You are on page 1of 9

ทฤษฎีบุคลิกภาพ

คาร์ ล อาร์ โรเจอร์ ส (Carl R. Rogers)


ชีวประวัติของคาร์ ล อาร์ โรเจอร์ (1902-1987)
• คาร์ ล แรมซัม โรเจอร์ ส (Carl Ransom Rogers) เป็ นนักจิตวิทยาชาว
อเมริกนั เกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม 1902 เสี ยชีวติ เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์
1987 รวมอายุได้ 85 ปี
• ครอบครัวและรูปแบบชีวติ
ชาวคริสต์ ทเี่ คร่ งครัดศาสนา เขาเป็ นลูกคนที่ 4 จากพีน่ ้ อง 6 คน พ่อ
แม่ จบจากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน พ่อเป็ นวิศวกรที่ประสบ
ความสาเร็จในอาชีพ ลักษณะครอบครัวทีอ่ บอุ่น มีทศั นะทางลบต่ อ
อบายมุข สิ่ งแวดล้อมทางสั งคมอันเลวร้ าย ตอนอายุ 12 ปี ย้ ายมาทา
ฟาร์ ม สนใจการทดลองทางการเกษตร รักการอ่านและธรรมชาติ ใน
มหาวิทยาลัยทากิจกรรมของ YMCA
ชีวประวัติของคาร์ ล อาร์ โรเจอร์ (1902-1987)
• การศึกษา
❑ เข้ าเรียนที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน วิชาเอกเกษตรศาสตร์
❑ เข้ าร่ วมสั มมนาสหพันธ์ คริ สเตียนโลกที่ปักกิง
่ ปี ค.ศ.1922 เปลีย่ นวิชาเอก
❑ ได้ รับปริ ญญาตรี ทางประวัติศาสตร์ และศาสนา ปี ค.ศ. 1924

❑ ศึ กษาต่ อทางศาสนาและจิตวิทยาเพือ ่ เตรียมทางานทางศาสนา


❑ เข้ าร่ วมสั มมนาสหสั มพันธ์ ศาสนาศาสตร์ ที่นิวยอร์ กเพือ่ เตรียมทางานด้ าน
ศาสนาและเปลีย่ นใจ
❑ เรี ยนทีว ่ ิทยาลัยครู มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ระดับปริญญาโทและเอกทางด้ าน
จิตวิทยาคลินิกและสาเร็จการศึกษา เมื่อปี ค.ศ. 1928 และ ค.ศ. 1931
ชีวประวัติของคาร์ ล อาร์ โรเจอร์ (1902-1987)
• การทางาน
❑ ค.ศ.1928-ค.ศ.1940 นักจิตวิทยาคลินิก ทีศ่ ูนย์ แนะแนวโรเชสเตอร์ (Rochester
Guidance Center)
❑ ค.ศ.1940-ค.ศ.1945 ศาสตราจารย์ ทางจิตวิทยาคลินิก ที่มหาวิทยาลัยโอไฮโอ

❑ ค.ศ.1945-ค.ศ.1957 ศาสตราจารย์ ทางจิตวิทยาและผู้อานวยการศู นย์ แนะแนว

มหาวิทยาลัยชิคาโก้
❑ ค.ศ.1957-ค.ศ.1964 ศาสตราจารย์ สาขาจิตวิทยาละจิตเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัย

วิสคอนซิล
❑ ค.ศ.1964-ค.ศ.1967 สถาบันพฤติกรรมศาสตร์ ตะวันตก ที่ ลาโยลา แคลิฟอร์ เนีย

❑ ค.ศ.1968 ศู นย์ ศึกษาบุคคล (Center for Studies of the Person) เขาทางาน ณ

ทีแ่ ห่ งนีจ้ นเสี ยชีวติ


แนวคิดที่สาคัญ

• ตัวตนของบุคคล (Self)
มนุษย์ ทุกคนมีตัวตน 3 แบบ ได้ แก่
(1) ตนทีม่ องเห็น (Self Concept)
(2) ตนตามที่เป็ นจริง (Real Self)
(3) ตนตามอุดมคติ (Ideal Self)
แนวคิดทีส่ าคัญ
• คาร์ ล อาร์ โรเจอร์ ส (Carl R. Rogers) มีความเชื่อว่ า บุคลิกภาพทั้งหลาย
ของบุคคลนั้นเป็ นการตอบสนองต่ อความเป็ นจริงทีเ่ ขาได้ รับรู้ โรเจอร์ ส
จะมองมนุษย์ ในแง่ ดแี ละสู งส่ ง นอกจากนั้นเขายังเชื่อต่ อไปอีกว่ า ตัว
ผลักดันพฤติกรรมทั้งหลายนั้นอยู่ในตัวของบุคคล และเมื่อใดทีส่ ภาพของ
สั งคมไม่ ได้ ทาให้ บุคคลรู้สึกผิดหวัง ตัวผลักดันเหล่านีก้ จ็ ะพัฒนาไปในทาง
ทีด่ ีเสมอ เมื่อโรเจอร์ สมีความเชื่อว่ าตัวผลักดันพฤติกรรมอยู่ในตัวมนุษย์
เขาจึงมุ่งศึกษาเรื่องของ “ตัวตน” (self) ในฐานะที่เป็ นตัวผลักดันสาคัญยิ่ง
ให้ เกิดและพัฒนาบุคลิกภาพ
• “ตัวตน” คือ กระบวนการซึ่งประกอบด้ วย การรับรู้และความเชื่อเกีย่ วกับ
ตนเองของแต่ ละบุคคล
• กระบวนการทีบ่ ุคคลรับรู้ตนเองว่ า การมองตนเองหรืออัตมโนทัศน์ (self –
concept) ถูกสร้ างขึน้ โดยอาศัยประสบการณ์ และการปฏิบัติของบุคคล
• คนทีม่ ีการปรับตัวได้ ดีจะมีการแสดงออกทีบ่ ่ งชัดถึงการปรับปรุงการมอง
ตนเอง ทาให้ ประสบการณ์ มีความสอดคล้องไปกันได้ กบั การมองตนเอง ส่ วน
คนทีม่ ีการมองตนเองแบบยึดแน่ นไม่ มีทางยืดหยุ่น หรือปรับปรุงก็จะมี
ความไม่ สอดคล้องกันระหว่ างการมองตนเองกับประสบการณ์ เกิดขึน้ จึงมี
ผลให้ บุคคลนั้นไม่ สามารถปรับตัวกับสภาพความเป็ นจริงได้ ในทีส่ ุ ดก็จะ
พยายามสร้ าง กลวิธาน (defense mechanism) ขึน้ เพือ่ ป้องกันตนเอง
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ (Development of Personality)

1. กระบวนการพัฒนาการค่านิยม (Organizing Valuing Process)


2. การยอมรับจากผู้อนื่ (Positive Regard from others)
3. การยอมรับตนเอง (Self-Regard)
4. ภาวะของการมีคุณค่ า (Conditions or Worth)
แนวคิดเรื่องธรรมชาติของมนุษย์
• 1. มนุษย์ เป็ นผู้มีศักดิ์ศรี
• 2. มนุษย์ มคี วามแตกต่ างกัน
• 3. มนุษย์ มีแรงจูงใจในทางทีด่ ี
• 4. พฤติกรรมของมนุษย์ ทุกอย่ างต้ องมีสาเหตุ
• 5. มนุษย์ มคี วามต้ องการ
• 6. มนุษย์ มคี วามต้ องการพัฒนาการชีวติ
• 7. มนุษย์ ต้องการการผักผ่ อน
• 8. มนุษย์ เป็ นสั ตว์ สังคม
• 9. มนุษย์ ต้องการขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม
• 10. มนุษย์ มีความต้ องการ การอยากรู้อยากเห็น

You might also like