You are on page 1of 13

การศึกษาพระคัมภีร์พนั ธสัญญาเดิม

คุณพ่ อวสันต์ พิรุฬห์ วงศ์ - คณะสติกมาติน


พันธสัญญาเดิม 46 เล่ ม
ปั ญจบรรพ ภาคประวัตศิ าสตร์
ภาคกฎหมาย 1. โยชูวา 6. พงศาวดาร 1-2
1. ปฐมกาล 2. ผู้วนิ ิจฉัย 7. เอสรา
2. อพยพ 3. นางรูธ 8. เนหะมีย์
3. เลวีนิติ 4. ซามูเอล 1-2 9. โทบิต
4. กันดารวิถี 5. พงศ์ กษัตริย์ 1-2 10. ยูดธิ
5. เฉลยธรรม 11. เอสเธอร์
บัญญัติ 12. มัคคาบี 1-2
หนังสือ
โทบิต ยูดธิ เอสเธอร์
โทบิต-ยูดธิ -เอสเธอร์ - คุณพ่ อวสันต์ พิรุฬห์ วงศ์ CSS.

การศึกษาและวิเคราะห์
• ในพระคัมภีร์ฉบับแปลภาษาละติน (Vulgata)
= หนังสือโทบิต ยูดธิ และเอสเธอร์ ถูกจัดไว้
หลังหนังสือชุด “ประวัตศิ าสตร์ ”
• แต่ อย่ างไรก็ตาม
= ทัง้ 3 เล่ มนีก้ ็ มีลักษณะเฉพาะ + แตกต่ าง
จากหนังสืออื่นๆ ที่เราศึกษามาก่ อนนี ้ ดังนี ้
โทบิต-ยูดธิ -เอสเธอร์ - คุณพ่ อวสันต์ พิรุฬห์ วงศ์ CSS.

1. ลักษณะเฉพาะของหนังสือทัง้ 3 เล่ ม
• หนังสือโทบิต
= ต้ นฉบับดัง้ เดิมคงจะเป็ น ภาษาอาราเมอิก
= แต่ สูญหายไปแล้ ว
= ที่เรามี เพียงเศษของฉบับภาษาฮีบรู และ
เศษของสำเนาภาษาอาราเมอิก 4 ฉบับ
ที่พบในถ้ำที่กุมราน ปี 1946-7
โทบิต-ยูดธิ -เอสเธอร์ - คุณพ่ อวสันต์ พิรุฬห์ วงศ์ CSS.

• ต้ นฉบับคัดลอกโบราณนัน้ มีการถ่ ายทอดต่ อกันมา


เป็ น 4 แบบ ที่สำคัญที่สุด คือ
= แบบที่พบในอารามที่เชิงภูเขาซีนาย
และ ฉบับแปลโบราณภาษาละติน
= เชื่อว่ าคงจะเป็ นแบบที่เก่ าแก่ ท่ สี ุด เพราะ
สอดคล้ องกับเศษของสำเนาโบราณภาษา
อาราเมอิกที่พบที่ถ้ำกุมราน
จึงเป็ นตัวบทที่ใช้ ในการแปลของเรา
โทบิต-ยูดธิ -เอสเธอร์ - คุณพ่ อวสันต์ พิรุฬห์ วงศ์ CSS.
โทบิต-ยูดธิ -เอสเธอร์ - คุณพ่ อวสันต์ พิรุฬห์ วงศ์ CSS.

• หนังสือยูดธิ
= ต้ นฉบับภาษาฮีบรู -สูญหายไปเช่ นกัน
= พบสำนวนแปลภาษากรีก 3 แบบที่ต่างกันมาก
= สำนวนภาษาละติน แตกต่ างจากต้ นฉบับภาษา
กรีกมาก ดูเหมือนนักบุญเยโรมเป็ นผู้เขียนสำนวน
ละตินนี ้ โดยเพียงแต่ ขัดเกลาสำนวนแปลภาษา
ละตินเดิมที่มีอยู่ก่อนแล้ วเท่ านัน้ โดยเทียบกับ
สำนวนแปลภาษาอาราเมอิก
โทบิต-ยูดธิ -เอสเธอร์ - คุณพ่ อวสันต์ พิรุฬห์ วงศ์ CSS.

• หนังสือเอสเธอร์
= ต้ นฉบับมี 2 แบบ คือ แบบสัน้ -ภาษาฮีบรู
และ แบบยาว-ภาษากรีก
= แบบยาว-ภาษากรีกเอง ก็ยังมี 2 สำนวน คือ
= ตัวบทภาษากรีก ยังมีข้อความเพิ่มเติมที่ไม่
พบ ในสำนวนภาษาฮีบรูอีกด้ วย
โทบิต-ยูดธิ -เอสเธอร์ - คุณพ่ อวสันต์ พิรุฬห์ วงศ์ CSS.

2. การยอมรับ
• ชาวยิว = ไม่ ยอมรับหนังสือโทบิต + ยูดธิ
• โปรเตสแตนท์ = จัดไว้ ในหมวด “นอกสารบบ”
• คาทอลิก = จัดไว้ ในหมวด “สารบบที่สอง”
แม้ หนังสือทัง้ 2 นีจ้ ะเป็ นที่ร้ ูจักมาตัง้ แต่ สมัยแรกๆ
โทบิต-ยูดธิ -เอสเธอร์ - คุณพ่ อวสันต์ พิรุฬห์ วงศ์ CSS.

• ส่ วนหนังสือเอสเธอร์
= ธรรมจารย์ ชาวยิวในสมัยแรกๆ มีการถกเถียง
กันบ้ างถึงความเที่ยงแท้ ของหนังสือ
= แต่ ชาวยิวในสมัยต่ อๆ มาก็ยอมรับหนังสือเล่ ม
นี ้
และ กลายเป็ นหนังสือที่นิยมอ่ านกันมาก
= ส่ วนคาทอลิกก็ยอมรับมาตลอด
โทบิต-ยูดธิ -เอสเธอร์ - คุณพ่ อวสันต์ พิรุฬห์ วงศ์ CSS.

3. รูปแบบวรรณกรรม
• หนังสือทัง้ 3 เล่ มนี ้ มีรูปแบบวรรณกรรมเหมือนๆ
กัน คือ
= เล่ าเรื่ องโดยใช้ ข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ +
ประวัตศิ าสตร์ อย่ างเป็ นอิสระ ซึ่งมักจะไม่ ตรง กับ
ความเป็ นจริง

ต่ อไปนีจ้ ะเป็ นรายละเอียดของหนังสือแต่ ละเล่ ม

You might also like