You are on page 1of 12

การเงินสำหรับธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise Finance)

Social Enterprise หรือธุรกิจเพื่อสังคมในที่นี้หมายรวมถึงธุรกิจ หนวยงาน หรือองคกรที่ไมไดอยุภาย


ใตการกำกับดูแลของรัฐ และมีวิสัยทัศนหรือจุดประสงคในการดำเนินงานเพื่อกอใหเกิดคุณคาตอ
สังคมและสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนองคกรที่แสวงหาผลกำไร หรือไมแสวงหาผลกำไร หากองคกรนั้น
ถูกจัดตั้งขึ้นโดยมีเปาหมายในการพัฒนาหรือแกไขปญหาสังคมและสิ่งแวดลอมก็สามารถเรียกไดวา
เปน Social Enterprise

ตลาดทุนเพื่อสังคม

ธุรกิจเพื่อสังคมก็เปนอีกหนึ่งภาคหนึ่งของเศรษฐกิจโดยรวม ถึงแมองคกรเหลานี้จะตั้งขึ้นโดยมีเปา
หมายตางไปจากการคาขายแสวงหาผลกำไรทั่วไป แตก็มีการดำเนินงานในหลายๆดานที่คลายกับ
ธุรกิจทั่วไปและตองอาศัยกลไกตลาดเพื่อชวยธุรกิจหรือองคกรนั้นๆดำเนินกิจการไปไดดวยดี ตลาด
เงินเปนอีกแหลงทุนหนึ่งที่ธุรกิจเพื่อสังคมสามารถเขาไประดมเงินทุนเพื่อพัฒนาหรือขยายกิจการได
หากแตตลาดทุนเพื่อสังคมนั้นยังขาดตัวกลางและนวัตกรรมกลไกอีกหลายๆดานที่จะเอื้อตอการ
หมุนเวียนของเงินทุนในภาคธุรกิจเพื่อสังคม ตารางดานลางนี้แสดงการเปรียบเทียบอยางงายของ
ความแตกตางระหวางตลาดทุนเพื่อสังคมและตลาดทุนทั่วไป

1
ลักษณะคราวๆของ กลไกในตลาดทุนทั่วไป (Traditional กลไกในตลาดทุนเพื่อสังคม (Social
ตลาดทุนที่สำคัญ capital market) capital market)
เปนตัวกลาง และผู • มีตัวกลางและบริการตางๆ เชน • มีตัวกลาง เชน มูลนิธิ องคกร
ใหบริการที่อำนวย นายหนาซื้อขายหลักทรัพย ผู หรือสถาบันเพื่อสังคมตางๆ
ความสะดวกการ จัดการกองทุนหรือแมแตผูตรวจ สามารถชวยใหขอมูลเกี่ยวกับ
ในการระดมเงินทุน สอบบัญชี หรือองคกรจัดอันดับ การดำเนินงานขององคกรเพื่อ
ของธุรกิจ สามารถลดคาใชจายหรือตนทุน การพัฒนา หรือธุรกิจเพื่อสังคม
ในการดำเนินการ (Transaction อื่น เชน GEXSI (Global
cost) ในการตัดสินใจลงทุน โดย Exchange for Social
เฉพาะในดานขอมูล รูปแบบการ Investment) หนวยงานที่
ประเมินผลประกอบการของ รวบรวมขอมูลขององคกรหรือ
ธุรกิจที่ไดมาตรฐาน รวมถึงค้ำ โครงการทางสังคมจากทั่วโลก
ประกันในรูปแบบตางๆ ซึ่งชวย ใหแกนักลงทุนที่สนใจจะลงทุน
ลดความเสี่ยงจากการลงทุน หนวยงานเหลานี้สามารถลด
Transaction cost ตางๆ และ
ชวยอำนวยความสะดวกใหกับ
นักลงทุนและผูที่เกี่ยวของ
• สวนประกอบตางๆของตลาดทุน
เหลานี้มีสวนสำคัญอยางมาก • ถึงแมวาตลาดทุนเพื่อสังคมจะมี
ตอประสิทธิภาพในการระดมทุน ตัวกลางหรือผูใหบริการที่คลาย
ใหกับภาคธุรกิจ กับตลาดทุนทั่วไป แตมัก
เกี่ยวของกับวงเงินจำนวนนอย
ซึ่งทำใหคาใชจายในการดำเนิน
ธุรกิจตอหัว (Overhead cost)
สูงเมื่อเทียบกับผลกำไรที่ได

2
• เครื่องมือหรือผลิตภัณฑ
เครื่องมือและ • เครื่องมือหรือผลิตภัณฑ ทางการเงินในตลาดทุนเพื่อ
ผลิตภัณฑทางการ ทางการเงินในตลาดทุนทั่วไป สังคม ไดแก เงินใหเปลา
เงินที่ตรงตามความ ไดแก หลักทรัพย พันธบัตร (Grant) หุน (Equity) หรือ
ตองการของนัก ประกัน เงินฝาก สินเชื่อ ฯลฯ สินทรัพยที่มีลักษณะเหมือนหุน
ลงทุน/ผูใหทุนและ (Equity like) เงินกู (Loan)
ผูรับการลงทุน • เครื่องมือหรือผลิตภัณฑ
(Investees) ทางการเงินที่เปนที่นิยมมักถูก • รูปแบบของการลงทุนในตลาด
ออกแบบมาใหตรงตามความ ทุนเพื่อสังคมก็ถูกออกแบบมา
ตองการของนักลงทุน มี ใหตรงกับความตองการของนัก
โครงสรางความเสี่ยงและผล ลงทุนเชนกัน แตอาจมี
ตอบแทนที่ตรงตามมาตรฐาน โครงสรางความเสี่ยง ผลกำไรที่
ยังไมไดมาตรฐานมากนัก ทั้งนี้
บทบาทของนักลงทุนในธุรกิจ
หรือโครงการเพื่อสังคมนั้นก็จะ
แตกตางกันไปตามขอตลลง
ระหวางผูรับทุนและผูลงทุน
ขอมูลและผลการ • ในตลาดทุนทั่วไป ขอมูลเกี่ยว • มีการจัดทำขอมูลเกี่ยวกับผล
ดำเนินงานที่ชัดเจน กับผลประกอบการทางธุรกิจมัก การดำเนินงานของธุรกิจเพื่อ
และสามารถหาได สามารถหาไดงายจากแหลง สังคมอยูบาง แตอาจยังไมเปน
งาย ขอมูลที่นาเชื่อถือ บริษัทที่มีผล ระบบที่ไดมาตรฐานและอาจยัง
ประกอบการที่ดี มักสามารถ หาไมไดงายจากแหลงขอมูล
ระดมทุนไดงาย และมีตนทุนใน ทั่วไป การคำนวณหาผล
การระดมทุนที่ถูกกวาบริษัทที่ ตอบแทนทางสังคม (Social
ผลประกอบการยังไมดีพอ Return on Investment) เปน
เครื่องมือสำคัญตัวใหมที่เริ่มจะ
ไดรับความนิยมและมี
ประสิทธิภาพในการประเมิน
ความเสี่ยงหรือผลกำไรทาง
สังคมที่เกิดขึ้นสำหรับภาคธุรกิจ
เพื่อสังคม

จากตารางดังกลาว เปนที่นาเสียดายที่สภาพสังคมและเศรษฐกิจในปจจุบันยังไมเอื้อตอการเกิดของ
ตัวกลางตางๆในกลุมของตลาดทุนทางสังคมมากนัก ดังนั้นรัฐบาลจึงควรมีสวนรวมในการสงเสริม
โครงสรางตลาดทุนทางสังคมพื้นฐานใหเกิดขึ้น ทั้งนี้เมื่อโครงสรางพื้นฐานตัวกลางและผุใหบริการ

3
ตางๆมีความพรอมมากขึ้น ประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนเงินทุนในตลาดนี้ก็จะสูงขึ้น และผลักดันให
ธุรกิจเพื่อสังคมเหลานี้เติบโตและมีความยั่งยืนทางการเงิน นอกจากนี้ตลาดทุนเพื่อสังคมยังขาด
ผลิตภัณฑการเงินการลงทุนที่ไดมาตรฐาน และยังไมไดรับการออกแบบใหสะทอนถึงโครงสรางความ
เสี่ยงหรือผลกำไรที่ชัดเจนและไดมาตรฐาน โดยเฉพาะธุรกิจเกิดใหมที่มีวงเงินลงทุนคอนขางนอย และ
ยังไมมีประวัติการดำเนินงานมากนัก ปจจัยเหลานี้ทำใหนักลงทุนที่สนใจไมสามารถประเมินความ
เสี่ยงไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ในตลาดทุนเพื่อสังคมยังไมมีการจัดทำขอมูลสำหรับนักลงทุน
อยางเปนระบบ โดยเฉพาะขอมูลที่สามารถประเมินผลการดำเนินงานของธุรกิจเพื่อสังคมไดอยางนา
เชื่อถือ ซึ่งเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทำใหนักลงทุนหลายคนไมมั่นใจที่จะลงทุนในลักษณะนี้ ธุรกิจเพื่อสังคม
หลายแหงจึงไมสามารถระดมทุนไดตามที่ตองการ และไมสามารถขยายกิจการใหไดขนาดที่จะกอให
เกิด Economies of Scale ซึ่งจะชวยสามารถลดตนทุนเฉลี่ยจากการเพิ่มปริมาณการผลิตสินคาหรือ
การบริการ ทำใหธุรกิจหรือองคกรนั้นๆมีผลประกอบการที่สูงขึ้น

การระดมทุนของธุรกิจเพื่อสังคม

โดยทั่วไปธุรกิจหรือองคกรเพื่อสังคมมักอาศัยเงินบริจาคหรือเงินใหเปลามาใชเปนทุนในการบริหาร
ดำเนินงาน แตในระยะหลังมีธุรกิจหรือองคกรเพื่อสังคมหลายแหงสามารถระดมทุนจากสถาบันการ
เงินเฉพาะทางที่สนใจจะลงทุนในภาคสังคมเทานั้น โดยสถาบันการเงินเหลานี้จะวิเคราะหขอมูลการ
ลงทุนไมเพียงแตจากผลประกอบการทางการเงินของหนวยงานนั้นๆแตยังใหความสำคัญเกี่ยวกับผล
ตอบแทนทางสังคมและสิ่งแวดลอม ทุนจากสถาบันการเงินเหลานี้มีขอดีกวาเงินบริจาคหรือเงินให
เปลาเพราะมีความยืดหยุนในการบริหารจัดการ โดยเงินใหเปลานั้นผูรับทุนมักจะตองทำโครงการหรือ
กิจกรรมตามที่ผูใหทุนตองการเทานั้น นอกจากนี้การระดมทุนที่ไมใชเงินบริจาคหรือเงินใหเปลาจะชวย
ทำใหองคกรมีการวางแผนระยะยาวที่ชัดเจนและรัดกุมมากขึ้น รวมถึงมีความรับผิดชอบและมีวินัย
ทางการเงินมากขึ้น โดยการระดมทุนในลักษณะนี้จะรวมไปถึงการออกหุน การกูเงิน หรือการผสม
ผสานทั้งสองวิธีหรือที่เรียกวา Patient Capital ซึ่งเปนการลงทุนที่ผสมระหวางการลงทุนในหุน เงินกู
และเงินใหเปลา โดยมีการนำผลตอบแทนทางสังคมเขามาเปนอีกปจจัยหนึ่งในการวิเคราะหการลงทุน
และการลงทุนในลักษณะนี้มักจะมีนโยบายการคืนเงินที่ยืดหยุนมากกวาเงินกูปกติ

ปจจัยที่สำคัญที่มีผลตอการใหทุนสำหรับธุรกิจหรือองคกรเพื่อสังคม ไดแก

• กิจกรรมที่องคกรหรือธุรกิจเพื่อสังคมนั้นๆดำเนินงานอยู หากหนวยงานนั้นๆมีสินคา การ


บริการ กิจกรรม หรือโครงการเพื่อสังคมที่ตรงกับความสนใจของนักลงทุนก็มักจะชวยใหการ
ขอทุนเปนไปไดงายขึ้น

• ประเทศหรือสถานที่ๆธุรกิจเพื่อสังคมนั้นๆดำเนินงานอยู ผูใหทุนสวนมากมักใหความสำคัญ
กับการเขาไปพัฒนากลุมประเทศยากจนหรือประเทศดอยพัฒนา แตก็ไมไดหมายความวา

4
หนวยงานที่ตั้งอยูในประเทศที่พัฒนาแลวจะเสียเปรียบเพราะในประเทศที่พัฒนาแลวก็ยังมี
ปญหาสังคมและสิ่งแวดลอมอยูไมนอย และยังมีเครื่องมือหรือกลไกที่มีความพรอมตางๆใน
การรับหรือบริหารจัดการเงินทุนมากกวา ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับความตองการของผูใหทุน

• นิติบุคคลและโครงสรางขององคกรก็เปนอีกหนึ่งปจจัยที่ผูใหทุนใหความสำคัญอยูไมนอย
มูลนิธิหรือองคกรเพื่อสังคมที่ผูใหทุนสามารถนำเงินบริจาคไปหักภาษีไดมักจะไดรับเงิน
บริจาคมากกวากลุมที่นำไปใชหักภาษีไมได ในขณะที่การเปนธุรกิจเพื่อสังคมที่แสวงหาผล
กำไรก็อาจเสียเปรียบตรงที่ผูใหทุนไมสามารถนำเงินบริจาคไปหักภาษีได แตก็มีขอดีตรงที่การ
ระดมทุนในรูปหุนหรือเงินกูอาจทำไดงายกวาเพราะองคกรประเภทนี้มักมีแผนธุรกิจที่มีความ
ชัดเจนมากกวา

ลักษณะตางๆของการใหทุนตอธุรกิจเพื่อสังคม

ในปจจุบันถึงแมวาจะมีธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้นเพื่อแกปญหาตางๆไมวาจะเปนดาน
ความยากจน การศึกษา หรือดานสิ่งแวดลอม แตอุปสรรคที่สำคัญของธุรกิจเพื่อสังคมก็คือการหา
ระดมทุนเพื่อขยายกิจการ (Growth Capital) โครงสรางของธุรกิจเพื่อสังคมในที่นี้อาจมีเปาหมายเพื่อ
แสวงหาผลกำไร (for-profit) หรือไมแสวงหาผลกำไร (Nonprofit) โดยสวนมากหนวยงานที่ไมแสวงหา
ผลกำไรมักระดมทุนในรูปของการขอทุนใหเปลา (Grant) หรือบางสวนอาจอยูในรูปของเงินกู แตหาก
เปนหนวยงานที่แสวงหาผลกำไรการระดมทุนก็สามารถทำไดในหลากหลายรูปแบบกวา ไมวาจะ
เปนการออกหุน (market rate private equity) หรือการกูเงิน องคกรเหลานี้มักประสบความสำเร็จใน
การระดมทุนในชวงเริ่มกอตั้ง (Start up stage) เพราะมักเปนการระดมทุนในวงเงินที่คอนขางนอย แต
เมื่อองคกรเติบโตขึ้นถึงระดับที่ตองขยายกิจการ การระดมทุนทำไดยากขึ้นเนื่องจากวงเงินที่สูงขึ้น และ
ก็ยังขาดขอมูล ตัวกลางหรือผลิตภัณฑการเงินการลงทุนที่ไดมาตรฐานในตลาดทุนเพื่อสังคม ทำให
การลงทุนในธุรกิจกลุมนี้ยังไมไดรับความสนใจมากเทาที่ควรและธุรกิจเพื่อสังคมเหลานี้ก็ไมเติบโตเทา
ที่ควร

ประเภทของผูลงทุนและผูรับทุนแตกตางกันตามลักษณะของตัวธุรกิจเพื่อสังคมทั้งที่แสวงหาผลกำไร
ไมแสวงผลกำไร และที่อยูตรงกลางระหวางสองขั้วนี้ ตารางดานลางแสดงถึงความแตกตางของผูให
ทุนซึ่งบางกลุมก็ตองการเขาไปมีสวนรวมในการบริหารจัดการเงินของตนและบางกลุมก็พอใจที่จะให
ธุรกิจหรือองคกรนั้นๆมีอิสระในการบริหารจัดการตนเอง Venture Capital หรือ Venture
Philanthropy มักถูกจัดอยุในกลุมที่ผูใหทุนเขาไปมีบทบาทใกลชิดกับผูรับทุน ในขณะที่การระดมทุน
ในรูปเงินกูจากธนาคารหรือการรับทุนใหเปลานั้น ผูใหทุนมักไมไดเขาไปมีสวนรวมในการบริหาร
จัดการของธุรกิจเพื่อสังคมนั้นๆ

5
ประเภทของเงินทุน

1. Private Equity (หุนนอกตลาด)

องคกรแสวงหาผลกำไรซึ่งมีทั้งผลประกอบการทางธุรกิจที่ดีและมีผลตอบแทนตอสังคมและสิ่ง
แวดลอมที่ดีสามารถระดมทุนโดยการออกหุนนอกตลาด การลงทุนประเภทนี้มักเปนการลงทุนระยะ
ยาวโดยไมมีหลักทรัพยค้ำประกันสำหรับผูลงทุนจึงมีความเสี่ยงคอนขางสูง ผลตอบแทนตอนักลงทุนก็
ขึ้นอยูกับผลการดำเนินงานทางธุรกิจ แตขอจำกัดที่สำคัญของของการระดมทุนจากหุนนอกตลาดคือ
เปนองคกรที่ไมแสวงหาผลกำไรก็จะไมสามารถระดมทุนในรูปของหุนชนิดนี้ได ในประเทศอังกฤษไดมี
การแกกฎหมายบางตัวเพื่อชวยใหองคกรเพื่อสังคมที่ไมแสวงหาผลกำไรสามารถระดมทุนในรูปหุน
นอกตลาดไดงายขึ้น 1 แตการระดมทุนในรูปหุนก็มีปจจัยเสี่ยงที่สำคัญตางๆไมวาจะเปนการสูญเสีย
อำนาจในการตัดสินใจของผูจัดการหรือเจาขององคกร การดำเนินงานที่ไมไดสะทอนวิสัยทัศนที่ตั้งไว
แตเดิมเพื่อตอบโจทยนักลงทุนที่ยังแสวงหาผลกำไรจากการลงทุนของตน การบริหารจัดการเงินที่ไมได
มาตรฐานเนื่องจากองคกรยังขาดประสบการณในการบริหารหุน การไมมีกลยุทธในการออก(exit
strategy) หรือการขาดสภาพคลองจากผลกำไรที่ลดลง

ในปจจุบันหลายหนวยงานไดเขามาสงเสริมการลงทุนในลักษณะนี้ Triodos Bank ในประเทศ


สวิสเซอรแลนดเปนหนึ่งในผูนำเรื่องการลงทุนเพื่อสังคมไดสรางและบริหารจัดการ Ethex ซึ่งเปน
เหมือนตลาดหุนสำหรับธุรกิจเพื่อสังคม นอกจากนี้ The Business Alliance for Local Living
Economies Initiative จากสหรัฐอเมริกาก็พยายามที่จะผลักดันใหเกิดตลาดทุนสำหรับธุรกิจเพื่อสังคม
เชนกัน การกระจายเม็ดเงินเขาไปในตลาดที่กำลังพัฒนาก็ยังพอมีใหเห็นอยูบาง เชน ShoreCap
International (สวนหนึ่งของ ShoreBank ในชิคาโก สหรัฐอเมริกา) ก็พยายามที่จะเพิ่มการลงทุนใน
ธุรกิจเพื่อสังคมในกลุมประเทศที่กำลังพัฒนาโดยเฉพาะในสถาบันการเงินฐานรากหรือ Microfinance
Institution ปจจุบัน ShoreCap ปลอยเงินกูทั้งสิ้นกวา 200 กวาลานดอลลารสหรัฐไปยังผูกูรายยอยใน

1Primary legislation was approved within the companies (Audit, Investigations and Community Enterprise)
Act 2004 and secondary legislation governing Community Interest Company (CIC) form of social
enterprise came into effect on 1 July 2005.

6
ประเทศที่กำลังพัฒนากวา 270,000 ราย จากการสำรวจใน Angel Investors กวา 100 คนซึ่งในกลุม
Investors' Circle โดย McKinsey พบวาการลงทุนในธุรกิจเพื่อสังคมที่แสวงหาผลกำไรนั้นมีผล
ตอบแทนที่ดี หรืออยูระหวาง 5% - 18% ดังนั้นการลงทุนในหุนนอกตลาดจึงเปนอีกทางเลือกหนึ่ง
สำหรับธุรกิจเพื่อสังคมที่ตองการระดมทุน และมีนักลงทุนที่สนใจจะลงทุนในลักษณะนี้อยูไมนอย

2. Social and Community Development Venture Capital funds

Social and Community Development Venture Capital Funds เปนกองทุนที่มักตองการผล


ตอบแทนเทากับอัตราตลาด และมักจะเนนไปยังอุตสาหกรรมที่สามารถเห็นประโยชนตอสังคมและสิ่ง
แวดลอมไดอยางชัดเจน เชน กลุมพลังงานทางเลือก เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาสิ่งแวดลอม การคาขาย
อยางยุติธรรม สุขอนามัย การศึกษา และไอที กองทุนที่จัดอยุในกลุมนี้มีอยูคอนขางมากทั่วโลกไดแก
Foursome Investments Limited, Common Capital, Calvert Venture Partners และอื่นๆ นอกจาก
นี้ยังมี Venture Capital อีกกลุมหนึ่งที่เนนไปที่ธุรกิจเพื่อสังคมที่มุงพัฒนาชุมชน โดยเฉพาะใน
สหรัฐอเมริกาซึ่งมีกองทุนเพื่อการพัฒนาสังคมและชุมชนในลักษณะนี้อยูคอนขางมาก ไดแก Pacific
Community Ventures, Baltimore Venture Capital Fund, Bridges Community Ventures และ
อื่นๆ

นอกจากนี้ Equity Investment Fund สวนมากก็มักลงไปกับธุรกิจ Microfinance หรือเงินทุนกูยืม


ขนาดเล็ก ซึ่งไดรับความนิยมอยางมากและใหผลตอบแทนที่คอนขางดี รวมทั้งมีความเสี่ยงไมสูง
กองทุนเฉพาะหลายแหงตองการลงทุนในกลุมนี้เทานั้น เชน ProFund, Bellwether Fund หรือ
AfriCap Fund และเปนที่นาเสียดายที่ธุรกิจเพื่อสังคมอื่นๆ ที่อาจยังไมไดรับความนิยมมากนักมักยัง
ขาดเงินทุนในการขยายกิจการ แตก็สามารถระดมเงินทุนไดยาก เพราะเงินทุนสวนมากถูกลงไปกับ
Microfinance ถึงกระนั้นเงินทุนที่องคกรเหลานี้สามารถระดมมาไดก็ยังถือวาเปนสวนนอยมากเมื่อ
เทียบกับจำนวนธุรกิจเพื่อสังคมที่ยังตองการเงินทุน

3. Nonprofit and foundation "PRI" and "MRI" Equity Investor

Programme-related investment หรือ PRI และ Mission-related investment หรือ MRI ก็เปนอีก
แหลงทุนหนึ่งสำหรับธุรกิจเพื่อสังคม โดยทุนในลักษณะนี้อาจเปนทุนที่มาจากมูลนิธิอื่นๆ หรือองคกร
และหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของที่อาจตองการสนับสนุนธุรกิจเพื่อสังคมนั้นๆ PRI มักเปนการลงทุนที่มี
ผลตอบแทนต่ำกวาตลาดในขณะที่ MRI นั้นผูลงทุนจะหวังผลตอบแทนในอัตราที่สูงกวาตลาด ใน
สหรัฐอเมริกา Rockefeller Foundation's ProVenEx และ FB Heron Foundation ลงทุนไปในธุรกิจ
เพื่อสังคมที่พัฒนาแกไขปญหาเรื่องบานและที่อยูอาศัย การจัดหางาน และปญหาความยากจน โดย
ใหทุนทั้งที่เปน PRI และ MRI รวมแลวกวา 75 ลานดอลลารสหรัฐ องคกรระหวางประเทศอยาง World
Bank's International Finance Corporation (IFC) ก็เปนอีกหนึ่งองคกรที่ลงทุนในรูปของ MRI และ
PRI กับธุรกิจเพื่อสังคม

7
4. Debt/Loan หนี้หรือเงินกู

เงินกูเปนอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับธุรกิจเพื่อสังคมที่ไดรับความนิยม โดยการมีการออกแบบแผนการกู
ดอกเบี้ย และระยะเวลาผอนชำระตามความตองการของนักลงทุนหรือผูใหกูซึ่งก็มีอยูหลายสถาบัน
ดวยกัน ไดแก

4.1 ธนาคารหรือสถาบันการเงินทั่วไป

ธุรกิจเพื่อสังคมที่แสวงหาผลกำไรและมีผลประกอบการณที่ดีอาจไดรับอนุมัติเงินกูจากธนาคารทั่วไป
แตสำหรับธุรกิจเพื่อสังคมที่ไมแสวงหาผลกำไร การกูยืมจากธนาคารอาจทำไดยาก ในสหรัฐอเมริกา
ทางรั ฐ บาลได ส  ง เสริ ม ให ม ี ก ารลงทุ น ในธุ ร กิ จ เพื ่ อ สั ง คมมากขี ้ น โดยมี ก ารออก Community
Reinvestment Act (CRA) ซึ่งบังคับใหธนาคารที่ดำเนินกิจการอยูในชุมชนตางๆ ใหการสนับสนุน
ทางการเงินกับธุรกิจเพื่อสังคมหรือโครงการเพื่อพัฒนาชุมชนนั้นๆ โดยธนาคารในสหรัฐอเมริกาก็ไดให
ความรวมมืออยางดี และปลอยกูดอกเบี้ยต่ำใหแกธุรกิจเพื่อสังคมในชุมชนตางๆ ทั่วประเทศ

4.2 Foundation PRI Debt

จากที่กลาวมาขางตน เงินลงทุน PRI นั้น สามารถทำไดในรูปเงินกูเชนกัน ถึงแมวาจะยังไมเปนที่นิยม


มากนักแตก็มีการลงทุนในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เชน Esmee Faribairn Programme และ Charity
Bank ในประเทศอังกฤษที่ปลอยเงินกูระหวาง 10,000 - 250,000 ปอนด ในอัตราดอกเบี้ยระหวาง 0%
- 7% เปนระยะเวลาไมเกิน 5 ป สำหรับธุรกิจเพื่อสังคมที่ตองการขยายกิจการ

4.3 Bonds, Investment Notes and Nontraditional Lending Institution

ในปจจุบันเริ่มมีการนำผลิตภัณฑทางการเงินที่หลากหลายมากขึ้นมาใชในตลาดทุนเพื่อสังคม เชน
Citylife ไดออกกองทุนพันธบัตรที่นำเงินไปลงทุนในธุรกิจเพื่อสังคมและชุมชน Compartamosใน
ละตินอเมริกาก็ไดออกพันธบัตรระดมทุนลงไปยัง microfinance กวา 45 ลานดอลลารสหรัฐ Calvert
Foundation ออก Community Investment Notes เพื่อการพัฒนาชุมชนกวา 100 ลานดอลลารสหรัฐ
นอกจากนี้ในอังกฤษยังมีการให Tax Credit หรือที่เรียกวา Community Investment Tax Credit เพื่อ
ชวยเหลือดานเงินทุนกับธุรกิจเพื่อสังคมหรือชุมชน

ในสหรัฐอเมริกา Revolving Loan Fund ก็มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เชน Nonprofit Finance Fund


(NFF) ซึ่งเปนเครือขายของผูลงทุนกวา 170 ราย ทั้งที่เปนสถาบันการเงิน มูลนิธิ หรือหนวยงานองคกร
ราชการตางๆ ที่สนับสนุนทางการเงินแกภาคธุรกิจเพื่อสังคม การเพิ่มขึ้นของ Guaranteed Loan
Fund นั้นก็ทำใหความเสี่ยงในการลงทุนกับภาคธุรกิจเพื่อสังคมนั้นลดนอยลง ในประเทศฮังการี่ IFC's
Hungary Energy Efficiency Co-Financing Program ไดถูกออกแบบโดยใหมีการค้ำประกันเงินกู

8
และใหความชวยเหลือดานความรูและเทคโนโลยีแกผูกูที่อยูในธุรกิจการประหยัดพลังงาน นอกจากนี้
Homeless International's Community-Led Finance ก็ไดปลอยกูใหกับหนวยงานหรือองคกรที่
ทำงานดานการชวยเหลือผูไรที่อยูอาศัยในอินเดียและเคนยา การค้ำประกันเงินกูนั้นทำใหผูปลอยกู
หรือตัวกลางในการปลอยกูเชนธนาคารตางๆ เริ่มอนุมัติเงินลงทุนหรือเงินกูแกโครงการหรือธุรกิจที่กอน
หนานี้มีความเสี่ยงสูงเกินไป

4.4 Equity-Like Capital

เปนการระดมทุนอีกทางหนึ่งของธุรกิจเพื่อสังคมแตจะเลี่ยงปญหาของการออกหุนขององคกรที่ไม
แสวงหาผลกำไร การลงทุนในลักษณะนี้จะอยุในรูปของ Deeply Subordinated long-term loan แต
จะมี ล ั ก ษณะหลายอย า งที ่ แ ทบจะคล า ยกั บ หุ  น นอกตลาดก็ ว  า ได เช น ไม ม ี ก ารค้ ำ ประกั น
(Uncollateralized) แตจะไดผลตอบแทนที่ขึ้นอยูกับผลประกอบการของธุรกิจ ในปจจุบันการลงทุนใน
ลักษณะนี้ยังไมเปนที่นิยมมากนัก แตก็มีหนวยงานบางหนวยในอังกฤษหรืออเมริกาที่สนใจลงทุนกับ
ธุรกิจเพื่อสังคมในรูปแบบนี้ เชน Venturesome, Aston, Reinvestment Trust, Local Investment
Fund, Equity Equivalent Investment ถึงแมวาการลงทุนในรูปแบบของ Equity-Like Capital จะถูก
จัดวามีความเสี่ยงคอนขางสูง แตก็ถือไดวามีผลตอบแทนที่คอนขางสูงตามไปดวย ปจจุบันหลาย
หนวยงานไมวาจะเปน Calvert Foundation, Good Capital, Social Investment Scotland, Triodos
Bank และ Bridge Community Ventures กำลังทำการศึกษาคนควาเกี่ยวกับการลงทุนในผลิตภัณฑ
ตัวนี้มากขึ้น

5. Grant เงินใหเปลา

Grant หรือเงินใหเปลาจากภาครัฐ เอกชน หรือองคกรตางๆเปนแหลงทุนสำคัญสำหรับธุรกิจเพื่อสังคม


สวนมาก ลักษณะของเงินใหเปลาชนิดนี้มักไมตองจายคืน แตมักเปนเงินทุนระยะสั้น และอยูในวงเงิน
ที่คอนขางนอย ที่สำคัญเงินทุนใหเปลาในลักษณะนี้มักผูกอยูกับโครงการของตัวองคกรวาสอดคลอง
กับความตองการของผูใหทุนหรือไม จึงมีความเสี่ยงคอนขางสูงตอการเปลี่ยนแปลงความสนใจของผู
ใหทุน ขอจำกัดที่สำคัญของเงินใหเปลาก็คือการหาทุนเพื่อขยายกิจการ ซึ่งมักอยูในวงเงินที่สูงเกินกวา
ผูใหทุนหรือผูบริจาคกำหนดไว ทำใหการเติบโตหรือการขยายกิจการของธุรกิจเพื่อสังคมสามารถทำได
ยาก นอกจากนี้ยังมีขอจำกัดดานการใชเงินทุนซึ่งตองระมัดระวังอยางมากและตองเปนไปตามวิสัย
ทัศนขององคกรที่ตั้งไว ขั้นตอนการขอทุนก็มักมีกฎปฏิบัติตางๆ ที่ยุงยากยาวนาน นอกจากนี้การขอ
เงินทุนใหเปลานั้นตามความเปนจริงแลวไมไดจัดวาเปนการลงทุน (Investment) แตมักถือวาเปนการ
ใชเงินทุน (Consumption) มากกวา

หลักการลงทุนกับธุรกิจเพื่อสังคมที่ดีนั้นอาจแตกตางจากการลงทุนกับธุรกิจทั่วไปตรงที่การลงทุนกับ
ธุรกิจเพื่อสังคมนั้นเปนการลงทุนไปกับทีมบริหารงานมากกวาสิ่งอื่นๆ เพราะทีมบริหารที่ดีจะสามารถ
สรางองคกรที่แข็งแรงและนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลง การแกไขปญหาสังคมและสิ่งแวดลอมไดอยางมี

9
ประสิทธิภาพ และมีการนำนวัตกรรมใหมๆ มาสรางคุณคาใหกับสังคม ทั้งนี้การลงทุนในองคกรแบบนี้
ผูใหทุนหรือผูลงทุนควรเขาไปเกี่ยวของหรือมีสวนรวมในการบริหารจัดการขององคกร (High
Engagement)

ตารางเปรียบเทียบทุนในลักษณะตางๆ

ความเสี่ยงสูง ความเสี่ยงต่ำ

Grant Patient Capital Pure Equity Equity Like Loan


เปอรเซ็นตการขาดทุน 100% 20-50% 10-20% 10-20% 1-8%
อันตราผลตอบแทน 0 -50% - 10% ไมมีลมิ ิต แตกตางกันไป จำกัดอยูที่ 5-18%
จนถึง 30 %
ระยะเวลาการลงทุน ระยะสั้น Repayment ไมสามารถระบุได 5-7 ป ขึ้นอยูกับผล ตามสัญญาที่ได
Holidays ขึ้นอยูกับผล ประกอบการ รางไวในการกูเงิน
ประกอบการ
การเขาไปมีสวนรวม ต่ำ (ยกเวนในกรณี มีบาง สูง (มักอยูในขั้น สูง (มักอยูในขั้น ต่ำ
ในการบริหารจัดกร Venture กรรมการบริหาร) กรรมการบริหาร)
Philanthropy)
Exit Investment N/A การจายคืน IPO, Sale, Layout Royalty, Repayment
repayment
Liquidation Right ไมมี ไมมีหรือมีบาง นอย มีบาง มีมาก
สิทธิการออกเสียง ไมมี ไมมี ผานการเปน ระบุตามสัญญาที่ ไมมี
เจาของ ไดทำไว

จาก BVC Interviews, Home Office report on Patient Capital, Social Enterprise in Balance,
CAF (2004)

ขอเสนอแนะในการชวยสนับสนุนการระดมทุนของธุรกิจเพื่อสังคม

การกอใหเกิดความสัมพันธที่ดีระหวางผูใหและผูรับทุนเปนสิ่งสำคัญ โดยผูใหทุนควรมีความเขาใจ
และเต็มใจที่จะเขามารวมรับความเสี่ยงไปพรอมกับตัวองคกรหรือธุรกิจเพื่อสังคมนั้นๆ ซึ่งก็ตอบแทนผู
ใหทุนดวยการสรางคุณคาหรือผลตอบแทนทางการเงินแกผูใหทุนไดอยางเหมาะสม การใชนวัตกรรม
ใหมๆ การปรับใชผลิตภัณฑทางการเงินตางๆ รวมถึงการผสมผสานระหวางเงินทุนใหเปลา เงินบริจาค
และเงินทุนเชิงพาณิชย ก็จะสามารถเขามาชวยทำใหธุรกิจเพื่อสังคมสามารถระดมทุนไดมากขึ้น โดย
ขอเสนอแนะ 3 ขอดังนี้

10
1. การเขาไปมีสวนรวมของผูใหทุน

การเขาไปมีสวนรวมในธุรกิจหรือองคกรเพื่อสังคม ผูใหทุนจะตองมีความเขาใจการดำเนินงานของ
ธุรกิจเพื่อสังคมูนั้นๆ รวมถึงยอมรับตนทุนตางๆที่เกี่ยวของกับการลงทุนนั้นๆ ผูรับทุนเองก็ตอง
พยายามสรางความสมดุลระหวางผลงานที่สะทอนถึงวิสัยทัศนทางสังคมที่ตั้งไวและผลประกอบการที่
ดี ทั้งผูใหทุนและผูรับทุนจะตองมีความเขาใจที่ตรงกันในเรื่องตางๆ ไมวาจะเปนในดานความเสี่ยงของ
แตละฝาย ผลตอบแทนที่ไดรับ หรือคุณคาทางสังคมที่เกิดขึ้น หลักการบริหารจัดการของธุรกิจเพื่อ
สังคมที่ผสมผสานระหวางการบริจาค (Philanthropy) หรือการทำกิจการเชิงพานิชย (Commericial
Activities) ถือวาเปนหลักการที่คอนขางใหม ยังตองการการแลกเปลี่ยนเรียนรู การลองผิดลองถูก เพื่อ
กอใหเกิดการพัฒนาและการเติบโตในธุรกิจหรือองคกรเหลานี้

2. การใชการบริจาคสงเสริมการระดมทุนจากตลาด (Use Philanthropy to unlock market-based


capital)

การที่นักลงทุนหรือสถาบันการลงทุนทั่วไปยังไมใหความสนใจในการลงทุนกับธุรกิจเพื่อสังคมเทาที่
ควร ภาครัฐก็อาจจะชวยใหความสนับสนุนและผลักดันอีกแรงหนึ่ง เชน การใหเงินชวยเหลือ การออก
tax credit หรือการค้ำประกันเงินกูจากหนวยงานหรือองคกรที่ลงไปยังธุรกิจเพื่อสังคม การชักนำใหนัก
ลงทุนหันมาสนใจและใหความสำคัญกับผลตอบแทนทางสังคมนั้นยังเปนเรื่องที่ถือวาคอนขางใหม ดัง
นั้นตัวธุรกิจเพื่อสังคมเองก็ควรจะทำความเขาใจในจุดนี้และใช Soft Capital เพื่อจะผลักดันหรือใช
เปน Leverage ในการดึงเงินจากตลาด และคอยๆ สรางความเขาใจในเรื่องเกี่ยวกับธุรกิจเพื่อสังคม
ผลตอบแทนทางกำไรและผลตอบแทนตอสังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อใหธุรกิจเพื่อสังคมไดรับการ
ยอมรับจากผูใหทุนหรือนักลงทุนมากขึ้น

3. มีการออกผลิตภัณฑการเงินการลงทุนใหมๆ ที่เหมาะกับธุรกิจเพื่อสังคม

สำหรับธุรกิจเพื่อสังคมที่แสวงหาผลกำไร การระดมทุนนั้นสามารถทำไดไมยากนัก ทั้ง Private Equity


หรือ Fixed income/Debt instrument นั้นสามารถนำมาใชไดกับองคกรประเภทนี้ แตอุปสรรคที่
สำคัญคือการระดมทุนขององคกรที่ไมแสวงหาผลกำไรซึ่งการระดมทุนเพื่อขยายกิจการทำไดยาก ถึง
กระนั้นก็ไมควรที่จะใหองคกรที่ไมแสวงหาผลกำไรตองคอยอาศัยแตเงินบริจาคหรือเงินใหเปลาเทานั้น
ผลิตภัณฑการเงินการลงทุนที่เหมาะสมกับองคกรที่ไมแสวงหากำไรควรมีลักษณะดังตอไปนี้

• อัตราผลตอบแทนหรือการคืนเงินขึ้นอยูกับผลการดำเนินงานวาประสบความสำเร็จและมี
ความกาวหนามากแคไหน

• Minimized Debt Service-non amortizing principal/and or capitalizing interest

11
• หนี้ชั้นรอง (Deep Subordination - Ability to support other debt)

• เปนการลงทุนระยะยาว

• มีความยืดหยุนพอสมควรเกี่ยวกับนโยบายการคืนเงิน โดยเฉพาะกับธุรกิจเพื่อสังคมรายใหมๆ
ที่พยายามจะลดการพึ่งพาเงินบริจาคและหันมาระดมทุนจากตลาดการเงิน ผูใหทุนอาจปรับ
เพิ่มความยืดหยุนเกี่ยวกับแผนการคืนเงิน

• Exit มีทางเลือกที่จะหยุดความสัมพันธระหวางผุใหทุนและผูรับทุน

ขอมูลเพิ่มเติมติดตอ

ChangeFusion 444 โอลิมเปยไทยทาวเวอร ชั้น 22 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง


กรุงเทพฯ 10310 www.changefusion.org
Tel. +662 938 2636 Fax +662 938 1877

12

You might also like