You are on page 1of 14

- บอกถึงวิธีการสื่อสารที่ใช้ในระบบการ

วัตถุประสงค์
แพทย์ฉุกเฉิน
- อธิบายการสื่อสารด้วยระบบเทเลเมดิ
ซีน
- อธิบายถึงการใช้วิทยุคมนาคมได้ถูก
การสื่อสารในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ต้อง
การสื่อสารเป็ นส่วนหนึ่งในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน หาก
มีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
จะช่วยเพิ่มความรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ ในการดูแลผู้
เจ็บป่ วยฉุกเฉิน
ซึ่งปั จจุบันการสื่อสารได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เช่น
โทรศัพท์มือถือ
ลักษณะการสื่อสารในระบบการ
แพทย์ฉุกเฉิน
การสื่อสารในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ผู้แจ้ง
แจ้งเหตุ

V-ดุสิต ศูนย์สั่งการ

หน่วยปฏิบัติการ

แพทย์อำนวยการ โรงพยาบาล
ผู้ป่ วยฉุกเฉิน
การสื่อสารในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน

ระบบเทเลเมดิซีน วิทยุคมนาคม
เป็ นวิทยุสื่อสารที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานกับอินเทอร์เน็ตโดยเฉพาะ
ทำให้เราสามารถสื่อสารได้ไกลกว่าการใช้คลื่นความถี่ในการสื่อสาร
สามารถเพิ่มรายชื่อการติดต่อ หรือสร้างห้องสนทนาเอาไว้สื่อสารได้

วิทยุสื่อสาร zello เป็ นวิทยุที่มีเสียงเหมือน วิทยุสื่อสารประเภทอื่นๆ ทำให้ได้ยินเสียงดังฟั ง


ชัด
สามารถใช้งานร่วมกับโทรศัพท์มือถือได้ผ่านแอปพลิเคชั่น zello
เป็ นวิทยุที่ราคาไม่แพงใครก็สามารถซื้อมาใช้งานได้ ไม่ผิดกฎหมาย
สามารถใช้งานได้ทั่วโลก
LINE คือแอพพลิเคชั่นที่ผสมผสานบริการ Messaging และ Voice Over IP
นำมาผนวกเข้าด้วยกัน
จึงทำให้เกิดเป็ นแอพพลิชั่นที่สามารถแชท สร้างกลุ่ม ส่งข้อความ โพสต์รูป
ต่างๆ หรือจะโทรคุยกันแบบเสียงก็ได้
โดยข้อมูลทั้งหมดไม่ต้องเสียเงิน หากเราใช้งานโทรศัพท์ที่มีแพคเกจอินเทอร์
เน็ตอยู่แล้ว
การสื่อสารด้วยระบบเทเล
เมดิซีน“การแพทย์ทางไกล หรือ Telemedicine
WHO ให้คำจำกัดความว่า มีองค์ประกอบ
สำคัญ 4 ประการ
1.ระบบทีสนับสนุนด้านการแพทย์
2.ระบบที่เข้าถึงทางการแพทย์ แม้อยู่ไกล
3.นำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารหลายชนิดมาใช้
4.เป้ าหมายเพื่อเพิ่มผลลัพธ์การรักษาโรค

ปั จจุบันเริ่มมีการติดตั้งในรถพยาบาลเพิ่มมากขึ้น ทำให้การขอคำปรึกษา
ขอคำสั่งเป็ นไปอย่างรวดเร็วมากขึ้น
การสื่อสารโดยวิทยุคมนาคม
วิทยุคมนาคมเป็ นการติดต่อสื่อสารรูป วิทยุคมนาคม แบ่งเป็ น 3 ชนิด
แบบหนึ่ง ใหญ่ๆ
มีข้อดีคือ ง่าย รวดเร็ว ประหยัด 1.ชนิดมือถือ
มีข่ายที่สำคัญ 3 ข่าย
- ข่ายของราชการ
- ข่ายสมัครเล่น
- ข่ายประชาชน
2.ชนิดเคลื่อนที่(ติดรถยนต์)

3.ชนิดประจำที่
ขั้นตอนการใช้งานเครื่อง การพูดวิทยุ
วิทยุคมนาคม
1.ตรวจสอบช่องสัญญาณความถี่ 1.กดปุ่มส่งประมาน 3 วินาที ก่อนพูด
2.ข่ายสื่อสารนั้นว่างหรือไม่ 2.เรียกชื่อหรือรหัส
3.ตรวจสอบนามเรียกขานก่อนเรียก 3.พูดให้ไมโครโฟนห่างปาก 2-3 นิ้ว
4.ตรวจสอบปุ่ม Vol.ไว้ตำแหน่ง 4.พูดชัดๆ ใช้นำเสียงราบเรียบ
กึ่งกลาง 5.ส่งข้อความยาวเกิน 30 วินาที ให้
5.กดคีย์พูดส่งออกอากาศ หยุดชั่วคราว 2-3วินาที
การเรียกขาน การตอบ
“ นามเรียกขาน ” ของสถานี หรือ - การตอบ พูดว่า “ว.2” แล้วตามด้วย
บุคคลที่ถูกเรียก คำว่า “เปลี่ยน”
“ จาก ” - ไม่ต้องลงท้ายด้วยคำว่าครับ หรือ ค่ะ
“ นามเรียกขาน ” ของสถานี หรือ - ถ้าแจ้งข้อมูลไม่ถูกต้อง ใช้คำว่า
บุคคลที่ถูกเรียก “แก้ไข ว.8”
“ตัวอย่าง
เปลี่ยน ” -ตัวอย่าง
กรณีแจ้งตัวเลข จำนวนมาก เช่น เลข
ไมล์
“ ศูนย์วชิระ จาก วชิระ “ ศูนย์วชิระ จาก วชิระ 41 เปลี่ยน ”
“ให้ขานตามตัวเลข
ว.2 เปลี่ยน ” ไม่ต้องบอกหลัก
57 เปลี่ยน ” เลข
(เลขไมล์ 12345) แจ้งเป็ น “ เลขไมล์ หนึ่ง
สอง สาม สี่ ห้า ”
ประมวล
ว.
กฎหมายและระเบียบที่
เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ.2498
มาตรา 6 ห้ามมิให้ผู้ใด ทำ มี ใช้ นำเข้านำออกหรือค้าส่ง เว้นแต่จะได้รับ
อนุญาตจากเจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต
มาตรา 11 ห้ามมิให้ผู้ใดตั้งสถานีวิทยุคมนาคม เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจาก
เจ้าพนักงานผู้ออกใบอนุญาต
มาตรา 16 ห้ามมิให้ผู้ใดส่งหรือจัดให้ส่งข้อความใดๆโดยวิทยุคมนาคมอัน
ตนรู้อยู่ว่าเป็ นเท็จ หรือข้อความอื่นใด
ที่มิได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อ
ประเทศชาติหรือประชาชน
มาตรา 23 ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา 6 11 16 มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่
เกินหนึ่งแสนบาท หรือจำคุกไม่เกิน5ปี หรือทั้งปรับทั้งจำ

You might also like