You are on page 1of 15

ี ขันธวรรค

อรรถกถา ทีฆนิกาย สล
สามัญญผลสูตร

หน ้าต่างที่ ๔ / ๗.

ก็ในคาว่า สย อภิญฺญา สจฺฉก ิ ตฺวา ปเวเทติ นี้ มีวน ิ จ


ิ ฉั ยว่า
บทว่า สย ได ้แก่ เอง คือไม่มผ ี ู ้อืน
่ แนะนา.
บทว่า อภิญฺญา ได ้แก่ ด ้วยความรู ้ยิง่ . อธิบายว่า รู ้ด ้วยญาณอันยิง่ .
บทว่า สจฺฉก ิ ตฺวา ได ้แก่ ทาให ้ประจักษ์. ด ้วยบทนี้
เป็ นอันปฏิเสธความคาดคะเนเป็ นต ้น.
บทว่า ปเวเทติ ได ้แก่ ให ้รู ้ ให ้ทราบ คือประกาศให ้ทราบกันทั่วไป.
ข ้อว่า โส ธมฺม เทเสติ อาทิกลฺยาณ ฯเปฯ ปริดยสานกลฺยาณ
ความว่า
พระผู ้มีพระภาคเจ ้าพระองค์นัน ้ ทรงอาศัยความเป็ นผู ้กรุณาในสต ั ว์ทงั ้ หลาย
แม ้ทรงละซงึ่ ความสุขเกิดแต่วเิ วกแสดงธรรม และเมือ ่ ทรงแสดงธรรมนัน ้ น ้อยก็ตาม
มากก็ตาม ทรงแสดงชนิดมีความงามในเบือ ้ งต ้นเป็ นต ้นทัง้ นัน ้ .
อธิบายว่า แม ้ในเบือ ้ งต ้น ทรงแสดงทาให ้งาม ไพเราะไม่มโี ทษเลย
แม ้ในท่ามกลาง แม ้ในทีส ่ ด ุ ก็ทรงแสดงทาให ้งาม ไพเราะไม่มโี ทษเลย.
ในข ้อทีก ่ ล่าวมาแล ้วนัน ้ เทศนามีเบือ ้ งต ้นท่ามกลางและทีส ่ ดุ .
ศาสนาก็มเี บือ ้ งต ้นท่ามกลางและทีส ่ ดุ . จะกล่าวเทศนาก่อน. ในคาถาแม ้มี ๔ บาท
บาทแรกชอ ื่ ว่าเป็ นเบือ ้ งต ้น. สองบาทต่อจากนัน ้ ชอ ื่ ว่าเป็ นท่ามกลาง.
บาทเดียวในตอนท ้ายชอ ื่ ว่าเป็ นทีส ่ ดุ .
พระสูตรทีม ่ อ ี นุสนธิเดียว มีนท ิ านเป็ นเบือ ้ งต ้น มีคาว่า อิทมโวจ เป็ นทีส ่ ด
ุ .
คาระหว่างเบือ ้ งต ้นและทีส ่ ดุ ทัง้ ๒ เป็ นท่ามกลาง.
พระสูตรทีม ่ อ ี นุสนธิมาก มีอนุสนธิแรกเป็ นเบือ ้ งต ้น
มีอนุสนธิในตอนท ้ายเป็ นทีส ่ ด
ุ . อนุสนธิหนึง่ หรือสอง หรือมากในท่ามกลาง
เป็ นท่ามกลางทัง้ นัน ้ .
สาหรับศาสนา มีศล ี สมาธิและวิปัสสนาชอ ื่ ว่าเป็ นเบือ ้ งต ้น.
สมจริงดังทีต ่ รัสไว ้ว่า ก็อะไรเป็ นเบือ ้ งต ้นแห่งกุศลธรรมทัง้ หลาย?
ศลี ทีบ
่ ริสท
ุ ธิด ์ แ ี ละทิฏฐิทต ี่ รงเป็ นเบือ ้ งต ้น.๑-
____________________________
๑- ส. มหา. เล่ม ๑๙/ข ้อ ๖๘๗

ก็อริยมรรคทีต
่ รัสไว ้อย่างนีว้ า่ ดูกอ
่ นภิกษุ ทงั ้ หลาย
มัชฌิมาปฏิปทาทีต ่ ถาคตตรัสรู ้ด ้วยปั ญญาอันยิง่ แล ้วมีอยู่๒- ดังนี้
ชอื่ ว่าเป็ นท่ามกลาง.
____________________________
๒- วิ. มหา. เล่ม ๔/ข ้อ ๑๓

ผลและนิพพานชอ ื่ ว่าเป็ นทีส


่ ด
ุ .
จริงอยู่ ผลท่านกล่าวว่าเป็ นทีส ่ ด
ุ ในประโยคนีว้ า่ แน่ะพราหมณ์
เพราะเหตุนัน
้ แหละ ท่านจะประพฤติพรหมจรรย์ นั่นเป็ นสาระ นั่นเป็ นทีส ่ ด
ุ ดังนี.้ ๓-
นิพพานกล่าวว่าเป็ นทีส
่ ดุ ในประโยคนีว้ า่ ดูกอ
่ นท่านวิสาขะ
บุคคลอยูจ ่ บพรหมจรรย์ซงึ่ หยั่งลงสูน
่ พิ พาน มีนพ
ิ พานเป็ นทีไ่ ปในเบือ
้ งหน ้า
มีนพ
ิ พานเป็ นทีส ่ ด
ุ . ๔-

____________________________
๓- ม. มู. เล่ม ๑๒/ข ้อ ๓๖๐ ๔- ม. มู. เล่ม ๑๒/ข ้อ ๕๑๒

ในทีน ่ ท
ี้ รงประสงค์เบือ ้ งต ้น ท่ามกลาง ทีส ่ ดุ แห่งเทศนา.
จริงอยู่ พระผู ้มีพระภาคเจ ้า เมือ ่ ทรงแสดงธรรม ทรงแสดงศล ี ในเบือ
้ งต ้น
ทรงแสดงมรรคในท่ามกลาง ทรงแสดงนิพพานในทีส ่ ด ุ . ฉะนัน้
พระธรรมสงั คาหกาจารย์จงึ กล่าวว่า พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงแสดงธรรม
งามในเบือ
้ งต ้น งามในท่ามกลาง งามในทีส ่ ดุ ดังนี.้
เพราะฉะนัน้ ธรรมกถึกแม ้อืน ่ เมือ ่ แสดงธรรม
พึงแสดงศล ี ในเบือ
้ งต ้น แสดงธรรมในท่ามกลาง
และแสดงนิพพานในทีส ่ ดุ นีเ้ ป็ นหลักของธรรมกถึก.

บทว่า สาตฺถ สพฺยญฺชน ความว่า


ก็ผู ้ใดมีเทศนาเกีย ่ วด ้วยการพรรณนาถึงข ้าวยาคูและภัตร หญิงและชายเป็ นต ้น
ผู ้นัน ื่ ว่าแสดงเทศนาพร ้อมทัง้ อรรถก็หาไม่ แต่พระผู ้มีพระภาคเจ ้า
้ ชอ
ทรงละการแสดงอย่างนัน ้ ทรงแสดงเทศนาเกีย ่ วด ้วยสติปัฏฐาน ๔ เป็ นต ้น. ฉะนัน ้
ท่านจึงกล่าวว่า ทรงแสดงพร ้อมทัง้ อรรถ ดังนี.้
ก็เทศนาของผู ้ใดประกอบด ้วยพยัญชนะเดียวเป็ นต ้น
หรือมีพยัญชนะหุบปากทัง้ หมด หรือมีพยัญชนะเปิ ดปากทัง้ หมด
และมีกดปากทัง้ หมด เทศนาของผู ้นัน ้ ย่อมเป็ นเทศนาชอ ื่ ว่าไม่มพี ยัญชนะ
เพราะพยัญชนะไม่บริบรู ณ์ ดุจภาษาของพวกมิลักขะ มีเผ่าทมิฬะ เผ่ากิราตะ
และเผ่ายวนะเป็ นต ้น.
แต่พระผู ้มีพระภาคเจ ้าไม่ทรงทาพยัญชนะ ๑๐ อย่างทีก ่ ล่าวไว ้อย่างนีว้ า่
สถิ ล ิ ธนิต ทีฆะ รัสสะ ลหุ ครุ นิคคหิต สม ั พันธ์
วิมต ุ และประเภทแห่งความขยายของพยัญชนะ ดังนีไ ้ ม่ให ้ปะปนกัน
ทรงแสดงธรรมทาพยัญชนะนั่นแลให ้บริบรู ณ์ ฉะนัน ้ ท่านจึงกล่าวว่า
ทรงแสดงธรรมพร ้อมทัง้ พยัญชนะ ดังนี.้
บทว่า เกวล ในบทว่า เกวลปริปณ ุ ฺ ณ นีเ้ ป็ นคาเรียกความสน ิ้ เชงิ .
บทว่า ปริปณ ุ ฺ ณ เป็ นคาเรียกความไม่ขาดไม่เกิน. อธิบายว่า
ทรงแสดงบริบรู ณ์ทงั ้ สน ิ้ ทีเดียว แม ้เทศนาสว่ นหนึง่ ทีไ่ ม่บริบรู ณ์ก็ไม่ม.ี
บัณฑิตพึงทราบว่า บริบรู ณ์สน ิ้ เชงิ
เพราะไม่มค ี าทีจ่ ะพึงเพิม ่ เข ้าและตัดออก.
บทว่า ปริสท ุ ฺธ ได ้แก่ ไม่มค ี วามเศร ้าหมอง.
ก็ผู ้ใดแสดงธรรมด ้วยคิดว่า
เราจักได ้ลาภหรือสก ั การะเพราะอาศัยธรรมเทศนานี้ เทศนาของผู ้นัน ้ ย่อมไม่บริสท ุ ธิ.์
แต่พระผู ้มีพระภาคเจ ้ามิได ้ทรงเพ่งโลกามิส
มีพระหทัยอ่อนโยนด ้วยเมตตาภาวนาซงึ่ แผ่ประโยชน์
ทรงแสดงด ้วยจิตทีด ่ ารงอยูโ่ ดยสภาพคือการยกระดับให ้สูงขึน ้ . ฉะนัน ้
ท่านจึงกล่าวว่าทรงแสดงธรรมบริสท ุ ธิ.์
ก็ในคาว่า พฺรหฺมจริย ปกาเสติ นี้ ศพ ั ท์วา่ พฺรหฺมจริย นี้
ปรากฏในอรรถเหล่านี้ คือ ทาน เวยยาวัจจะ ศล ี สกิ ขาบท ๕ อัปปมัญญา เมถุนวิรัต ิ
สทารสน ั โดษ วิรยิ ะ องค์อโุ บสถ อริยมรรค ศาสนา.
จริงอยู่ ทาน ท่านกล่าวว่า พรหมจรรย์ ในปุณณกชาดกนีว้ า่ ๕-
ก็อะไรเป็ นพรต อะไรเป็ นพรหมจรรย์ของท่าน นีเ้ ป็ นวิบากของ
กรรมอะไรทีส ่ งั่ สมดีแล ้ว ความสาเร็จ ความรุง่ เรือง กาลัง การเข ้า
ถึงความเพียร และวิมานใหญ่ของท่านนี้ เป็ นผลแห่งกรรมอะไร.
ท่านผู ้ประเสริฐ ข ้าพเจ ้าและภริยาทัง้ ๒ เมือ ่ อยูใ่ นมนุษยโลกได ้
เป็ นผู ้มีศรัทธา เป็ นทานบดี เรือนของเราในกาลนัน ้ ได ้เป็ นโรง
ดืม่ และสมณพราหมณ์ทงั ้ หลายก็อม ิ่ หนา ก็ทานนัน ้ เป็ นพรต
เป็ นพรหมจรรย์ของเรา นีเ้ ป็ นวิบากแห่งทานทีส ่ ั
่ งสมดีแล ้ว ความ
สาเร็จ ความรุง่ เรือง กาลัง การเข ้าถึงความเพียรและวิมานใหญ่
ของเรา นีเ้ ป็ นแผลแห่งทานทีส ่ งั่ สมดีแล ้ว ท่านผู ้แกล ้วกล ้า.
เวยยาวัจจะ ท่านกล่าวว่า พรหมจรรย์ ในเรือ ่ งอังกุรเปรตนีว้ า่ ๖-
ฝ่ ามือของท่านให ้สงิ่ ทีน ่ ่าใคร่ด ้วยพรหมจรรย์อะไร
ฝ่ ามือของท่านหลั่งมธุรสด ้วยพรหมจรรย์อะไร
บุญสาเร็จในฝ่ ามือของท่านด ้วยพรหมจรรย์อะไร.
ฝ่ ามือของข ้าพเจ ้าให ้สงิ่ ทีน่ ่าใคร่ด ้วยพรหมจรรย์นัน ้
ฝ่ ามือของข ้าพเจ ้าหลัง่ มธุรสด ้วยพรหมจรรย์นัน ้
บุญสาเร็จในฝ่ ามือของข ้าพเจ ้าด ้วยพรหมจรรย์นัน ้ .
____________________________
๕- ขุ. ชา. เล่ม ๒๘/ข ้อ ๑๐๐๙ ๖- ขุ. เปต. เล่ม ๒๖/ข ้อ ๑๐๖

ศล ี สกิ ขาบท ๕ ท่านกล่าวว่า พรหมจรรย์ ในติตติรชาดกนีว้ า่


อิท โข ต ภิกฺขเว ติตฺตริ ย ิ นาม พฺรหฺมจริย อโหส ิ
ดูกอ ี ๕ นัน
่ นภิกษุ ทงั ้ หลาย ศล ้ แล ชอื่ ว่าติตติยพรหมจรรย์.๗-
____________________________
๗- วิ. จุลฺ. เล่ม ๗/ข ้อ ๒๖๒

อัปปมัญญา ๔ ท่านกล่าวว่า พรหมจรรย์ ในมหาโควินทสูตรนีว้ า่


ต โข ปน ปญฺจสข ิ พฺรหฺมจริย เนว นิพฺพท ิ าย น วิราคาย น นิโรธาย
ยาวเทว พฺรหฺมโลกุปปตฺตย ิ า
ดูกอ่ นปั ญจสขิ เทพบุตร ก็พรหมจรรย์นัน ้ แล ไม่เป็ นไปเพือ่ นิพพิทา
ไม่เป็ นไปเพือ
่ วิราคะ ไม่เป็ นไปเพือ่ นิโรธ เป็ นไปเพียงเพือ
่ เข ้าถึงพรหมโลกเท่านัน
้ .๘-
____________________________
๘- ที. มหา. เล่ม ๑๐/ข ้อ ๒๓๔

เมถุนวิรัต ิ ท่านกล่าวว่า พรหมจรรย์ ในสล ั เลขสูตรนีว้ า่ ปเร อพฺรหฺมจาริโน


ภวิสฺสนฺ ต ิ มยเมตฺถ พฺรหฺมจาริโน ภวิสฺสาม คนเหล่าอืน ่ จักเป็ นผู ้ไม่ประพฤติพรหมจรรย์
เราทัง้ หลายในทีน ่ จ
ี้ ักเป็ นผู ้ประพฤติพรหมจรรย์. ๙-

____________________________
๙- ม. มู. เล่ม ๑๒/ข ้อ ๑๐๔
สทารสนั โดษ ท่านกล่าวว่า พรหมจรรย์ ในมหาธรรมปาลชาดกว่า๑๐-
เราทัง้ หลายไม่นอกใจภริยาทัง้ หลาย
และภริยาทัง้ หลายก็ไม่นอกใจพวกเรา
เว ้นภริยาเหล่านัน
้ พวกเราประพฤติพรหมจรรย์
เพราะเหตุนัน้ แหละ พวกเราจึงไม่ตายแต่หนุ่มๆ.
____________________________
๑๐- ขุ. ชา. เล่ม ๒๗/ข ้อ ๑๔๑๓

ความเพียร ท่านกล่าวว่า พรหมจรรย์ ในโลมหังสนสูตรว่า๑๑-


อภิชานามิ โข ปนาห สารีปตุ ฺต จตุรงฺคสมนฺ นาคต พฺรหฺมจริย จริตา ตปสฺส ี
สุท โหมิ
ดูกอ่ นสารีบตุ ร
เรานีแ ั ซงึ่ ความประพฤติพรหมจรรย์อันประกอบด ้วยองค์ ๔
่ หละรู ้ชด
เรานีแ่ หละเป็ นผู ้มีความเพียรเครือ
่ งเผากิเลส.
____________________________
๑๑- ม. มู. เล่ม ๑๒/ข ้อ ๑๗๗

อุโบสถประกอบด ้วยองค์ ๘ ทีท ่ าด ้วยอานาจการฝึ กตน ท่านกล่าวว่า


พรหมจรรย์ ในนิมช ิ าดกอย่างนีว้ า่
บุคคลเกิดเป็ นกษั ตริยด์ ้วยพรหมจรรย์อย่างตา่
เกิดเป็ นเทวดาด ้วยพรหมจรรย์อย่างกลาง และ
ย่อมบริสท ุ ธิด
์ ้วยพรหมจรรย์อย่างสูงสุด.๑๒-
____________________________
๑๒- ขุ. ชา. เล่ม ๒๗/ข ้อ ๑๑๘๖

อริยมรรค ท่านกล่าวว่า พรหมจรรย์ ในมหาโควินทสูตรนั่นแลว่า๑๓-


อิท โข ปน ปญฺจสข ิ พฺรหฺมจริย เอกนฺ ตนิพฺพท ิ าย วิราคาย ฯเปฯ อยเมว
อริโย อฎฺฐงฺคโิ ก มคฺโค
ดูกอ ิ เทพบุตร ก็พรหมจรรย์นแ
่ นปั ญจสข ี้ ล
่ นิพพิทาโดยสว่ นเดียว เป็ นไปเพือ
เป็ นไปเพือ ่ วิราคะ เป็ นไปเพือ่ นิโรธ ...
พรหมจรรย์นค ี้ อ
ื มรรคมีองค์ ๘ ทีห
่ า่ งไกลจากข ้าศกึ คือกิเลสนีแ
้ หละ.
____________________________
๑๓- ที. มหา. เล่ม ๑๐/ข ้อ ๒๓๔

ศาสนาทัง้ สน ิ้ ซงึ่ สงเคราะห์ด ้วยสก


ิ ขา ๓ ท่านกล่าวว่า พรหมจรรย์
ในปาสาทิกสูตรว่า ตยิท พฺรหฺมจริย อิทฺธญฺเจว ผีตญฺจ วิตฺถาริก พาหุชญฺญ ปุถภ ุ ต ู

ยาวเทว เทวมนุสฺเสหิ สุปฺปกาสต พรหมจรรย์นน ี้ ัน
้ สมบูรณ์ มั่งคั่ง แพร่หลาย
คนโดยมากเข ้าใจ มั่นคง เพียงทีเ่ ทวดาและมนุษย์ทงั ้ หลายประกาศดีแล ้วเท่านัน ้ .๑๔-
____________________________
๑๔- ที. ปาฏิ. เล่ม ๑๑/ข ้อ ๑๐๔
ก็ศาสนาทัง้ สน ิ้ ซงึ่ สงเคราะห์ด ้วยสก ิ ขา ๓ นีแ ้ หละ
ท่านประสงค์วา่ พรหมจรรย์ในทีน ่ .ี้ เพราะฉะนัน ้ พึงทราบความในข ้อนีอ ้ ย่างนีว้ า่
บทว่า พฺรหฺมจริย ปกาเสติ ความว่า
พระผู ้มีพระภาคเจ ้านัน ้ ทรงแสดงธรรมงามในเบือ ้ งต ้น ... บริสท ุ ธิ.์
และเมือ ่ ทรงแสดงอย่างนี้ ทรงประกาศพรหมจรรย์
คือศาสนาทัง้ สน ิ้ ซงึ่ สงเคราะห์ด ้วยสก ิ ขาบท ๓.
บทว่า พฺรหฺมจริย มีอธิบายว่า ความประพฤติเป็ นพรหม
ด ้วยอรรถว่าประเสริฐทีส ่ ด ุ หรือความประพฤติของพระพุทธเจ ้าเป็ นต ้นผู ้เป็ นพรหม.
บทว่า ต ธมฺม ความว่า ฟั งธรรมทีถ ่ งึ พร ้อมด ้วยประการดังกล่าวแล ้วนัน ้ .
บทว่า คหปติ วา ความว่า เพราะเหตุไร
พระผู ้มีพระภาคเจ ้าจึงชค ี้ ฤหบดีกอ ่ น. เพราะจะกาจัดมานะอย่างหนึง่
เพราะคฤหบดีมจ ี านวนสูงอย่างหนึง่ .
จริงอยู่ โดยมากพวกทีอ ่ อกจากขัตติยตระกูลบวช
ย่อมถือตัวเพราะอาศัยชาติ. พวกทีอ ่ อกจากตระกูลพราหมณ์บวช
ย่อมถือตัวเพราะอาศัยมนต์. พวกทีอ ่ อกจากตระกูลตา่ บวช
ไม่อาจทีจ ่ ะดารงอยูไ่ ด ้เพราะตนมีชาติแตกต่างจากเขา.
สว่ นพวกเด็กคฤหบดี ไถพืน ้ ทีไ่ ร่นา จนเหงือ ่ ไหล รักแร ้ ขีเ้ หลือขึน ้ หลัง
ย่อมกาจัดความถือตัวและเย่อหยิง่ เสย ี ได ้. เพราะไม่มค ี วามถือตัวเชน ่ นัน้
เขาเหล่านัน ้ บวชแล ้ว ไม่ทาความถือตัวหรือความเย่อหยิง่
เรียนพระพุทธพจน์ตามกาลัง กระทาพระพุทธพจน์นัน ้ ด ้วยวิปัสสนา
ย่อมอาจทีจ ่ ะดารงอยูใ่ นความเป็ นพระอรหันต์ได ้. สว่ นผู ้ทีอ ่ อกจากตระกูลนอกนีบ ้ วช
มีไม่มาก. แต่ทเี่ ป็ นคฤหบดี มีมาก. ดังนัน ้ จึงชค ี้ ฤหบดีกอ ่ น เพราะจะกาจัดมานะ
และเพราะมีจานวนสูง ดังนี.้
บทว่า อญฺญตรสฺม ึ วา ความว่า
ในตระกูลใดตระกูลหนึง่ บรรดาตระกูลนอกนี.้
บทว่า ปจฺจาชาโต ได ้แก่ เกิดเฉพาะ.
บทว่า ตถาคเต สทฺธ ปฏิลภติ ความว่า ฟั งธรรมบริสท ุ ธิ์
ย่อมได ้ศรัทธาในพระตถาคตผู ้เป็ นธรรมสามี ว่าพระผู ้มีพระภาคเจ ้าพระองค์นัน ้
เป็ นสม ั มาสม ั พุทธะหนอ.
บทว่า อิต ิ ปฏิสญฺจก ิ ฺขติ ได ้แก่ ย่อมพิจารณาอย่างนี.้
บทว่า สมฺพาโธ ฆราวาโส ความว่า แม ้ถ ้าว่าผัวเมียอยูใ่ นเรือน ๖๐ ศอก
หรือแม ้ในทีร่ ะหว่างร ้อยโยชน์แม ้อย่างนัน ้ การครองเรือนก็คับแคบอยูน ่ ั่นเอง
เพราะอรรถว่า เขาเหล่านัน ้ มีกงั วลห่วงใย.
บทว่า รชาปโถ ในมหาอรรถกถาแก ้ว่า
ทีเ่ ป็ นทีต ่ งั ้ ขึน ้ แห่งธุลม ี รี าคะเป็ นต ้น. บางท่านกล่าวว่า อาคมปโถทางเป็ นทีม ่ า
ดังนีก ้ ็ม.ี
ชอ ื่ ว่า อพฺโภกาโส ด ้วยอรรถว่า เป็ นเหมือนกลางแจ ้ง เพราะอรรถว่า
ไม่ตด ิ ขัด.
จริงอยู่ บรรพชต ิ แม ้อยูใ่ นทีป ่ กปิ ดมีเรือนยอดปราสาทแก ้วและเทพ
วิมานเป็ นต ้น ซงึ่ มีประตูหน ้าต่างปิ ดมิดชด ิ ก็ไม่เกีย ่ วไม่ข ้อง ไม่พัวพัน. ฉะนัน ้
ท่านจึงกล่าวว่า อพฺโภกาโส ปพฺพชฺชา ดังนี.้
อีกอย่างหนึง่ ฆราวาสชอ ื่ ว่าคับแคบ เพราะไม่มโี อกาสทากุศล.
ชอ ื่ ว่าเป็ นทางมาแห่งธุล ี เพราะเป็ นทีป ่ ระชุมแห่งธุลค ี อ ื กิเลสดุจกองหยากเยือ ่
ทีไ่ ม่ได ้รักษา เป็ นทีร่ วมแห่งธุลฉ ี ะนัน้ . บรรพชาเป็ นทางปลอดโปร่ง
เพราะมีโอกาสทากุศลตามสบาย.
ในพระบาลีนวี้ า่ นยิท สุกร ฯเปฯ ปพฺพเชยฺย ดังนี้ มีสงั เขปกถาดังต่อไปนี้
:
พรหมจรรย์คอ ื สก ิ ขา ๓ ทีแ ่ สดงแล ้ว
ชอ ื่ ว่าพึงประพฤติให ้บริบรู ณ์โดยสว่ นเดียว เพราะไม่ทาให ้ขาดแม ้วันเดียว
ยังจริมกจิตให ้เอิบอิม ่ ได ้. ชอ ื่ ว่าพึงประพฤติให ้บริสท ุ ธิโ์ ดยสว่ นเดียว
เพราะไม่ทาให ้แปดเปื้ อนด ้วยมลทินคือกิเลสแม ้วันเดียว ยังจริมกจิตให ้เอิบอิม ่ ได ้.
บทว่า สงฺขลิขต ิ ความว่า พึงประพฤติให ้เหมือนสงั ข์ทข ี่ ด ั แล ้ว

คือให ้มีสวนเปรียบด ้วยสงข์ทล ั ี่ ้างแล ้ว.
ก็พรหมจรรย์นอ ี้ ันผู ้อยูค ่ รองเรือนอยูใ่ นท่ามกลางแห่งเรือนจะประพฤติให ้
บริบรู ณ์บริสท ุ ธิโ์ ดยสว่ นเดียวดุจสงั ข์ขด ั ไม่ใชท ่ าได ้ง่าย ถ ้ากระไร
เราพึงปลงผมและหนวด นุ่งห่มผ ้ากาสายะทีส ่ มควรแก่ผู ้ประพฤติพรหมจรรย์
เพราะย ้อมด ้วยน้าฝาดและมีสเี หลือง ออกจากเรือนบวชเป็ นผู ้ไม่มเี รือน. แลในข ้อนี้
เพราะการงานมีกสก ิ รรมและพาณิชยกรรมเป็ นต ้น ทีเ่ ป็ นประโยชน์แก่เรือน
เรียกว่าการครองเรือน และการครองเรือนนัน ้ ไม่มใี นบรรพชา ฉะนัน ้ บรรพชา
พึงทราบว่าไม่ใชก ่ ารครองเรือน พรหมจรรย์นัน ้ ไม่ใชก ่ ารครองเรือน.
บทว่า ปพฺพเชยฺย ได ้แก่พงึ ปฏิบต ั .ิ
บทว่า อปฺป วา ความว่า กองโภคะตา่ กว่าจานวนพัน ชอ ื่ ว่าน ้อย.
ตัง้ แต่พ ้นหนึง่ ขึน ้ ไป ชอ ื่ ว่ามาก. ตัง้ แต่ ๒๐ ขึน ้ ไป ชอ ื่ ว่ามาก.
ญาตินั่นแหละ ชอ ื่ ว่าเครือญาติ เพราะอรรถว่าเกีย ่ วพัน.
เครือญาติแม ้นัน ้ ตา่ กว่า ๒๐ ชอ ื่ ว่าน ้อย. ตัง้ แต่ ๒๐ ขึน ้ ไป ชอ ื่ ว่ามาก.
บทว่า ปาฏิโมกฺขสวรสวุโต ได ้แก่
ประกอบด ้วยความสารวมในปาติโมกข์.
บทว่า อาจารโคจรสมฺปนฺ โน ได ้แก่ ถึงพร ้อมด ้วยอาจาระและโคจร.
บทว่า อณุมตฺเตสุ คือ มีประมาณน ้อย.
บทว่า วชฺเชสุ ได ้แก่ ในอกุศลธรรมทัง้ หลาย.
บทว่า ภยทสฺสาวี คือ เห็นภัย.
บทว่า สมาทาย ได ้แก่ ถือเอาโดยชอบ.
บทว่า สก ิ ฺขติ สก ิ ฺขาปเทสุ ความว่า สมาทานศก ึ ษาสก ิ ขาบทนัน ้ ๆ
ในสก ิ ขาบททัง้ หลาย.
นีเ้ ป็ นความย่อในข ้อนี้ สว่ นความพิสดารได ้กล่าวไว ้แล ้วในวิสท ุ ธิมรรค.
ในพระบาลีวา่ กายกมฺมวจีกมฺเมน สมนฺ นาคโต กุสเลน ปริสท ุ ฺธาชโี ว นี้
ความว่า ก็เมือ ่ กายกรรมและวจีกรรมทีเ่ ป็ นกุศล
พระผู ้มีพระภาคเจ ้าทรงถือเอาด ้วยศัพท์วา่ อาจารโคจรแล ้วก็ตาม
เพราะชอ ื่ ว่าอาชวี ปาริสท ุ ธิศล ี นี้ ย่อมไม่เกิดในอากาศหรือทีย ่ อดไม ้เป็ นต ้น
แต่เกิดขึน ้ ในกายทวารและวจีกรรมเท่านัน ้ ฉะนัน ้ ท่านจึงกล่าวว่า
ประกอบด ้วยกายกรรมและวจีกรรมอันเป็ นกุศล
เพือ ่ แสดงทวารทีเ่ กิดของอาชวี ปาริสท ุ ธิศล ี นัน ้
แต่เพราะประกอบด ้วยอาชวี ปาริสท ุ ธิศล ี นัน
้ ฉะนัน ้ จึงชอ ื่ ว่าเป็ นผู ้มีอาชพ ี บริสท ุ ธิ.์
อีกอย่างหนึง่ ท่านกล่าวอย่างนี้ ก็โดยอานาจมุณฑิยปุตตสูตร.
จริงอยู่ ในสูตรนี้ พระผู ้มีพระภาคได ้ตรัสไว ้ว่า๑๕-
ดูกอ
่ นคฤหบดี กายกรรมทีเ่ ป็ นกุศล เป็ นไฉน?
ดูกอ่ นคฤหบดี แม ้อาชวี ะทีบ ่ ริสท ี ดังนี.้
ุ ธิ์ เราก็กล่าวไว ้ในศล
____________________________
๑๕- ม. ม. เล่ม ๑๓/ข ้อ ๓๖๓

ก็เพราะผู ้ปฏิบัตป ิ ระกอบด ้วยศลี นัน


้ ฉะนัน้ พึงทราบว่า
เป็ นผู ้มีอาชพ ี บริสท
ุ ธิ.์
บทว่า สลี สมฺปนฺ โน ความว่า เป็ นผู ้ถึงพร ้อมด ้วยศล ี ๓
อย่างทีก ่ ล่าวแล ้วในพรหมชาลสูตร.
บทว่า อินฺทฺรเิ ยสุ คุตฺตทฺวาโร ความว่า
เป็ นผู ้ปิ ดทวารในอินทรียท ์ งั ้ หลายซงึ่ มีใจเป็ นที่ ๖.
บทว่า สติสมฺปชญฺเญน สมนฺ นาคโต ความว่า
เป็ นผู ้ประกอบด ้วยสติและสม ั ปชญั ญะในฐานะทัง้ ๗ มีก ้าวไปและถอยกลับเป็ นต ้น.
บทว่า สนฺ ตฎุ ฺโฐ ความว่า ประกอบด ้วยสน ั โดษ ๓ อย่างในปั จจัย ๔
ชอื่ ว่าเป็ นผู ้สนั โดษ.

จุลฺลมชฺฌม ิ มหาสล ี วณฺ ณนา


พระผู ้มีพระภาคเจ ้าทรงวางหัวข ้ออย่างนีแ ้ ล ้ว เมือ ่ ทรงแจกตามลาดับ
จึงตรัสคาเป็ นต ้นว่า มหาบพิตร อย่างไร ภิกษุ จงึ ชอ ื่ ว่าเป็ นผู ้ถึงพร ้อมด ้วยศล ี .
ในพระบาลีนัน ้ บทว่า อิทปิ สฺส โหติ สลสฺม ึ ความว่า ี
ศลี คือเจตนางดเว ้นจากปาณาติบาตของภิกษุ นัน ้ แม ้นี้ เป็ นศล ี ข ้อ ๑ ในศล ี .
อีกอย่างหนึง่ คาว่า สล ี สฺม ึ นีเ้ ป็ นสต ั ตมีวภ ิ ัตติ ลงในอรรถแห่งปฐมาวิภัตติ.
ก็ในมหาอรรถกถา ท่านกล่าวเนือ ้ ความนีท ้ เี ดียวว่า
ศล ี คือเจตนางดเว ้นจากปาณาติบาตแม ้นี้ ก็เป็ นศล ี ของสมณะนั น ้ เหมือนกัน.
คาทีเ่ หลือพึงทราบตามนัยทีก ่ ล่าวแล ้วในพรหมชาลสูตรนั่นแหละ.
บทว่า อิทมสฺส โหติ สล ี สฺม ึ ความว่า นีเ้ ป็ นศล ี ของภิกษุ นัน ้ .
บทว่า น กุโตจิ ภย สมนุปสฺสติ ยทิท สล ี สวรโต ความว่า
ภัยเหล่าใดทีม ่ ค
ี วามไม่สารวมเป็ นมูลย่อมเกิดขึน ้ บรรดาภัยเหล่านั น ้ ภัยทีพ ่ งึ มีเพราะศล ี สงั วรนั น

ภิกษุ ผู ้ถึงพร ้อมด ้วยศล ี จะไม่ประสบแต่ทไี่ หนๆ แม ้เพราะสารวมอย่างเดียว. เพราะเหตุไร
เพราะไม่มภ ี ัยทีม ่ ค
ี วามไม่สารวมเป็ นมูล เพราะความสารวม.
บทว่า มุทฺธาวสต ิ ฺโต ความว่า รดบนพระเศย ี รด ้วยขัตติยาภิเษกทีจ ่ ัดไว ้ตามพิธ.ี
บทว่า ยทิท ปจฺจตฺถก ิ โต ความว่า
ย่อมไม่ประสบภัยทีจ ่ ะพึงมีแม ้จากศัตรูคนหนึง่ แต่ทไี่ หนๆ. เพราะเหตุไร
เพราะกาจัดปั จจามิตรได ้แล ้ว.
บทว่า อชฺฌตฺต ได ้แก่ ภายในของตน อธิบายว่า ในสน ั ดานของตน.
บทว่า อนวชฺชสุข ความว่า ไม่มโี ทษ คือไม่มใี ครติได ้ เป็ นกุศล.
ี สมบูรณ์ยอ
ภิกษุ ผู ้มีศล ่ มเสวยสุขทัง้ ทางกายทางใจ อันธรรมคือความไม่เดือดร ้อน
ความปราโมทย์ ความอิม ่ ใจ และความสงบ ซงึ่ มีศล ี เป็ นปทัสถานผสมอยู.่
ข ้อว่า เอว โข มหาราช ภิกฺขุ สล ี สมฺปนฺ โน นาม โหติ ความว่า
พระผู ้มีพระภาคเจ ้าทรงแสดงศล ี กถาจบลงว่า ภิกษุ ผู ้ประกอบด ้วยศล ี ๓
อย่างทีท ่ รงแสดงพิสดารติดต่อกันอย่างนี้ ชอ ื่ ว่าเป็ นผู ้มีศล ี สมบูรณ์.

อินฺทฺรย
ิ สวรกถาวณฺ ณนา
ในการจาแนกทวารทีค ่ ุ ้มครองแล ้วในอินทรียท ์ ัง้ หลาย มีวน ิ จ
ิ ฉั ยดังต่อไปนี้
จกฺขศุ ัพท์ในบทว่า จกฺขน ุ า รูป นี้ ในทีบ
่ างแห่งเป็ นไปในพุทธจักษุ .
เหมือนอย่างทีก ่ ล่าวว่า ทรงตรวจดูโลกด ้วยพุทธจักษุ .
ในทีบ ่ างแห่งเป็ นไปในสมันตจักษุ กล่าวคือพระสพ ั พัญญุตญาณ.
เหมือนอย่างทีก ่ ล่าวว่า ดูกอ ่ นสุเมธะพระพุทธเจ ้าผู ้มีสมันตจักษุ
เสด็จขึน ้ ปราสาททีล ่ ้วนแล ้วด ้วยพระธรรมมีอป ุ มาอย่างนัน้ .๑-
ในทีบ ่ างแห่งเป็ นไปในธรรมจักษุ เหมือนอย่างทีก ่ ล่าวว่า ธรรมจักษุ ปราศจากธุล ี
ไม่มม ี ลทินเกิดขึน ้ แล ้ว. ๒-

____________________________
๑- วิ. มหา. เล่ม ๔/ข ้อ ๘ ๒- ขุ. ธ. เล่ม ๒๕/ข ้อ ๑๑๒

ก็ในพระบาลีนห ี้ มายเอาปั ญญา คืออริยมรรค ๓.


ญาณมีปพ ุ เพนิวาสานุสสติญาณเป็ นต ้น ในพระบาลีวา่ จักษุ เกิดขึน้ แล ้ว
ญาณเกิดขึน ๓-
้ แล ้ว ดังนี้ ท่านเรียกว่า ปั ญญาจักษุ .
เป็ นไปในทิพยจักษุ ๔- ในทีม่ าทัง้ หลายมาด ้วยทิพยจักษุ ดังนี.้
เป็ นไปในปสาทจักษุ ในพระบาลีนวี้ า่ รูปอาศัยจักษุ ๕- ดังนี.้
____________________________
๓- วิ. มหา. เล่ม ๔/ข ้อ ๑๕ ๔- ขุ. ธ. เล่ม ๒๕/ข ้อ ๑๑๒
๕- ม. มู. เล่ม ๑๒/ข ้อ ๔๔๔

แต่ในทีน ั ท์นเี้ ป็ นไปในจักษุ วญ


่ ี้ จักขุศพ ิ ญาณโดยโวหารว่า ปสาทจักษุ . เพราะฉะนั น

ในพระบาลีนจ ี้ งึ มีเนือ
้ ความว่า เห็นรูปด ้วยจักษุ วญ ิ ญาณ.
คาใดทีพ ่ งึ กล่าวแม ้ในบททีเ่ หลือ คานัน ้ ทัง้ หมดกล่าวแล ้วในวิสท
ุ ธิมรรค.
บทว่า อพฺยาเสกสุข ความว่า เสวยสุขอันไม่ระคนด ้วยกิเลส คือไม่เจือกิเลส
เพราะเว ้นจากกิเลสเครือ ่ งเศร ้าหมอง เป็ นสุขบริสท ุ ธิ์ เป็ นอธิจต
ิ สุข แล.
จบอินทริยสงั วรกถา

.. อรรถกถา ทีฆนิกาย สล ี ขันธวรรค สามัญญผลสูตร


อ่านอรรถกถาหน ้าต่างที่ [หน ้าสารบัญ] [๑] [๒] [๓] [๔] [๕] [๖] [๗]

อ่านเนือ
้ ความในพระไตรปิ ฎก
http://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=9&A=1072&Z=1919
อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=4&A=3185
The Pali Atthakatha in Roman
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=4&A=3185
- -- ---- ----------------------------------------------------------------------------
ดาวน์โหลด โปรแกรมพระไตรปิ ฎก
บันทึก ๘ มิถน ุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๙
หากพบข ้อผิดพลาด กรุณาแจ ้งได ้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com

ื้
สีพนหลั
ง:


สมเด็จพระญาณสงวร

สมเด็จพระสงฆราช ั
สกลมหาสงฆปริ
ณายก
ว ัดบวรนิเวศวิหารฒ
ค ัดจากเทปธรรมอบรมจิต ข้อความสมบูรณ์

อณิศร โพธิทองคา บรรณาธิการ

บัดนี้ จักแสดงธรรมะเป็ นเครือ


่ งอบรมในการปฏิบัตอ
ิ บรมจิต
ในเบือ
้ งต ้นก็ขอให ้ทุกๆ ท่านตัง้ ใจนอบน ้อมนมัสการ
ั มาสม
พระผู ้มีพระภาคอรหันตสม ั พุทธเจ ้าพระองค์นัน

ตัง้ ใจถึงพระองค์พร ้อมทัง้ พระธรรมและพระสงฆ์เป็ นสรณะ
ี ทาสมาธิในการฟั ง เพือ
ตัง้ ใจสารวมกายวาจาใจให ้เป็ นศล ่ ให ้ได ้ปั ญญาในธรรม

ได ้แสดงคาว่าธรรมหรือธรรมะซงึ่ พระพุทธเจ ้าได ้ทรงแสดงไว ้


และทีพ
่ ระอาจารย์ได ้อธิบาย
โดยทีค
่ าว่าธรรมหรือธรรมะนีไ
้ ด ้เรียกกันในทีห
่ ลายแห่ง
่ พระพุทธเจ ้าตรัสรู ้พระธรรม พระพุทธเจ ้าทรงแสดงธรรมสงั่ สอน ตลอดจนถึง
เชน
กุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากตธรรม รูปธรรม อรูปธรรม เป็ นต ้น
แต่ในความหมายแห่งธรรมทีเ่ ป็ นรัตนะที่ ๒ พระพุทธเจ ้า พระธรรม พระสงฆ์
ท่านได ้แสดงไว ้เป็ น ๑๐ คือมรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ เป็ น ๙ กับปริยัตธิ รรมอีก ๑
เป็ น ๑๐

่ สดงไว ้อีกอย่างหนึง่ โดยสรุปเข ้ามาก็เป็ น ๓ คือปริยัตธิ รรม


และทีแ
ปฏิบัตธิ รรม และ ปฏิเวธธรรม

ธรรมะอ ันพระผูม
้ พ
ี ระภาคเจ้าตร ัสดีแล้ว

พระธรรมนีไ้ ด ้มีบทสวดสรรเสริญคุณ
อันเรียกว่า พระธรรมคุณ ว่า สวากขาโต ภควตา ธัมโม เป็ นต ้น ดังทีไ่ ด ้กล่าวแล ้ว
จะได ้จับอธิบายพระธรรมคุณบทที่ ๑ นี้ ทีแ
่ ปลว่า
ธรรมะอันพระผู ้มีพระภาคเจ ้าตรัสดีแล ้ว
และได ้มีบทสวดสรรเสริญขยายความออกไป ว่าทรงแสดงธรรม งามในเบือ
้ งต ้น
งามในท่ามกลาง งามในทีส ุ ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือพระศาสนาคาสงั่ สอน
่ ด
หรือพระธรรมวินัย พร ้อมทัง้ อรรถะ พร ้อมทัง้ พยัญชนะ บริบรู ณ์ บริสท
ุ ธิส ิ้ เชงิ
์ น
ดั่งนี้

บทว่างามในเบือ
้ งต ้น งามในท่ามกลาง งามในทีส
่ ด

ื พระศาสนา คาสงั่ สอนคือพระธรรมวินัยนี้
และบททีว่ า่ ทรงประกาศพรหมจรรย์คอ
พร ้อมทัง้ อรรถ พร ้อมทัง้ พยัญชนะ บริบรู ณ์บริสท
ุ ธิส ิ้ เชงิ
์ น
ก็เป็ นคาอธิบายของคาว่า งามในเบือ
้ งต ้น งามในท่ามกลาง งามในทีส
่ ด

้ ปลมาจากคาว่า อาทิกล
คานีแ ั ยาณัง มัชเฌกัลยาณัง
ปริโยสานกัลยาณั ง คาว่า กัลยาณะ ก็เป็ นคาทีใ่ ชพู
้ ดในภาษาไทย แปลกันว่างาม

และสาหรับทีใ่ ชในพระธรรมคุ
ณนี้ มีแปลเป็ นอย่างอืน ่ แปลว่าไพเราะ
่ ก็มี เชน
ไพเราะในเบือ
้ งต ้น ไพเราะในท่ามกลาง ไพเราะในทีส
่ ด

ธรรมะทีพ
่ ระพุทธเจ ้าตรัสอันมีลักษณะดังกล่าวนี้
พระอาจารย์ก็ได ้แสดงความหมายไว ้ เป็ นต ้นว่า

ทีว่ า่ งามในเบือ
้ งต ้น ก็คอ ี
ื ทรงแสดง ศล

ื ทรงแสดง สมาธิ
งามในท่ามกลาง ก็คอ

งามในทีส
่ ด ื ทรงแสดง ปั ญญา
ุ ก็คอ

หรือว่าถ ้าเป็ นธรรมะมากกว่า ๓ ข ้อขึน ่ ศล


้ ไป เชน ี สมาธินัน
้ เอง
เมือ
่ มีวม
ิ ต
ุ เิ พิม
่ เข ้าอีกเป็ น ๔ ข ้อ ก็อธิบายว่างามในเบือ ี
้ งต ้นด ้วยศล
งามในทีส
่ ด
ุ ด ้วยวิมต
ุ ิ งามในท่ามกลางก็ด ้วยสมาธิด ้วยปั ญญา ดัง่ นีเ้ ป็ นต ้น

เมือ ่ ระพุทธเจ ้าทรงสงั่ สอนนัน


่ พิจารณาดูแล ้วก็จะเห็นได ้ว่า ธรรมะทีพ ้
เป็ นธรรมะทีบ
่ ริบรู ณ์ คือว่าไม่ต ้องเติมเข ้ามาอีก เป็ นธรรมทีบ
่ ริสท
ุ ธิ์
คือไม่ผด
ิ ไม่ต ้องแก ้ไข และประกอบด ้วยอรรถะคือเนือ
้ ความ
ประกอบด ้วยพยัญชนะคือถ ้อยคา ก็บริสท
ุ ธิบ
์ ริบรู ณ์ ไม่มผ
ี ด
ิ พลาดบกพร่อง
คือว่าใจความกับถ ้อยคาเหมาะกันสมกัน
และเป็ นถ ้อยคาเป็ นใจความทีถ
่ ก
ู ต ้องด ้วยสมมติบัญญัตข
ิ องภาษาทีพ
่ ด

ไม่ใชว่ า่ ผิดจากสมมติบญ
ั ญัตแ
ิ ห่งภาษาทีพ
่ ด
ู เรียกว่าเป็ นถ ้อยคาทีส
่ ละสลวย
เป็ นถ ้อยคาทีไ่ ม่ฟมเฟื
ุ่ อยคือพูดมากแต่ไร ้สาระ
และไม่เป็ นถ ้อยคาทีส ั ้ จนเสย
่ น ี ความ
เป็ นถ ้อยคาทีก ั เจนบริสท
่ ล่าวไว ้อย่างชด ุ ธิบ
์ ริบรู ณ์
่ งถึงเนือ
สอ ้ ความทีจ
่ ะทาให ้ผู ้ฟั งเข ้าใจได ้
และใจความแห่งถ ้อยคานัน ่ งแสดงถึงสจ
้ ก็สอ ั จะธรรม ธรรมะทีเ่ ป็ นความจริง

่ รงสงั่ สอนดังทีไ่ ด ้กล่าวไว ้แล ้ว


อันเป็ นไปตามลักษณะทีท
ว่าทรงแสดงธรรมในข ้อทีค
่ วรรู ้ควรเห็น มีเหตุอันผู ้ฟั งอาจตรองตามให ้เห็นจริงได ้
และมีปาฏิหาริยค
์ อ ่ รงสงั่ สอน
ื ว่าปฏิบัตไิ ด ้ผลสมจริงตามทีท
คือปฏิบต
ั ใิ ห ้บรรลุถงึ ประโยชน์ปัจจุบัน ประโยชน์ภายหน ้า และประโยชน์อย่างยิง่
คือมรรคผลนิพพานได ้

เพราะฉะนัน
้ ถ ้อยคาทีท
่ รงแสดงนัน

จึงสมบูรณ์ด ้วยเนือ
้ ความหรือใจความ อันนาให ้เกิดความเข ้าใจ ให ้เกิดความรู ้
่ รงสงั่ สอนได ้
ทัง้ เหตุทงั ้ ผล และให ้ปฏิบัตไิ ด ้ บรรลุถงึ ผลตามทีท
เป็ นการแสดงทีท
่ าให ้เข ้าใจ และให ้ปฏิบต
ั ไิ ด ้ไปโดยลาดับ
เพือ
่ ผลทีป ่ รงสงั่ สอน ไม่มข
่ ระสงค์ตามทีท ี าดตกบกพร่อง
่ าไปสูเ่ ป้ าหมายทีจ
เหมือนอย่างเป็ นทางทีน ่ ะไปถึง ติดต่อกันไปโดยตลอด
ตัง้ แต่ต ้นทางจนถึงปลายทาง หรือว่าถ ้าเปรียบด ้วยบันได
ก็เปรียบเหมือนอย่างว่าเป็ นบันไดทีเ่ ป็ นขัน
้ ๆ ขึน
้ ไป ตัง้ แต่ต ้นจนถึงปลาย
ไม่มข
ี าดตกบกพร่อง เพราะฉะนัน

จึงเป็ นธรรมะทีบ
่ ริสท
ุ ธิบ
์ ริบรู ณ์ดังกล่าวโดยตลอด
ตัง้ แต่เบือ
้ งต ้นท่ามกลางจนถึงทีส
่ ด
ุ ไม่มบ
ี กพร่อง ไม่มข
ี าดตก

ธรรมะอ ันเหมาะสมก ับอินทรียข


์ องบุคคล

และธรรมะทีท
่ รงแสดงนัน ั ทัสสน
้ เป็ นธรรมะทีเ่ ข ้าในลักษณะทีเ่ รียกว่า สน
า คือทาให ้เกิดความรู ้แจ ้งเห็นจริงได ้ สมาทปนา ทาให ้เกิดความคิดสมาทานคือรั
บมาปฏิบัต ิ สมุตเตชนา เตือนใจให ้เกิดความอุตสาหะขะมักเขม ้นในอันทีจ
่ ะปฏิบต
ั ิ
ั ปหังสนา ทาให ้บังเกิดความรืน
สม ่ เริงในการฟั งในการปฏิบัต ิ
แต่ทงั ้ นีก
้ ต
็ ้องหมายความว่า ผู ้ฟั งจะต ้องมีความตัง้ ใจฟั ง
และธรรมะทีฟ ้ ก็เหมาะสมกับอัธยาศัยจิตใจ เหมาะสมแก่พน
่ ั งนัน ื้ ภูมข
ิ องจิตใจ
ทีเ่ รียกว่าเหมาะสมแก่อน
ิ ทรียข
์ องบุคคล

อิทธิปาฏิหาริย ์

้ เ็ พราะว่าพระพุทธเจ ้าได ้ทรงสงั่ สอนประกอบด ้วยปาฏิหาริย ์ ๓ ข ้อ


ทัง้ นีก
ื อิทธิปาฏิหาริย ์ ปาฏิหาริย ์ คือการทีแ
ข ้อที่ ๑ ก็คอ ่ สดงฤทธิไ์ ด ้
อันเป็ นเครือ
่ งปราบเป็ นเครือ
่ งทาลายมานะทิฏฐิของผู ้ทีร่ ับเทศนา
และคาว่า อิทธิ นีก
้ ไ
็ ม่ได ้มุง่ หมายว่าเหาะเหิรเดินฟ้ าอย่างทีเ่ ข ้าใจกันโดยมากอย่า
งเดียว แต่วา่ หมายถึงการทีจ
่ ะ หรือวิธท
ี จี่ ะทาลายทิฏฐิมานะของผู ้ฟั งได ้สาเร็จ

่ เมือ
ดังเชน ่ พระพุทธเจ ้าเสด็จไปโปรดภิกษุ เบญจวัคคียเ์ พือ
่ แสดงปฐมเท
ศนา ในครัง้ แรกท่านทัง้ ๕ นัน ื่ ว่าพระองค์ได ้ตรัสรู ้พระธรรมแล ้ว
้ ไม่ยอมเชอ
เพราะว่าพระองค์ได ้ทรงเลิกทุกรกิรย
ิ าทีท
่ า่ นทัง้ ๕ นัน
้ นับถือ ท่านทัง้ ๕
ี แล ้ว
จึงคิดว่าได ้ทรงท ้อถอยเสย
เวียนมาเพือ
่ ความมักมากคือเพือ ี แล ้ว
่ ความสุขสาราญเสย
ิ ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณส ี
จึงได ้หลีกออกไปพักอยูใ่ นป่ าอิสป
ครัน ี ไม่ได ้
้ เห็นพระองค์เสด็จมา ก็ได ้เพียงต ้อนรับอย่างเสย

พระองค์กต ้
็ ้องใชพระวาจาตรั สแก่ทา่ นทัง้ ๕ นัน
้ ให ้ท่านทัง้ ๕
้ ละทิฏฐิมานะ ยอมฟั งคาสงั่ สอนของพระองค์ และเมือ
นัน ่ ท่านทัง้ ๕
้ ยอมฟั งคาสงั่ สอนของพระองค์ พระองค์จงึ ได ้ทรงแสดงปฐมเทศนาโปรด
นัน

การทีไ่ ด ้ทรงตรัสพระวาจาให ้ท่านทัง้ ๕ ละทิฏฐิมานะได ้


้ หละคืออิทธิปาฏิหาริย ์ ซงึ่ เป็ นกิจเบือ
ยอมฟั งเทศนาของพระองค์ นีแ ้ งต ้น
ทีพ
่ ระพุทธเจ ้าจะต ้องทาก่อน ถ ้าผู ้ฟั งยังมีทฏ
ิ ฐิมานะอยู่
พระองค์ก็ยงั ไม่ทรงแสดงธรรมเทศนา จะต ้องทาให ้เขาละทิฏฐิมานะ
ยอมทีจ ี ก่อน และคาว่ายอมทีจ
่ ะฟั งเสย ่ ะฟั งนีก
้ ไ ่ มายความว่าให ้เขาเชอ
็ ม่ใชห ื่
เป็ นแต่เพียงว่าให ้ยอมฟั ง ให ้ตัง้ ใจทีจ
่ ะฟั งเท่านัน

ื่ หรือไม่เชอ
จะเชอ ื่ ก็เป็ นอีกเรือ ื่
่ งหนึง่ พระองค์ไม่บังคับให ้เชอ
เพียงแต่วา่ ให ้ยอมตัง้ ใจทีจ
่ ะฟั งเท่านัน
้ เรือ
่ งนีเ้ ป็ นเรือ
่ งสาคัญเป็ นขัน
้ ที่ ๑
เรียกว่าอิทธิปาฏิหาริย ์

อาเทสนาปาฏิหาริย ์

มาถึงข ้อที่ ๒ อาเทสนาปาฏิหาริย ์ ทีแ


่ ปลว่าดับใจ เป็ นปาฏิหาริย ์
หรือว่าดับใจเป็ นอัศจรรย์ อันหมายความว่าได ้ทรงทราบถึงอัธยาศัยจิตใจ
ทรงทราบถึงอินทรียท
์ แ
ี่ ก่กล ้า หรือย่อหย่อนของผู ้ฟั ง ว่าเป็ นอย่างไร
ได ้มีอน
ิ ทรียค ื ได ้มีกาลังของสติปัญญามาเพียงไหน มีอัธยาศัยอย่างไร
์ อ
มีความคุ ้นเคยอยูอ
่ ย่างไร ก็ทรงแสดงธรรมให ้เหมาะแก่พน
ื้ ภูมแ
ิ ห่งจิตใจของเขา
ให ้เหมาะแก่พน
ื้ ภูมแ
ิ ห่งสติปัญญาของเขา จึงจะทาให ้เขารับได ้ ดั่งนีเ้ ป็ นข ้อที่ ๒

อนุสาสนีปาฏิหาริย ์

จึงมาถึงข ้อที่ ๓ อนุสาสนีปาฏิหาริย ์ ทรงพรา่ สอนเป็ นอัศจรรย์


ื ทรงแสดงธรรมะสงั่ สอนชแ
ก็คอ ี้ จงแสดงให ้เกิดความเข ้าใจได ้
ั ทัสสนา ให ้เกิดความคิดสมาทานทีเ่ รียกว่ารับปฏิบต
ทีเ่ รียกว่า สน ั ิ
อันเรียกว่า สมาทปนา ให ้เกิดความอุตสาหะในอันทีจ
่ ะปฏิบต
ั ิ
อันเรียกว่า สมุตเตชนา ให ้เกิดความรืน
่ เริงไม่เบือ
่ หน่ายในอันทีจ
่ ะปฏิบัต ิ
ั ปหังสนา เพราะฉะนัน
อันเรียกว่า สม ้
่ รงสงั่ สอนนัน
ธรรมทีท ้ จึงได ้มีคาสรรเสริญว่าตรัสดีแล ้ว คืองามในเบือ
้ งต ้น
งามในท่ามกลาง งามในทีส
่ ด

เป็ นคาสงั่ สอนทีป
่ ระกาศพรหมจรรย์ศาสนาคาสงั่ สอนคือพระธรรมวินัย
อันบริบรู ณ์บริสท
ุ ธิส ิ้ เชงิ ดั่งนี้
์ น

แต่ทงั ้ นีก
้ ต
็ ้องหมายถึงว่าผู ้ฟั งต ้องมีความตัง้ ใจฟั ง
เป็ นผู ้ทีล
่ ะทิฏฐิมานะยอมรับฟั ง ยอมรับพิจารณาไตร่ตรองไปตาม
และเมือ
่ เป็ นดั่งนีจ
้ งึ จะได ้ความรู ้ได ้ความเห็นในธรรม ได ้ความรับปฏิบัต ิ
ได ้อุตสาหะในอันทีป
่ ฏิบัต ิ และได ้ความรืน
่ เริงในการฟั ง และในการปฏิบัต ิ
พระพุทธเจ ้าได ้ทรงแสดงธรรมอันประกอบด ้วยลักษณะอาการ
และประกอบด ้วยปาฏิหาริยท
์ งั ้ ๓ ดังทีก
่ ล่าวมานี้ เพราะฉะนัน

่ รัสจึงเป็ น สวากขาโต ตรัสดีแล ้ว
ธรรมะทีต

ธรรมรส

แต่วา่ ธรรมะทีพ ื ต่อมาจนถึงปั จจุบัน


่ ระสาวกได ้แสดงกันสบ
ก็แสดงตามพระพุทธเจ ้า โดยอาศัยหลักคาสงั่ สอนของพระพุทธเจ ้า
แต่วา่ ผู ้แสดงขาดลักษณะอาการ ขาดปาฏิหาริยท
์ งั ้ ๓ ของพระพุทธเจ ้า
เพราะฉะนัน ั ยาศัยจิตใจของบุคคลผู ้ฟั ง
้ จึงเหมาะบ ้างไม่เหมาะบ ้างแก่อธ
หรือว่าอาจจะเหมาะแก่บางคน ไม่เหมาะแก่บางคน ดัง่ นีเ้ ป็ นต ้น เพราะฉะนัน

ึ ไพเราะหรืองดงามในธรรมทีแ
ผู ้ฟั งจึงมักจะไม่ได ้ความรู ้สก ่ สดง

แต่พระพุทธเจ ้านัน
้ ได ้ทรงเป็ นผู ้ประกอบด ้วยปาฏิหาริยใ์ นการแสดง
ด ้วยลักษณะอาการทีแ ่ นัน
่ สดงดังกล่าว แต่แม ้เชน ้
ธรรมะทีพ
่ ระพุทธเจ ้าได ้ทรงแสดง ก็ยอ ั จะคือความจริง
่ มเป็ นสจ
ทีม
่ อ
ี ยูใ่ นบุคคลทุกๆ คนนีเ้ อง ไม่วา่ จะในสมัยไหน

เพราะฉะนัน
้ หากได ้ตัง้ ใจฟั ง ตัง้ ใจพินจ
ิ พิจารณา
ขบเจาะด ้วยทิฏฐิคอ
ื ความเห็น ให ้มีความเข ้าใจแล ้ว ก็ยอ
่ มจะได ้ธรรมรส
รสของธรรม น ้อยหรือมาก

่ หละคือ สวากขาโต ภควตา ธัมโม คือจะได ้ความรู ้ว่า


ธรรมรสทีไ่ ด ้นีแ
ธรรมะอันพระผู ้มีพระภาคเจ ้าตรัสดีแล ้ว งามในเบือ
้ งต ้น งามในท่ามกลาง
งามในทีส
่ ด

ื ศาสนาคาสงั่ สอนคือพระธรรมวินัยอันบริบรู ณ์บริสท
ประกาศพรหมจรรย์คอ ุ ธิส ิ้ เชงิ
์ น
ดั่งนี้ เมือ ึ ดั่งนี้ ก็เรียกว่าได ้ธรรมรสคือรสของธรรม
่ ฟั งธรรมะได ้ความรู ้สก

หล ักปฏิบ ัติในสติปฏ
ั ฐาน

สติปัฏฐานอันเป็ นหลักปฏิบัตน
ิ ัน
้ ก็คอ
ื การทีต
่ งั ้ สติในกาย ในเวทนา
ในจิต ในธรรม กายนัน
้ ก็ได ้แก่กายนีท
้ ท
ี่ ก
ุ ๆ คนมีอยู่ ในบัดนีก
้ ็กาลังนั่งกันอยู่
เบือ
้ งบนแต่พน
ื้ เท ้าขึน
้ มา เบือ
้ งตา่ แต่ปลายผมลงไป มีหนังหุ ้มอยูโ่ ดยรอบ
เป็ นร่างกายทีห
่ ายใจเข ้า หายใจออกอยู่
เป็ นร่างกายทีต
่ ้องอยูใ่ นอิรย
ิ าบถใดอิรย
ิ าบถหนึง่
่ ในบัดนีก
เชน ้ าลังอยูก
่ น
ั ในอิรย
ิ าบถนั่ง และประกอบด ้วยอิรย
ิ าบถเล็กน ้อย
่ นั่งในลักษณะนี้ พับเท ้าอย่างนี้ วางมืออย่างนี้ ตัง้ กายตัง้ ศรี ษะอย่างนี้
เชน
หันหน ้าอย่างนี้ ดั่งนีเ้ ป็ นต ้น

กาย

และเป็ นร่างกายทีป
่ ระกอบด ้วยอาการทัง้ หลาย มี ผม ขน เล็บ ฟั น หนัง
เป็ นต ้น และเมือ
่ รวมเข ้าแล ้วก็เป็ นร่างกายทีป
่ ระกอบด ้วยธาตุทงั ้ ๔
่ ข ้นแข็งก็เรียกว่า ปฐวีธาตุ ธาตุดน
คือสว่ นทีแ ิ
สว่ นทีเ่ อิบอาบเหลวไหลก็เรียกว่า อาโปธาตุ ธาตุน้ า
สว่ นทีอ ่ ก็เรียกว่า เตโชธาตุ ธาตุไฟ สว่ นทีพ
่ บอุน ่ ัดไหวก็เรียกว่า วาโยธาตุ ธาตุลม
เมือ ้ ระกอบกันอยู่ ชวี ต
่ ธาตุเหล่านีป ิ ก็ยังดารงอยู่

่ ชวี ต
และเมือ ิ ยังดารงอยูร่ า่ งกายอันนีก
้ ็ผลัดเปลีย
่ นอิรย
ิ าบถต่างๆ ได ้
หายใจเข ้าออกอยูไ่ ด ้โดยปรกติ แต่เมือ ้ ตกสลาย ชวี ต
่ ธาตุทงั ้ ๔ นีแ ิ้
ิ ก็สน
ร่างกายนีก
้ ็กลายเป็ นศพ ก็จะเป็ นศพทีผ
่ เุ ปื่ อยไปโดยลาดับ จนถึงเหลือแต่กระดูก
และในทีส
่ ด
ุ กระดูกทีเ่ หลืออยูน
่ ก
ี้ ็จะผุกร่อนไปหมด นีก
้ ค
็ อ
ื กาย

เวทนา จิต

และเมือ ้ าตุทงั ้ หลายยังคุมกันอยู่ ชวี ต


่ ร่างกายนีธ ิ ยังดารงอยู่
ก็ยอ
่ มมีเวทนา คือความรู ้เป็ นสุขเป็ นทุกข์ หรือเป็ นกลางๆ ไม่ทก
ุ ข์ไม่สข

ทางกายบ ้างทางใจบ ้าง และก็มจ
ี ต
ิ ทีค
่ รองกายนีอ
้ ยูเ่ ป็ นธาตุรู ้ ทีร่ ู ้อะไรได ้
คิดอะไรได ้ มีอาการเป็ นต่างๆ บางทีกม
็ โี ลภมีโกรธมีหลง
็ งบ บางทีก็ฟงุ้ ซา่ น
บางทีก็สงบโลภโกรธหลง บางทีกส
่ ปฏิบัตธิ รรมะจิตก็สงบ หลุดพ ้นจากโลภโกรธหลงได ้ ชวั่ คราว
และบางทีเมือ
หรือว่านาน หรือว่าตลอดไป แต่เมือ
่ ยังไม่ได ้ปฏิบัต ิ ก็ยงั หลุดพ ้นไม่ได ้
ยังมีโลภมีโกรธมีหลง

ธรรม

และเมือ ิ ใจก็ต ้องมีธรรมะ คือธรรมะทีเ่ ป็ นสว่ นกุศลบ ้าง


่ มีจต
ธรรมะทีเ่ ป็ นสว่ นอกุศลบ ้าง ธรรมะทีเ่ ป็ นกลางๆ บ ้าง
โดยเฉพาะก็คอ
ื ธรรมะทีบ
่ ังเกิดขึน
้ ในจิตใจ
ก็คอ
ื เรือ
่ งหรือว่าภาวะทีบ
่ ังเกิดขึน
้ ในจิตใจ เรือ
่ งทีบ
่ งั เกิดขึน
้ ในจิตใจนัน

่ อารมณ์คอ
ก็เชน ื เรือ
่ งทีจ
่ ต
ิ คิด เรือ
่ งทีจ
่ ต
ิ ดาริ เรือ
่ งทีจ
่ ต
ิ หมกมุน
่ ถึงต่างๆ
เป็ นเรือ
่ งนัน
้ เรือ
่ งนีอ
้ ยูใ่ นจิตใจ
และเมือ ่ งก็จะต ้องมีภาวะของจิตใจทีเ่ ป็ นความชอบบ ้างความชงั บ ้าง
่ มีเรือ
หรือความยินดีบ ้างความยินร ้ายบ ้างอยูใ่ นเรือ
่ งเหล่านัน
้ บังเกิดขึน ั ซอน
้ สลับซบ ้
เหล่านีค
้ อ
ื ธรรมะ อันได ้แก่เรือ
่ งต่างทีบ
่ งั เกิดขึน
้ ในจิตใจ ภาวะต่างๆ
ทีบ
่ ังเกิดขึน
้ ในจิตใจ

ทาไมจึงต้องปฏิบ ัติในสติปฏ
ั ฐาน

ทุกคนก็ยอ
่ มมีกาย ย่อมมีเวทนา ย่อมมีจต
ิ ย่อมมีธรรมะในจิต
อยูด
่ ั่งนีด
้ ้วยกัน แต่วา่ โดยปรกตินัน
้ ทุกคนไม่ได ้ตัง้ จิตมากาหนดดูกาย ดูเวทนา
ิ ดูธรรมะในจิตของตน แต่วา่ สง่ จิตไปกาหนดในเรือ
ดูจต ่ งนัน
้ บ ้างในเรือ
่ งนีบ
้ ้าง
และก็เกิดยินดีบ ้างยินร ้ายบ ้างกันอยู่ เพราะฉะนัน
้ จึงได ้บังเกิดอกุศลกรรมต่างๆ
บังเกิดความทุกข์เดือดร ้อนต่างๆ
พระพุทธเจ ้าจึงได ้ตรัสสอนให ้มาตัง้ จิตกาหนดดูกายเวทนาจิตธรรมของตน
นีแ
่ หละคือสติปัฏฐาน

ต่อจากนีก ื ต่อไป
้ ็ขอให ้ตัง้ ใจฟั งสวดและตัง้ ใจทาความสงบสบ

You might also like