You are on page 1of 3

แนวคิดเสรีนิยม เป็ นกลุ่มนโยบายทางเศรษฐกิจที่ได้รบ

ั ความนิ ยม
อยุางแพรุหลายในชุวง 25 ปี ที่ผุานมาจนถึงปั จจ่บันโดยคำาวุา
เสรีนิยม มีการใช้อยุางแพรุหลายในนานาความหมาย อาทิเชุน
แนวคิด ทางการเมือง เศรษฐกิจ หรือแนวคิดทางศาสนา
เป็ นต้นในประเทศสหรัฐอเมริกา เสรีนิยมทางการเมือง เป็ น
นโยบายเพื่อป้ องกันการขัดแย้งทางสังคม สำาหรับคนจนและ
ชนชั้นกรรมาชีพ ถือเป็ นแนวคิดที่ก้าวหน้าเมื่อเปรียบเทียบกับ
แนวคิดเชิงอน่ รก
ั ษ์นิยมหรือฝุ ายขวา แตุเมื่อนำามาปรับใช้กับ
สภาพเศรษฐกิจจะให้ผลกระทบตุอสังคมที่ตุางออกไปเพราะมา
จากรากฐานที่ตุางกัน

แนวคิดเสรีนิยมทางเศรษฐกิจเข้ามาถึง
สหรัฐอเมริกา ในชุวงปี ค.ศ.1800 -1900

โดยในปี ค.ศ.1930 ได้เกิดภาวะตกตำา่


ทางเศรษฐกิจครั้งใหญุ นั กเศรษฐศาสตร์ อดัม สมิธ ได้สร้าง
ทฤษฎีท่ีเป็ นเรื่องแปลกใหมุโดยอาศัยแนวคิดเสรีนิยม แนวคิด
นี้ เป็ นนโยบายที่เอื้ อประโยชน์ตอ
ุ นายท่นมีสาระสำาคัญ ได้แกุ
การจ้างงานอยุางเต็มรูปแบบ การไมุมีข้อบังคับทางการผลิต
ไมุมีข้อกีดกัน ทางการพาณิ ชย์ ไมุมีภาษีอากร โดยกลุาววุา
การค้าเสรีเป็ นวิธีการดีท่ีส่ดที่จะทำาให้เศรษฐกิจของชาติพัฒนา
ความเป็ นเสรีในแงุของการไมุมีการควบค่มใด ๆ การนำา
แนวคิดแบบปั จเจกชน มาประย่กต์ใช้ และสนั บสน่ นให้มีการ
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ การแขุงขันเสรี แนวคิดเหลุานี้ นำาไปสุูการ
วางนโยบายของประธานาธิบดีร่สเวลที่ทำาให้ระยะแรกชีวต
ิ ของ
ผู้คนจำานวนมากดีข้ ึน ทำาให้ชุวงนั้ นเป็ นที่ยอมรับอยุางกว้าง
ขวาง
แตุในชุวง 25 ปี ที่ผุานมา เมื่อก้าวเข้า
สุูโลกาภิวัฒน์ เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่เชื่อมโยงสังคมโลก
เข้าด้วยกัน แนวคิดเสรีนิยมจึงได้ถูกรื้ อฟื้ นขึ้นใหมุ อาจกลุาว
ได้วุามีการปฏิรูปขึ้นมาใหมุให้ทันตุอย่คสมัย โดยเรียกวุา Neo
- Liberalism (แนวคิดเสรีนิยมสมัยใหม่) เป็ นโลกาภิวัฒน์ทาง
เศรษฐกิจท่นนิ ยมที่เติบโตอยุางรวดเร็วในระดับโลก
ประเด็นสำาคัญของแนวคิดเสรีนิยมสมัยใหมุ
ทางเศรษฐกิจ
มี 4 ประการ คือ
-กฎเกณฑ์ของตลาด คือ การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
หรือการทำาให้รฐั วิสาหกิจไมุมีพันธะใด ๆ ตุอรัฐ การเปิ ดกว้าง
ให้กับการค้าและการลงท่นระหวุางประเทศ เป็ นต้น
- การตัดลดรายจ่ายสาธารณะทางด้านบริการสังคม
เชุน การศึกษาและการสาธารณส่ข หรือแม้แตุการซุอมบำาร่ง
ถนน สะพาน นำ้าประปา โดยอ้างวุาเป็ นการลดบทบาทของ
รัฐบาล แตุอยุางไรก็ดีกลับไมุคัดค้านการที่รฐั บาลให้การ
สนั บสน่ นและเอื้ อประโยชน์ ให้กับกลุ่มภาษีทางธ่รกิจ
- การตัดลดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของรัฐบาลในทุกเรื่อง
ที่จะมีผลกระทบต่อผลกำาไร เชุน การค้่มครองสิ่งแวดล้อมและการ
ปลอดภัยในการทำางาน
- การแปรรูรัฐวิสาหกิจขายรัฐวิสาหกิจ สินค้าและ
บริการที่รัฐเป็ นเจ้าของให้กับเอกชน เชุน ธนาคาร อ่ตสาหกรรมสำาคัญ
ๆ ถนน ทางรถไฟ ทางหลวงที่เก็บคุาผุานทาง ไฟฟ้ า เป็ นต้น
โดยอ้างเหต่ผลวุาทำาไปเพื่อเพิ่มประสิทธิ แตุการแปรรูป
รัฐวิสาหกิจนั้ น กลับทำาให้เกิดการกระจ่กตัวของความมัง่ คัง่ ที่
ร่นแรงขึ้นในมือของคนไมุก่ีคนและทำาให้ และแทนด้วยคำาวุา
ความรับผิดชอบเป็ นการสุวนตัวกดดันให้คนที่มีฐานะยากจน
ที่ส่ดไปหาทางออกเอาเอง ซึ่งหากทำาไมุได้ก็จะถูกกลุาวหาวุา
เกียจคร้าน

แนวคิดดังกลุาวนี้ มีการแพรุขยายไปทัว่ โลก สืบ


เนื่ องจากการนำามาใช้โดยสถาบันทางการเงินที่ทรงอำานาจ เชุน
IMF Worldbank ฯลฯ จึงเป็ นเรื่องที่ไมุอาจหลีกเลี่ยงได้
สำาหรับประเทศไทย ที่ในที่ส่ดก็ได้รบ
ั อิทธิพลจากแนวคิดนี้ แตุ
ก็เป็ นเรื่องที่ต้องยอมรับวุา เป็ นเรื่องที่ถูกต้องเหมาะสมแล้ว
หรือไมุกับสถานการณ์ของประเทศไทยในขณะนี้ ซึ่งเมื่อ
พิจารณาถึงสภาพเศรษฐกิจสังคมที่เป็ นอยุูก็สามารถดำาเนิ นไป
ได้อยุางไมุนากนั ก กับการที่คนในประเทศตุางพออยุูพอกินโดย
ไมุต้องดำาเนิ นตามแนวคิดของตุางประเทศมากนั ก เพียงแตุคน
ไทยคงจะต้องกลับมายอมรับการใช้ชีวิตที่ต้ ังอยุูบนความพอ
เพียงที่ไมุทำาให้ใครเดือดร้อน และตนเองก็มีความส่ขได้บน
ความเพียงพอที่สามารถยืนหยัดอยุไู ด้ด้วยตนเอง.

You might also like