You are on page 1of 47

ตัวย่อที่ควรรู้จักในภาษาอังกฤษ

ตัวย่อในภาษาอังกฤษนั้ นมีมากมาย แต่ก็มีตัวย่อที่เราจะพบเห็นได้บ่อยๆ


ทั้งยังต้องใช้อย่่เป็ นประจำาด้วย ดังนั้ นวันนี้ เราเลยนำาตัวย่อใน
ภาษาอังกฤษเหล่านั้ นมาให้ได้ศึกษากัน

แต่ก่อนอื่นมาร้่หลักการเขียนตัวย่อกันอย่างคร่าวๆ ก่อนดีกว่า

1. ชื่อก็บอกอย่่แล้วว่าตัวย่อ ดังนั้ นมันก็คือการนำาเอาตัวอักษรบางตัวที่


อย่่ในคำาเต็มมาใช้แทนคำาเต็ม ส่วนใหญ่มักนำาเอาตัวอักษรตัวแรกๆ
ของคำาเต็มมาใช้เป็ นตัวย่อ

2. ถ้าตัวอักษรตัวสุดท้ายของตัวย่อกับอักษรตัวสุดท้ายของคำาเต็มเป็ นตัว
เดียวกัน ไม่ต้องมีจุด full stop ในท้ายตัวย่อ ในทางตรงกันข้าม ถ้า
เป็ นคนละตัวกัน ให้ใส่จุด full stop ในท้ายตัวย่อด้วย

แต่ก็มีตัวย่อบางตัวซึ่งไม่เป็ นไปตามหลักการทั้ง 2 ข้อข้างต้น ดังนั้ นจึง


ต้องอาศัยการช่างสังเกตและจดจำากันให้ดี จะได้นำาไปใช้ได้อย่างถ่กต้อง

ทีน้ ี เรามาเริม
่ จดจำาตัวย่อที่ใช้กันอย่างแพร่หลายและพบเห็นได้ในชีวิต
ประจำาวันของพวกเรากันเลย...

ตัวย่อชื่อเดือน
January = Jan.

February = Feb.

March = Mar.

April = Apr.

August = Aug.

September = Sep.

October = Oct.

November = Nov.

December = Dec.

ตัวย่อที่ที่หมายถึง ถนน

Street = St.

Avenue = Ave.

Road = Rd.

ตัวย่อทิศทาง

North = N.
South = S.

East = E.

West = W.

ตัวย่ออื่นๆ

ตัวย่อ คำาเต็ม ตัวย่อ คำาเต็ม

a.m. ante meridiem lo low


(before noon)

a.s.a.p. as soon as loc. location


possible

a/c account Ltd. Limited

accnt accountant lv. leave

agt agent maint. maintenance

asst assistant mech. mechanical

av. average mgr. manager

ba. bathroom mo. month

balc balcony mod. modern

ben. benefits Mr. Mister

bkgrd. background Mrs. Mistress


(Missis)
br. bedroom nite night

c/o care of no. number

cab cabinet p.a. per annum

cc: copies to P.L.C. Public Limited


Company

Co. Company p.m. post meridiem


(after noon)

comp. complete p.t.o. please turn over

conv convention pers. personnel

CUST customer plyr player

dept. department POW prisoner of war

din dining pref. preferred

e.g. exemplii gratia prkg. parking


(for example)

elec. electrical Prof. professor

enc. enclosed prog. progressive

equip. equipment p-t part-time

exc. excluding pub. public

exp. expired R.E. real estate

f.o.b. free on board rep. repair


FRPLC fire place RF radio frequency

furn furnished rm. room

G.M.T. Greenwich sal. salary


Mean Time

gar. garage secy secretary

gd. good serv. service

hi high shppng shopping

HQ headquarters sm. small

hr(s). hour(s) St Saint

ht height sw/pl swimming pool

i.e. id est (that is) trans transportation

IMM interactive vac. vacation


multimedia

inc. including VAT value-added tax

Inc. Incorporated w/ with

intl. international w/w wall-to-wall


carpeting

kit kitchen wk. week

lg. large wknd. weekend


ที่มาข้อม่ล : www.dictionary.com
หนั งสือเรียนภาษาอังกฤษ Outline of english directions

https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=9215

ตัวย่อภาษาอังกฤษใชูบ่อยเวลาคุยกับฝรัง่ ในโลกออนไลน์

บางทีหลายๆครั้ง ที่เราคุยหรือเมล์ติดต่อกับชาวต่างชาติ ที่ใช้ภาษา

อังกฤษ

เค้าอาจจะพิมพ์คำาแปลกๆ มาในเมล์ ที่มักเจอกันบ่อยๆก็ เช่น ASAP,

BTW, FYI อะไรแบบนี้

บางครั้งก็ทำาให้งงเหมือนกัน ก็เลยขอรวบรวมเอาไว้ประดับความร้่ให้ตัว

เอง -*-

ASAP = As soon as possible = เร็วสุดเท่าที่เร็วได้

ATM = At the moment = ในตอนนี้

BC = Because = เพราะว่า
BG = Big grin = ( ยิ้มอย่)่

BOTOH = But on the other hand = แต่ในทางกลับกัน

BTDT = Been there, done that = ไปมาแล้วทำาเรียบร้อยแล้ว

BTW = By the way = อย่างไรก็ตาม

COZ = Because = เพราะว่า

CU = See you = แล้วเจอกัน

CUL or CUL8R = See you later = แล้วเจอกัน

EZ = Easy = ง่าย

FAQ = Frequently asked questions = คำาถามที่ถามบ่อย

FYI = For your information = แจ้งเพื่อรับทราบ

GJ = Good job = ทำาได้ดีมาก!


GL = Good luck = โชคดีนะ

GRT = Great = เยี่ยม!

GW = Good work = ทำาได้ดีมาก

HAND = Have a nice day = โชคดีนะ

IC = I see = เข้าใจล่ะ

IMO = In my opinion ฉันคิดว่า...

IMPOV = In my point of view = ฉันคิดว่า....

IOW = In other words = ถ้าจะพ่ดอีกอย่างก็..

IRL = In real life = ในชีวิตจริง

JIC = Just in case = เผื่อไว้


JTLYK = Just to let you know = แค่บอกให้ร้่ไว้

KIS = Keep it simple = เอาง่ายๆ

KIT = Keep in touch = ติดต่อกันอีกนะ

LOL= Laughing out loud = หัวเราะ 555+

NBD = No big deal = ไม่มีปัญหา เรื่องเล็กน้อย

NP = No problem = ไม่มีปัญหา

NVM = Never mind = ไม่เป็ นไร

OMG = Oh my god = พระเจ้า จอร์จจจ

PCM = Please call me = โทรมาหาที

PLS = Please = ได้โปรด

PLZ = Please = ได้โปรด


Q = Question = คำาถาม

SIT = Stay in touch = แล้วติดต่อกันใหม่

SOZ, SRY = Sorry = ขอโทษที

SYS = See you soon = แล้วพบกันใหม่

THX = Thanks = ขอบใจจ้า

TIA = Thanks in advance = ขอบคุณล่วงหน้า

TY = Thank you = ขอบคุณ

U = You = คุณ

WB = Welcome back = ขอต้อนรับกลับมา

WFM = Works for me = สำาหรับฉันแล้วได้ผลนะ


XOXO = Hugs and kisses = รักนะจุุบๆ

Y = Why = ทำาไมหละ

YW = You are welcome ด้วยความยินดี

ที่มา : Grace's Gallery

http://siamtalk.org/threads/707-

อักษรย่อภาษาอังกฤษในโฆษณาที่พัก

เนื่ องจากพื้ นที่โฆษณาตามหน้าหนั งสือพิมพ์ค่อนข้างแพง เราเลยได้เห็น


ตัวอักษรย่อบ่อยๆในโฆษณาที่พักอาศัย

BIR – Built in Wardrobes ต้่เสื้ อผ้าแบบบิลท์อิน


Adv / Ava – Advance ล่วงหน้า
Cl – close ใกล้
Insp – Inspect ตรวจสอบ/ด่บ้าน
LUG – Lock up garage โรงรถแบบมีประต่ล็อคได้
OFP – Open fireplace เตาไฟให้ความร้อน แบบเผาไม้/ถ่านแล้วมีควัน
ออกไปข้างนอกจากปล่องไฟ
OSP – Off street parking ที่จอดรถในบริเวณบ้าน
Pref – Prefer ต้องการ......มากกว่า
Trans – Transport การคมนาคม การเดินทาง
WB – Weather board บ้านแบบที่ไม่ใช้การก่ออิฐ ใช้ไม้ weather
board เป็ นผนั ง
BV – Brick veneer บ้านแบบก่ออิฐ
ONO – Or nearest offer หรือเสนอราคาที่ใกล้เคียง
Pwk – Per week ต่อสัปดาห์
Pcm – Per calendar month ต่อเดือนตามปฎิทิน
R/O – Room only เฉพาะห้องพัก ไม่รวมบิลค่านำ้าค่าไฟ โดยมากไม่มี
เฟอร์นิเจอร์
U/F – Unfurnished ไม่มีเฟอร์นิเจอร์
Furn – Furnished มีเฟอร์นิเจอร์
WC – Water closet (Toilet) สุขา
Yd – Yard สวน
Adj – Adjacent ใกล้กับ
Hws – Hot water system ระบบนำ้าร้อน
Neg – Negotiable ต่อรองได้
Htr – Heater เครื่องทำาความร้อน
F/B – Full board มีอาหารให้ 3 มื้ อ ต่อ วัน
เพิ่มเติม

2LDK…มีห้อง เดี่ยว 2 ห้อง,และพื้ นที่เอนกประสงค์ซ่ึงใช้เป็ นห้องนั ่งเล่น,ห้อง


อาหาร และ ห้องครัว

2…จำานวนห้อง
L…ห้องนั ่งเล่น (Living)
D…ห้องรับประทานอาหาร (Dining)
LDK…พื้ นที่เอนกประสงค์เชื่อมระหว่างห้องนั ่งเล่น,ห้องรับประทาน
อาหารและ ห้องครัว
DK…พื้ นที่เอนกประสงค์เชื่อมระหว่าง ห้องรับประทานอาหารและ ห้อง
ครัว
Credit: Aunty Ann
Free Text Editor

Create Date : 13 สิงหาคม 2552


Last Update : 13 สิงหาคม 2552
3 comments
16:55:51 น.
Counter : 1365 Pageviews. Add to
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=kakenung&month=13-

08-2009&group=2&gblog=2

วันอาทิตย์ ที่ 31 ตุลาคม 2553

คำาย่อต่างๆในภาษาอังกฤษที่ควรรู้
Posted by Tatchaithira , ผ้่อ่าน : 4610 , 17:40:36 น.
หมวด : ทัว่ ไป

ในภาษาอังกฤษ มีคำาย่อที่ใช้กันเป็ นประจำา อย่ห


่ ลายคำาในข่าวสารต่างๆ
ผมคิดว่าอาจจะเป็ นปั ญหา กับนั กเรียนนั กศึกษา หรือใครก็ตาม ที่กำาลัง
เรียนร้่ภาษาอังกฤษอย่่ในขณะนี้ ผมเลยเอาคำาย่อต่างๆมากล่าวถึง คำาย่อ
เหล่านี้ ช่วยให้การเขียนหนั งสือ และการอ้างอิงในเอกสารทางวิชาการ
กระชับขึ้นเช่น

a.k.a. ซึ่งย่อมาจาก also known as ที่ใช้กับชื่อคนในการรายงานข่าว


เช่น One of Thailand’s top models, Patcharapha Chaichuea a.k.a
Aum Patcharapa, appears to be most admired by readers of the
FHM magazine. อักษรย่อนี้ จะไม่ใส่จุด (period) โดยเขียนว่า aka ก็ได้
ครับ

e.g. หรือ eg เป็ นอักษรย่อ ของ คำาภาษาละติน exampli gratia แปล


ว่า for example หรือ “ดังตามตัวอย่างดังนี้ ” หรือ “ดังนี้ ” หรือ“อทิ
เช่น” เราใช้ในร่ปประโยคแบบนี้ ครับ Car sales in Thailand continues
to show strong domination by leading Japanese brands e.g. Toyota,
Honda and Nissan.

i.e. หรือ ie เป็ นคำาย่อของคำา ละติน id est แปลว่า that is (to


say) หรือในภาษาไทย “นั ่นคือ”

The country north of the US border i.e. Canada was once colonized
by Britain and France.

Ibid เป็ นคำาย่อ ibidem ศัพท์ละติน ที่แปลว่า .”ในที่เดียวกัน” ถ้าในครั้ง


แรกเราอ้างถึงหนั งสือ เอกสาร บทความใดๆก็ตาม โดยได้ระบุช่ ือหนั งสือ
สารคดี บทความนั้ น พร้อมกับชื่อ ผ้่แต่ง สำานั กพิมพ์ และข้อม่ลอื่นๆใว้
เป็ นเชิงอรรถแล้ว เราก็สามารถใช้คำาย่อ ibid แทนเป็ นเชิงอรรถได้ โดย
ไม่ต้องอ้างอิงข้อม่ลเหล่านั้ นซำ้าอีกให้ยุ่งยาก

ZIP คำาย่อนี้ ถ้าอย่่ในเอกสารระบุท่อ


ี ย่่ในสหรัฐฯ หมายถึง Zone
Improvement Plan ของกิจการไปรษณี ย์สหรัฐฯ ที่ระบุไว้เป็ นรหัสตัวเลข
บางประเทศอย่างประเทศไทย ใช้คำาว่า Postcode หรือ postal code คือ
รหัสไปรษณี ย์ท่ีเป็ นตัวเลข ที่แบ่งพื้ นที่ออกเป็ นส่วนๆ (zone)
Plc คำาย่อนี้ มาจาก Public limited company แปลว่า “บริษัทมหาชน
จำากัด” ใช้กันอย่่ในสหราชอาณาจักร แต่คนไทยจะใช้ PCL กัน เพราะย่อ
มาจาก Public Company Limited ซึ่ง จริงๆแล้ว เป็ นการใช้ที่ ผิด
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจ ผมต้องขออธิบายดังนี้ ครับ

คนไทยคุ้นกับคำาย่อ Co., Ltd. ที่มาจาก company limited มานานแล้ว


สมัยก่อนหน้ามี “พ.ร.บ. บริษัทมหาชน” โดยปรกติเราจะเขียนชื่อบริษัท
เป็ นภาษาไทยโดยขึ้นต้นว่า "บริษัท " แล้วตามด้วยชื่อ เช่น บริษัท ค้าข้าว
จำากัด โดยในภาษาอังกฤษ เราอาจจะใช้ว่า Rice Trading Co.,
Ltd. พอภายหลังจดทะเบียนใหม่เป็ นบริษัทมหาชน ก็เลยเพิ่มคำา
ว่า "มหาชน" ไว้ข้างหลังชื่อบริษัท ก็เลยเป็ น ชื่อใหม่ว่า บริษัท ค้าข้าว
มหาชน จำากัด.ในภาษาอังกฤษก็ทำากันง่ายๆ ด้วยวิธืเพิ่มตัว P เข้าไป
แทน คำาว่า “มหาชน” แต่ยังเอา LTD. ไว้ท่ีเดิม โดยหาร้่ไม่ว่าผิด
ไวยากรณ์

ในภาษาอังกฤษนั้น company เป็ นคำานามหลัก อะไรที่นำามาเพิ่มเพื่อ


ขยายความคำานี้ ถือเป็ นคำาวิเศษณ์ (adjective) ทีต
่ ูองอย่้หนูาคำานาม
เสมอ ทั้ง public และ limited เป็ น adj ทั้งค่้ ถูาใชูคำาย่อ PCL เมื่อ
เขียนโดยไม่ใชูคำาย่อ ก็คงตูองเขียนว่า Public Company Limited ซึ่ง
ไม่ถ้กไวยากรณ์ เพราะ Limited ไปอย่้หลังคำานาม ผมว่า ฝรัง่ อ่านคำาย่อ
แล้วคงจะงงๆ

การใช้ Plc ซึ่งเป็ นคำาย่อของ Public Limited Company แบบอังกฤษนั้ น


ถ่กไวยากรณ์แน่นอน แต่ถ้าเราจะเปลี่ยนคงยาก นอกจาก กระทรวง
พาณิ ชย์ จะทำาคำาสัง่ หรือ กฎกระทรวงออกมา ผมสงสัยเรื่องนี้ เลยเข้าไป
ด่ใน website ของกรมพัฒนาธุรกิจ ก็พบว่า ในประกาศเรื่องการจด
ทะเบียนบริษัทมหาชน เป็ นภาษาอังกฤษใช้ public limited
company อย่างถ่กต้อง ครับ ผมก็โล่งอกไป

LP เป็ นคำาย่อของ limited partnership หรือห้างหุ้นส่วนจำากัด คำาย่อที่ใช้


กัน คือ หหจ

ROP เป็ นคำาย่อของ Registered Ordinary Partnership ความหมาย


เต็มๆ คือ ห้างห้้นส่วนสามัญนิ ติบ้คคลซึ่งจดทะเบียนแล้ว แต่มันยืดยาด
มาก ทางราชการจึงกำาหนดให้ใช้ แค่ “ห้างหุ้นส่วนสามัญนิ ติบุคคล” หรือ
คำา ย่อ “หสน”

Pty เป็ นคำาย่อของ proprietary ที่ใช้กันในประเทศอุอสเตรเลีย ในความ


หมายว่าเป็ นบริษัทเอกชน โดยต่อท้ายด้วย Ltd. การจดทะเบียนทำาได้
ง่ายมากแค่ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม แล้วส่งไปทางออนไลน์ให้สำานั กงานจด
ทะเบียนการค้า เสียค่าธรรมเนี ยมตามระเบียบ แค่สองชัว่ โมง ก็เสร็จ
เรียบร้อยถ้าใช้บริการของสำานั กงานกฎหมายและบัญชี

Pte เป็ นคำาย่อของ คำาว่า Private ใช้กันในประเทศสิงค์โปร์โดยเฉพาะ


สำาหรับต่อท้ายชื่อบริษัทเอกชน พร้อมกับ Ltd คำาย่อ
ของ Limited. เป็ น Pte Ltd. เช่น Singapura Pte, Ltd.

GmbH เป็ นคำาย่อของศัพท์ภาษาเยอร์มัน (Gesellschaft mit


beschränkter Haftung) อ่านว่า เกเซลชัฟท์ มิต เบสชะแร้นคะต้า ฮัฟ
ตุง) แปลตรงตัว เป็ นภาษาอังกฤษ ได้ว่า company with limited
liability แยกคำาแปลได้ดังนี้ ครับ gesellschaft = company mit =
with beschränkter = limited, Haftung = liability ความหมายจริงตาม
ศัพท์ คือ บริษัทเอกชนทุนจำากัด (private limited liability
company) ระวัง นะครับ มีบาง website ที่มีบริการ weblog บอกกันว่า
เป็ นบริษัทมหาชน ซึง่ ผิดถนั ด ครับ โปรดสังเกตด้วยว่า ภาษาเยอร์มันไม่
ใช้ คำาว่า เอกชน หรือ private เหมือนในภาษาอังกฤษ
เพราะ company ในความหมายเดิม คือ “เพื่อน” หรือ “สหาย” อย่างใน
ประโยคนี้ ครับ “I saw Linda at the shopping mall. So I kept her
company while she went around for window shopping. (ผมพบลิน
ดาที่ ศ่นย์การค้า เลยอย่่เป็ นเพื่อนเธอเดินด่ของตามต้่โชว์) ในประเทศ
อังกฤษนั้ น สมัยก่อนชื่อห้างร้านเอกชน มักจะใช้ช่ ือเจ้าของร้านเป็ นหลัก
เช่น “Robert Stevens & sons” หรือ “Winston & Co. อย่างในเมือง
ไทยเราก็มี ห้างขายยาหมอมี ห้างบีกริมแอนด์โก (B. Grimm &
Co.) แต่คนไทยและคนจีน ส่วนมากนิ ยมตั้งชื่อร้านที่หมายถึงสิ่งที่เป็ น
ศิรม
ิ งคล ความรุ่งเรือง ความเจริญ ความสวยงามมากกว่าใช้ช่ ือ่เจ้าของ
ร้าน หรือไม่ก็ใช้ช่ ือสะพาน ชื่อถนน ชื่อท้องถิ่นมาประสมกับลักษณะการ
ค้าของตน อย่างเช่น บริษัทเทวกรรมโอสถ ที่เชิงสะพาน เทวกรรม แถว
นางเลิ้ง ในกรุงเทพฯ

AG เป็ นคำาย่อภาษาเยอร์มัน อีก แต่ย่อมาจาก Aktiengesellschaft ที่


แปลว่า บริษัทมหาชน อ่านว่า “อักเตียนเกสเซลชัฟท์” ทีจ
่ ริงคำานี้ แปล
ตรงว่า “บริษัทที่แลกเปลี่ยนหุ้นได้” aktien แปลว่า หุ้น ตรงกับภาษา
อังกฤษ ในคำาว่า share, stock และ equity (ทุนเรือนหุ้นตามภาษา
บัญชี) gesellschaft แปลว่า บริษัท หรือ สมาคม
AS เป็ นคำาย่อของคำาว่า société anonyme ในภาษาฝรัง่ เศส ใช้เป็ นคำา
ย่อต่อท้ายชื่อบริษัท ในประเทศฝรัง่ เศส société แปล
ว่า บริษัท anonyme แปลว่าไม่มีช่ ือ แปลกมั้ย ครับ ในสมัยก่อนบริษัท
ห้างร้านของเอกชนในยุโรป จะต้องตั้งชื่อห้างร้านของตนตามชื่อเจ้าของ
หรือหุ้นส่วน ต่อมาเกิดมีตลาดหุ้น และบริษัทมหาชนเกิดขึ้น ที่สามารถ
ออกหุ้นมาซื้ อขายกันได้ จึงมีกฎหมายห้ามใช้ช่ ือบุคคลเป็ นชื่อบริษัท โดย
ให้ใช้ช่ ืออะไร ก็ได้ เช่นชื่อเมือง ชื่อตำาบล ชื่อท้องถิ่น ที่ไม่เหมือนชื่อ
ที่ทางราชการใช้อย่่ตามกฎหมาย แต่ก็มีการเลี่ยงกฎหมายโดยใช้ ชื่อตัว
ผสมชื่อสินค้า เช่น Ford Motor Co.ในสหรัฐฯ อย่างไรก็ตาม บริษัท
ใหญ่ๆนั้ น หุ้นส่วนดั้งเดิม ส่วนมากตายไปหมดแล้วเมื่อ แปลงตัวเอง
เป็ นบริษัทมหาชน จึงสามารถใช้ช่ ือผ้่ก่อตั้งบริษัทมาเป็ นชื่อบริษัทได้
เช่น บริษัท Renault S.A. ผ้่ผลิตรถยนต์รายใหญ่รายหนึ่ งของฝรัง่ เศส
หรือ บริษัท Daimler-Benz AG. ในประเทศเยอรมนี

http://www.oknation.net/blog/tatchai/2010/10/31/entry-1

ภาพจากอินเทอร์เนต บนซ้าย: รถยนต์ เรโนลต์คันแรกที่ Loius


Renault สร้างขึ้นใน 1898 บนขวา: รถเรโนลต์ CV4 เป็ นรถ
ขนาดเล็กเครื่องท้ายรุ่นแรกของเรโนลต์ ที่ใช้เป็ นรถแท็กซี่กันมาก ใน
กรุงเทพในยุค 2490-06 ก่อนที่รถญี่ปุ่นจะเข้ามาตีตลาด ล่างส้ด:
Renault Laguna ที่จะออกตลาดในปี 2011

NA คำาย่อนี้ มาจากภาษาดัทช์ naamloze vennootschap ออกเสียงว่า


“นัมโลสเซ เวนนูซฉอบ”คำาแรก แปลว่า ไม่มีนาม เหมือน
กับ anonyme ในภาษาฝรัง่ เศส ส่วน vennootschap แปลว่า “กิจการ”
ตรงกับคำาว่า venture ในภาษาอังกฤษ ความหมายทั้งหมด ก็คือ “บริษัท
ไร้นาม” ก้อ อย่างที่ผมได้อธิบายไว้แล้ว ก่อนหน้านี้

ในสหรัฐฯ ชื่อบริษัทที่ดำาเนิ นกิจการเพื่อหากำาไร มีข้อกำาหนดแตกต่างกัน


ไปแต่ละรัฐ แต่ช่ ือบริษัทที่ทางการยอมให้ใช้ ต้องมีข้อความบ่งบอก
ประเภทของการจดทะเบียนด้วย โดยจะใช้เป็ นตัวอักษรย่อโดยมีจุดหรือ
ไม่มีจุดกำากับก็ได้ ที่ใช้กันทัว่ ไป คือ

Corp. = Corporation, Inc. = Incorporated, Co. = Company, Ltd.


= Limited โดยบางรัฐ จะห้ามใช้ คำาว่า and Company หรือ &
Co. แต่ถ้าจะใช้เพียงชื่อ และต่อท้ายด้วย Limited หรือ Ltd เท่านั้ นก็ได้
การจดทะเบียนบริษัททุนจำากัด ทีจ
่ ดทะเบียนในตลาดหุ้นเพื่อนำาหุ้นมา
ซื้ อขายกันในตลาดหุ้น ไม่ถ่กบังคับให้ต้องบอกว่าเป็ นบริษัทมหาชน
แบบในประเทศอังกฤษ หรือ ประเทศอื่นๆในยุโรปและประเทศไทย ทั้งนี้
เพราะ การจดทะเบียนเป็ น Corporation บ่งบอกอย่่ในตัวตามกฎหมาย
ว่า สามารถออกหุ้นมาจำาหน่ายได้ ถ้าอยากออกหุ้นจำานวนมากเพื่อระดม
ทุนก้อนใหญ่มากๆ ก็ต้องไปจดทะเบียนกับตลาดหุ้นที่ใดที่หนึ่ ง เช่น
ที่ New York Stock Exchange (NYSE) เพราะฉะนั้ น ถ้าเราเห็นชื่อ
บริษัทที่ต่อท้ายด้วย Corp. หรือ Inc.เราก็ร้่เลยว่าเป็ นบริษัทที่ออกหุ้นมา
ขายในตลาด อย่างไรก็ตาม การซื้ อขายหุ้นกันนั้ น ไม่ได้ถ่กบังคับให้ขาย
กันในตลาดหลักทรัพย์เท่านั้ น เราจะขายให้ใครนอกตลาดก็ได้ ถ้าเรามีใบ
หุ้นถืออยุุในมือ การขายหุ้นนอกตลาด (off-exchange) ที่เรียก
ว่า OTC คำาย่อของ Over-the-Counter คือ การขายหุ้นกันบนเคาน์เตอร์
แบบผ้่ขายกับผ้่ซื้อทำากันโดย ตรง แต่ในทางปฎิบัติน้ ั น จะอาศัยบริษัท
หลักทรัพย์มาจัดการให้

นอกจากนี้ ยังมีคำาย่อที่ใช้กับกิจการที่เป็ นหุ้นส่วน อย่่หลายคำา เช่น LLP


= Limited Liability Partnership, RLLP = Registered Limited
Liability Partnership, PLLC = Professional Limited Liability
Company

RSVP คำาย่อของ "répondez s'il vous plaît" ในภาษาฝรัง่ เศส โดยจะ


อย่่ในบัตรเชิญสำาหรับงานสังคม หรือ พิธีการบางอย่าง ปรกติจะพิมพ์กัน
ไว้ท่ีมุมล่างซ้ายของบัตร คำาแปล คือ “Please respond” แต่คนไทยจะ
นิ ยมใช้ข้อความว่า “ขัดข้องโปรดตอบ” หรือ “ขัดข้อง
โทร 02xxxxxxx” ที่ใช้ภาษาฝรัง่ เศสกันเป็ นธรรมเนี ยม เพราะเริม
่ ต้นมี
ข้อความนี้ ในประเทศฝรัง่ เศสก่อน คนฝรัง่ เศสนั้ นมีความเคร่งครัดใน
เรื่องของมารยาททางสังคมมาก และชาติอ่ ืนๆในยุโรป ก็มักเอา
ธรรมเนี ยมสังคมของชาวฝรัง่ เศสไปใช้กัน

Anon. บางคนเห็นคำาย่อนี้ ท้ายบทกวีช้ ินใดชิ้นหนึ่ ง อาจจะงงว่ามัน


หมายความว่าอะไร คำาย่อนี้ มาจาก Anonymous แปลว่า “นิ รนาม” คือ
“ไม่มีช่ ือ” ในความหมายว่า “ไม่ทราบว่าใครเป็ นผ้่ประพันธ์” ซึ่งอาจจะ
เป็ นบทกวีเก่าแก่โบรำ่าโบราณมาก จนไม่มีใครทราบว่าใครประพันธ์ไว้ แต่
ถ้าเราอยากจะเขียนกลอน หรือ บทกวีที่จะถ่กนำาไปตีพิมพ์ โดยไม่อยาก
บอกว่า เราเขียน ก็ใช้คำาย่อนี้ ได้

คราวนี้ ค่อนข้างจะยาวกว่าทุกเรื่องที่ผ่านมา จึงต้องจบลงแค่น้ ี ครับ หวัง


ว่าคงเป็ นประโยชน์สำาหรับท่านผ้่อ่านไม่มากก็น้อย นะครับ
ความคิดเห็นที่ 3
Tatchaithira วันที่ : 01/11/2010 เวลา : 19.41 น.
http://www.oknation.net/blog/tatchai

ผมคิดว่าผ้่อ่านบางท่านอาจจะสงสัยว่า เมื่อเราใช้ Co., Ltd. มากันตั้งนานแล้ว แต่


พอเติม Public ลงไปข้างหน้า Co. โดยใช้ตัวย่อ P แล้ว ให้ Ltd.อย่่ท่ีเดิม เป็ น P.
Co., Ltd.หรือ PCL ทำาไมถึงผิดไวยากรณ์ข้ ึนมา

ที่ว่าผิดเพราะอย่างนี้ ครับ โดยปรกติการเขียนชื่อบริษัท นั้ น เช่น ABCD Company


ถ้าเราใช้ตัวย่อกับ company เราก็แค่ใช้ Co. แต่ถ้าเป็ นบริษัทจำากัด (คือจำากัดความ
รับผิดทางหนี้ สินเท่ากับเงินกองทุนที่มีอย่)่ เราต้องเติมคำาว่า Limited ต่อท้าย โดย
ใช้ตัวย่อ Ltd. แต่ต้องเติม comma หลัง Co. เป็ น Co., Ltd. ถ้าเขียนเต็ม ก็ต้อง
เป็ น Company, Limited โดยหลัง Limited ไม่ต้องใส่ จุด period เพราะไม่ใช่คำา
ย่อ เมื่อหลักไวยากรณ์กำาหนดไว้ดังนี้ การเขียนชื่อบริษัทเต็มร่ป จึงต้องเขียนว่า
ABCD Company, Limited แต่พอเป็ นบริษัทมหาชน จะไปเขียนว่า ABCD
Public Company, Limited โดยใช้คำาย่อ ABCD P. Co., Ltd. ก็ด่เยิ่นเย้อรุงรังมาก
ก็เลยต้องกำาหนดว่า ต้องเขียนว่า ABCD Public Limited Company เมื่อใช้คำาย่อ
ก็ เขียนง่าย คือเป็ น Plc. โดยใช้ P ใหญ่ตัวเดียวเท่านั้ น เราอยากจะใช้ PLC ก็ได้
แต่ไม่นิยมใช้กัน การเขียนแบบนี้ ก็ถ่กไวยากรณ์เลย โดยไม่ต้องเอา comma มา
คัน
่ ให้รงุ รัง

การใช้ comma นั้ น มีหลักอย่่ว่า ถ้าคำาบางคำา ถ้าไม่เรียงตามที่หลักไวยากรณ์


กำาหนดไว้ต้องใช้ comma คัน
่ เช่น ชื่อคน ถ้า เขียนอย่างปรกติ เราจะชื่อนำาหน้า
นามสกุลตามหลัง แต่ฝรัง่ เวลาเรียงลำาดับชื่อโดยนามสกุลขึ้นต้น โดยเรียงตาม
ลำาดับตัวอักษร เขาจะเขียนแบบนี้ ครับ Bush, George W. หรือ Obama, Barack
คำาอักษรย่อและคำาย่อ

กมลา นาคะศิร ิ1

บทคัดย่อ

จุดประสงค์ของการใช้ภาษา คือ การสื่อสารเพื่อให้มีความเข้าใจกัน


ระหว่างผ้่พ่ดกับผ้่ฟัง หรือผ้่อ่านกับผ้่เขียน ในปั จจุบันการใช้คำาตัวอักษร
ย่อ และคำาย่อในภาษาไทยได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ถ้าผ้่ใช้ภาษาไม่
เข้าใจความหมายของคำาตัวอักษรย่อและคำาย่อแล้วย่อมก่อให้เกิดปั ญหา
การใช้คำาตัวย่ออักษรย่อและคำาย่อจะพบได้ในสื่อต่าง ๆ เช่น
หนั งสือพิมพ์ วิทยุ ทีวีและอินเตอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็ นภาษาพ่ดหรือภาษา
เขียน ดังนั้ นผ้่ใช้ภาษาควรให้ความสนใจในเรื่องร่ปและความหมายของ
คำาอักษรย่อและคำาย่อเหล่านั้ น เพื่อประโยชน์ของการสร้างความเข้าใจซึ่ง
กันและกัน คำาประเภทนี้ จะเริม
่ เพิ่มพ่นมากขึ้นในภาษาไทยตามกาลเวลา
โดยที่คำาเหล่านั้ นเป็ นทั้งคำาอักษรย่อที่ใช้ในภาษาไทย รวมทั้งคำาย่อและคำา
อักษรย่อที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ คำาบางคำาเหล่านี้ อาจจะปรากฏอย่่ใน
ภาษาธรรมชาติต่าง ๆ เช่น ไอเอ็มเอฟ จีดีพี เอทีเอ็ม ข้อม่ลในการ
ศึกษาครั้งนี้ จึงมีท้ ังคำาอักษรย่อในภาษาไทยรวมทั้งคำาย่อและคำาอักษรย่อ
ในภาษาอังกฤษซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็ นคำายืม นอกจากร่ปและความหมาย
ของคำาแล้วยังได้ศึกษากลุ่มความหมายของคำาด้วย โดยการจำาแนกความ
หมายออกเป็ นกลุ่มใหญ่ ๆ อย่างไรก็ตามการศึกษาในประเด็นนี้ นั ก
ภาษาศาสตร์ควรให้ความสนใจและสังเกตอย่างต่อเนื่ อง เพราะในยุค
ข้อม่ลข่าวสารจะมีคำาใหม่ ๆ เกิดขึ้นเสมอจากสื่อต่าง ๆ จากวิชาการทาง
วิทยาศาสตร์ การปกครองและแหล่งอื่น ๆ

Abstract

The purpose of using a language is to communicate between the


speaker and the listener, or the reader and the writer. At present,
the use of

abbreviations and acronyms in the Thai language is rapidly


changing. If language users are unable to understand the form and
the meaning of the abbreviations and acronyms, they will
experience comprehension problems. The use of these types of
words will occur in different media such as newspaper, radio,
television or even on the internet as well. Therefore, the language
users be enthusiastic in studying the form and its meaning of those
words in order to benefit form a mutual understanding of both the
spoken and written language. This process of word formation
1 ที่ปรึกษา สถาบันภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมศึกษาราชนครินทร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

in the Thai language is constantly growing. The gloss covers not


only Thai abbreviations bot also English acronyms and
abbreviations. Some words will also occur in different natural
language; for examples, IMF, GDP, ATM etc. The corpus will
cover not only the abbreviations in Thai but also the English loan
words together with word meaning. Besides, the analyst will also
categorize the word meaning by means of componential analysis.
Since the number of abbreviations and acronyms continues to
grow, with new ones being added almost daily from the media and
many other sources, the linguist should observe and examine them
continuously in this era of the information technology.

ความสำาคัญของปั ญหา

ในยุคข้อม่ลข่าวสารที่ไร้พรมแดน การใช้คำาอักษรย่อซึ่งมีความหมาย
เหล่านี้ ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและแพร่หลายยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็ นภาษา
พ่ดหรือภาษาเขียน ความนิ ยมในการใช้คำาอักษรย่อแพร่ขยายไปในกลุ่ม
ต่าง ๆ อย่างเช่นกลุ่มในวงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ ทางด้านการ
ปกครองและทางด้านบริหารการเงินในเรื่องตลาดทุนและตลาดเงิน การ
ใช้คำาอักษรย่อเกิดขึ้นเสมอเช่นนี้ ในกลุ่มสื่อต่าง ๆ เช่น หนั งสือพิมพ์
วิทยุ โทรทัศน์ แม้กระทัง่ สื่อทางอินเตอร์เน็ต ยิ่งไปกว่านั้ นผ้่ใช้ภาษาใน
กลุ่มพัฒนาชนบทซึ่งต้องติดต่อกับชาวบ้านก็นิยมใช้คำาอักษรย่อเช่น
เดียวกัน ผ้่ศึกษาได้สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงและความนิ ยมในการใช้
คำาอักษรย่อแทนกลุ่มคำา / ประโยคยาว ๆ มาตั้งแต่ปี 2537
ปรากฏการณ์น้ ี ในระยะแรก จะพบได้จากการอ่านหนั งสือพิมพ์ ต่อมาการ
ใช้คำาย่อได้เริม
่ แพร่หลายไปส่่การใช้ภาษาพ่ด หลังจากนั้ นจะพบว่าไม่ว่า
จะเป็ นภาษาพ่ดหรือภาษาเขียนจะมีการใช้คำาอักษรย่อปรากฏอย่่เสมอ
ในปั จจุบันผ้่ใช้ภาษาส่วนมากจะนิ ยมใช้คำาอักษรย่อแทนคำาพ่ดที่เป็ น
ประโยคยาว ๆ หรือวลียาว ๆ กันมากขึ้น สาเหตุที่เป็ นเช่นนี้ เราอาจจะ
หาสาเหตุมาอธิบายได้หลายอย่าง ประการแรกผ้่ใช้ภาษาต้องการ
ประหยัดเวลาซึ่งสะท้อนให้เห็นแนวคิดและการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
สังคมไทยในยุคข้อม่ลข่าวสาร การกระทำาทุกอย่างแข่งกับเวลา ทุกอย่าง
มีการแข่งขัน การงานทุกประเภทต้องรีบวางแผนรีบปฏิบัติเพื่อให้งาน
บรรลุวัตถุประสงค์อย่างรวดเร็ว พฤติ-กรรมของคนในวงการต่าง ๆ ล้วน
มีการแข่งขันส่ง เวลาเป็ นตัวกำาหนด ดังนั้ นใครทราบข้อม่ลก่อนย่อมได้
เปรียบ การมีข้อม่ลจะก่อให้เกิดการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ที่อย่่บนพื้ น
ฐานของข้อม่ลที่ถ่กต้องย่อมส่งผลให้ผลการวิเคราะห์เชื่อถือได้ ด้วยเหตุ
นี้ การจัดการเวลาเป็ นเรื่องสำาคัญเรื่องหนึ่ งของชีวิตมนุ ษย์ ประการที่สอง
การใช้ตัวอักษรย่อในภาษาพ่ดและภาษาเขียนฟั งด่กะทัดรัด จำาชื่อได้ง่าย
ไม่ต้องเรียกชื่อเต็มซึ่งเป็ นชื่อยาวและจำายาก อย่างไรก็ตามการใช้ตัว
อักษรย่อในภาษาจะมีข้อจำากัดในเรื่องความหมาย ถ้าผ้่รบ
ั สื่อไม่เข้าใจใน
ความหมายของตัวอักษรย่อก็จะก่อให้เกิดปั ญหาในการสื่อสารได้
ตัวอย่าง เช่น

กพช บีบคลังเร่งรัดภาษี กุาซ หุงต้ม

เอฟ ดี เอ อนุ มัติอุปกรณ์ เคลื่อนที่ตรวจสารพิษในอาหาร

นายกสัง่ สศช ร่างระเบียบใหม่


รปภ เอ เปค ไม่พอใจอัตราเงินเดือน

สอท ช่อุตสาหกรรมอาหารรับเงินก้่เวิลด์แบงก์

สส. รับหลักการ สสร

จีดีพี ของประเทศไทยขยายตัว 8%

เขาชอบด่ข่าว ซี เอ็น เอ็น

ดังนั้ นผ้่ศึกษาคิดว่ามีความจำาเป็ นและถึงเวลาแล้วที่นักภาษาศาสตร์ควร


จะตระหนั กและตั้งข้อสังเกตในเรื่องการใช้คำาอักษรย่อ จากแนวคิดนี้ เอง
ผ้่ศึกษาจึงเกิดแรงบันดาลใจที่จะทำาการศึกษาในเรื่องคำาอักษรย่อโดยเริม

เก็บข้อม่ลมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 - 2540 และหวังว่าการศึกษาใน
ประเด็นนี้ จะช่วยเพิ่มความเข้าใจในเรื่องความหมายของคำาอักษรย่อ
ระหว่างกลุ่มคนในวงการต่าง ๆ และเพื่อประโยชน์ของสังคมในอนาคต

อย่างไรก็ตามในการศึกษาครั้งนี้ ผ้่ศึกษาตระหนั กดีว่า เนื่ องจากปั จจุบัน


เป็ นยุคโลกาภิวัฒน์ จึงทำาให้ประเทศต่าง ๆ มีการติดต่อกันในเชิง
พาณิ ชย์ ทางวิชาการรวมทั้งการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ดังนั้ นจึงมีการยืม
คำาจากภาษาต่างประเทศมากยิ่งขึ้นและเป็ นผลให้การใช้คำาอักษรย่อใน
ภาษาไทยมีท้ ังสองร่ปแบบกล่าวคือ ร่ปแบบแรกเป็ นการใช้คำาอักษรย่อ
ตามโครงการของภาษาไทย ส่วนร่ปแบบที่สองเป็ นการยืมคำาย่อมาจาก
ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ

เพื่อความสมบ่รณ์ของการศึกษา การเก็บข้อม่ลจึงมีท้ ังสองร่ปแบบ คือ


คำาตัวอักษรย่อในภาษาไทย พร้อมด้วยคำาย่อ (Acronyms) และคำาอักษร
ย่อ (Abbreviations) ของภาษาอังกฤษที่ยืมมาใช้ในภาษาไทย การเก็บ
ข้อม่ลคำายืมเหล่านี้ จะยึดหลักของการที่คำายืมเหล่านี้ ปรากฏอย่่บ่อย ๆ
ในภาษาไทยและคิดว่าคำายืมเหล่านี้ จะทวีจำานวนเพิ่มมาขึ้นตามกาลเวลา
ผ้่สนใจศึกษาภาษาจึงควรได้ดำาเนิ นการศึกษาและเก็บข้อม่ลต่อไป

การรวบรวมตัวอักษรย่อเหล่านี้ ไม่ได้นำาคำาอักษรย่อที่เป็ นที่ร้่จักกันอย่าง


กว้างขวางมานานแล้วมาเป็ นข้อม่ลในการศึกษาอย่างเช่น คำาอักษรย่อที่
บ่งบอกยศ ตำาแหน่งของข้าราชการ ทหาร ตำารวจ ชื่อย่อปริญญาสาขา
ต่าง ๆ ผ้่ศึกษาจะมุ่งเน้นข้อม่ลคำาย่อและคำาอักษรย่อที่เกิดขึ้นใหม่ซ่ึง
กำาลังแพร่ขยายในหม่่ผ้่ใช้ภาษาในวงการต่าง ๆ ของยุคข้อม่ลข่าวสาร

วัตถุประสงค์

1. ศึกษาร่ปของคำาอักษรย่อและร่ปเต็มของคำาในภาษาไทย
2. ศึกษาคำายืมซึ่งประกอบด้วยร่ปของคำาย่อ ร่ปคำาอักษรย่อและ
ร่ปเต็มของคำาเหล่านั้ นในภาษาอังกฤษ
3. ศึกษากลุ่มความหมายของคำาอักษรย่อและคำาย่อของคำา
4. ศึกษาความแตกต่างระหว่างคำาอักษรย่อและคำาย่อ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดูรับ

1. เพื่อจัดทำาหนั งสือคำาอักษรย่อ คำาย่อในร่ปของพจนานุ กรม


2. จัดทำาพจนานุ กรมอิเล็กทรอนิ กส์เพื่อเป็ นฐานข้อม่ลในการ
ตรวจสอบ ค้นหาร่ปของคำาอักษรย่อ คำาย่อและร่ปเต็มของคำา
3. เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์สำาหรับตรวจการสะกดคำาและค้นหา
ความหมายของคำา
4. เพื่อเป็ นฐานข้อม่ลของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ
(NLP) และเพื่อนำาไปใช้เป็ นฐานความร้่ทางภาษาศาสตร์
5. ช่วยสนั บสนุ นการแปลภาษาด้วยเครื่อง การแปลภาษาจาก
ภาษาไทยไปเป็ นภาษาอังกฤษ หรือแปลจากภาษาอังกฤษมา
เป็ นภาษาไทย จะช่วยอำานวยความสะดวกและเร่งการติดต่อ
แลกเปลี่ยนข้อม่ลให้เป็ นไปอย่างรวดเร็ว

อธิบายความหมายของคำาศัพท์

1. คำาอักษรย่อ (Abbreviations) หมายถึง ร่ปย่อของคำาหรือวลี


โดยใช้ตัวอักษรย่อแทนคำาซึ่งเป็ นร่ปเต็ม รวมทั้งคำาย่อซึ่งเกิด
จากการตัดบางส่วนของคำาออกไป
2. คำาย่อ (Acronyms) หมายถึง คำาที่เกิดจากการนำาเอาอักษร
แรกของคำาในคำาต่าง ๆ หรือในวลียาว ๆ มาวางเรียงติดต่อ
กัน แล้วอ่านออกเสียงคำาใหม่น้ ั น
3. น หมายถึง นาม
4. ก หมายถึง กริยา
5. / / สัญลักษณ์ท่ีอย่่ภายในเส้นเอียงค่่ หมายถึง เสียงสำาคัญใน
ภาษาหรือการอ่านออกเสียงคำานั้ น
6. / / / หมายถึง พยางค์เน้นมาก (Primary stress)
7. C หมายถึง เสียงพยัญชนะ หรือ Consonant
8. V หมายถึง เสียงสระ หรือ Vowel

ผลการศึกษา

เมื่อนำาข้อม่ลคำาย่อ (Acronyms) และคำาอักษรย่อ (Abbreviations)


จำานวนประมาณ 300 คำา มาศึกษาวิเคราะห์ร่ปคำาและความหมายของคำา
โดยใช้หลักทางระบบคำา
(Morphology) และหลักการวิเคราะห์ความหมายของคำา (Componential
analysis) แล้ว

ผ้่วิเคราะห์พบผลการศึกษาที่น่าสนใจในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้

1. คำาอักษรย่อในภาษาไทยจะต่างกับคำาย่อใน
ภาษาอังกฤษ คำาอักษรย่อในภาษา

ไทยผ้่ใช้ภาษาไทยไม่สามารถอ่านออกเสียงเป็ น
คำาให้เหมือนกับคำาย่อที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ
เช่น VAT / vc t / NASA / nc ¢ sa / PINE /
pain / สาเหตุท่ีเป็ นเช่นนี้ อาจจะอธิบายได้ว่า
เป็ นผลจากความแตกต่างของโครงสร้างพยางค์
ระหว่างภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ โครงสร้าง
พยางค์ภาษาไทยจะเป็ น CV, CVC, CCV,
CCVC, CVV, CCVV, CVVC, CCVVC ใน
ขณะที่โครงสร้างพยางค์ภาษาอังกฤษเป็ น CV,
CCV, CCCV, CCCVC, V, VC, VCC, VCCC,
CVCCC, CCVCCC และอีกหลายโครงสร้าง
เป็ นต้น เมื่อเราเปรียบเทียบโครงสร้างพยางค์
ระหว่างสองภาษานี้ จะพบว่า โครงสร้างพยางค์
ของภาษาอังกฤษจะขึ้นด้วยเสียงสระได้ ในที่น้ ี จะ
ใช้สัญลักษณ์ V. แทนเสียงสระ
ตารางที่ 1 ตารางแสดงการเปรียบเทียบ เรื่อง
การออกเสียงคำาอักษรย่อในภาษาไทยและคำาย่อ
ของภาษาอังกฤษ 2

ภาษาไทย : คำา ภาษาอังกฤษ : คำาย่อ


อักษรย่อ ร้ปคำา การออกเสียง

กลต GMAT จีเมท

กสท NASA นาซา

กรป OPEC โอเปก

กสต BUN บัน

คปร PINE ไพน์

สสร NAFTA นาฟต้า

2. ชนิ ดของคำา (Word class) ไม่ว่าจะเป็ นคำาอักษรย่อในภาษาไทย


หรือคำายืมที่มีลักษณะเป็ นอักษรย่อและคำาย่อในภาษาอังกฤษ ชนิ ด
ของคำาส่วนใหญ่จะเป็ นคำานาม

การอ่านคำาเหล่านั้ นเป็ นการออกเสียงตามระบบเสียงในภาษาไทย


และความหมายของคำาอักษรย่อและคำาย่อมีความหมายดังนี้

กลต - คณะกรรมการกำากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

กสท - การสื่อสารแห่งประเทศไทย

กรป - กองอำานวยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
กสต - คณะกรรมการสภาตำาบล

คปร - คณะกรรมการกำาหนดเป้ าหมายและนโยบาย กำาลังคนภาค


รัฐ

GMAT Graduate Management Admissions

NASA National Aeronautics and Space Administration

OPEC Organization of Petroleum Exporting Countries

BUN Blood, Urine, nitrogen

PINE Program for Internet News and Email

NAFTA North Atlantic Free Trade Area

ตารางที่ 2 ตารางแสดงชนิ ดของคำา ของคำาอักษรย่อในภาษาไทย


พรูอมดูวยคำาย่อและคำาอักษรย่อในภาษาอังกฤษ 3

คำาอักษรย่อใน คำายืมจากภาษาอังกฤษ
ภาษาไทย คำาย่อ คำาอักษรย่อ

รสช (น) APEC (น) IMF (น)


(เอเปก) (ไอเอ็มเอฟ)

สมช (น) ASEM (น) ADB (น)


(อาเซ็ม) (เอดีบ)ี
สกว (น) ASEAN (น) ISO (น)
(อาเซียน) (ไอเอสโอ)

อบต (น) AIDS (น) AEM (น)


(เอดส์) (เออีเอ็ม)

อตก (น) GATT (น) CIA (น)


(แกต) (ซีไอเอ)

3. ความหมายและร่ปเต็มของคำาย่อและคำาอักษรย่อ

รสช - กองรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ

สมช - สภาความมัน
่ คงแห่งชาติ

สกว - สำานั กงานกองทุนสนั บสนุ นการวิจัย

อบต - องค์การบริหารส่วนตำาบล

อตก - องค์การตลาดเพื่อการเกษตร

APEC - Asia Pacific Economic Cooperation

ASEM - Asia Europe Meeting

ASEAN - Association of South East Asian Nations

AIDS - Acquired Immune Deficiency Syndrome


GATT - General Agreement on Tariffs and Trade

IMF - International Monetary Fund

ADB - Asian Development Bank

ISO - International Standards Organization

AEM - Asian Economic Ministers

CIA - Central Intelligence Agency

2. ในข้อม่ลที่ศึกษาคำาอักษรย่อที่ใช้เป็ นกริยามีจำานวนน้อยเรียกว่ามี
ปรากฎบ้าง

เช่น

SP (ก)

Email (ก)

Fax (ก)

ตัวอย่างประโยค เช่น

หุ้น ซี เอ็ม บี ที ถ่ก เอสพี

ฉัน อีเมล ไปเมื่อเช้านี้

แฟกซ์ ไปซิ เร็วดี

ตารางที่ 3 ตารางแสดงร้ปเต็มและความหมายของคำา
ร้ปเต็ม ความหมายของคำา

SP (ก) Suspension

Email (ก) Electronic mail

Fax (ก) Facsimile transmission

อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณา คำาย่อและคำาอักษรย่อที่ใช้เป็ นกริยาและนำา


มาคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์แล้วนั บว่าปรากฎน้อยมาก นอกจากนี้ คำา อีเมลและ
แฟกซ์ สามารถใช้เป็ นนามได้เช่นกัน

4. ความหมายของคำาอักษรย่อ รวมทั้งคำายืมซึ่ง
ประกอบด้วยคำาย่อและคำาอักษร

ย่อในภาษาไทยสามารถจำาแนกออกเป็ นกลุ่มความหมายได้หลายประเภท
ดังนี้

1. กลุ่มความหมายที่เป็ นชื่อขององค์กร
สำานั กงานและคณะกรรมการทั้ง

ในภาครัฐและภาคเอกชนในระดับชาติ รวมทั้งชื่อองค์กรในระดับโลกด้วย
ตัวอย่างเช่น

กฟฝ

กบข

ดับบลิวบีเอ
ปตท

ย่เซด

เอสแอนด์พี

ร่ปเต็มและความหมายของคำามีดังนี้

กฟผ - การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย

กบข - กองทุนบำาเหน็จบำานาญข้าราชการ

WBA - World Boxing Association

ปตท - การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทย

USAID - United States Agency for International

Development

S and P - Standards and Poor

4.2 กลุ่มความหมายของคำาอักษรย่อและคำาย่อที่ใช้ในทางวิชาการและ
การศึกษาซึ่งได้แก่คำาที่ปรากฎอย่่ในศาสตร์แขนงต่าง ๆ เช่น ทางด้าน
วิทยาศาสตร์ ทางภาษา ภาษาศาสตร์และทางการแพทย์ รวมถึงศัพท์ทาง
คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น

เอดส์ (AIDS)

บัน (BUN)
โทเฟิ ล (TOEFL)

ไอพีเอ (IPA)

เอ็นแอลพี (NLP)

ร่ปเต็มและความหมายของคำามีดังนี้

AIDS = Acquired Immune Deficiency Syndrome

BUN = Blood, Urine, nitrogen

TOEFL = Test of English as a Foreign Language

IPA = International Phonetic Association

NLP = Natural Language Processing

4.3 กลุ่มความหมายของคำาอักษรย่อและคำาย่อซึ่งจะปรากฎในด้าน

เศรษฐกิจ การเงิน การค้า รวมทั้งความร่วมมือทางการเมืองการค้า


ระหว่างประเทศ คำาในกลุ่มนี้ จะมีการใช้ภาษาไทยเช่นเดียวกับคำาที่ใช้ใน
ระดับนานาชาติหรือระดับโลก

จีพีเอ (GPA)

จีเอ็นพี (GNP)

บีไอบีเอฟ (BIBF)

นาฟต้า (NAFTA)
อาฟต้า (AFTA)

ร่ปเต็มและความหมายของคำาคือ

GPA = Grade Point Average

GNP = Gross National Product

BIBF = Bangkok International Banking Facility

NAFTA = North Atlantic Free Trade Area

AFTA = Asia Free Trade Area

4.4 กลุ่มความหมายของตัวอักษรย่อที่แสดงความหมายและปรากฎอย่่
ในเรื่องการปกครอง การบริหารบ้านเมือง ตลอดจนคำาที่เกิดขึ้นจากการ
เปลี่ยนแปลงทางการเมืองในประเทศ

กสช

กสต

คตส

สปก 4 - 01

สสร

ร่ปเต็มและความหมายของคำามีดังนี้

กสช - โครงการสร้างงานในชนบท
กสต - คณะกรรมการสภาตำาบล

คตส - คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน

์ ารครอบครองที่ดิน
สปก 4 - 01 - เอกสารสิทธิก

สสร - สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมน่ ญ

4.5 กลุ่มความหมายของคำาตัวอักษรย่อและคำาย่อ
ที่ไม่สามารถจัดกลุ่ม

ความหมายให้เข้ากลุ่มความหมายที่กล่าวมาแล้วนั้ น จะจัดให้อย่่ในหมวด
อื่น ๆ ซึ่งอาจเป็ นพวกคำาที่เกิดจากการประดิษฐ์ส่ิงใหม่ ๆ ขึ้น
(Coinage) รวมทั้งกลุ่มความหมายซึ่งอาจจะเป็ นชื่อของโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ศัพท์ท่ีใช้ทางคอมพิวเตอร์ เช่น

ซีดีรอม CD - Rom

โมเด็ม MODEM

ไพน์ PINE

แฟกซ์ FAX

เอทีเอ็ม ATM

ร่ปเต็มและความหมายของคำาย่อและอักษรย่อมีดังนี้

CD - Rom - Compact disc read only memory

MODEM - Moduclator - demodulator


PINE - Program for Internet News and Email

FAX - Facsimile transmission

ATM - Automated Teller Machine

จากข้อม่ลกลุ่มคำาประมาณ 300 คำา จะสามารถจำาแนกกลุ่มความหมาย


ของคำาอักษรย่อและคำาย่อเป็ นกลุ่มใหญ่ได้ 5 กลุ่ม ตามที่กล่าวมาแล้ว
กลุ่มความหมายเหล่านั้ นจะปรา-กฎหรือมีการใช้ท้ ังในระดับชาติและ
ระดับโลกซึ่งจะแสดงในร่ปแบบของตารางดังต่อไปนี้

ตารางที่ 4 ตารางแสดงกลุ่มความหมายของคำาอักษรย่อและคำาย่อ

กลุ่มความหมาย คำายืมและคำาอักษรย่อในภาษาไทย 4

ระดับชาติ สากล

1. ชื่อองค์กร, สำานั กงาน กฟผ, สศอ, UNDP,


คณะกรรมการโครงการทั้ง
สพช, สนนท, UNESCO,
ภาครัฐและภาคเอกชนรวม
ทั้งชื่อสากลของกลุ่มต่าง ๆ สจร USID,
ในระดับโลก
และทับศัพท์คำาสากล NATO

2. ทางวิชาการและการศึกษา ใช้ทับศัพท์ คำาสากล TESL, GPA,

IPA, CFA,

GRE, AIDS

3. เศรษฐกิจ การเงิน การค้า กลต, กบข, บล, WTO, EU, GAT, GNP,
รวมทั้งความร่วมมือทางการ NAFTA, ASEM, AFTA
บจง และทับศัพท์คำาสากล
เมืองการค้าระหว่างประเทศ

4. การปกครอง, การบริหาร กสต, รสช, สปก, -


บ้านเมือง, การเปลี่ยนแปลง
อบต, อบจ,
ทางการเมืองในประเทศ
สร, สสร

5. อื่น ๆ , สิ่งประดิษฐ์, ชื่อ ใช้ทับศัพท์ MODEM, FAX, ATM,


โปรแกรม
คำาสากล PINE, LAN

4 ในส่วนของคำายืมไม่ว่าโครงสร้างของคำาจะเป็ นคำาย่อหรือคำาอักษรย่อ
ใช้ทับศัพท์แต่มีการปรับเปลี่ยนด้านเสียงเพื่อให้เหมาะสมกับการออก
เสียงของคนไทย

ขูอสังเกตและขูอเสนอแนะ

1. คำาตัวอักษรย่อและคำาย่องบางกลุ่มใช้กัน
อย่างแพร่หลายในระดับนานาชาติหรือ

อาจกล่าวได้ว่า เป็ นคำาย่อหรือคำาอักษรย่อสากล


เช่น IMF, ADB, VAT, ISO, UNDP เป็ นต้น
ร่ปคำาในกลุ่มนี้ จะอย่่ในกลุ่มความหมายที่แสดงถึง
การเงิน การธนาคาร หรือชื่อของกลุ่มต่าง ๆ
2. คำาย่อและคำาอักษรย่อ นอกจากจะเป็ นชื่อ
เฉพาะแล้วบางคำาสามารถนำามาใช้

เป็ นคำานามสามัญ (Common noun) ได้ เช่น


เลเซอร์ (laser), เรด้า (rada), อีเมล (email), บัน
(bun), ไพน์ (pine), โมเด็ม (modem), แวท
(VAT), ซีเอ็นเอ็น (CNN) rejaser เป็ นต้น

3. ร่ปคำาอักษรย่อในภาษาไทยหลาย ๆ คำา
เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

และทางการเมืองที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้ น ๆ คำา
บางคำาจะแสดงถึงประวัติศาสตร์ของการ
เปลี่ยนแปลงทางการเมืองและการบริหารบ้าน
เมือง เช่น รสช. สสร. อบต. คตส.

4. ร่ปและความหมายของคำาบ่งบอกความ
สัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือระหว่าง

ภ่มิภาคในการให้ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ทางการเมืองและการค้า รวมทั้งการแลกเปลี่ยน
ทางวัฒนธรรมซึ่งความร่วมมือในด้านต่าง ๆ นี้ จะ
แพร่ขยายไปในแถบต่าง ๆ ของโลก ประเทศต่าง
ๆ จะจับรวมกลุ่มกันเพื่อให้เกิดพลังอันแข็งแกร่ง
ในด้านต่าง ๆ เพื่อผลประโยชน์ร่วมมือ ตามวิธี
ทางของโลกยุคโลกาภิวัฒน์
5. ร่ปคำาอักษรย่อและคำาย่ออาจมีร่ปซำ้ากันได้
แต่จะมีความหมายต่างกัน เช่น

บีบีซี (BBC) อาจหมายถึง ธนาคารกรุงเทพพาณิ ชย์การ (Bangkok


Bank of Commerce) หรือ The British Broadcasting Corporation
หรือ สกว. อาจหมายถึง สำานั กงานกองทุนสนั บสนุ นการวิจัยหรือสถาบัน
ค้นคว้าและพัฒนาระบบเกษตรในเขตวิกฤต ดังนั้ นการตีความหมายของ
คำาจะต้องด่ปริบทเป็ นหลัก

6. สำาหรับการอ่านออกเสียงคำาอักษรย่อ (Abbreviations) และการออก


เสียงคำาย่อ (Acronyms) ผ้พ
่ ่ดจะปรับเปลี่ยนการออกเสียงให้เหมาะสม
กับระบบเสียงในภาษาไทย เพราะเสียงพยัญชนะบางเสียงของภาษา
อังกฤษไม่มีใช้ในภาษาไทย ดังนั้ นผ้่พ่ดคนไทยก็จะใช้เสียงในภาษาไทยที่
ใกล้เคียงกับเสียงภาษาอังกฤษมาแทนที่เสียงเหล่านั้ นหรืออาจจะตัด
เสียงนั้ น ๆ ที่ไม่มีในภาษาทิ้งไป ปรากฏการณ์น้ ี เกิดขึ้นเสมอตามทฤษฎี
ของการแทรกแซงทางเสียง (phonological interference) เช่น เสียง /
g, j และ v / ของภาษาอังกฤษไม่มีในระบบเสียงของภาษาไทย ผ้่พ่ดคน
ไทยจึงใช้เสียง ‘ก’ แทนเสียง / g / หรือใช้เสียง ‘จ’ แทนเสียง / j /
และใช้เสียง ‘ว’ ในภาษาไทย แทนที่เสียง

/ v / ตามลำาดับ โดยเฉพาะเมื่อเสียงเหล่านั้ นใช้เป็ นพยัญชนะต้น


นอกจากนี้ คำาย่อบางคำาในภาษาอังกฤษที่ข้ ึนต้นด้วยเสียงสระหรือสระ
ประสม เช่น / a หรือ ai / ผ้พ
่ ่ดคนไทยจะใช้เสียง / ? / หรือ เสียง ‘อ’
แทนที่ เช่น IPA / ai pi e / คนไทยจะออกเสียง ไอ พี เอ สาเหตุท่ีเป็ น
เช่นนี้ เพราะคำาในภาษาไทยไม่สามารถขึ้นต้นด้วยสระได้เหมือนเช่นคำาใน
ภาษาอังกฤษ ยิ่งไปกว่านั้ นถ้าศึกษาในระดับหน่วยเสียงซ้อน
(Suprasegmental phonemes) ผ้พ
่ ่ดคนไทยจะไม่ออกเสียงเน้นในคำาย่อ
หรือคำาอักษรย่อเหล่านั้ นด้วย

ตารางที่ 5 ตารางแสดงการออกเสียงคำาย่อและคำาอักษรย่อของเจูาของ
ภาษาและของคนไทย

ร้ปคำา การออกเสียงในภาษาอังกฤษ การออกเสียงในภาษาไทย

คำาย่อ คำาอักษรย่อ คำาย่อ คำาอักษรย่อ

VOA - / vi o ei / - วี โอ เอ

VSOP - / vi es o p I / - วี เอส โอ พี

GAT /gct/ - แกต -

GDP - / j I di pi / - จีดีพี

GMT - / ji em ti / - จีเอ็มที

OPEC / ópek / - โอเปก -

ASEM / asem / - อาเซ็ม -

UNICEF / yunisef / - ย่นิเซฟ -

UNESCO / yuneska / - ย่เนสโก -

ISBN - / ai es bi en / - ไอ เอส บี เอ็น

7. การอ่านออกเสียงคำาอักษรย่อและคำาย่อ อาจจะมีปัญหาได้เช่นกัน
สำาหรับผ้่ไม่คุ้นเคยกับคำาประเภทนี้ ตัวอย่าง เช่น JAL ซึ่งมาจากร่ปเต็ม
Japanese Airlines และ IJAL ซึ่งมาจากคำาว่า International Journal of
American Linguistics สองคำานี้ จะอ่านออกเสียงอย่างไร สำาหรับเจ้าของ
ภาษาคงไม่มีปัญหา สำาหรับ JAL ออกเสียงว่า เจ เอ แอล / zei ei el /
ซึ่งออกเสียงเป็ นคำาอักษรย่อและ IJAL อ่านว่า / a I z c l / ไอแจล ซึ่ง
ออกเสียงเป็ นคำาย่อ ดังนั้ นจึงเกิดคำาถามว่าอะไรเป็ นตัวกำาหนดความ
แตกต่างในการออกเสียงสองคำานี้ เราอาจบอกได้ว่าผ้่ใช้ภาษาอาจเป็ นผ้่
กำาหนดความแตกต่างของการอ่านออกเสียงคำาย่อและอักษรย่อ แต่บาง
ครั้งเราก็ไม่สามารถอธิบายได้ชัดเจนว่าหลักเกณฑ์อะไรบ้างที่มีอิทธิพล
ต่อการออกเสียงที่หลากหลายเหล่านั้ น

ในปั จจุบันผ้่ศึกษาภาษาจะสังเกตเห็นว่า มีการใช้อักษรตัวแรกมากกว่า


หนึ่ งตัวซึ่งอักษรนี้ จะเป็ นฐานนของคำาย่อ เช่น GHOST มาจาก Global
HOrizonatal Sounding Technique หรือคำาว่า rejasing มาจาก
REusing Junk as SomethING else ในทางกลับกัน rejaser มาจาก
REuse Junk as something Else + ปั จจัย – er เป็ นต้น

1. ผ้่สนใจในศาสตร์แขนงนี้ ควรจะศึกษาและ
ให้ความสนใจโดยการเก็บรวบรวมข้อ

ม่ลให้สมบ่รณ์ต่อไป การเก็บข้อม่ลเพิ่มเติมอาจจะรวมถึงคำาตัวอักษรย่อ
และคำาย่อในวงวิชาการของศาสตร์ต่าง ๆ เช่น ทางด้านวิทยาศาสตร์
ทางการแพทย์ การปกครอง การบริหารการเงิน การคลังและจากแหล่ง
อื่น ๆ คำาเหล่านี้ จะทวีเพิ่มพ่นมากขึ้นทุกวันตามกาลเวลา

ภาคผนวก ก.
ข้อม่ลอักษรย่อในภาษาไทยที่นำามาศึกษานี้ ได้รวบรวมจากสื่อสิ่งพิมพ์
ทัว่ ไป คือ หนั งสือพิมพ์รายวันและรายสัปดาห์ ซึ่งได้แก่ หนั งสือพิมพ์ผ้่
จัดการ หนั งสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจและสิ่งพิมพ์อ่ ืน ๆ รวมทั้งที่ได้ยิน
จากสื่อประเภทอื่น ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ ส่วนคำายืมซึ่งเป็ นคำาย่อและคำา
อักษรย่อในภาษาอังกฤษได้รวบรวมจากพจนานุ กรมและสื่อต่าง ๆ ด้วย
เช่นกัน

http://library.uru.ac.th/webdb/images/400_8.htm

You might also like