You are on page 1of 26

บทความทางวิชาการ

เรื่อง
สุนทรียภาพกับการเรียนรู

เสนอ
ดร. ชฎาภรณ โฆษิตานนท สงวนแกว

โดย
นางนันทิกาญจน ธนากรวัจน
5351600027

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอรสําหรับบัณฑิต
สาขาการบริหารการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
1
 

สุนทรียภาพกับการเรียนรู

เมื่อกลาวถึง สุนทรีภาพ คนสวนใหญมกั นึกพาดพิงไปที่คําวา สุนทรียศาสตร หาก


พิจารณารายละเอียดของความหมายทั้งสองคํานี้ ตางมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน โดยตั้งอยูบน
พื้นฐานในเรื่องของความงามและความพึงพอใจ จากแนวคิดดังกลาว พบวาเมื่อมนุษยเกิดความ
พึงพอใจตอสรรพสิ่งบนโลก ไมวาจะเปนความพึงพอใจที่มีอยูในธรรมชาติ หรือมีตอบุคคลใด
บุคคลหนึ่ง และอาจจะมีตอสถานบันตาง ๆ ในสังคม ความรูสึกดังกลาวมาจากความชอบ
ความชื่นชม อันเปนความรูสึกพื้นฐานซึง่ สามารถพัฒนาตอไปจนเกิดเปนความสนใจอยากเขาไป
ทําความคุนเคยและอยากเรียนรูในรายละเอียดตาง ๆ จากความสนใจที่เกิดขึ้นความรูดังกลาวนี้
เปนสิ่งผูกพันอยูในจิตใจของมนุษยทุกคน ซึ่งมีความแตกตางกันไปตามพื้นฐานประสบการณใน
ชีวติ และตามศักยภาพทางการรับรูของแตละบุคคล

ภาพที่ 1.1 การเคลื่อนที่ของวัตถุในมุมมองที่แตกตางกัน

ความเปนมาและความหมายของสุนทรีศาสตร
นิยามแหงความงามนั้น ไดถูกตั้งเปนประเด็นทางการศึกษามายาวนานนับศตวรรษ
จนในที่สุดไดถูกจัดใหเปนการศึกษาในรูปแบบของทฤษฎีแหงคุณคาหรือคุณวิทยา(Axiology)
ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญของศักยภาพแหงความเปนมนุษย อันเปนประกอบดวย ความจริง
(ตรรกศาสตร) ความดี (จริยศาสตร) และความงาม (สุนทรียศาสตร)
ในทํานองเดียวกันการทําความเขาใจถึงความหมายของความงามนั้น จําเปนตองเขาใจ
ถึงหลักปรัชญาของสุนทรียศาสตร ซึ่งประกอบดวยแนวคิดของนักปรัชญาสองกลุม โดยกลุมแรก
2
 

ชื่อวา ความงามนั้นเปนสิ่งที่ขึ้นอยูกับผูรบั รู (Subjective) และอีกกลุมเชื่อวาความงามนั้นมีคาที่


เที่ยงแท (absolute, objective)
อยางไรก็ตาม มีผูรูหลายทานไดใหความหมายคําวาสุนทรียศาสตรไวมากมาย จนใน
ที่สุด อเล็กซานเดอร กอททรีบ โบมการเดน (Alexander Gottrib Baumgaten) นักปรัชญาชาว
เยอรมัน ไดตีพิมพผลงานเรื่องสะทอนของกวีนิพนธ (The Aestheteca) โดยอธิบายถถึงการรับรู
ความรูสึกดวยประสาทสัมผัส ซึ่งเปนสิ่งที่เขาคนพบในบทกวีนิพนธ และความรูเชนนี้สามารถ
ขยายไปสูการรับรูเรื่องราวในศิลปะสาขาอื่น ๆ ได นอกจากนี้เขายังพิจารณาคําวา Aesthesis
ในภาษากรีกซึ่งหมายถึงการกําหนดรู เพื่อประกอบเปนฐานความคิดนําไปสูที่มาของคําวา
สุนทรียศาสตร (Aesthetic) โดยนํามาใชเปนครั้งแรกในหนังสือดังกลาว จากนั้นจึงเริ่มใชคําวา
Aesthetic เพื่ออธิบายเรื่องราวของการรับรูทางประสาทสัมผัส จนไดรับการยกยองใหเปนบิดา
แหงสุนทรียศาสตร โดยกําหนดประเด็นในการอธิบายความหมายของคําวา สุนทรียศาสตร
(Aesthetic) ดังนี้
1. สุนทรียศาสตร เปนความรูจากประสบการณ (Conceptual Knowledge) ซึ่งเปนการ
นําเอาเหตุผลมาตัดสินความงาม
2. สุนทรียศาสตร เปนความรูโดยตรง (intuitive Knowledge) ทีเ่ กิดขึ้นอยางฉับพลัน
หรือเรียกวาการหยั่งรู ซึ่งเปนความรูที่สงู กวาปกติและเปนการนําความรูที่ใชมาตัดสินความงาม
โดยไมจําเปนตองอาศัยเหตุผลอื่นเขามาเกี่ยวของ

อเล็กซานเดอร กอททรีบ โบมการเดน (Alexander Gottrib Baumgaten)


ผูไดรับการยกยองวาเปนบิดาแหงสุนทรียศาสตร
3
 

แมวาความงามไดถูกกําหนดใหเกิดมาตรฐานทางการศึกษา โดยจัดใหอยูในศาสตร
แขนงอภิปรัชญา ภายใตกรอบความคิดของทฤษฎีคณ ุ วิทยา อยางไรก็ตามการทําความเขาใจ
เรื่องความงามนั้นกลาวไดวา สุนทรียศาสตรยังคงเปนเพียงแนวทางหนึ่งในการสัมผัส ซึ่งความ
งาม เพราะความงดงามที่บังเกิดขึ้นภายในจิตใจของมนุษยแตละคนนัน้ แทจริงแลวตางถูกกลั่น
กรองออกมาจากความรูสึกอันละเอียดออน ซึ่งจําเปนตองเปดโอกาสใหใจไดสัมผัสกับสรรพสิง่
บนโลก ดวยการสะสมประสบการณทางการรับรูความงาม จากความรึคิดและการกระทําทั้งมวล
ของมนุษยเอง

ความหมายของสุนทรียภาพ
ดังที่ไดกลาวมาในเบื้องตนวาสุนทรียศาสตร หมายถึง ศาสตรทมี่ ีเนื้อหาในเรื่องของ
การศึกษามาตรฐานแหงความงาม ซึ่งมาจากการรับรูทางประสาทสัมผัส เปนผลเกิดสภาวะทาง
ใจในเรื่องของความรูสึกปติ อิ่มเอม และสะเทือนอารมณ ดวยความรูดังกลาวนี้ แมมีความ
แตกตางกันไปในแตละบุคคล แตก็สามารถพัฒนาใหเกิดเปนความคุนเคย และสงผลใหกลายเปน
ความซาบซึ้งตอความงามของสรรพสิ่งได อยางไรก็ตามดวยภาวะที่เปนนามธรรมเชนนี้ลวนยาก
ตอการทําความเขาใจ ดังนั้นสรรพสิ่งที่เปนสาระแหงความงามจึงถูกกําหนดดวย คําวา สุนทรียะ
และคําวาสุนทรียะ ในภาษาบาลีนั้นหมายถึง สุนทรียศาสตร
อยางไรก็ตาม ภาวะแหงความซาบซึ้งตอความงามของสรรพสิ่ง คือ การรูถึงคุณคา
ในความงามโดยปราศจากการหวังผลตอบแทนใดๆ เหตุดังกลาวนีถ้ ือไดวาเปนความรูสึกบริสทุ ธิ์
ดังเชน เอมมานูเอล คานท (Immanuel Kant) นักปรัชญาชาวเยอรมันนี กลาวไดวา “บางครั้ง
เราก็มีความรูส ึกมีความสุขเพื่อความสุขเทานั้น”

เอมมานูเอล คานท (Immanuel Kant) นักปรัชญาชาวเยอรมันนี


4
 

ดังนั้น การทําความเขาใจประสบการณทกี่ ลาวมาในเบือ้ ตน นอกจากความสําคัญตาม


หลักการของสุนทรียศาสตร ซึ่งเปนกรอบความคิดพื้นฐานตอการเขาใจถึงปรากฏการณที่เปน
นามธรรมในเรื่องของอารมณความรูสึกทางความงามแลว ประสบการณสุนทรียะยังประกอบดวย
องคประกอบตาง ๆ ดังนี้
1. ความรูสึกทางประสาทสัมผัส ที่ไดรับทางประสาทสัมผัสของเสียงและแสง จากทางหู
และทางตา
2. อารมณ อารมณที่เปนสุข หรืออารมณเศรา เกิดขึ้นไดดวยวิธกี ารทางประสาทสัมผัส
เชน เสียงดนตรีที่บรรเลงดวยจังหวะซ้ํา ๆ อยางรวดเร็ว กอใหเกิดความรูสึกของการเคลื่อนไหว
3. ความหมายแหงสรรพสิ่ง บางครั้งความหมายที่เดนชัดเกิดขึ้นไดโดยทางเสียง หรือ
คํา เชน บทกวีที่สามารถสือ่ ความหมายแหงอารมณ ความรูสึกมายังผูอาน
4. ความรูสึก ประสบการณทางสุนทรียะนั้นเปนสิ่งที่เต็มไปดวยความรูสึก เชนในกรณี
ของภาพที่วาดโดยเลียนแบบจากธรรมชาติ ทําใหเรารูไดเชนเดียวกับที่เห็นวัตถุจริง จากการถูก
ลอกแบบ คลายกันกับที่คนรักสุนัข จะไดรับความรูสกึ เปนสุมเมื่อเห็นภาพวาดของสุนัข และ
ความรูสึกเปนสุขนี้สามารถเทียบไดกับความรูสึกเปนสุขดังเชนที่เขาเห็นสุนัขนั้นจริง ๆ
5. ตัวบุคคล ซึง่ เปนผูชี้ขาดถึงการรับรูประสบการณสุนทรียะ จากการเริ่มเขารวมเปน
อันหนึ่งอันเดียวกันกับสิ่งทีเ่ ปนสุนทรียะ อยางไรก็ตามการเขารวมดังกลาวนี้ ตัวบุคคลมักไมรูวา
ตนเองกําลังเขารวมกับสิ่งสุนทรียะนั้น ๆ
ดังนั้น จึงสรุปไดวา สุนทรียภาพ หมายถึง ความรูสึกอันเกิดจากการรับรูทางประสาท
สัมผัส ที่มีความสัมพันธกับประสบการณในชีวติ โดยไมหวังผลตอบแทนใด ๆ ความรูสึกเชนนี้
เปนอารมณที่เกิดขึ้นภายในใจ จากการซาบซึ้งในอรรถรสแหงความงาม ความไพเราะ และความ
สะเทือนใจ
มหาวีระ ศาสดาผูกอกําเนิดศาสนาชินะหรือเชน ซึ่งอยูในยุคกอนพระพุทธเจา กลาววา
วัตถุแหงความงามมิใชเพียงแคสรรพสิ่งที่สัมผัสได หากรวมไปถึงอากาศทีว่ าง เวลาการ
เคลื่อนไหวและการไมเคลื่อนไหว ซึ่งทั้งหมดนี้เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นบนโลก แนวคิด
ดังกลาวนี้ จะพบวามีการตอบคําถามเกี่ยวกับความจริงของโลกและชีวิตโดยไมเกี่ยวของกับ
เทพเจา
พระพุทธเจา กลาววา ความงามที่สูงสุดของชีวิตคือความวางเปลาและการหลุดพนจาก
สิ่งยึดเหนี่ยว โดยเนนเรื่องความเขาใจชีวิต ซึ่งไมเกี่ยวของกับศรัทธาในศาสดาเชนเดียวกับ
ศาสนาเชน
เหลาจื้อ ผูใหกําเนิดปรัชญาเตา กลาววา ความงามมาจากการใชชีวติ เรียบงายตาม
ธรรมชาติ
5
 

ขงจื้อ ผูกอกําเนิดลัทธิหยู (ปญญาชน) กลาววา ความงามมาจากพฤติกรรมของมนุษย


ที่ผูกพันระหวางกายและใจเขาไวดวยกัน
โฮเมอร (Homer) จินตกวีชาวกรีก กลาววา ความงามเปนความมหัศจรรยแหงชีวิต
โสเครตีส (Socrates) นักปราชญชาวกรีก กลาววา ความงามเปนความเหมาะสมของ
สัดสวนและรูปทรง
เพลโต (Plato) นักปราชญชาวกรีก กลาววา ความงามเปนแบบทีอ่ ยูในสากลจักรวาล
ซึ่งเปนรูปแบบอันนิรันดรที่พระเจาประทานใหมวลมนุษยมีเพียงศิลปนเทานั้น ที่จะเขาถึงแบบ
ดังกลาว และสรางออกมาเปนผลงานศิลปะ
อริสโตเติล (Aristotle) นักปราชญชาวกรีก กลาววา ความงามเปนแบบดังเชนทีเ่ พลโต
กลาว แตมิไดอยูในสากลจักรวาล หากเปนแบบที่อยูใ นสรรพสิ่งทั้งมวล และไมพนวิสัยการรับรู
ของมนุษย โดยตองเปนสิ่งที่มีทั้งประโยชนใชสอย และความงดงามควบคูกันไป นอกจากนี้
จะตองเปนสิ่งที่สรางขึ้นจากจินตนาการควบคูไปกับธรรมชาติ
เซนตโทมัธ ออกัสติน (St. Augustine) บาทหลวงและนักปรัชญา ในสมัยกลาง
กลาววา ความงามเปนสิ่งที่จะสรางขึ้น ซึ่งอยูนอกเหนือวิสัยทัศนของเหตุผล (ธีรยุทธ บุญมี,
2545 : 47-49, 67-73)
จากแนวคิดทัง้ หมดนี้พบวา การที่มนุษยเกิดความพึงพอใจตอสรรพสิ่งบนโลก เปนเรื่อง
ของการรับรูทลี่ ะเอียดออน จึงควรทําความเขาใจใหชดั เจน เนื่องจากความงามเปนนามธรรมที่
แตละบุคคลมีอิสระตอความรูสึกดังกลาวนี้ อยางไรก็ตามสุนทรียภาพที่เกิดขึ้นในแงของการรับรู
คุณคาของความงามนั้น เปนความรูสึกพึงพอใจโดยไมหวังผลตอบแทนใด ๆ กระนั้นก็ตาม
ความรูสึกดังกลาวนี้ เกิดขึน้ แตกตางกันในแตละบุคคล ซึ่งยากตอการหาขอสรุป จึงมักมีคําถาม
อยูเสมอวา ความงามคืออะไร ความงามอยูตรงไหน และตัดสินอยางไรวางาม ความ
เคลือบแคลงเชนนี้เกิดขึ้นกับมนุษยมานานนับศตวรรษ โดยเฉพาะในชวงเวลาแหงการพัฒนา
ระบบความคิดจนเกิดเปนศาสตรแขนงตาง ๆ ในเวลาตอมา
สุนทรียภาพตามกระบวนการนี้เกี่ยวของโดยตรงกับเรือ่ งของการรับรูภายใตความเชื่อวา
เมื่อรางกายรับรูสิ่งใดจะมีผลตอจิตใจเสมอโดยมีระดับการรับรูเปน 3 ระดับ คือ
1. รับรูภาพรวม ทําใหเกิดความรูสึกวางามมาจากความพอใจ
2. รับรูดวยเหตุผล ทําใหเกิดการวิเคราะห เลือกสรรในสิ่งที่เห็นงามจากการเรียนรูตาม
เหตุผลแหงใจ
3. รับรูดวยการสังเกตในรายละเอียด ทําใหเกิดการสังเคราะห พบวิธีการ และมีคําตอบ
ตอการอธิบายคุณคาของความงาม จากความซาบซึ้งที่ตองกระทบจิตใจ
6
 

การเรียนรู ( Learning )
การเรียนรู เปนกระบวนการที่มีความสําคัญและจําเปนในการดํารงชีวติ สิ่งมีชีวิตไมวา
มนุษยหรือสัตวเริ่มเรียนรูต ั้งแตแรกเกิดจนตาย สําหรับมนุษยการเรียนรูเปนสิ่งที่ชว ยพัฒนาให
มนุษยแตกตางไปจากสัตวโลกอื่นๆ ดังพระราชนิพนธบทความของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ที่วา "สิ่งที่ทําใหคนเราแตกตางจากสัตวอื่นๆ ก็เพราะวา คนยอมมีปญญา
ที่จะนึกคิดและปฏิบตั ิสิ่งดีมีประโยชนและถูกตองได" การเรียนรูชวยใหมนุษยรูจักวิธีดําเนินชีวติ
อยางเปนสุข ปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมและสภาพการตาง ๆ ได ความสามารถในการ
เรียนรูของมนุษยจะมีอิทธิพลตอความสําเร็จและความพึงพอใจในชีวติ ของมนุษยดว ย

ความหมายของการเรียนรู
ความหมายของคําวา “การเรียนรู” มีนักจิตวิทยาไดใหความหมายของการเรียนรูไว
หลายทานในที่นี้จะสรุปพอเปนแนวทางใหเขาใจดังนี้คือ
การเรียนรู หมายถึง การที่มนุษยไดรับรูถึงสิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวเขา โดยเริ่มตนตั้งแต
การมีปฏิสนธิอยูในครรภมารดาเรื่อยไป จนกระทั่งคลอดมาเปนทารกแลวอยูรอด ซึ่งบุคคลก็ตอง
ปรับตัวเพื่อใหตนเองอยูรอดกับสิ่งแวดลอมทั้งภายในครรภมารดา และเมื่อออกมาอยูภายนอก
เพื่อใหชีวติ ดํารงอยูรอดทั้งนี้ก็เพราะการเรียนรูทั้งสิ้น
การเรียนรู มีความหมายลึกซึ้งมากกวาการสั่งสอน หรือการบอกเลาใหเขาใจ และจําได
เทานั้น ไมใชเรื่องของการทําตามแบบไมไดมีความหมายตอการเรียนในวิชาตาง ๆ เทานั้น
แตความหมายคลุมไปถึงการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม อันเปนผลจากการสังเกตพิจารณา
ไตรตรอง แกปญหาทั้งปวง และไมชี้ชัดวาการเปลี่ยนแปลงนั้นเปนไปในทางที่สังคมยอมรับ
เทานั้น การเรียนรูเปนการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอม การเรียนรูเปนความเจริญงอกงามเนน
วาการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมที่เปนการเรียนรูตองเนื่องมาจากประสบการณ หรือการฝกหัด
7
 

และพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น ควรจะตองมีความคงทนถาวรเหมาะแกเหตุ เมื่อพฤติกรรม


ดั้งเดิมเปลี่ยนไปสูพฤติกรรมที่มุงหวัง ก็แสดงวาเกิดการเรียนรูแลว
การเรียนรู หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมในการแสดงปฏิกิริยา
ตอบสนองตอสถานการณอยางใดอยางหนึ่ง
การเรียนรู หมายถึง การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมอันมีผลมาจากการไดมีประสบการณ
การเรียนรู หมายถึง กระบวนการที่ทําใหเกิดกิจกรรม หรือ กระบวนการที่ทําให
กิจกรรมเปลี่ยนแปลงไปโดยเปนผลตอบสนองจากสภาพการณหนึ่ง ซึ่งไมใชปฏิกิริยาธรรมชาติ
ไมใชวุฒิภาวะ และไมใชสภาพการเปลีย่ นแปลงของรางกายชั่วครัง้ ชั่วคราวที่เนือ่ งมาจากความ
เหนื่อยลาหรือฤทธิย์ า
การเรียนรู หมายถึง กระบวนการที่เนื่องมาจากประสบการณตรงและประสบการณออม
กระทําใหอินทรียเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคอนขางถาวร
การเรียนรู หมายถึง การเปลี่ยนแปลงคอนขางถาวรในพฤติกรรม ซึ่งเปนผลของการ
ฝกหัด
คิมเบิล (Kimble, 1964) "การเรียนรู เปนการเปลี่ยนแปลงคอนขางถาวรในพฤติกรรม
อันเปนผลมาจากการฝกที่ไดรบั การเสริมแรง"
ฮิลการด และเบาเวอร (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู เปนกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเปนผลมาจากประสบการณและการฝก ทั้งนี้ไมรวมถึงการเปลี่ยน
แปลงของพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือสารเคมี หรือ
ปฏิกริยาสะทอนตามธรรมชาติของมนุษย "
คอนบาค (Cronbach) "การเรียนรู เปนการแสดงใหเห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยน
แปลง อันเปนผลเนื่องมาจากประสบการณที่แตละบุคคลประสบมา "
พจนานุกรมของเวบสเตอร (Webster 's Third New International Dictionary) "การ
เรียนรู คือ กระบวนการเพิม่ พูนและปรุงแตงระบบความรู ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกตางๆ
อันมีผลมาจากสิ่งกระตุนอินทรียโดยผานประสบการณ การปฏิบัติ หรือการฝกฝน"
ประดินันท อุปรมัย (2540, ชุดวิชาพื้นฐานการศึกษา(มนุษยกับการเรียนรู) : นนทบุรี,
พิมพครั้งที่ 15, หนา 121) “ การเรียนรูคือการเปลี่ยนแปลงของบุคคลอันมีผลเนือ่ งมาจากการ
ไดรับประสบการณ โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นเปนเหตุทําใหบุคคลเผชิญสถานการณเดิมแตกตาง
ไปจากเดิม “ประสบการณที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม หมายถึงทั้งประสบการณ
ทางตรงและประสบการณทางออม
ประสบการณทางตรง คือ ประสบการณที่บุคคลไดพบหรือสัมผัสดวยตนเอง เชน เด็ก
เล็กๆ ที่ยังไมเคยรูจักหรือเรียนรูคําวา “รอน” เวลาทีค่ ลานเขาไปใกลกาน้ํารอน แลวผูใหญบอก
วารอน และหามคลานเขาไปหาเด็กยอมไมเขาใจ และคงคลานเขาไปหาอยูอีก จนกวาจะไดใชมือ
หรืออวัยวะสวนใดสวนหนึ่งของรางกาย ไปสัมผัสกาน้ํารอน จึงจะรูวากาน้ําทีว่ า รอนนั้นเปน
8
 

อยางไร ตอไปเมื่อเขาเห็นกาน้ําอีกแลวผูใ หญบอกวา กาน้ํานั้นรอนเขาจะไมคลานเขาไปจับ


กาน้ํานั้น เพราะเกิดการเรียนรูคําวารอนที่ผูใหญบอกแลว เชนนี้กลาวไดวา ประสบการณ
ตรงมีผลทําใหเกิดการเรียนรู เพราะมีการเปลี่ยนแปลงที่ทําใหเผชิญกับสถานการณเดิมแตกตาง
ไปจากเดิม ในการมีประสบการณตรงบางอยางอาจทําใหบุคคลมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แตไมถือวาเปนการเรียนรู ไดแก
1. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากฤทธิ์ยา หรือสิ่งเสพติดบางอยาง
2. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเจ็บปวยทางกายหรือทางใจ
3. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความเหนื่อยลาของรางกาย
4. พฤติกรรมที่เกิดจากปฏิกิริยาสะทอนตางๆ
ประสบการณทางออม คือ ประสบการณที่ผูเรียนมิไดพบหรือสัมผัสดวยตนเองโดยตรง
แตอาจไดรับประสบการณทางออมจาก การอบรมสั่งสอนหรือการบอกเลา การอานหนังสือ
ตางๆ และการรับรูจากสื่อมวลชนตางๆ
จากความหมายของการเรียนรูขา งตนอาจสรุปไดวา การเรียนรู หมายถึง การ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเปนผลจากการที่บุคคลทํากิจกรรมใดๆ ทําใหเกิดประสบการณ และ
เกิดทักษะตางๆ ขึ้นยังผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคอนขางถาวร
9
 

ธรรมชาติของการเรียนรู
ธรรมชาติของการเรียนรูโดยทั่วไปนักจิตวิทยา เชื่อวามนุษยจะมีการเรียนรูไดก็ ตอเมื่อ
มนุษยไดทํากิจกรรมใดๆ แลวเกิดประสบการณ ประสบการณที่สะสมมามากๆ และหลายๆ ครัง้
ทําใหมนุษยเกิดการเรียนรูขึ้นและเกิดการพัฒนาสิ่งที่เรียนรูจนเกิดเปนทักษะ และเกิดเปนความ
ชํานาญ ดังนั้นการเรียนรูของมนุษยก็จะอยูกับตัวของมนุษยเรียกวาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ที่คอนขางถาวร ดังนั้นหัวขอที่นา ศึกษาตอไปคือธรรมชาติของการเรียนรูของมนุษยมีอะไรบาง
ในที่นี้ขออธิบายเปนขอๆ คือ
1. การเรียนรูคือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคอนขางถาวร
2. การเรียนรูยอมมีการแกไข ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลง โดยการเปลี่ยนแปลงนัน้ ๆ จะตอง
เนื่องมาจากประสบการณ
3. การเปลี่ยนแปลงชั่วครัง้ ชั่วคราวไมนับวาเปนการเรียนรู
4. การเรียนรูใ นสิ่งใดสิ่งหนึ่งยอมตองอาศัยการสังเกตพฤติกรรม
5. การเรียนรูเ ปนกระบวนการที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และกระบวนการ
เรียนรูเกิดขึ้นตลอดเวลาทีบ่ ุคคลมีชีวติ อยู โดยอาศัยประสบการณในชีวติ
6. การเรียนรูไ มใชวุฒิภาวะแตอาศัยวุฒิภาวะ วุฒิภาวะคือระดับความเจริญเติบโตสูงสุดของ
พัฒนาการทางดานรางกาย อารมณ สังคมและสติปญ  ญาของบุคคลในแตละชวงวัยที่
เปนไปตามธรรมชาติ แตการเรียนรูไมใชวฒ ุ ิภาวะแตตองอาศัยวุฒิภาวะประกอบกัน
7. การเรียนรูเ กิดไดงายถาสิ่งที่เรียนเปนสิ่งที่มีความหมายตอผูเรียน
8. การเรียนรูข องแตละคนแตกตางกัน
9. การเรียนรูย อมเปนผลใหเกิดการสรางแบบแผนของพฤติกรรมใหม
10. การเรียนรูอาจจะเกิดขึ้นโดยการตั้งใจหรือเกิดโดยบังเอิญก็ได

จุดมุงหมายของการเรียนรู
พฤติกรรมการเรียนรูตามจุดมุงหมายของนักการศึกษาซึ่งกําหนดโดย บลูม และคณะ
(Bloom and Others ) มุงพัฒนาผูเรียนใน 3 ดาน ดังนี้
1. ดานพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรูที่เปนความสามารถ
ทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจํา ความเขาใจ การนําไปใชการวิเคราะห
การสังเคราะห และประเมินผล
2. ดานเจตพิสัย (Affective Domain) คือ ผลของการเรียนรูที่เปลีย่ นแปลงดานความรูสึก
ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรูสึก ความสนใจ ทัศนคติ การประเมินคาและคานิยม
3. ดานทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรูที่เปนความสามารถ
ดานการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การกระทํา การปฏิบัติงาน การ
มีทักษะและความชํานาญ
10
 

องคประกอบสําคัญของการเรียนรู
ดอลลารด และมิลเลอร (Dallard and Miller) เสนอวาการเรียนรู มีองคประกอบสําคัญ
4 ประการ คือ
1. แรงขับ (Drive) เปนความตองการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เปนความพรอมที่จะ
เรียนรูของบุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกลามเนื้อ แรงขับและความพรอมเหลานี้จะ
กอใหเกิดปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมที่จะชักนําไปสูการเรียนรูตอไป
2. สิ่งเรา (Stimulus) เปนสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในสถานการณตาง ๆ ซึ่งเปนตัวการที่
ทําใหบุคคลมีปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียนการสอน สิ่งเราจะ
หมายถึงครู กิจกรรมการสอน และอุปกรณการสอนตางๆ ที่ครูนํามาใช
3. การตอบสนอง (Response) เปนปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตาง ๆ ที่แสดงออกมา
เมื่อบุคคลไดรบั การกระตุนจากสิ่งเรา ทั้งสวนที่สังเกตเห็นไดและสวนที่ไมสามารถสังเกตเห็นได
เชน การเคลื่อนไหว ทาทาง คําพูด การคิด การรับรู ความสนใจ และความรูสึก เปนตน
4. การเสริมแรง (Reinforcement) เปนการใหสิ่งที่มีอิทธิพลตอบุคคลอันมีผลในการเพิ่ม
พลังใหเกิดการเชื่อมโยง ระหวางสิ่งเรากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การเสริมแรงมีทั้งทางบวกและ
ทางลบ ซึ่งมีผลตอการเรียนรูของบุคคลเปนอันมาก
ธรรมชาติของการเรียนรู
การเรียนรูมีลกั ษณะสําคัญดังตอไปนี้
1. การเรียนรูเปนกระบวนการ การเกิดการเรียนรูของบุคคลจะมีกระบวนการของการ
เรียนรูจากการไมรูไปสูการเรียนรู 5 ขั้นตอน คือ
1.1 มีสิ่งเรามากระตุนบุคคล
1.2 บุคคลสัมผัสสิ่งเราดวยประสาททั้ง 5
1.3 บุคคลแปลความหมายหรือรับรูสิ่งเรา
1.4 บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองอยางใดอยางหนึ่งตอสิ่งเราตามที่รับรู
1.5 บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการตอบสนองตอสิ่งเรา
11
 

Sensation Perception
Stimulus
ประสาทรับสัมผัส การรับรู
สิ่งเรา
เกิดการเรียนรู
Response Concept
Learning ปฏิกิริยาตอบสนอง ความคิดรวบยอด
การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม

การเรียนรูเริ่มเกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเรา (Stimulus) มากระตุนบุคคล ระบบประสาทจะตื่นตัว


เกิดการรับสัมผัส (Sensation) ดวยประสาทสัมผัสทัง้ 5 แลวสงกระแสประสาทไปยังสมอง
เพื่อแปลความหมายโดยอาศัยประสบการณเดิมเปนการรับรู (Perception) ใหม อาจสอดคลอง
หรือแตกตางไปจากประสบการณเดิม แลวสรุปผลของการรับรูนั้น เปนความเขาใจหรือความคิด
รวบยอด (Concept) และมีปฏิกิริยาตอบสนอง (Response) อยางใดอยางหนึ่งตอสิ่งเรา ตามที่
รับรูซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแสดงวาเกิดการเรียนรูแลว
2. การเรียนรูไมใชวุฒิภาวะแตการเรียนรูอ าศัยวุฒิภาวะ
วุฒิภาวะ คือ ระดับความเจริญเติบโตสูงสุดของพัฒนาการดานรางกาย อารมณ สังคม
และสติปญญาของบุคคลแตละวัยที่เปนไปตามธรรมชาติ แมวาการเรียนรูจะไมใชวุฒิภาวะแต
การเรียนรูตองอาศัยวุฒิภาวะดวยเพราะการที่บุคคลจะมีความสามารถในการรับรูห รือตอบสนอง
ตอสิ่งเรามากหรือนอยเพียงใดขึ้นอยูกับวาบุคคลนั้นมีวุฒิภาวะเพียงพอหรือไม
3. การเรียนรูเกิดไดงาย ถาสิ่งที่เรียนเปนสิ่งที่มีความหมายตอผูเรียน
การเรียนสิ่งทีม่ ีความหมายตอผูเรียน คือ การเรียนในสิ่งที่ผูเรียนตองการจะเรียนหรือ
สนใจจะเรียน เหมาะกับวัยและวุฒิภาวะของผูเรียนและเกิดประโยชนแกผูเรียน การเรียนในสิ่งที่
มีความหมายตอผูเรียนยอมทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดีกวาการเรียนในสิ่งที่ผเู รียนไม
ตองการหรือไมสนใจ
4. การเรียนรูแตกตางกันตามตัวบุคคลและวิธีการในการเรียน
ในการเรียนรูส ิ่งเดียวกัน บุคคลตางกันอาจเรียนรูไดไมเทากันเพราะบุคคลอาจมีความ
พรอมตางกัน มีความสามารถในการเรียนตางกัน มีอารมณและความสนใจทีจ่ ะเรียนตางกัน
และมีความรูเดิมหรือประสบการณเดิมที่เกี่ยวของกับสิง่ ที่จะเรียนตางกัน
ในการเรียนรูส ิ่งเดียวกัน ถาใชวิธีเรียนตางกัน ผลของการเรียนรูอาจมากนอยตางกันได
และวิธีทที่ ําใหเกิดการเรียนรูไดมากสําหรับบุคคลหนึ่งอาจไมใชวิธเี รียนที่ทําใหอีกบุคคลหนึ่งเกิด
การเรียนรูไดมากเทากับบุคคลนั้นก็ได
12
 

การถายโยงการเรียนรู
การถายโยงการเรียนรูเกิดขึ้นได 2 ลักษณะ คือ การถายโยงการเรียนรูทางบวก
(Positive Transfer) และการถายโยงการเรียนรูทางลบ (Negative Transfer)
การถายโยงการเรียนรูทางบวก (Positive Transfer) คือ การถายโยงการเรียนรูชนิดที่
ผลของการเรียนรูงานหนึ่งชวยใหผเู รียนเกิดการเรียนรูอีกงานหนึ่งไดเร็วขึ้น งายขึ้น หรือดีขึ้น
การถายโยงการเรียนรูทางบวก มักเกิดจาก
1. เมื่องานหนึ่ง มีความคลายคลึงกับอีกงานหนึ่ง และผูเรียนเกิดการเรียนรูงานแรก
อยางแจมแจงแลว
2. เมื่อผูเรียนมองเห็นความสัมพันธระหวางงานหนึ่งกับอีกงานหนึ่ง
3. เมื่อผูเรียนมีความตั้งใจที่จะนําผลการเรียนรูจากงานหนึ่งไปใชใหเปนประโยชนกับ
การเรียนรูอีกงานหนึ่ง และสามารถจําวิธีเรียนหรือผลของการเรียนรูงานแรกไดอยางแมนยํา
4. เมื่อผูเรียนเปนผูที่มีความคิดริเริ่มสรางสรรค โดยชอบที่จะนําความรูตางๆ ทีเ่ คย
เรียนรูมากอนมาลองคิดทดลองจนเกิดความรูใหมๆ
การถายโยงการเรียนรูทางลบ (Negative Transfer) คือการถายโยงการเรียนรูชนิดที่
ผลการเรียนรูง านหนึ่งไปขัดขวางทําใหผเู รียนเกิดการเรียนรูอีกงานหนึ่งไดชาลง หรือยากขึ้น
และไมไดดีเทาที่ควร การถายโยงการเรียนรูทางลบ อาจเกิดขึ้นได 2 แบบ คือ
1. แบบตามรบกวน (Proactive Inhibition) ผลของการเรียนรูงานแรกไปขัดขวางการ
เรียนรูงานที่ 2
2. แบบยอนรบกวน (Retroactive Inhibition) ผลการเรียนรูงานที่ 2 ทําใหการเรียนรู
งานแรกนอยลง
การเกิดการเรียนรูทางลบมักเกิดจาก
- เมื่องาน 2 อยางคลายกันมาก แตผูเรียนยังไมเกิดการเรียนรูงานใดงานหนึ่งอยาง
แทจริงกอนที่จะเรียนอีกงานหนึ่ง ทําใหการเรียนงาน 2 อยางในเวลาใกลเคียงกันเกิดความ
สับสน
- เมื่อผูเรียนตองเรียนรูงานหลายๆ อยางในเวลาติดตอกัน ผลของการเรียนรูงานหนึ่ง
อาจไปทําใหผูเรียนเกิดความสับสนในการเรียนรูอีกงานหนึ่งได
13
 

การนําความรูไปใช
1. กอนที่จะใหผูเรียนเกิดความรูใหม ตองแนใจวา ผูเรียนมีความรูพ ื้นฐานที่เกี่ยวของ
กับความรูใหมมาแลว
2. พยายามสอน หรือบอกใหผูเรียนเขาใจถึงจุดมุงหมายของการเรียน ที่กอใหเกิด
ประโยชนแกตนเอง
3. ไมลงโทษผูที่เรียนเร็วหรือชากวาคนอื่นๆ และไมมุงหวังวาผูเรียนทุกคนจะตองเกิด
การเรียนรูที่เทากันในเวลาเทากัน
4. ถาสอนบทเรียนที่คลายกัน ตองแนใจวาผูเรียนเขาใจบทเรียนแรกไดดีแลวจึงจะสอน
บทเรียนตอไป
5. พยายามชี้แนะใหผูเรียนมองเห็นความสัมพันธของบทเรียนที่มีความสัมพันธกัน

ลักษณะสําคัญ ที่แสดงใหเห็นวามีการเรียนรูเกิดขึน้ จะตองประกอบดวยปจจัย 3


ประการ คือ
1. มีการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมที่คอนขางคงทน ถาวร
2. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้นจะตองเปนผลมาจากประสบการณ หรือการฝก การ
ปฏิบัติซ้ําๆ เทานั้น
3. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกลาวจะมีการเพิ่มพูนในดานความรู ความเขาใจ
ความรูสึกและความสามารถทางทักษะทั้งปริมาณและคุณภาพ

ทฤษฎีการเรียนรู (Theory of Learning)


ทฤษฎีการเรียนรูมีอิทธิพลตอการจัดการเรียนการสอนมาก เพราะจะเปนแนวทางใน
การกําหนดปรัชญาการศึกษาและการจัดประสบการณ เนื่องจากทฤษฎีการเรียนรูเปนสิ่งที่
อธิบายถึงกระบวนการ วิธีการและเงื่อนไขที่จะทําใหเกิดการเรียนรูและตรวจสอบวา
พฤติกรรมของมนุษย มีการเปลี่ยนแปลงไดอยางไร

ทฤษฎีการเรียนรูที่สําคัญ แบงออกได 2 กลุมใหญๆ คือ


1. ทฤษฎีกลุมสัมพันธตอเนื่อง (Associative Theories)
2. ทฤษฎีกลุมความรูความเขาใจ (Cognitive Theories)
14
 

ทฤษฎีการเรียนรูกลุมสัมพันธตอเนื่อง
ทฤษฎีนี้เห็นวาการเรียนรูเกิดจากการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรา (Stimulus) และการ
ตอบสนอง (Response) ปจจุบันเรียกนักทฤษฎีกลุมนี้วา "พฤติกรรมนิยม" (Behaviorism)
ซึ่งเนนเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มองเห็น และสังเกตไดมากกวากระบวน
การคิด และปฏิกิริยาภายในของผูเรียน ทฤษฎีการเรียนรูกลุมนี้แบงเปนกลุมยอยได ดังนี้
1. ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theories)
1.1 ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theories)
1.2 ทฤษฎีการวางเงือ่ นไขแบบการกระทํา (Operant Conditioning Theory)
2. ทฤษฎีสมั พันธเชื่อมโยง (Connectionism Theories)
2.1 ทฤษฎีสัมพันธเชือ่ มโยง (Connectionism Theory)
2.2 ทฤษฎีสัมพันธตอ เนื่อง (S-R Contiguity Theory)

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
อธิบายถึงการเรียนรูที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเราตามธรรมชาติ และสิ่งเราที่
วางเงื่อนไขกับการ ตอบสนอง พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกี่ยวของมักจะเปนพฤติกรรมที่
เปนปฏิกิริยาสะทอน (Reflex) หรือ พฤติกรรมทีเ่ กีย่ วของอารมณ ความรูสึก บุคคลสําคัญของ
ทฤษฎีนี้ ไดแก Pavlov, Watson, Wolpe etc.
Ivan P. Pavlov
นักสรีรวิทยาชาวรัสเซีย (1849-1936) ไดทําการทดลองเพื่อศึกษาการเรียนรูที่เกิดขึน้
จากการเชื่อมโยงระหวางการตอบสนองตอสิ่งเราตามธรรมชาติที่ไมไดวางเงื่อนไข
(Unconditioned Stimulus = UCS) และสิ่งเรา ที่เปนกลาง (Neutral Stimulus) จนเกิดการ
เปลี่ยนแปลงสิ่งเราที่เปนกลางใหกลายเปนสิ่งเราที่วางเงื่อนไข (Conditioned Stimulus = CS)
และการตอบสนองที่ไมมีเงื่อนไข (Unconditioned Response = UCR) เปนการตอบสนองที่
มีเงื่อนไข (Conditioned Response = CR) ลําดับขัน้ ตอนการเรียนรูที่เกิดขึ้นดังนี้
1. กอนการวางเงื่อนไข
UCS (อาหาร) UCR (น้ําลายไหล)
สิ่งเราที่เปนกลาง (เสียงกระดิ่ง) น้ําลายไมไหล
2. ขณะวางเงื่อนไข
CS (เสียงกระดิ่ง) + UCS (อาหาร) UCR (น้ําลายไหล)
3. หลังการวางเงื่อนไข
CS (เสียงกระดิ่ง) CR (น้ําลายไหล)
15
 

หลักการเกิดการเรียนรูที่เกิดขึ้น คือ การตอบสนองที่เกิดจากการวางเงื่อนไข (CR)


เกิดจากการนําเอาสิ่งเราที่วางเงื่อนไข (CS) มาเขาคูกับสิ่งเราที่ไมไดวางเงื่อนไข (UCS) ซ้ํา
กันหลายๆ ครั้ง ตอมาเพียงแตใหสิ่งเราที่วางเงื่อนไข (CS) เพียงอยางเดียวก็มีผลทําใหเกิด
การตอบสนองในแบบเดียวกัน
ผลจากการทดลอง Pavlov สรุปหลักเกณฑของการเรียนรูได 4 ประการ คือ
1. การดับสูญหรือการลดภาวะ (Extinction) เมื่อให CR นานๆ โดยไมให UCS เลย
การตอบสนองที่มีเงื่อนไข (CR) จะคอยๆ ลดลงและหมดไป
2. การฟนกลับหรือการคืนสภาพ (Spontaneous Recovery) เมื่อเกิดการดับสูญของ
การตอบสนอง (Extinction) แลวเวนระยะการวางเงื่อนไขไปสักระยะหนึ่ง เมื่อให CS จะเกิด
CR โดยอัตโนมัติ
3. การแผขยาย หรือ การสรุปความ (Generalization) หลังจากเกิดการตอบสนองที่มี
เงื่อนไข ( CR ) แลว เมื่อใหสิ่งเราที่วางเงื่อนไข (CS) ที่คลายคลึงกัน จะเกิดการตอบสนอง
แบบเดียวกัน
4. การจําแนกความแตกตาง (Discrimination) เมื่อใหสิ่งเราใหมที่แตกตางจากสิ่งเราที่
วางเงื่อนไข จะมีการจําแนกความแตกตางของสิ่งเรา และมีการตอบสนองที่แตกตางกันดวย
John B. Watson
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1878 - 1958) ไดทําการทดลองการวางเงื่อนไขทางอารมณ
กับเด็กชายอายุประมาณ 11 เดือน โดยใชหลักการเดียวกับ Pavlov หลังการทดลองเขาสรุป
หลักเกณฑการเรียนรูได ดังนี้
1. การแผขยายพฤติกรรม (Generalization) มีการแผขยายการตอบสนองที่วางเงื่อนไข
ตอสิ่งเราที่คลายคลึงกับสิ่งเราที่วางเงื่อนไข
2. การลดภาวะ หรือการดับสูญการตอบสนอง (Extinction) ทําไดยากตองใหสิ่งเราใหม
(UCS ) ที่มีผลตรงขามกับสิ่งเราเดิม จึงจะไดผลซึ่งเรียกวา Counter - Conditioning
Joseph Wolpe
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน (1958) ไดนําหลักการ Counter-Conditioning ของ Watson
ไปทดลองใชบําบัดความกลัว (Phobia) รวมกับการใชเทคนิคผอนคลายกลามเนือ้ (Muscle
Relaxation) เรียกวิธีการนี้วา Desensitization
16
 

การนําหลักการมาประยุกตใชในการสอน
1. ครูสามารถนําหลักการเรียนรูของทฤษฎีนี้มาทําความเขาใจพฤติกรรมของผูเรียนที่
แสดงออกถึงอารมณ ความรูสึกทั้งดานดีและไมดี รวมทั้งเจตคติตอ สิ่งแวดลอมตางๆ เชน วิชา
ที่เรียน กิจกรรม หรือครูผูสอน เพราะเขาอาจไดรับการวางเงื่อนไขอยางใดอยางหนึ่งอยูก็เปนได
2. ครูควรใชหลักการเรียนรูจากทฤษฎีปลูกฝงความรูสึกและเจตคติที่ดีตอเนื้อหาวิชา
กิจกรรมนักเรียน ครูผสู อนและสิ่งแวดลอมอื่นๆ ที่เกี่ยวของใหเกิดในตัวผูเ รียน
3. ครูสามารถปองกันความรูสึกลมเหลว ผิดหวัง และวิตกกังวลของผูเรียนไดโดยการ
สงเสริมใหกําลังใจในการเรียนและการทํากิจกรรม ไมคาดหวังผลเลิศจากผูเรียน และหลีกเลี่ยง
การใชอารมณหรือลงโทษผูเรียนอยางรุนแรงจนเกิดการวางเงื่อนไขขึน้ กรณีที่ผูเรียนเกิด
ความเครียด และวิตกกังวลมาก ครูควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดผอนคลายความรูสกึ ไดบางตาม
ขอบเขตที่เหมาะสม
ทฤษฎีการวางเขื่อนไขแบบการกระทําของสกินเนอร (Skinner's Operant Conditioning
Theory)
B.F. Skinner (1904 - 1990) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ไดทําการทดลองดานจิตวิทยา
การศึกษาและวิเคราะหสถานการณการเรียนรูที่มีการตอบสนองแบบแสดงการกระทํา (Operant
Behavior) สกินเนอรไดแบง พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตไว 2 แบบ คือ
1. Respondent Behavior พฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ
หรือเปนปฏิกิริยาสะทอน (Reflex) ซึ่งสิ่งมีชีวิตไมสามารถควบคุมตัวเองได เชน การกระพริบ
ตา น้ําลายไหล หรือการเกิดอารมณ ความรูสึกตางๆ
2. Operant Behavior พฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเปนผูกําหนด หรือเลือกที่จะ
แสดงออกมา สวนใหญจะเปนพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกในชีวิตประจําวัน เชน กิน นอน
พูด เดิน ทํางาน ขับรถ ฯลฯ.
การเรียนรูตามแนวคิดของสกินเนอร เกิดจากการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับการ
ตอบสนองเชนเดียวกัน แตสกินเนอรใหความสําคัญตอการตอบสนองมากกวาสิ่งเรา จึงมีคน
เรียกวาเปนทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ Type R นอกจากนี้สกินเนอรใหความสําคัญตอการ
เสริมแรง (Reinforcement) วามีผลทําใหเกิดการเรียนรูที่คงทนถาวร ยิ่งขึ้นดวย สกินเนอรได
สรุปไววา อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยูกับผลของการกระทํา คือ การ
เสริมแรง หรือการลงโทษ ทั้งทางบวกและทางลบ
17
 

พฤติกรรม

การเสริม การลงโทษแรง

ทางบวก ทางลบ ทางบวก ทางลบ

ความถี่ของพฤติกรรมเพิ่มขึ้น ความถี่ของพฤติกรรมลดลง

การนําหลักการมาประยุกตใช
1. การเสริมแรง และ การลงโทษ
2. การปรับพฤติกรรม และ การแตงพฤติกรรม
3. การสรางบทเรียนสําเร็จรูป

การเสริมแรงและการลงโทษ
การเสริมแรง (Reinforcement) คือการทําใหอัตราการตอบสนองหรือความถี่ของการ
แสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้นอันเปนผลจากการไดรับสิ่งเสริมแรง (Reinforce) ที่เหมาะสม การ
เสริมแรงมี 2 ทาง ไดแก
1. การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement ) เปนการใหสงิ่ เสริมแรงที่บคุ คล
พึงพอใจ มีผลทําใหบุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น
2. การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) เปนการนําเอาสิ่งที่บุคคลไมพึง
พอใจออกไป มีผลทําใหบคุ คลแสดงพฤติกรรมถี่ขึ้น
การลงโทษ (Punishment) คือ การทําใหอัตราการตอบสนองหรือความถี่ของการ
แสดงพฤติกรรมลดลง การลงโทษมี 2 ทาง ไดแก
1. การลงโทษทางบวก (Positive Punishment) เปนการใหสิ่งเราทีบ่ ุคคลที่ไมพึงพอใจ
มีผลทําใหบคุ คลแสดงพฤติกรรมลดลง
2. การลงโทษทางลบ (Negative Punishment) เปนการนําสิ่งเราที่บุคคลพึงพอใจ หรือ
สิ่งเสริมแรงออกไป มีผลทําใหบุคคลแสดงพฤติกรรมลดลง
18
 

ตารางการเสริมแรง (The Schedule of Reinforcement)


1. การเสริมแรงอยางตอเนื่อง (Continuous Reinforcement) เปนการใหสิ่งเสริมแรง
ทุกครั้งที่บคุ คลแสดงพฤติกรรมตามตองการ
2. การเสริมแรงเปนครั้งคราว (Intermittent Reinforcement) ซึ่งมีการกําหนดตารางได
หลายแบบ ดังนี้
2.1 กําหนดการเสริมแรงตามเวลา (Iinterval schedule)
2.1.1 กําหนดเวลาแนนอน (Fixed Interval Schedules = FI)
2.1.2 กําหนดเวลาไมแนนอน (Variable Interval Schedules = VI )
2.2 กําหนดการเสริมแรงโดยใชอัตรา (Ratio schedule) 2.2.1 กําหนดอัตรา
แนนอน (Fixed Ratio Schedules = FR)
2.2.2 กําหนดอัตราไมแนนอน (Variable Ratio Schedules = VR)

การปรับพฤติกรรมและการแตงพฤติกรรม
การปรับพฤติกรรม (Behavior Modification) เปนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม
พึงประสงค มาเปนพฤติกรรมที่พึงประสงค โดยใชหลักการเสริมแรงและการลงโทษ
การแตงพฤติกรรม (Shaping Behavior ) เปนการเสริมสรางใหเกิดพฤติกรรม
ใหม โดยใชวิธีการเสริมแรงกระตุนใหเกิดพฤติกรรมทีละเล็กทีละนอย จนกระทั่งเกิด
พฤติกรรมตามตองการ

บทเรียนสําเร็จรูป (Programmed Instruction)


เปนบทเรียนโปรแกรมที่นักการศึกษา หรือครูผูสอนสรางขึ้น ประกอบดวย เนื้อหา
กิจกรรม คําถามและ คําเฉลย การสรางบทเรียนโปรแกรมใชหลักของ Skinner คือเมื่อ
ผูเรียนศึกษาเนื้อหาและทํากิจกรรม จบ 1 บท จะมีคําถามยั่วยุใหทดสอบความรูค วามสามารถ
แลวมีคําเฉลยเปนแรงเสริมใหอยากเรียนบทตอๆ ไปอีก

ทฤษฎีสัมพันธเชื่อมโยงของธอรนไดค (Thorndike's Connectionism Theory)


Edward L. Thorndike (1874 - 1949) นักจิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกัน ผูไดชื่อ
วาเปน "บิดาแหงจิตวิทยาการศึกษา" เขาเชื่อวา "คนเราจะเลือกทําในสิ่งกอใหเกิดความพึงพอใจ
และจะหลีกเลีย่ งสิ่งที่ทําใหไมพึงพอใจ" จากการทดลองกับแมวเขาสรุปหลักการเรียนรูไดวา เมื่อ
เผชิญกับปญหาสิ่งมีชีวิตจะเกิดการเรียนรูในการแกปญ
 หาแบบลองผิดลองถูก (Trial and Error)
นอกจากนี้เขายังใหความสําคัญกับการเสริมแรงวาเปนสิ่งกระตุนใหเกิดการเรียนรูไดเร็วขึ้น
กฎการเรียนรูของธอรนไดค
19
 

1. กฎแหงผล (Law of Effect) มีใจความสําคัญคือ ผลแหงปฏิกิริยาตอบสนองใดที่เปน


ที่นาพอใจ อินทรียยอมกระทําปฏิกิริยานั้นซ้ําอีกและผลของปฏิกิรยิ าใดไมเปนทีพ่ อใจบุคคลจะ
หลีกเลี่ยงไมทาํ ปฏิกิริยานั้นซ้ําอีก
2. กฎแหงความพรอม (Law of Readiness) มีใจความสําคัญ 3 ประเด็น คือ
2.1 ถาอินทรียพรอมที่จะเรียนรูแลวไดเรียน อินทรียจะเกิดความพอใจ
2.2 ถาอินทรียพ รอมที่จะเรียนรูแลวไมไดเรียน จะเกิดความรําคาญใจ
2.3 ถาอินทรียไมพรอมที่จะเรียนรูแลวถูกบังคับใหเรียน จะเกิดความรําคาญใจ
3. กฎแหงการฝกหัด (Law of Exercise) มีใจความสําคัญคือ พฤติกรรมใดที่ไดมี
โอกาสกระทําซ้ําบอยๆ และมีการปรับปรุงอยูเสมอ ยอมกอใหเกิดความคลองแคลวชํานิชํานาญ
สิ่งใดที่ทอดทิง้ ไปนานยอมกระทําไดไมดีเหมือนเดิมหรืออาจทําใหลืมได
การนําหลักการมาประยุกตใช
1. การสอนในชั้นเรียนครูควรกําหนดวัตถุประสงคใหชัดเจน จัดแบงเนื้อหาเปนลําดับ
เรียงจากงายไปยาก เพื่อกระตุนใหผูเรียนสนใจติดตามบทเรียนอยางตอเนื่อง เนื้อหาที่เรียน
ควรมีประโยชนตอชีวติ ประจําวันของผูเรียน
2. กอนเริ่มสอนผูเรียนควรมีความพรอมที่จะเรียน ผูเรียนตองมีวฒ ุ ิภาวะเพียงพอและ
ไมตกอยูในสภาวะบางอยาง เชน ปวย เหนื่อย งวง หรือ หิว จะทําใหการเรียนมีประสิทธิภาพ
3. ครูควรจัดใหผูเรียนมีโอกาสฝกฝนและทบทวนสิ่งทีเ่ รียนไปแลว แตไมควรใหทํา
ซ้ําซากจนเกิดความเมื่อยลาและเบื่อหนาย
4. ครูควรใหผูเรียนไดมีโอกาสพึงพอใจและรูสึกประสบผลสําเร็จในการทํากิจกรรม
โดยครูตองแจงผลการทํากิจกรรมใหทราบ หากผูเรียนทําไดดีควรชมเชยหรือใหรางวัล หากมี
ขอบกพรองตองชี้แจงเพื่อการปรับปรุงแกไข

ทฤษฎีสัมพันธตอเนื่องของกัทรี (Guthrie's Contiguity Theory)


Edwin R. Guthrie นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เปนผูกลาวย้ําถึงความสําคัญของความ
ใกลชิดตอเนื่องระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง ถามีการเชื่อมโยงอยางใกลชิดและแนบแนน
เพียงครั้งเดียวก็สามารถเกิดการเรียนรูได (One Trial Learning ) เชน ประสบการณชีวิตที่
วิกฤตหรือรุนแรงบางอยาง ไดแก การประสบอุบตั ิเหตุที่รุนแรง การสูญเสียบุคคลอันเปนที่รัก
ฯลฯ

ทฤษฎีการเรียนรูกลุมความรูความเขาใจ
ทฤษฎีการเรียนรูที่มองเห็นความสําคัญของกระบวนการคิดซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวบุคคล
ในระหวางการเรียนรูมากกวาสิ่งเราและการตอบสนอง นักทฤษฎีกลุมนี้เชื่อวา พฤติกรรมหรือ
การตอบสนองใดๆ ที่บุคคลแสดงออกมานั้นตองผานกระบวนการคิดที่เกิดขึ้นระหวางที่มีสิ่งเรา
20
 

และการตอบสนอง ซึ่งหมายถึงการหยั่งเห็น (Insight) คือความรูความเขาใจในการแกปญหา


โดยการจัดระบบการรับรูแลวเชื่อมโยงกับประสบการณเดิม
ทฤษฎีการเรียนรูกลุมนี้ยังแบงยอยไดอีกดังนี้
1. ทฤษฎีกลุมเกสตัลท (Gestalt's Theory)
2. ทฤษฎีสนามของเลวิน ( Lewin's Field Theory)

ทฤษฎีกลุมเกสตัลท (Gestalt's Theory)


นักจิตวิทยากลุมเกสตัลท (Gestalt Psychology) ชาวเยอรมัน ประกอบดวย Max
Wertheimer, Wolfgang Kohler และ Kurt Koftka ซึ่งมีความสนใจเกี่ยวกับการรับรู
(Perception ) การเชื่อมโยงระหวางประสบการณเกาและใหม นําไปสูกระบวนการคิดเพื่อการ
แกปญหา (Insight)

องคประกอบของการเรียนรู มี 2 สวน คือ


1. การรับรู (Perception) เปนกระบวนการแปลความหมายของสิ่งเราที่มากระทบ
ประสาทสัมผัส ซึ่งจะเนนความสําคัญของการรับรูเปนสวนรวมทีส่ มบูรณมากกวาการรับรู
สวนยอยทีละสวน
2. การหยั่งเห็น (Insight) เปนการรูแจง เกิดความคิดความเขาใจแวบเขามาทันทีทันใด
ขณะที่บคุ คลกําลังเผชิญปญหาและจัดระบบการรับรู ซึ่งเดวิส (Davis, 1965) ใชคําวา Aha '
experience

หลักของการหยั่งเห็นสรุปไดดังนี้
2.1 การหยั่งเห็นขึ้นอยูกับสภาพปญหา การหยั่งเห็นจะเกิดขึ้นไดงายถามีการ
รับรูองคประกอบของปญหาที่สัมพันธกัน บุคคลสามารถสรางภาพในใจเกี่ยวกับขั้นตอน
เหตุการณ หรือสภาพการณที่เกี่ยวของเพื่อพยายามหาคําตอบ
2.2 คําตอบที่เกิดขึ้นในใจถือวาเปนการหยั่งเห็น ถาสามารถแกปญหาไดบุคคลจะ
นํามาใชในโอกาสตอไปอีก
2.3 คําตอบหรือการหยั่งเห็นที่เกิดขึ้นสามารถนําไปประยุกต ใชในสถานการณ
ใหมได
21
 

ทฤษฎีสนามของเลวิน (Lewin's Field Theory)


Kurt Lewin นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน (1890 - 1947) มีแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู
เชนเดียวกับกลุมเกสตัลท ที่วาการเรียนรู เกิดขึ้นจากการจัดกระบวนการรับรู และกระบวนการ
คิดเพื่อการแกไขปญหาแตเขาไดนําเอาหลักการทางวิทยาศาสตรมารวมอธิบายพฤติกรรมมนุษย
เขาเชื่อวาพฤติกรรมมนุษยแสดงออกมาอยางมีพลังและทิศทาง (Field of Force) สิ่งที่อยูใน
ความสนใจและตองการจะมีพลังเปนบวก ซึ่งเขาเรียกวา Life space สิ่งใดที่อยูนอกเหนือ
ความสนใจจะมีพลังเปนลบ
Lewin กําหนดวา สิ่งแวดลอมรอบตัวมนุษย จะมี 2 ชนิด คือ
1. สิ่งแวดลอมทางกายภาพ (Physical environment)
2. สิ่งแวดลอมทางจิตวิทยา (Psychological environment) เปนโลกแหงการรับรู
ตามประสบการณของแตละบุคคลซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกตางกับสภาพที่สังเกตเห็นโลก
หมายถึง Life space นั่นเอง
Life space ของบุคคลเปนสิ่งเฉพาะตัว ความสําคัญทีม่ ีตอการจัดการเรียนการสอน คือ
ครูตองหาวิธที ําใหตวั ครูเขาไปอยูใน Life space ของผูเรียนใหได

การนําหลักการทฤษฎีกลุมความรู ความเขาใจ ไปประยุกตใช


1. ครูควรสรางบรรยากาศการเรียนที่เปนกันเอง และมีอิสระที่จะใหผูเรียนแสดงความ
คิดเห็นอยางเต็มที่ทั้งทีถ่ ูกและผิด เพื่อใหผูเรียนมองเห็นความสัมพันธของขอมูล และเกิดการ
หยั่งเห็น
2. เปดโอกาสใหมีการอภิปรายในชั้นเรียน โดยใชแนวทางตอไปนี้
2.1 เนนความแตกตาง
2.2 กระตุนใหมีการเดาและหาเหตุผล
2.3 กระตุนใหทุกคนมีสวนรวม
2.4 กระตุนใหใชความคิดอยางรอบคอบ
2.5 กําหนดขอบเขตไมใหอภิปรายออกนอกประเด็น
3. การกําหนดบทเรียนควรมีโครงสรางที่มีระบบเปนขั้นตอน เนื้อหามีความ
สอดคลองตอเนื่องกัน
4. คํานึงถึงเจตคติและความรูสึกของผูเรียน พยายามจัดกิจกรรมที่กระตุนความสนใจ
ของผูเรียนมีเนื้อหาที่เปนประโยชน ผูเรียนนําไปใชประโยชนได และควรจัดโอกาสใหผูเรียน
รูสึกประสบความสําเร็จดวย
5. บุคลิกภาพของครูและความสามารถในการถายทอด จะเปนสิ่งจูงใจใหผูเรียนมี
ความศรัทธาและครูจะสามารถเขาไปอยูใ น Life space ของผูเรียนได
22
 

ทฤษฎีปญญาสังคม (Social Learning Theory)


Albert Bandura (1962 - 1986) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เปนผูพัฒนาทฤษฎีนี้ขึ้น
จากการศึกษาคนควาของตนเอง เดิมใชชื่อวา "ทฤษฎีการเรียนรูท างสังคม" (Social Learning
Theory) ตอมาเขาไดเปลีย่ นชื่อทฤษฎีเพื่อความเหมาะสมเปน "ทฤษฎีปญญาสังคม"
ทฤษฎีปญญาสังคมเนนหลักการเรียนรูโดยการสังเกต (Observational Learning) เกิด
จากการที่บุคคลสังเกตการกระทําของผูอื่นแลวพยายามเลียนแบบพฤติกรรมนั้น ซึ่งเปนการ
เรียนรูที่เกิดขึน้ ในสภาพแวดลอมทางสังคมเราสามารถพบไดในชีวติ ประจําวัน เชน การออก
เสียง การขับรถยนต การเลนกีฬาประเภทตางๆ เปนตน

ขั้นตอนของการเรียนรูโดยการสังเกต
1. ขั้นใหความสนใจ (Attention Phase) ถาไมมีขั้นตอนนี้ การเรียนรูอาจจะไมเกิดขึ้น
เปนขั้นตอน ที่ผูเรียนใหความสนใจตอตัวแบบ (Modeling) ความสามารถ ความมีชื่อเสียง
และคุณลักษณะเดนของตัวแบบจะเปนสิ่งดึงดูดใหผูเรียนสนใจ
2. ขั้นจํา (Retention Phase) เมื่อผูเรียนสนใจพฤติกรรมของตัวแบบ จะบันทึกสิง่ ที่
สังเกตไดไวในระบบความจําของตนเอง ซึ่งมักจะจดจําไวเปนจินตภาพเกี่ยวกับขั้นตอนการ
แสดงพฤติกรรม
3. ขั้นปฏิบัติ (Reproduction Phase) เปนขั้นตอนทีผ่ ูเรียนลองแสดงพฤติกรรมตามตัว
แบบ ซึ่งจะสงผลใหมีการตรวจสอบการเรียนรูที่ไดจดจําไว
4. ขั้นจูงใจ (Motivation Phase) ขั้นตอนนี้เปนขั้นแสดงผลของการกระทํา
(Consequence) จากการแสดงพฤติกรรมตามตัวแบบ ถาผลที่ตวั แบบเคยไดรับ (Vicarious
Consequence) เปนไปในทางบวก (Vicarious Reinforcement) ก็จะจูงใจใหผูเรียนอยากแสดง
พฤติกรรมตามแบบ ถาเปนไปในทางลบ (Vicarious Punishment) ผูเรียนก็มักจะงดเวนการ
แสดงพฤติกรรมนั้นๆ
23
 

หลักพื้นฐานของทฤษฎีปญญาสังคม มี 3 ประการ คือ


1. กระบวนการเรียนรูตองอาศัยทั้งกระบวนการทางปญญา และทักษะการตัดสินใจของ
ผูเรียน
2. การเรียนรูเปนความสัมพันธระหวางองคประกอบ 3 ประการ ระหวาง ตัวบุคคล
(Person) สิ่งแวดลอม (Environment) และพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีอิทธิพลตอกันและกัน

B E
3. ผลของการเรียนรูกับการแสดงออกอาจจะแตกตางกัน สิ่งที่เรียนรูแลวอาจไมมีการ
แสดงออกก็ได เชน ผลของการกระทํา (Consequence) ดานบวก เมื่อเรียนรูแลวจะเกิดการ
แสดงพฤติกรรมเลียนแบบ แตผลการกระทําดานลบ อาจมีการเรียนรูแตไมมีการเลียนแบบ
การนําหลักการมาประยุกตใช
1. ในหองเรียนครูจะเปนตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด ครูควรคํานึงอยูเสมอวา การ
เรียนรูโดยการสังเกตและเลียนแบบจะเกิดขึ้นไดเสมอ แมวาครูจะไมไดตั้งวัตถุประสงคไวกต็ าม
2. การสอนแบบสาธิตปฏิบตั ิเปนการสอนโดยใชหลักการและขั้นตอนของทฤษฎีปญญา
สังคมทั้งสิ้น ครูตองแสดงตัวอยางพฤติกรรมทีถ่ ูกตองที่สุดเทานั้น จึงจะมีประสิทธิภาพใน
การแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ ความผิดพลาดของครูแมไมตั้งใจ ไมวาครูจะพร่ําบอกผูเรียน
วาไมตองสนใจจดจํา แตก็ผานการสังเกตและการรับรูข องผูเรียนไปแลว
3. ตัวแบบในชั้นเรียนไมควรจํากัดไวที่ครูเทานั้น ควรใชผูเรียนดวยกันเปนตัวแบบไดใน
บางกรณี โดยธรรมชาติเพื่อนในชั้นเรียนยอมมีอิทธิพลตอการเลียนแบบสูงอยูแ ลว ครูควร
พยายามใชทกั ษะจูงใจใหผเู รียนสนใจและเลียนแบบเพือ่ นที่มีพฤติกรรมที่ดี มากกวาผูที่มี
พฤติกรรมไมดี
บทสรุป
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ครู คือผูสั่งสอนศิษย ผูถายทอดความรูใหแก
ศิษย ดวยเหตุนี้ครูจึงเปนบุคคลสําคัญในชีวติ ของเรา คอยประสิทธิป์ ระสาทวิชาความรูให อบรม
สั่งสอน สรางสรรคและพัฒนาภูมิปญญาและเปนปูชนียบุคคล ควรอยางยิ่งที่จะไดรับการนอม
เคารพจากใจศิษยทั้งปวง
24
 

ทานเจาคุณ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุคโต) ที่กลาวไวในหนังสือ “ธรรมนูญชีวิต”


ไดอางอิงจากหลักพระไตรปฎก โดยครูควรประกอบดวยคุณสมบัติ ดังนี้
1. ปโย นารัก คือ ใจดี มีเมตตากรุณา ใสใจคนและประโยชนสุขของศิษย เขาอกเขาใจ
สรางความรูสกึ เปนกันเอง ชวนใจใหศิษยอยากเขาไปปรึกษาไตถาม
2. ครุ นาเคารพ คือ เปนผูหนักแนน ยึดมั่นถือหลักการเปนสําคัญ และมีความ
ประพฤติเหมาะสม ทําใหเกิดความรูสึกอบอุนใจ มั่นใจเปนที่พึ่งไดและปลอดภัย
3. ภาวนิโย นาเจริญใจ คือ มีความรูจริง ทรงภูมิปญญาแทจริง และไมหยุดนิ่ง
ฝกฝนตนเองอยูเสมอ เปนที่นายกยองเอาอยาง ทําใหศิษยเอยอางและรําลึกถึงดวย
ความซาบซึ้ง มั่นใจและภาคภูมิใจ
4. วัตตา รูจักพูดใหไดผล คือ มีจิตวิทยาในการพูด รูจักชี้แจงใหเขาใจ รูวาเมื่อไร
ควรพูดอะไร อยางไร คอยใหคําแนะนําวากลาวตักเตือน เปนที่ปรึกษาที่ดีได
5. วจนักขโม อดทนตอถอยคํา คือ พรอมที่รับฟงคําปรึกษาซักถามแมจุกจิก
ตลอดจนคําลวงเกินและคําตักเตือนวิพากษวิจารณตาง ๆ อดทนฟงได ไมเบื่อหนาย
ไมเสียอารมณ
6. คัมภัญจะ กถัง กัตตา แถลงเรื่องล้ําลึกได คือ กลาวชี้แจงเรื่องตาง ๆ ที่ยุงยาก
ซับซอนลึกซึ้งใหเขาใจได และสอนศิษยใหไดเรียนรูเรื่องราวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นไป
7. โน จัฎฐาเน นิโยชเย ไมชักนําในอฐาน คือ ไมชักจูง ชี้นําไปในทางที่เสื่อมเสีย
หรือเรื่องเหลวไหลไมสมควร
คุณสมบัติทั้ง 7 ประการนี้ เปนคําตอบของคุณสมบัติของครูไดเปนอยางดี ที่ทําใหเห็นวา
ครูนั้นไมใชเปนกันงายๆ เพราะเปนครูตองเสียสละและตองอดทนมาก ไมใชแคมีประกาศนียบัตร
ก็เปนครูได และในขณะเดียวกันทุก ๆ ธรรมชาติของสาขาวิชา
ดังนั้น จึงพอสรุปไดวา องคประกอบสําคัญของสุนทรีภาพกับการเรียนรูของสังคมโลก
ปจจุบัน สิ่งสําคัญที่พอจะนํามาวิเคราะหอยางเห็นไดชัดคือ ทุก ๆ ธรรมชาติสาขาวิชา ครูมีความ
จําเปนตองมีกระบวนการทีถ่ ายโยงองคความรู ควบคูกบั ความงาม หรือการผนวกสุนทรียภาพ
และการเรียนรูในการถายทอดความรูนั้นสูศิษย
25
 

เอกสารอางอิง

จารุณี เนตรบุตร. 2552. เอกสารประกอบการสอนวิชา GEHS 1101 สุนทรียภาพของชีวิต


บทที่ 1-2 (น.1 – 14). พิมพครั้งที่ 1 ; ปทุมธานี, บี แอนด เอ็ม ก็อปป เซอรวิส.
โชคชัย ชยธวัช. 2547. ครูพันธุใหม : ครูผูสรางเยาวชน ผูสรางอนาคตของชาติ. พิมพครั้งที่ 1 ;
กรุงเทพ, สํานักพิมพวรรณสาสน.
ประดินันท อุปรมัย . 2540 . เอกสารการสอนชุดวิชาพืน้ ฐานการศึกษา หนวยที่ 4 มนุษยกับการ
เรียนรู(น.117–155). พิมพครั้งที่ 15:นนทบุรี,สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พรรณี ชูทัย เจนจิต. 2538. จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพครั้งที่ 4 ; กรุงเทพ, บริษัท
คอมแพคทพริ้นทจํากัด.
อัจฉรา ธรรมาภรณ .2531. จิตวิทยาการเรียนรู. ปตตานี : คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี, 2531.

www.ais.rtaf.mi.th
http://socialscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=15154

You might also like