You are on page 1of 5

สหพันธ์ นิสิตนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ แห่ งประเทศไทย

ชื่อองค์กร
สหพันธ์นิสิตนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย ( สนวท. )
THE FEDERATION OF THE ENGINEERING STUDENTS OF THAILAND ( FEST )

ประวัติ
เนื่องจากนิสิตนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์จากมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษากลุ่มหนึ่ง ได้มีความเห็นพ้อง
ต้องกันที่จะร่ วมมือกันนาความรู้ทางวิศวกรรม ที่มีอยูม่ าประกอบกิจกรรม เพื่อบาเพ็ญประโยชน์แก่ส่วนรวม และเทิดทูลต่อ
สถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ ทั้งนี้ไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการเมือง กลุ่มนิสิตนักศึกษาดังกล่าวมาจาก
1. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3. คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
5. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ธนบุรี)
6. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
7. คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (เจ้าคุณทหารลาดกระบัง)
8. คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (พระนครเหนือ)

พร้อมกันนี้ ตัวแทนของกลุ่มมีความเห็นสมควรให้การรวมตัวครั้งนี้ จัดเป็ นองค์กร เรี ยกว่า “สหพันธ์ นิสิตนักศึกษา


วิศวกรรมศาสตร์ แห่ งประเทศไทย” และให้ตราธรรมนูญขึ้น เพื่อเป็ นหลักและแนวทางขององค์กรและใช้ในการประกอบ
กิจกรรมต่อไป ซึ่งได้ตราธรรมนูญขึ้นและได้ปรับปรุ งแก้ไขมา มีลาดับดังนี้
1. ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2531 (ถือเป็ นฉบับแรกของการก่อตั้ง สนวท.)
2. ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2537 (ได้มีการปรับปรุ งแก้ไขบางมาตรา)
3. ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2540 (ได้มีการปรับปรุ งแก้ไขบางมาตรา)
4. ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2548 (ฉบับล่าสุดที่ได้ปรับปรุ งแก้ไข)
สหพันธ์ นิสิตนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ แห่ งประเทศไทย

วัตถุประสงค์
สาหรับวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง สนวท. ก็คือ
1. เพื่อเป็ นศูนย์รวมความก้าวหน้าทางวิชาการ ตลอดจนข่าวสารต่างๆทางด้านวิศวกรรมศาสตร์
2. พัฒนาการกีฬาและสมรรถภาพทางด้านกีฬาของนิสิต – นักศึกษา ที่มีคุณภาพดียงิ่ ขึ้น
3. จรรโลงไว้ซ่ ึงประเพณี และเอกลักษณ์เกี่ยวกับการจัดการแข่งขันกีฬาเพื่อความสามัคคี
4. นาวิชาการทางด้านวิศวกรรมไปใช้เป็ นแนวทางในการบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม

ประวัตคิ วามเป็ นมากีฬาเกียร์ สัมพันธ์


การแข่งขันกีฬาในหมู่คณะวิศวกรรมศาสตร์น้ นั แต่เดิมเรี ยกว่า”การแข่งขัน 8 เกียร์” (8Gear) หมายถึงการแข่งขัน
กีฬาระหว่างสถาบันการศึกษาที่ทาการสอนในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ มีอยูด่ ว้ ยกัน8สถาบันโดยมีวตั ถุประสงค์คือ ต้องการ
เสริ มสร้างความสัมพันธ์กนั ระหว่างนิสิตนักศึกษา ในสาขาวิศวกรรมศาสตร์จากทุกสถาบัน ซึ่งก่อให้เกิดผลคือ
1. มีการแลกเปลี่ยนทางด้านวิชาการมากขึ้น นามาซึ่งระดับมาตรฐานทางการศึกษา
2. เสริ มสร้างจรรยาบรรณของการเป็ นวิศวกรที่ดีในอนาคต
ดังนั้นพอจะกล่าวได้ว่า กีฬา8เกียร์ กาเนิดขึ้นเพื่อก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่วิชาการของชาติต้งั แต่ยงั ศึกษาอยู่
นั้นเอง และก่อให้เกิดการรู้จกั เข้าใจกันของวิศวกรต่างสถาบัน ซึ่งเป็ นผลดีในอนาคตในการร่ วมมือกันทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ เริ่ มแรกของการแข่งขันกีฬานี้ สมาชิกที่เข้าร่ วมการแข่งขันมีไม่ครบ 8 สถาบันจึงยังไม่เรี ยนกว่าเกียร์ 8 สถาบัน
ซึ่งในระยะบุกเบิกนั้นมีเพียง 4 สถาบันเท่านั้น อันได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
และในระยะต่อมาก็มีสถาบันการศึกษาที่เปิ ดสอนสาขาวิศวกรรมศาสตร์เพิ่มอีก 4 แห่งและส่งนักกีฬาเข้าร่ วม
แข่งขันด้วย ทาให้การแข่งขันกีฬา8เกียร์สมบูรณ์ข้ ึนและเรี ยนกว่า กีฬา 8เกียร์ มาโดยตลอด ซึ่งสถาบันการศึกษาที่เปิ ดสอน
สาขาวิศวกรรมศาสตร์เพิ่มอีก 4 แห่งได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ทั้ง3วิทยาเขต คือ
วิทยาเขตธนบุรี วิทยาเขตลาดกระบัง และวิทยาเขตพระนครเหนือ(ในสมัยนั้นยังคงเป็ นสถาบันเดียวกันอยู)่ จึงเป็ นจุดเริ่ มต้น
ของการแข่งขันกีฬา 8 เกียร์อย่างสมบูรณ์
โดยสรุ ปแล้วสถาบันการศึกษาที่เข้าร่ วมการแข่งขันกีฬา 8 เกียร์ ทั้ง 8 สถาบันมีดงั นี้
1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
5. มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์
6. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี
7. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตลาดกระบัง
8. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตพระนครเหนือ
สหพันธ์ นิสิตนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ แห่ งประเทศไทย

ในระยะต่อมาเมื่อมีความต้องการทางด้านวิศวกรรมศาสตร์เพิ่มมากขึ้น จึงทาให้สถาบันอื่นๆได้เริ่ มเปิ ดทาการสอน


ในสถาบันนี้ ทาให้ในระยะเวลาต่อมาก็มีสถาบันเพิ่มมากขึ้น ยังผลให้มีเกียร์เพิ่มมากขึ้น และมีความต้องการจะเข้าร่ วมในการ
แข่งขันกีฬาดังกล่าว ทาให้รูปแบบของกีฬา 8 เกียร์ เปลี่ยนไปกลายเป็ น”กีฬาเกียร์สมั พันธ์” โดยมีสถาบันที่มีอยูเ่ ดิมซึ่งอาจ
เปลี่ยนแปลงชื่อไปบ้างและสถาบันใหม่ที่เข้ามาใหม่
สาหรับการแข่งขันกีฬา 8 เกียร์ (8 Gear)นั้น จัดมาทั้งหมด 13 ครั้งก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็ นกีฬาเกียร์สมั พันธ์ ที่ผา่ นมา
ได้จดั ขึ้นโดยสถาบันต่างๆที่ได้รับเป็ นเจ้าภาพ “กีฬา 8 เกียร์” มีดงั นี้
ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2517 เกียร์เกษตรฯ
ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2518 เกียร์สงขลาฯ
ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2523 เกียร์เชียงใหม่
ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2524 เกียร์ขอนแก่น
ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2525 เกียร์ลาดกระบัง
ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2526 เกียร์สงขลาฯ
ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2527 เกียร์เชียงใหม่
ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2528 เกียร์ขอนแก่น
ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2529 เกียร์ลาดกระบัง
ครั้งที่ 10 พ.ศ. 2530 เกียร์เชียงใหม่
ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2531 เกียร์ขอนแก่น
ครั้งที่ 12 พ.ศ. 2532 เกียร์เกษตรฯ
และ ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2533 เกียร์บางมด

ต่อมาได้มีสถาบันการศึกษาเข้าร่ วมการแข่งขันกีฬาเพิ่มมากขึ้นจึงเปลี่ยนแปลงชื่อเป็ น “กีฬาเกียร์สมั พันธ์” (Gear


Game) และได้จดั ขึ้นทุกๆปี โดยที่ผา่ นมาได้จดั ขึ้นโดยสถาบันต่างๆที่ได้รับเป็ นเจ้าภาพมีดงั นี้

ครั้งที่ 14 พ.ศ. 2535 เกียร์เชียงใหม่ (ได้ชื่อว่ากีฬาเกียร์สมั พันธ์ครั้งที่ 1)


ครั้งที่ 15 พ.ศ. 2536 เกียร์ลาดกระบัง (ได้ชื่อว่ากีฬาเกียร์สมั พันธ์ครั้งที่ 2)
ครั้งที่ 16 พ.ศ. 2537 เกียร์สงขลาฯ (ได้ชื่อว่ากีฬาเกียร์สมั พันธ์ครั้งที่ 3)
ครั้งที่ 18 พ.ศ. 2538 เกียร์บางมด + เกียร์สยาม
ครั้งที่ 19 พ.ศ. 2539 เกียร์ขอนแก่น + เกียร์มหานคร
ครั้งที่ - พ.ศ. 2540 เกียร์เชียงใหม่ (ในปี พ.ศ. ใช้ชื่อว่า สนวท. แต่ให้ถือว่านับเป็ นกีฬาเกียร์สมั พันธ์ครั้งที่ 17 เพราะ
น่าจะมีการนับจานวนครั้งที่จดั กีฬาเกียร์ผดิ พลาด)
ครั้งที่ 20 พ.ศ. 2541 เกียร์บูรพา
ครั้งที่ 21 พ.ศ. 2542 เกียร์ธรรมศาสตร์
สหพันธ์ นิสิตนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ แห่ งประเทศไทย

ครั้งที่ 22 พ.ศ. 2544 เกียร์ศรี นคริ นทรวิโรฒ


ครั้งที่ 23 พ.ศ. 2546 เกียร์เกษตร + เกียร์ชลประทาน
ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2548 เกียร์เชียงใหม่
ครั้งที่ 25 พ.ศ. 2550 เกียร์พระเกี้ยว
ครั้งที่ 26 พ.ศ. 2552 เกียร์ธรรมศาสตร์
Link : http://fest-engineer.com
http://Fest-Thailand.hi5.com
http://festthailand.multiply.com/
http://www.geargame2009.com/

กิจกรรมประจาปี 2525
วันที่ 22-25 ตุลาคม 2552 งานกีฬาเกียร์สมั พันธ์ครั้งที่ 26 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

You might also like