3. การออกแบบระบบไฟฟ้ าในส่วนสำนักงาน
จะต้องทำอย่างไร
4. การออกแบบระบบไฟฟ้ าในส่วนการผลิต
จะต้องทำอย่างไร

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 142


คำถามท้ายบท
5. การหาขนาดระบบไฟฟ้ าของโรงงานอุตสาหกรรม
จะต้องทำอย่างไร
6. การปรับปรุง Power Factor ของโรงงานอุตสาหกรรม
จะต้องใช้ Capacitors รวมเท่าใดของหม้อแปลง
7.ถ้าความต้านดินของระบบการต่อลงดินวัดได้ 20  จะต้อง
ทำอย่างไร

ผศ . ประสิ ทธิ์ พิทยพัฒน์ 143

You might also like