You are on page 1of 106

เมษายน 2557 รายงานสถานการณ์พลังงาน

จังหวัดชลบุรี
รหัสจังหวัด 20

โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงาน
ระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ
สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

สารบัญ
บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1-1
1.1 สภาพทางภูมิศาสตร์ .............................................................................................................. 1-1
1.1.1ที่ตั้งและขนาด ............................................................................................. 1-1
1.1.2 สภาพภูมิประเทศ................................................................................................. 1-2
1.1.3 สภาพภูมิอากาศ................................................................................................... 1-2
1.2 สังคม ..................................................................................................................................... 1-3
1.2.1 การปกครอง ............................................................................................. 1-3
1.2.2 ประชากร ............................................................................................. 1-4
1.2.3 แรงงาน ............................................................................................. 1-5
1.3 เศรษฐกิจ ............................................................................................................................... 1-8
1.3.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด .................................................................................... 1-8
1.3.2 ภาคเกษตรกรรม ................................................................................................1-11
1.3.3 ภาคอุตสาหกรรม ...............................................................................................1-14
1.3.4 ภาคการค้าและบริการ .......................................................................................1-15
1.4 ทรัพยากรธรรมชาติ .............................................................................................................1-17
1.4.1 ทรัพยากรปุาไม้ ..................................................................................................1-17
1.4.2 ทรัพยากรแร่ ...........................................................................................1-18
1.5 การคมนาคมขนส่ง ..............................................................................................................1-19
1.5.1 ทางรถยนต์ ...........................................................................................1-19
1.5.2 ทางรถไฟ ...........................................................................................1-22
1.5.3 ทางอากาศ ...........................................................................................1-22
1.5.5 ทางน้้า ..........................................................................................1-22
บทที่ 2 ศักยภาพพลังงาน ....................................................................................................................... 2-1
2.1 เชื้อเพลิงธรรมชาติ ................................................................................................................. 2-1
2.1.1 ถ่านหิน ............................................................................................. 2-1
2.1.2 น้้ามันดิบ ............................................................................................. 2-1
2.1.3 ก๊าซธรรมชาติ 2-1
2.2 พลังงานทดแทน .................................................................................................................... 2-1
2.2.1 ภาพรวม ............................................................................................. 2-1
2.2.2 ชีวมวลแข็ง ............................................................................................. 2-2

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ก


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

2.2.3 ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ ........................................................................................ 2-4


2.2.4 ขยะ ............................................................................................. 2-5
2.2.5 น้้า ............................................................................................. 2-6
2.2.6 ลม ............................................................................................. 2-6
2.2.7 แสงอาทิตย์ ............................................................................................. 2-7
บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน ................................................................................................... 3-1
3.1 ถ่านหิน .................................................................................................................................. 3-1
3.1.1 เหมืองถ่านหิน ............................................................................................. 3-1
3.2 น้้ามัน .................................................................................................................................... 3-1
3.2.1 บ่อน้้ามัน ............................................................................................. 3-1
3.2.2 โรงกลั่นน้้ามัน ............................................................................................. 3-1
3.2.3 ท่อส่งน้้ามัน ............................................................................................. 3-1
3.2.4 สถานีบริการน้้ามันเชื้อเพลิง (ข้อมูลปี 2555) ....................................................... 3-1
3.3 ก๊าซธรรมชาติ (ข้อมูลปี 2555)............................................................................................... 3-2
3.3.1 หลุมเจาะก๊าซธรรมชาติ........................................................................................ 3-2
3.3.2 โรงแยกก๊าซธรรมชาติ .......................................................................................... 3-2
3.3.3 ท่อก๊าซธรรมชาติ ................................................................................................. 3-2
3.3.4 สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ................................................................................... 3-2
3.4 ไฟฟูา ..................................................................................................................................... 3-9
3.4.1 โรงไฟฟูา ............................................................................................. 3-9
3.4.2 สถานีไฟฟูาแรงสูง ..............................................................................................3-11
3.4.3 สายส่งไฟฟูา ...........................................................................................3-14
บทที่ 4 การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย ........................................................................................................... 4-1
4.1 ภาพรวม ................................................................................................................................ 4-1
4.2 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคครัวเรือน ................................................................................. 4-1
4.3 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคอุตสาหกรรม ........................................................................... 4-2
4.4 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคการค้าและบริการ ................................................................... 4-4
4.5 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคขนส่ง....................................................................................... 4-1
บทที่ 5 คุณภาพและความปลอดภัย ........................................................................................................ 5-1
5.1 คุณภาพและความปลอดภัยของสถานประกอบกิจการพลังงาน .............................................. 5-1
5.2 อุบัติเหตุในสถานประกอบกิจการพลังงาน ............................................................................. 5-1
บทที่ 6 ดัชนีชี้วัดด้านพลังงาน ................................................................................................................ 6-1

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ข


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

6.1 มิติด้านสังคม ......................................................................................................................... 6-1


6.1.1 สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้ ............................................................................ 6-1
6.2 มิติด้านเศรษฐกิจ ................................................................................................................... 6-1
6.2.1 การใช้พลังงานต่อหัวประชากร ............................................................................ 6-1
6.2.2 การใช้พลังงานต่อหน่วยGPP................................................................................ 6-2
6.3 มิติด้านสิ่งแวดล้อม ................................................................................................................ 6-5
6.3.1 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อหัวประชากร ............................ 6-5
6.3.2 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อ GPP ........................................ 6-6
ภาคผนวก 6-1
สถานีบริการน้้ามันเชื้อเพลิง ............................................................................................................ ๑
สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ ........................................................................................................... ๒๕
สถานีบริการก๊าซ NGV ภายในจังหวัดชลบุรี ................................................................................. ๓๐

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ค


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

สารบัญภาพ
รูปที่ 1-1 แผนที่จังหวัดชลบุรี ............................................................................................................................... 1-1
รูปที่ 1-2 แผนภูมิแสดงจ้านวนประชากรในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2554................................ 1-4
รูปที่ 1-3 จ้านวนครัวเรือนในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2554 ..................................................... 1-5
รูปที่ 1-4 แผนภูมิแสดงสัดส่วนก้าลังแรงงานเพศชายในจังหวัดชลบุรี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง พ.ศ. 2555 ............ 1-7
รูปที่ 1-5 แผนภูมิแสดงสัดส่วนก้าลังแรงงานเพศหญิงในจังหวัดชลบุรี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง พ.ศ. 2555 ........... 1-8
รูปที่ 1-6 กราฟผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554 ........................................... 1-10
รูปที่ 1-7 แผนภูมิแสดงโครงสร้างภาพรวมทางเศรษฐกิจของจังหวัดชลบุรีในปี พ.ศ. 2554 ................................ 1-10
รูปที่ 1-8 แผนภูมิแสดงการแบ่งเนื้อที่ถือครองเพื่อการเกษตร ............................................................................ 1-12
รูปที่ 1-9 แผนภูมิแสดงเนื้อที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจของจังหวัดชลบุรี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2554 ........ 1-13
รูปที่ 1-10 กราฟแสดงจ้านวนการเลี้ยงสัตว์ในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2555 ......................... 1-14
รูปที่ 1-11 กราฟแสดงโรงงานอุตสาหกรรม ที่ จดทะเบียน และได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ ณ สิ้นปี ตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ.2555................................................................................................................................... 1-15
รูปที่ 1-12 กราฟแสดงโรงงานอุตสาหกรรม ที่จดทะเบียนใหม่ และได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
2551 ถึง พ.ศ.2555 ........................................................................................................................................... 1-15
รูปที่ 1-13 เนื้อที่การใช้ประโยชน์ในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554 ......................................... 1-18
รูปที่ 1-14 แสดงทางหลวงสายหลักที่เชื่อมกับอ้าเภอและจังหวัดต่างๆ............................................................... 1-20
รูปที่ 1-15 แผนภูมิแสดงจ้านวนยานยนต์ที่จดทะเบียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554 ................................ 1-21
รูปที่ 2-1 แผนภูมิแสดงสัดส่วนศักยภาพเชิงพลังงานทดแทนของจังหวัดชลบุรีในปี พ.ศ. 2555 ............................ 2-2
รูปที่ 2-2 ศักยภาพเชิงพลังงานจากชีวมวลแข็งแยกตามชนิดปี 2555 ................................................................... 2-3
รูปที่ 2-3 ศักยภาพเชิงพลังงานจากก๊าซชีวภาพ จ้าแนกรายปี .............................................................................. 2-4
รูปที่ 2-4 ศักยภาพเชิงพลังงานขยะ จ้าแนกรายปี ................................................................................................ 2-6
รูปที่ 2-5 ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ จ้าแนกรายปี .......................................................................................... 2-7
รูปที่ 3-1 ท่อก๊าซธรรมชาติจังหวัดชลบุรี .............................................................................................................. 3-2
รูปที่ 3-2 สถานีบริการก๊าซ NGV อ้าเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ....................................................................... 3-3
รูปที่ 3-3 สถานีบริการก๊าซ NGV อ้าเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ......................................................................... 3-4
รูปที่ 3-4 สถานีบริการก๊าซ NGV อ้าเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ............................................................................. 3-5
รูปที่ 3-5 สถานีบริการก๊าซ NGV อ้าเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี .......................................................................... 3-6
รูปที่ 3-6 สถานีบริการก๊าซ NGV อ้าเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ............................................................................ 3-7

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ง


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

สารบัญภาพ (ต่อ)
รูปที่ 3-7 สถานีบริการก๊าซ NGV อ้าเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี .............................................................................. 3-8
รูปที่ 3-8 สถานีไฟฟูาแรงสูง (กฟภ.) จังหวัดชลบุรี ............................................................................................. 3-13
รูปที่ 3-9 ระยะทางสายส่งไฟฟูาจังหวัดชลบุรี .................................................................................................... 3-14
รูปที่ 4-1 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของจังหวัดชลบุรี ในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe unit)
............................................................................................................................................................................ 4-1
รูปที่ 4-2 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคครัวเรือน ในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe unit) 4-1
รูปที่ 4-3 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคอุตสาหกรรม ในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe
unit) .................................................................................................................................................................... 4-3
รูปที่ 4-4 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคการค้าและบริ การ ในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe
unit) .................................................................................................................................................................... 4-5
รูปที่ 4-5 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคขนส่ง ในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe unit)...... 4-2
รูปที่ 6-1 จ้านวนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้ปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2554 ............................................................. 6-1
รูปที่ 6-2 สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้ปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2554 ............................................................ 6-1
รูปที่ 6-3 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆต่อหัวประชากร หน่วย ktoeต่อล้านคน ............................................. 6-1
รูปที่ 6-4 ปริมาณการใช้น้ามันส้าเร็จรูปต่อหัวประชากร (ลิตรต่อคน) ปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2554 ................ 6-2
รูปที่ 6-5 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆ ต่อหน่วย GPP (toe/ล้านบาท)......................................................... 6-3
รูปที่ 6-6 ปริมาณการใช้น้ามันส้าเร็จรูปต่อ GPP (ลิตรต่อล้านบาท) ปี พ.ศ. 2551 ถึงปี พ.ศ. 2554 .................... 6-5
รูปที่ 6-7 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อหัวประชากร (tCO2e/คน)......................................... 6-6
รูปที่ 6-8 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อ GPP (tCO2e/ล้านบาท) ........................................... 6-7

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ จ


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

สารบัญตาราง
ตารางที่ 1-1 สถิติข้อมูลด้านภูมิอากาศของจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555 .................................. 1-3
ตารางที่ 1-2 จ้านวนประชากรในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2554 ............................................... 1-4
ตารางที่ 1-3 สถานภาพแรงงานในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง พ.ศ. 2555 ............................................. 1-5
ตารางที่ 1-4 สถานภาพแรงงานแยกประเภทตามเพศของจังหวัดชลบุรี ............................................................... 1-7
ตารางที่ 1-5 แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 ถึง พ.ศ.2554 .................................... 1-8
ตารางที่ 1-6 เนื้อที่การเกษตรในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2554 .............................................. 1-11
ตารางที่ 1-7 เนื้อที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2554............................ 1-12
ตารางที่ 1-8 จ้านวนการเลี้ยงสัตว์ในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2555 ........................................ 1-14
ตารางที่ 1-9 จ้านวนสถานประกอบการและจ้านวนลูกจ้างของสถานประกอบการในจังหวัดชลบุรี .................... 1-17
ตารางที่ 1-10 เนื้อที่การใช้ประโยชน์ในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554 ................................... 1-17
ตารางที่ 1-11 ปริมาณผลผลิตแร่ธาตุในจังหวัดชลบุรี ......................................................................................... 1-18
ตารางที่ 1-12 จ้านวนยานยนต์ที่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติรถยนต์ ........................................................... 1-21
ตารางที่ 2-1 ภาพรวมของศักยภาพเชิงพลังงานของพลังงานทดแทนในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe) ... 2-1
ตารางที่ 2-2 ศักยภาพเชิงพลังงานจากชีวมวลแข็ง จ้าแนกรายปี.......................................................................... 2-2
ตารางที่ 2-3 ปริมาณมูลสัตว์ น้้าเสียอุตสาหกรรม และศักยภาพเชิงพลังงานจากก๊าซชีวภาพ จ้าแนกรายปี ......... 2-4
ตารางที่ 2-4 ปริมาณขยะชุมชน และศักยภาพเชิงพลังงานขยะ จ้าแนกรายปี ...................................................... 2-6
ตารางที่ 2-5 ความเข็มแสง และศักยภาพเชิงพลังงานแสงอาทิตย์ จ้าแนกรายปี .................................................. 2-7
ตารางที่ 3-1 โรงกลั่นน้้ามันภายในจังหวัดชลบุรี ................................................................................................... 3-1
ตารางที่ 3-2 โรงไฟฟูาชีวมวล .............................................................................................................................. 3-9
ตารางที่ 3-3 โรงไฟฟูาก๊าซชีวภาพ ....................................................................................................................... 3-9
ตารางที่ 3-4โรงไฟฟูาก๊าซธรรมชาติ ..................................................................................................................... 3-9
ตารางที่ 3-5 โรงไฟฟูาพลังงานขยะ .................................................................................................................... 3-10
ตารางที่ 3-6 โรงไฟฟูาพลังงานแสงอาทิตย์......................................................................................................... 3-10
ตารางที่ 3-7 สถานีไฟฟูาแรงสูงขนาด 500 kV ................................................................................................... 3-11
ตารางที่ 3-8 สถานีไฟฟูาแรงสูงขนาด 230 kV ................................................................................................... 3-11
ตารางที่ 3-9 โรงไฟฟูาแรงสูงขนาด 115 kV ....................................................................................................... 3-12
ตารางที่ 4-1 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของจังหวัดชลบุรีในหน่วยทางกายภาพ (Physical unit) ... 4-1
ตารางที่ 4-2 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของจังหวัดชลบุรีในหน่วยพันตัน เทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe
unit) .................................................................................................................................................................... 4-1
ตารางที่ 4-3 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของจังหวัดชลบุรีในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe
unit) ในปี พ.ศ. 2555 .......................................................................................................................................... 4-1
ตารางที่ 4-4 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคครัวเรือนในหน่วยทางกายภาพ (Physical unit) .. 4-1

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ฉ


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ 4-5 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคครัวเรือนในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ ( ktoe
unit ) ................................................................................................................................................................... 4-1
ตารางที่ 4-6 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคอุตสาหกรรมในหน่วยทางกายภาพ (Physical unit)
............................................................................................................................................................................ 4-2
ตารางที่ 4-7 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของอุตสาหกรรมในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe
unit) .................................................................................................................................................................... 4-2
ตารางที่ 4-8 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคการค้าและบริการในหน่วยทางกายภาพ (Physical
unit) .................................................................................................................................................................... 4-4
ตารางที่ 4-9 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคการค้าและบริการในหน่วยพันตันเทียบเท่า น้้ามันดิบ
(ktoe unit).......................................................................................................................................................... 4-4
ตารางที่ 4-10 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคขนส่งในหน่วยทางกายภาพ (Physical unit) .... 4-1
ตารางที่ 4-11 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคขนส่งในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe
unit) .................................................................................................................................................................... 4-1
ตารางที่ 6-1 สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้ปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2554 ....................................................... 6-1
ตารางที่ 6-2 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆ ต่อหัวประชากร (ktoeต่อล้านคน) ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2554 6-2
ตารางที่ 6-3 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆหน่วยกายภาพต่อคน ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2554 ..................... 6-1
ตารางที่ 6-4 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆต่อGPP (toe/ล้านบาท) ปีพ.ศ. 2551 ถึงปีพ.ศ. 2554 ................. 6-3
ตารางที่ 6-5 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆ ต่อ GPP หน่วยกายภาพต่อล้านบาท ปี พ.ศ. 2551 ถึงปี พ.ศ. 2554
............................................................................................................................................................................ 6-4
ตารางที่ 6-6 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อหัวประชากร (tCO2e/คน) ปี พ.ศ. 2551 ถึงปี พ.ศ.
2554 ................................................................................................................................................................... 6-6
ตารางที่ 6-7 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อGPP(tCO2e/ล้านบาท) ปีพ.ศ. 2551 ถึงปีพ.ศ. 2554
............................................................................................................................................................................ 6-7

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ช


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

บทที่ 1
ข้อมูลทั่วไป
1.1 สภาพทางภูมิศาสตร์
1.1.1 ที่ตั้งและขนาด
จังหวัดชลบุรีตั้งอยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย หรือริมฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทยประมาณ
เส้นรุ้งที่ 12 องศา 30 ลิ ปดา - 13 องศา 43 ลิ ปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 100 องศา 45 ลิ ปดา - 101 องศา 45
ลิปดาตะวันออก ระยะทางจากกรุงเทพมหานครตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 (ถนนสายบางนา - ตราด)
รวมระยะทางประมาณ 81 กิโลเมตร และมีเส้นทางหลวงพิเศษ หมายเลข 7 หรือ Motorway (กรุงเทพฯ - ชลบุรี)
ระยะทาง 79 กิโลเมตร ซึ่งใช้ระยะเวลาในการเดินทางประมาณ 45 นาที
มีพื้นที่ทั้งจังหวัด จ้านวน 2,726,875 ไร่ (4,363 ตารางกิโลเมตร) คิดเป็นร้อยละ 0.85 ของพื้นที่ประเทศ
ไทย (พื้นที่ของประเทศไทยประมาณ 320,696,875 ไร่ หรือ 513,115 ตารางกิโลเมตร)

(ที่มา : http:// www.orchidfoto.com)


รูปที่ 1-1 แผนที่จังหวัดชลบุรี
โดยจังหวัดชลบุรีมีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศใต้ จังหวัดระยอง

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ทิศตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดระยอง


ทิศตะวันตก ชายฝั่งทะเลตะวันออกของอ่าวไทย
1.1.2 สภาพภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดชลบุรี มีทั้งพื้นที่ที่เป็นภูเขา พื้นที่ราบลุ่มและที่ราบติดชายฝั่งทะเล รวมทั้ง
เกาะน้อยใหญ่อีกมากมาย ลักษณะภูมิประเทศแบ่งออกได้ ดังนี้
พื้นทีส่ ่วนที่เป็นภูเขา จะอยู่เกือบกึ่งกลางของจังหวัดเป็นแนวยาวจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือไปยัง
ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเขตที่มีความสูงจากระดับน้้าทะเลตั้งแต่ 200 เมตรขึ้นไป จะอยู่ด้านตะวันออกของจังหวัด ซึ่ง
อยู่ในเขตอ้าเภอบ่อทองและอ้าเภอหนองใหญ่ ในด้านที่ติดกับจังหวัดฉะเชิงเทราและจันทบุรี
ส่วนที่เป็นที่ราบลุ่ม จะอยู่ตอนบนของจังหวัดในเขตอ้าเภอพานทอง อ้าเภอพนัสนิคมและแนว
กึ่งกลางของด้านตะวันตก
ส่วนที่ติดกับทะเล อยู่ทางด้านทิศตะวันตกตั้งแต่อ้าเภอเมืองจนถึงอ้าเภอสัตหีบ ซึ่งมีความยาว
ประมาณ 160 กิโลเมตร ประกอบด้วยที่ราบตามชายฝั่งทะเลที่มีภูเขาเล็กๆ สลับอยู่บางตอน ชายฝั่งทะเลบางแห่งมี
ลักษณะเว้าแหว่งและเป็นที่ลุ่มต่้าน้้าทะเลท่วมถึง มีปุาชายเลนหรือโกงกางขึ้นตั้งแต่ในเขตอ้าเภอเมืองชลบุรี ถัดลง
ไปเป็นอ้าเภอศรีราชา อ้าเภอบางละมุงและอ้าเภอสัตหีบ มีหาดทรายสวยงามหลายแห่ง ซึ่งถูกพัฒนาเป็นแหล่ง
ท่องเที่ยวที่ส้าคัญของจังหวัด
ส่วนที่เป็นเกาะ อยู่ห่างจากชายฝั่งทะเลออกไปประมาณ 10 กิโลเมตร ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ที่เป็น
เกาะเล็กและเกาะใหญ่ประมาณ 46 เกาะ เกาะที่ส้าคัญที่สุดคือเกาะสีชังและมีฐานะเป็นอ้าเภอ นอกจากนี้ยังมีเกาะ
แสมสาร เกาะล้าน เกาะครก เกาะสากและเกาะไผ่ เป็นที่เหมาะแก่การท่องเที่ยวและพักผ่อน
1.1.3 สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดชลบุรี โดยทั่วไป ฤดูร้อนไม่ร้อนจัด ฤดูหนาวอากาศไม่แห้งแล้งมาก มีฝนตก
ชุก สลับกับแห้งแล้ง บริเวณใกล้ภูเขามีฝนตกมากกว่าบริเวณใกล้ชายทะเลลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมเมือง
ร้อนแบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือ
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม อยู่ในช่วงอิทธิพลของลมมรสุม ตะวันตก
เฉียงใต้ มีฝนตกหนักใน เดือนตุลาคม
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ อยู่ในช่วงอิทธิพลของลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีอากาศแห้งแล้ง และหนาวเย็น
ฤดูร้อน เริ่ มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม เป็นฤดูเปลี่ ยนมรสุ มครั้งแรกจะมี
อากาศร้อนจัดในเดือนเมษายน
ตารางที่ 1-1 แสดงสถิติข้อมูลด้านภูมิอากาศของจังหวัดชลบุรี ในช่วงระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2551 – 2555) โดย
ในปี พ.ศ. 2555 พบว่าในหนึ่งปีจะมีจ้านวนที่ฝนตกอยู่ที่ 115 วัน มีปริมาณน้้าฝนสูงสุดอยู่ที่ 87.6 ม.ม. ซึ่งใน
ระยะเวลา 5 ปี ที่ผ่านมาจะมีปริมาณน้้าฝนรวมเฉลี่ยเท่ากับ 1,438.88 ม.ม. ต่อปี โดยจะพบว่าปี พ.ศ. 2554 จะมี
ปริมาณน้้าฝนรวมมากที่สุด คือ 1,703.8 ม.ม. และมีปริมาณน้อยที่สุดในปี พ.ศ. 2555 ซึ่งมีปริมาณน้้าฝนรวมเท่ากับ
1,268.8 ม.ม. ในส่วนของข้อมูลสถิติด้านอุณหภูมิและความชื้นสัมพันธ์ในปี พ.ศ. 2555 อุณหภูมิต่้าสุดและสูงสุด
เฉลี่ยจะอยู่ที่ 20.1 องศาเซลเซียส และ 37.7 องศาเซลเซียส ตามล้าดับ และความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยต่้าสุดและสูงสุด
ตลอดปีจะอยู่ที่ร้อยละ 58 และร้อยละ 87 ตามล้าดับ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-2


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 1-1 สถิติข้อมูลด้านภูมิอากาศของจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555


พ. ศ.
รายการข้อมูล
2551 2552 2553 2554 2555
จานวนวันที่ฝนตก 122 127 131 137 115
ปริมาณน้าฝนรวม (ม.ม.) 1271 1574.4 1376.4 1703.8 1268.8
อุณหภูมิต่าสุด (เซลเซียส) 18.5 15.5 19 17.7 20.1
อุณหภูมิสูงสุด (เซลเซียส) 36.7 37.3 39 36.7 37.7
ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยต่าสุด (%) 57 57 58 58 58
ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยสูงสุด (%) 86 86 87 86 87
(ที่มา : www.nso.go.th)
1.2 สังคม
1.2.1 การปกครอง
จังหวัดชลบุรีแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 11 อ้าเภอ 92 ต้าบล และ 687 หมู่บ้าน โดยมีหน่วยงานบริหาร
ราชการตั้งอยู่ในพื้นที่ ดังนี้
1) หน่วยงานบริหารราชการส่วนกลาง จ้านวน 123 หน่วยงาน
2) หน่วยงานบริหารราชการส่วนภูมิภาค จ้านวน 33 หน่วยงาน
3) หน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น จ้านวน 99 แห่ง ประกอบด้วย
 องค์การบริหารส่วนจังหวัด จ้านวน 1 แห่ง
 เทศบาลนคร จ้านวน 1 แห่ง
 เทศบาลเมือง จ้านวน 10 แห่ง
 เทศบาลต้าบล จ้านวน 33 แห่ง
 องค์การบริหารส่วนต้าบล จ้านวน 53 แห่ง
 รูปแบบการปกครองพิเศษ จ้านวน 1 แห่ง ได้แก่ เมืองพัทยา
จากรูปที่ 1-1 จังหวัดชลบุรีประกอบด้วยอ้าเภอ 11 อ้าเภอ ได้แก่

อ้าเภอเมืองชลบุรี อ้าเภอศรีราชา อ้าเภอบางละมุง

อ้าเภอพนัสนิคม อ้าเภอเกาะจันทร์ อ้าเภอสัตหีบ

อ้าเภอพานทอง อ้าเภอบ่อทอง อ้าเภอเกาะสีชัง

อ้าเภอบ้านบึง อ้าเภอหนองใหญ่

โดยจังหวัดชลบุรีมีหน่วยงานด้านพลังงานจ้านวน 1 แห่ง ได้แก่ ส้านักงานพลังงานจังหวัดชลบุรี 17/20 หมู่


7 ต้าบลหนองข้างคอก อ้าเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โดยภารกิจของส้านักงานพลังงานจังหวัดชลบุรีมีดังนี้

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-3


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

1. ก้ากับดูแลและส่งเสริมการด้าเนินงานด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของกิจการน้้ามัน
เชื้อเพลิงและก๊าซ
2. ก้ากับดูแลคุณภาพ การค้า และการส้ารองน้้ามันเชื้อเพลิง
3. ส่งเสริมและพัฒนาพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน
4. ประสานและอ้านวยความสะดวกในการส้ารวจและผลิตเชื้อเพลิงธรรมชาติ
5. จัดท้า เสนอแนะ และประสานแผนพัฒนาพลังงานในระดับจังหวัด รวมทั้งประสานการพัฒนา
และประเมินผลการด้าเนินงานตามแผนดังกล่าว
6. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในงานด้านพลังงานระดับพื้นที่
7. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
1.2.2 ประชากร
ในปี พ.ศ. 2554 จังหวัดชลบุรีมีประชากรรวมทั้งสิ้น 1,338,656 คน แยกเป็นชาย 656,537 คน และหญิง
682,119 คน ดังแสดงในตารางที่ 1-2 โดยสามารถแสดงสถิติจ้านวนประชากรตามทะเบียนราษฎรของจังหวัด ชลบุรี
ภายใน 10 ปีดังแสดงในรูปที่ 1-2
ตารางที่ 1-2 จานวนประชากรในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2554
จังหวัดชลบุรี 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554
ชาย 566,350 578,534 565,181 577,878 597,030 607,029 621,057 632,356 646,266 656,537
หญิง 563,536 578,577 577,804 594,554 612,260 626,417 643,630 657,234 670,027 682,119
รวม 1,129,886 1,157,111 1,142,985 1,172,432 1,209,290 1,233,446 1,264,687 1,289,590 1,316,293 1,338,656
(ที่มา : www.nso.go.th)

682,119
800,000 670,027
657,234

656,537
646,266
643,630
632,356
626,417
621,057
612,260
607,029
597,030
594,554
578,577
578,534

577,878
577,804

700,000
566,350

565,181
563,536

600,000
500,000
จานวน (คน)

400,000
300,000
200,000
100,000
0
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554
ปี พ.ศ. ชาย หญิง

(ที่มา : www.nso.go.th)
รูปที่ 1-2 แผนภูมิแสดงจานวนประชากรในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2554

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-4


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

จากรูปที่ 1-2 พบว่าจังหวัดชลบุรีมีจ้านวนประชากรเพศหญิ งมากกว่าเพศชายเพียงเล็กน้อย และตั้งแต่ปี


พ.ศ. 2547 จึงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นของจ้านวนประชากรอย่างต่อเนื่อง และในรูปที่ 1-3 จะแสดงจ้านวนครัวเรือน
ภายในจังหวัดชลบุรี จะเห็นว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี สอดคล้องกับจ้านวนประชากรในจังหวัด

706.28

733.03
678.51
800

618.76

652
585.33
700

551.72
จานวนครัวเรือน (พันครัวเรือน)

516.83
486.61
600

462.67
445.08
500
400
300
200
100
0
2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554
ปี พ.ศ.

(ที่มา : http://www.dopa.go.th)
รูปที่ 1-3 จานวนครัวเรือนในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2554
1.2.3 แรงงาน
ก้าลังแรงงานปี 2555 ของจังหวัดชลบุรีมีจ้านวน 726,126 คน พบว่ามีงานท้า 723,499 คน ว่างงาน
2,493 คน คิดเป็นร้อยละ 0.34 ของก้าลังแรงงานทั้งหมดในจังหวัดชลบุรี โดยอัตราการว่างงานมีจ้านวนลดลงจากปี
2554 และมีจ้านวนผู้รอฤดูกาล 134 คน ดังแสดงในตารางที่ 1-3
โดยสถานภาพแรงงานของจังหวัดชลบุรีแบ่งออกเป็น 3 สถานภาพ คือ
1) ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป
2) ผู้อยู่ในก้าลังแรงงาน
ผู้มีงานท้า
ผู้ว่างงาน
ผู้รอฤดูกาล
3) ผู้อยู่นอกแรงงาน
ตารางที่ 1-3 สถานภาพแรงงานในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง พ.ศ. 2555
สถานภาพแรงงาน 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป 822,949 858,760 877,606 896,968 909,114 925,431 941,934 954,500 964,588 974,264
ผู้อยู่ในกาลังแรงงาน 591,299 605,787 627,814 648,469 665,204 679,909 683,544 690,523 707,244 726,126
ผู้มีงานทา 578,234 596,231 615,989 640,477 657,109 671,630 676,962 685,368 704,247 723,499
ผู้ว่างงาน 12,764 8,973 11,141 7,197 8,096 8,129 6,521 4,974 2,997 2,493
ผู้ที่รอฤดูกาล 302 584 685 795 - 150 61 181 - 134
ผู้อยู่นอกกาลังแรงงาน 231,651 252,973 249,792 248,499 243,910 245,522 258,391 263,978 257,344 248,138

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-5


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

(ที่มา : www.nso.go.th)
โดยสามารถแบ่งออกเป็นเพศชายและหญิงดังแสดงในตารางที่ 1-4, รูปที่ 1-4 และ 1-5 ตามล้าดับ ซึ่งจะ
พบว่าจ้านวนประชากรนั้นส่งผลกับจ้านวนก้าลังแรงงาน

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-6


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 1-4 สถานภาพแรงงานแยกประเภทตามเพศของจังหวัดชลบุรี


สถานภาพแรงงาน 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
ชาย
ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป 415,622 433,618 424,974 414,735 419,711 442,121 465,269 471,616 476,345 480,850
ผู้อยู่ในกาลังแรงงาน 332,221 346,867 342,641 334,586 344,124 367,741 377,351 378,841 388,520 393,106
ผู้มีงานทา 324,491 341,999 336,009 330,269 339,239 363,662 373,851 375,741 386,920 391,203
ผู้ว่างงาน 7,484 4,733 5,947 3,959 4,885 3,929 3,500 2,985 1,600 1,769
ผู้ที่รอฤดูกาล 245 135 685 358 - 150 - 116 - 134
ผู้อยู่นอกกาลังแรงงาน 83,402 86,751 82,333 80,149 75,587 74,381 87,919 92,775 87,824 87,744
หญิง
ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป 407,328 425,143 452,633 482,233 489,404 483,309 476,665 482,884 488,244 493,415
ผู้อยู่ในกาลังแรงงาน 259,079 258,920 285,173 313,883 321,081 312,168 306,193 311,682 318,724 333,020
ผู้มีงานทา 253,742 254,232 279,979 310,209 317,869 307,969 303,111 309,627 317,327 332,297
ผู้ว่างงาน 5,279 4,239 5,194 3,238 3,211 4,200 3,022 1,989 1,397 724
ผู้ที่รอฤดูกาล 57 449 - 437 - - 61 65 - -
ผู้อยู่นอกกาลังแรงงาน 148,249 166,223 167,459 168,350 168,323 171,142 170,472 171,203 169,519 160,394

(ที่มา : www.nso.go.th)
จากตารางที่ 1-4 ในปี 2555 พบว่าอัตราส่วนการมีงานท้าของแรงงานเพศหญิงสูงกว่าแรงงานเพศชาย
เพียงเล็กน้อย คือ เพศชายมีอัตราร้อยละ 99.52 ขณะที่เพศหญิงมีอัตราร้อยละ 99.78 และแรงงานเพศชายมี
จ้านวนผู้ว่างงานเพิ่มมากขึ้นจากปีก่อนหน้า ในขณะที่แรงงานเพศหญิงมีจ้านวนผู้ว่างงานลดลงจากปีก่อนหน้า

600,000
476,345
471,616

480,850
465,269
442,121
433,618

424,974

419,711
415,622

414,735

388,520

500,000
393,106
378,841
377,351
367,741
346,867

344,124
342,641

334,586
332,221

400,000
จานวน (คน)

300,000

200,000
92,775
87,919

87,824
86,751
83,402

82,333

80,149

87,744
75,587

74,381

100,000

-
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
ปี พ.ศ.
ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ผู้อยู่ในก้าลังแรงงาน ผู้อยู่นอกก้าลังแรงงาน

(ที่มา : www.nso.go.th)
รูปที่ 1-4 แผนภูมิแสดงสัดส่วนกาลังแรงงานเพศชายในจังหวัดชลบุรี
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง พ.ศ. 2555

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-7


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

600,000

489,404

488,244

493,415
483,309

482,884
482,233

476,665
452,633
425,143
407,328
500,000

333,020
321,081

318,724
313,883

312,168

311,682
306,193
400,000

285,173
259,079

258,920
จานวน (คน)

300,000

171,203
171,142

170,472

169,519
168,350

168,323
167,459
166,223

160,394
148,249
200,000

100,000

-
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
ปี พ.ศ.
ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ผู้อยู่ในก้าลังแรงงาน ผู้อยู่นอกก้าลังแรงงาน

(ที่มา : www.nso.go.th)
รูปที่ 1-5 แผนภูมิแสดงสัดส่วนกาลังแรงงานเพศหญิงในจังหวัดชลบุรี
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ถึง พ.ศ. 2555
1.3 เศรษฐกิจ
1.3.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ในปี พ.ศ. 2554 มีมูลค่า 635,605 ล้านบาท ได้แบ่งเป็นภาคการเกษตร
20,266 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.19 และนอกภาคการเกษตร 615,339 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.81 พบว่า
ผลิตภัณฑ์มวลรวมด้านอุตสาหกรรม มีมูลค่ามากที่สุดเป็นอันดับ 1 มีมูลค่า 370,322 ล้านบาท อันดับที่ 2 คือ การ
ขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน มีมูลค่า 66,587
ล้านบาท อันดับที่ 3 คือ การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าและการคมนาคม มีมูลค่า 38,046 ล้านบาท อันดับที่ 4 คือ
ด้านการไฟฟูา แก๊ส และการประปา มีมูลค่า 36,028 ล้านบาท และอันดับที่ 5 คือ ด้านบริการด้านอสังหาริมทรัพย์
การให้เช่าและบริการทางธุรกิจ มีมูลค่า 27,543 ล้านบาท ในด้านที่ไม่ได้กล่าวถึงได้แสดงรายละเอียดข้อมูลใน
ตารางที่ 1-5 ดังนี้
ตารางที่ 1-5 แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 ถึง พ.ศ.2554
รายการ 2550 2551 2552 2553 2554
ภาคเกษตร 12,464 14,545 14,354 16,862 20,266
เกษตรกรรม การล่าสัตว์และการป่าไม้ 11,427 13,604 13,421 15,880 19,258
การประมง 1,037 941 933 982 1,008
ภาคนอกเกษตร 556,254 590,838 564,671 620,734 615,339
การทาเหมืองแร่และเหมืองหิน 1,837 1,439 1,982 2,117 2,312

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-8


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

รายการ 2550 2551 2552 2553 2554


อุตสาหกรรม 353,425 370,516 352,051 386,743 370,322
การไฟฟ้า แก๊ส และการประปา 30,815 35,067 35,523 34,645 36,028
การก่อสร้าง 13,993 14,916 12,104 14,063 14,670
การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซม
ยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วน 57,326 58,541 54,955 64,846 66,587
บุคคลและของใช้ในครัวเรือน
โรงแรมและภัตตาคาร 17,311 17,949 16,171 18,047 20,019
การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าและการ
คมนาคม 34,015 37,492 37,609 41,422 38,046
ตัวกลางทางการเงิน 10,356 11,097 11,516 11,382 13,531
บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่า
และบริการทางธุรกิจ 18,346 21,055 19,990 22,669 27,543
การบริหารราชการและการป้องกัน
ประเทศ รวมทั้งการประกัน สังคมภาค 6,822 10,092 10,468 11,467 11,910
บังคับ
การศึกษา 5,197 5,373 5,629 5,576 6,204
การบริการด้านสุขภาพและสังคม 5,171 5,380 4,652 5,527 5,849
การให้บริการด้านชุมชน สังคมและ
บริการส่วนบุคคลอื่นๆ 1,444 1,668 1,834 2,008 2,181
ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 195 254 187 224 137
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 568,717 605,383 579,025 637,597 635,605

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-9


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

145,000

140,000

จานวนเงิน (ล้านบาท)
135,000

130,000

125,000

120,000

115,000
2550 2551 2552 2553 2554
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 130,510 124,373 129,715 133,397 142,822 ปี พ.ศ.

(ที่มา : http://www.nesdb.go.th)
รูปที่ 1-6 กราฟผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554
จากรูปที่ 1-6 พบว่าในปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) มีการเติบโตขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลต่ออัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัดชลบุรี
การบริการด้านสุขภาพและ การให้บริการด้านชุมชน สังคม ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล
การบริหารราชการและการ สังคม และบริการส่วนบุคคลอื่นๆ 0.02%
ปูองกันประเทศ รวมทั้งการ 0.92% 0.34% เกษตรกรรม การล่าสัตว์และการ
การศึกษา
ประกัน สังคมภาคบังคับ 0.98% ปุาไม้3.03%
1.87% การประมง
0.16%
บริการด้านอสังหาริมทรัพย์
การให้เช่าและบริการทาง การท้าเหมืองแร่และเหมือง
ตัวกลางทางการเงิน
ธุรกิจ 2.13% หิน
4.33% การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า 0.36%
และการคมนาคม โรงแรมและภัตตาคาร
5.99% 3.15%

การขายส่ง การขายปลีก
การซ่อมแซมยานยนต์ อุตสาหกรรม
จักรยานยนต์ ของใช้ส่วน 58.26%
บุคคลและของใช้ใน การก่อสร้าง
ครัวเรือน 2.31%
10.48%
การไฟฟูา แก๊ส และการ
ประปา 5.67%

(ที่มา : http://www.nesdb.go.th)
รูปที่ 1-7 แผนภูมิแสดงโครงสร้างภาพรวมทางเศรษฐกิจของจังหวัดชลบุรีในปี พ.ศ. 2554

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-10


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

โดยโครงสร้างภาพรวมทางเศรษฐกิจของจังหวัดชลบุรี ในปี พ.ศ. 2554 จะพบว่า สัดส่วนของอุตสาหกรรม


คิดเป็นร้อยละ 58 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดชลบุรี สัดส่วนของการ สัดส่วนด้านขายส่ง การขายปลีก การ
ซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 10 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
จังหวัดชลบุรี สัดส่วนการไฟฟูา แก๊ส และการประปา คิดเป็นร้อยละ 6 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดชลบุรี การ
ขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าและการคมนาคม คิดเป็นร้อยละ 6 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดชลบุรี ในสัดส่วนด้าน
ที่ไม่ได้กล่าวถึงสามารถดูเพิ่มเติมได้ทรี่ ูปที่ 1-7
1.3.2 ภาคเกษตรกรรม
- กสิกรรม (การเพาะปลูก)
ประเทศไทยพื้นที่ส่วนใหญ่นั้นเป็นพื้นที่การเกษตร เนื่องจากมีการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์เป็นหลัก โดย
จังหวัดชลบุรีมีเนื้อที่ถือครองที่ดินเพื่อการเกษตรและเนื้อที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจดังแสดงในตารางที่ 1-6 และรูปที่
1-8 ตามล้าดับ
ตารางที่ 1-6 เนื้อที่การเกษตรในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2554

เนื้อที่ (ไร่) 2549 2550 2551 2552 2553 2554


ที่อยู่อาศัย 39,273 38,839 38,494 39,552 39,758 39,797
ที่นา 106,418 106,277 106,283 106,298 105,627 105,329
พืชไร่ 565,834 565,180 566,258 559,544 561,391 561,738
ผลไม้และพืชยืนต้น 686,513 688,060 694,457 695,970 697,958 697,550
สวนผักและไม้ดอก 23,039 22,784 22,581 23,202 23,323 23,268
เลี้ยงสัตว์ 5,369 5,310 5,262 5,407 5,435 5,723
ที่รกร้างว่างเปล่า 7,506 7,423 7,357 7,477 7,399 7,344
ที่อื่นๆ 227,267 224,754 222,756 222,125 221,496 220,719
รวม 1,661,218 1,658,627 1,663,449 1,659,575 1,662,388 1,661,468
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
จากตารางที่ 1-6 ในปี พ.ศ.2554 จังหวัด ชลบุรี มีเนื้อที่การเกษตรทั้งหมด 1,661,468 ไร่ โดยมีเนื้อที่
ส้าหรับผลไม้และพืชยืนต้นมากเป็นอันดับ 1 คือ 697,550 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 41.98 ของเนื้อที่การเกษตรทั้งหมด
รองลงมาคือเนื้อที่การเกษตรส้าหรับ พืชไร่ คือ 561,738 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 33.81 ของเนื้อที่ที่การเกษตรทั้งหมด
ส่วนเนื้อทีส่ ้าหรับเลี้ยงสัตว์มีพื้นที่น้อยที่สุด คือ 5,723 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.34 ของเนื้อที่ที่การเกษตรทั้งหมด

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-11


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

1,800,000
1,600,000
ที่อยู่อาศัย
1,400,000
1,200,000 ที่นา
พืชไร่
เนื้อที่ (ไร่)

1,000,000
800,000 ผลไม้และพืชยืนต้น

600,000 สวนผักและไม้ดอก
400,000 เลี้ยงสัตว์
200,000 ที่รกร้างว่างเปล่า
- ที่อื่นๆ
2549 2550 2551 2552 2553 2554
ปี พ.ศ.

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
รูปที่ 1-8 แผนภูมิแสดงการแบ่งเนื้อที่ถือครองเพื่อการเกษตร
จากตารางที่ 1-6 และรูปที่ 1-8 จะพบว่าจังหวัดชลบุรีแบ่งเนื้อที่ถือครองเพื่อการเกษตรออกเป็น 8 ส่วน
ด้วยกัน และมีการน้าเนื้อที่มาใช้เพื่อปลูกพืชไร่ ผลไม้ และพืชยืนต้น และเนื้อที่ส้าหรับพื้นที่อื่นๆ เพิ่มสูงขึ้นอีกด้วย
อีกทั้งจังหวัด ชลบุ รี ได้มีการเพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ ได้แก่ ข้าว มันส้ าปะหลัง ข้าวโพด ยางพารา อ้อย
มะพร้าว และปาล์ม จะพบว่าในปี พ.ศ. 2554 มีการใช้เนื้อที่ส้าหรับเพราะปลูกมันส้าปะหลังมากที่สุดเป็นจ้านวน
ทั้งหมด 288,630 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 32.55 ของเนื้อที่เพาะปลูกทั้งหมด ส่วนเนื้อที่ที่น้อยที่สุดคือเนื้อที่ส้าหรับ
เพาะปลูกข้าวโพดเป็นจ้านวน 1,200 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.14 ของเนื้อที่เพาะปลูกทั้งหมดดังแสดงในตารางที่ 1-7
เมื่อพิจารณารูปที่ 1-9 พบว่าเนื้อที่ส้าหรับเพาะพืชเศรษฐกิจมีการขยายเพิ่มขึ้นสอดคล้องเนื้อที่ถือครองเพื่อ
การเกษตร
ตารางที่ 1-7 เนื้อทีเ่ พาะปลูกพืชเศรษฐกิจในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2554

เนื้อที่ (ไร่) 2549 2550 2551 2552 2553 2554


ข้าวนาปี 126,741 125,218 125,651 118,246 95,975 74,290
ข้าวนาปรัง 4,725 7,855 17,887 20,605 37,386 43,639
มันสาปะหลัง 297,342 303,180 310,288 317,891 295,761 288,630
ข้าวโพด 1,406 1,358 1,209 1,690 1,263 1,200
ยางพารา 174,980 176,911 185,757 189,043 193,188 196,130
อ้อย 109,240 122,289 115,153 82,304 90,628 131,934
มะพร้าว 83,694 82,129 81,024 79,467 69,615 64,423
ปาล์ม 75,305 77,495 81,848 81,962 84,051 86,614

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-12


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

เนื้อที่ (ไร่) 2549 2550 2551 2552 2553 2554


รวม 873,433 896,435 918,817 891,208 867,867 886,860
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

1,000,000
900,000
ปาล์ม
800,000
700,000 มะพร้าว
600,000 อ้อย
เนื้อที่ (ไร่)

500,000 ยางพารา
400,000 ข้าวโพด
300,000
มันส้าปะหลัง
200,000
ข้าวนาปรัง
100,000
0 ข้าวนาปี
2549 2550 2551 2552 2553 2554
ปี พ.ศ.

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
รูปที่ 1-9 แผนภูมิแสดงเนื้อที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจของจังหวัดชลบุรี
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2554
- การปศุสัตว์
จังหวัดชลบุรีมีการเลี้ยงสัตว์ประเภทต่างๆ ได้แก่ โคเนื้อ โคนม กระบือ สุกร ไก่ไข่ ไก่เนื้อ และเป็ด ซึ่ง
แนวโน้ ม ของจ้ า นวนสั ต ว์ ใ นแต่ ล ะปี จ ะไม่ แ น่ น อน ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ โรคระบาดในปี นั้ น ๆ โดยในปี พ.ศ. 2555
จังหวัดชลบุรีมีการเลี้ยงไก่เนื้อมากที่สุด คือ 26,315,134 ตัว คิดเป็น ร้อยละ 87.47 ของจ้านวนสัตว์ทั้งหมด
รองลงมามีการเลี้ยงไก่ไข่เท่ากับ 2,518,969 ตัว คิดเป็นร้อยละ 8.37 ของจ้านวนสัตว์ทั้งหมด ดังแสดงในตารางที่
1-8 และรูปที่ 1-10 ตามล้าดับ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-13


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 1-8 จานวนการเลี้ยงสัตว์ในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2555

จานวน
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
(ตัว)
โคเนื้อ 12,433 22,744 20,694 26,491 28,229 27,654 16,569
โคนม 2,785 2,857 3,989 3,879 1,982 1,709 2,975
กระบือ 5,408 12,349 7,903 10,998 10,444 9,469 5,665
สุกร 257,715 664,242 316,505 778,482 391,149 953,190 317,682
ไก่ไข่ 781,835 6,042,925 235,523 6,623,403 1,073,428 4,716,403 2,518,969
ไก่เนื้อ 3,510,678 17,946,992 1,392,453 13,832,791 4,025,739 20,186,494 26,315,134
เป็ด 984,998 2,613,292 620,856 2,576,485 634,767 908,722 908,958
รวม 5,555,852 27,305,401 2,597,923 23,852,529 6,165,738 26,803,641 30,085,952
(ที่มา : ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์)
30,000,000

25,000,000
โคเนื้อ
20,000,000
โคนม
จานวน (ตัว) 15,000,000 กระบือ
สุกร
10,000,000
ไก่ไข่
5,000,000 ไก่เนื้อ
เป็ด
0
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
ปี พ.ศ.

(ที่มา : ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงการเกษตรและสหกรณ์)


รูปที่ 1-10 กราฟแสดงจานวนการเลี้ยงสัตว์ในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2555
1.3.3 ภาคอุตสาหกรรม
ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดนครราชสีมาประกอบไปด้วย โรงงานอุตสาหกรรมที่จดทะเบียน และได้รับ
อนุญาตให้ประกอบกิจการ ณ สิ้นปี และโรงงานอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนใหม่ และได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ
ดังนี้

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-14


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

4,400 265,000
4,200 260,000
255,000

จานวนคนงาน (คน)
4,000 250,000

จานวนโรงงาน (แห่ง)
3,800 245,000
240,000
3,600 235,000
3,400 230,000
225,000
3,200 220,000
2551 2552 2553 2554 2555
จ้านวนโรงงาน (แห่ง) 3,567 3,715 3,853 4,030 4,205
จ้านวนคนงาน (คน) 233,947 240,709 248,569 252,586 259,065

(ที่มา : http://www. nso.go.th)


รูปที่ 1-11 กราฟแสดงโรงงานอุตสาหกรรม ที่จดทะเบียน และได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ
ณ สิ้นปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ.2555
จากรูปที่ 1-11 แสดงให้เห็นได้ว่าในปี พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555 จ้านวนโรงงานการอุตสาหกรรม ที่จด
ทะเบียน และได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ ณ สิ้นปี มีมากเพิ่มขึ้นเรื่อย และในส่วนจ้านวนคนงานมีจ้านวนเพิ่ม
มากขึ้นในทุกๆปีเช่นเดียวกัน
250 9,000
8,000
200 7,000

จานวนคนงาน (คน)
จานวนโรงงาน (แห่ง)

6,000
150 5,000
100 4,000
3,000
50 2,000
1,000
- -
2551 2552 2553 2554 2555
จ้านวนโรงงาน (แห่ง) 224 165 157 177 148
จ้านวนคนงาน (คน) 8,308 6,843 7,297 5,196 4,509

(ที่มา : http://www. nso.go.th)


รูปที่ 1-12 กราฟแสดงโรงงานอุตสาหกรรม ที่จดทะเบียนใหม่ และได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ.2555
จากรูปที่ 1-12 แสดงให้เห็นว่าจ้านวนโรงงานอุตสาหกรรม ที่จดทะเบียนใหม่ และได้รับอนุญาตให้ประกอบ
กิจการ มีจ้านวนมากในปี พ.ศ. 2551 และมีจ้านวนคนงานมากในปี พ.ศ. 2553
1.3.4 ภาคการค้าและบริการ
จังหวัดชลบุรีมีจ้านวนสถานประกอบการทางด้านการค้าและบริการทั้งหมด 7,217 แห่ง และมีลูกจ้าง
ทั้งหมด 156,700 คน

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-15


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

จากตารางที่ 1-9 จะเห็ น ว่ าสถานประกอบการด้ า นการขายส่ ง การขายปลี ก การซ่ อมแซมยานยนต์


จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือนนั้นมีจ้านวนสถานประกอบการมากที่สุด คือ 3,525 แห่ง คิด
เป็ น ร้ อ ยละ 48.84 ของจ้ า นวนสถานประกอบการทั้ ง หมด รองลงมา ได้ แ ก่ สถานประกอบการบริ ก ารด้ า น
อสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการทางธุรกิจ ซึ่งมีจ้านวน 1,153 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 15.98 ของจ้านวนสถาน
ประกอบการทั้งหมด โดยสถานประกอบการด้านลูกจ้างในครัวเรือน มีจ้านวนน้อยที่สุด คือ 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ
0.15 ของจ้านวนสถานประกอบการทั้งหมด
ส่วนจ้านวนลูกจ้างในสถานประกอบการนั้นเมื่อพิจารณาจากตารางที่ 1-9 จะพบว่า สถานประกอบการ
ด้านการขายส่ง การขายปลี ก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่ วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือนมี
จ้านวนลูกจ้างมากที่สุด คือ 48,640คน คิดเป็นร้อยละ 31.04 ของจ้านวนลูกจ้างทั้งหมด

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-16


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 1-9 จานวนสถานประกอบการและจานวนลูกจ้างของสถานประกอบการในจังหวัดชลบุรี


จานวน
ประเภทอุตสาหกรรม
แห่ง ลูกจ้าง
การไฟฟ้า แก๊ส และการประปา 50 723
การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วน
3,525 48,640
บุคคลและของใช้ในครัวเรือน
โรงแรมและภัตตาคาร 1,048 32,689
การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าและการคมนาคม 516 19,392
ตัวกลางทางการเงิน 329 2,927
บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการทางธุรกิจ 1,153 35,904
การศึกษา 30 318
การบริการด้านสุขภาพและสังคม 136 4,421
การให้บริการชุมชน สังคมและบริการส่วนบุคคลอื่นๆ 419 11,554
ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 11 132
รวม 7,217 15,6700
ที่มา : http://www.labour.go.th)
1.4 ทรัพยากรธรรมชาติ
1.4.1 ทรัพยากรปุาไม้
พบว่าเนื้อที่ในจังหวัดชลบุรี สามารถท้าการจ้าแนกออกได้เป็น 3 ส่วน คือ เนื้อที่การเกษตร เนื้อที่ปุาไม้และ
เนื้อที่นอกการเกษตร
ตารางที่ 1-10 เนื้อที่การใช้ประโยชน์ในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554

เนื้อที่ (ไร่) 2550 2551 2552 2553 2554


ป่าไม้ 281,831 300,386 300,386 300,386 300,386
การเกษตร 1,658,627 1,663,449 1,659,575 1,662,388 1,661,468
นอกการเกษตร 786,417 763,040 766,914 764,101 765,021
รวม 2,726,875 2,726,875 2,726,875 2,726,875 2,726,875
(ที่มา : ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์)
โดยสามารถวิเคราะห์ได้ว่าในปี พ.ศ. 2550-พ.ศ.2554 เนื้อที่ท้าการเกษตรและปุาไม้มีพื้นที่เพิ่มมากขึ้นจาก
ปี รวมไปถึงเนื้อทีน่ อกการเกษตรก็มีสัดส่วนที่ลดลงอย่างเห็นได้ชัดดังแสดงในรูปที่ 1-13

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-17


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

1,658,627

1,663,449

1,659,575

1,662,388

1,661,468
1,800,000
1,600,000
1,400,000
1,200,000

786,417

766,914

765,021
764,101
763,040
ปุาไม้
เนื้อที่ (ไร่)
1,000,000
800,000 การเกษตร

300,386

300,386

300,386

300,386
600,000

281,831
นอกการเกษตร
400,000
200,000
0
2550 2551 2552 2553 2554
ปี พ.ศ.

(ที่มา : ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์)


รูปที่ 1-13 เนื้อที่การใช้ประโยชน์ในจังหวัดชลบุรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554
1.4.2 ทรัพยากรแร่
จังหวัดชลบุรีมีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรณี โดยมีการผลิตแร่หินปูน และแกรนิต โดยในปี พ.ศ. 2549
ได้มีหินปูนปริมาณมากเป็นจ้านวน 11,010.30 พันตัน และในปี พ.ศ. 2550 ได้มีแกรนิตมากเป็นจ้านวน 2,302
พันตันได้ดังแสดงใน ตารางที่ 1-11
ตารางที่ 1-11 ปริมาณผลผลิตแร่ธาตุในจังหวัดชลบุรี

แร่ธาตุ (พันตัน) 2547 2548 2549 2550 2551


หินปูน 8,882.88 8,974.44 11,010.30 10,625.51 9,358.39
แกรนิต 2,055.94 2,059.60 1,812.78 2,403.04 2,302.28
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-18


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

1.5 การคมนาคมขนส่ง
1.5.1 ทางรถยนต์
การขนส่งทางรถยนต์เป็นระบบการคมนาคมส้าคัญที่สุดของจังหวัดชลบุรี และมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆใน
ปัจจุบัน โครงข่ายนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง โดยจังหวัดชลบุรีมีถนนที่สร้างเสร็จแล้วเป็นระยะทาง
745.497 กิโลเมตร เป็นทางหลวงแผ่นดินรวมระยะทาง 745.497 กิโลเมตร และระยะทางต่อ 2 ช่องจราจรคิดเป็น
ระยะทาง 1,191.408 กิโลเมตร การคมนาคมขนส่งทางรถยนต์ของจังหวัด ชลบุรีระหว่างชนบท หมู่บ้าน ต้าบล
อ้าเภอ และจังหวัดต่างๆ มีความสะดวก เพราะมีเส้นทางคมนาคมเชื่อมติดต่อกัน โดยระยะทางจากตัว จังหวัด
(อ้าเภอเมืองชลบุรี) ไปยังอ้าเภอต่างๆของจังหวัดชลบุรี ดังนี้

อ้าเภอบ้านบึง 14 กิโลเมตร อ้าเภอพานทอง 20 กิโลเมตร

อ้าเภอพนัสนิคม 22 กิโลเมตร อ้าเภอศรีราชา 24 กิโลเมตร

อ้าเภอเกาะสีชัง 39 กิโลเมตร อ้าเภอบางละมุง 48 กิโลเมตร

อ้าเภอหนองใหญ่ 51 กิโลเมตร อ้าเภอบ่อทอง 56 กิโลเมตร

อ้าเภอสัตหีบ 84 กิโลเมตร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-19


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

รูปที่ 1-14 แสดงทางหลวงสายหลักที่เชื่อมกับอาเภอและจังหวัดต่างๆ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-20


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

จากข้ อ มู ล ส้ า นั ก งานขนส่ ง จั ง หวั ด ชลบุ รี พ บว่ า ในปี 2554 มี จ้ า นวนยานยนต์ ที่ จ ดทะเบี ย นตาม
พระราชบัญญัติดังแสดงในตารางที่ 1-12 ซึ่งจะเห็นได้ว่ารถจักรยานยนต์มีการจดทะเบียนมากที่สุด รองลงมาคือ
รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน รถบรรทุก รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน รถโดยสาร
และรถขนาดเล็ก ตามล้าดับ และการจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติรถยนต์ของส้านักงานขนส่งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550
ถึง พ.ศ. 2554 มีแนวโน้มการจดทะเบียนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ยกเว้นรถขนาดเล็กและรถโดยสารที่มีแนวโน้มการ
จดทะเบียนรถยนต์ลดลง
ตารางที่ 1-12 จานวนยานยนต์ที่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติรถยนต์

จานวนยานยนต์ (คัน) 2550 2551 2552 2553 2554


รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน 97,745 106,785 113,626 124,468 138,229
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน 9,066 9,132 9,212 9,404 9,676
รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 132,293 138,322 140,589 145,508 152,272
รถจักรยานยนต์ 578,442 620,474 639,081 675,702 722,439
รถโดยสาร 3,104 3,248 3,283 3,507 4,177
รถบรรทุก 31,883 32,730 33,009 33,709 35,239
รถขนาดเล็ก 1,794 1,793 1,777 1,693 809
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
1,200,000

1,000,000
รถขนาดเล็ก
800,000
จานวนยานยนต์ (คัน)

รถบรรทุก
รถโดยสาร
600,000
รถจักรยานยนต์
400,000 รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน
200,000
รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน
0
2550 2551 2552 2553 2554
ปี พ.ศ.

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
รูปที่ 1-15 แผนภูมิแสดงจานวนยานยนต์ที่จดทะเบียนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-21


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

1.5.2 ทางรถไฟ
การขนส่ ง ทางรถไฟของจั ง หวั ด ชลบุ รี อ าศั ย เส้ น ทางรถไฟสายตะวั น ออก โดยเริ่ ม ต้ น จากกรุ ง เทพฯ -
ฉะเชิงเทรา-อ้าเภอศรีราชาเมื่อรัฐบาลมีโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก การรถไฟแห่งประเทศ
ไทยจึงด้าเนินการก่อสร้างทางรถไฟสายนี้ขึ้น เพื่อรองรับการขนส่งสินค้าจากท่าเรือน้้าลึกสัตหีบ ท่าเรือน้้าลึกนิคม
อุตสาหกรรมแหลมฉบัง และท่าเรือน้้าลึกนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
1.5.3 ทางอากาศ
จังหวัดชลบุรีมีสนามบิน 2 แห่งคือ สนามฝึกบินบางพระและสนามบินอู่ตะเภา โดยสนามฝึกบินบางพระ
ตั้งอยู่ในอ้าเภอศรีราชา เป็นสนามฝึกซ้อมส้าหรับเครื่องบินล้าเล็ก จึงไม่ได้เปิดให้บริการขนส่งทางอากาศเพื่อการ
พาณิชย์ทั่วไป
1.5.5 ทางน้้า
จังหวัดชลบุรีไม่มีการคมนาคมทางน้้า

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1-22


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

บทที่ 2
ศักยภาพพลังงาน

2.1 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
2.1.1 ถ่านหิน
ไม่มีถ่านหิน
2.1.2 น้้ามันดิบ
ไม่มีน้ามันดิบ
2.1.3 ก๊าซธรรมชาติ
ไม่มีก๊าซธรรมชาติ
2.2 พลังงานทดแทน
2.2.1 ภาพรวม
ตารางที่ 2-1 ภาพรวมของศักยภาพเชิงพลังงานของพลังงานทดแทนในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe)
ศักยภาพเชิงพลังงานในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe)
ปี พ.ศ. ก๊าซชีวภาพ ขยะ
ชีวมวลแข็ง แสงอาทิตย์
มูลสัตว์ น้้าเสียอุตสาหกรรม ขยะเผาไหม้ ขยะฝังกลบ
2551 490.51 3.74 11.71 127.38 0.01 5,777.90
2552 404.50 11.77 11.71 127.91 0.01 5,777.90
2553 421.54 6.08 14.12 128.82 0.01 5,783.52
2554 485.50 13.59 14.12 135.85 0.01 5,783.52
2555 454.08 10.69 14.12 128.62 0.01 5,745.17
เมื่อพิจารณาในปี พ.ศ. 2555 พบว่าจังหวัดชลบุรีมีศักยภาพพลังงานทดแทนมากที่สุด คือ แสงอาทิตย์มีค่า
5,745.17 ktoe คิดเป็นร้อยละ 90.44 รองลงมาคือชีวมวลแข็งมีค่า 454.08 ktoe คิดเป็นร้อยละ 7.15 ดังแสดงใน
รูปที่ 2-1

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ก๊าซชีวภาพ มูลสัตว์ ก๊าซชีวภาพ น้้าเสีย


ชีวมวลแข็ง 0.17% อุตสาหกรรม
7.15% 0.22%
ขยะ ขยะเผาไหม้
2.02%
ขยะ ขยะฝังกลบ
0.00%

แสงอาทิตย์
90.44%

รูปที่ 2-1 แผนภูมิแสดงสัดส่วนศักยภาพเชิงพลังงานทดแทนของจังหวัดชลบุรีในปี พ.ศ. 2555


2.2.2 ชีวมวลแข็ง
ประเทศไทยมีการท้าเกษตรกรรมกระจายอยู่ทั่ วทั้งประเทศ ซึ่งนอกจาผลผลิตทางการเกษตรที่ได้แล้วยังมี
ผลพลอยได้เกิดขึ้นคือเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรหรือชีวมวลแข็งจาการเกษตร ที่สามารถน้าไปใช้เป็นพลังงาน
ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลได้ ตารางที่ 2-2 แสดงค่าศักยภาพเชิงพลังงานจากชีวมวลแข็งจ้าแนกตามชนิด
และชิ้นส่วนที่สามารถน้ามาใช้ประโยชน์ทางด้านพลังงาน จากผลิตผลทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในจังหวัด และ
ศักยภาพเชิงพลังงานจากชีวมวลแข็งทั้งหมดภายในจังหวัด ระหว่างปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2555
ตารางที่ 2-2 ศักยภาพเชิงพลังงานจากชีวมวลแข็ง จาแนกรายปี
2551 2552 2553 2554 2555
ชนิดพลังงาน
พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe)
ยอดและใบ 98.58 58.25 67.62 110.14 87.22
อ้อยโรงงาน
กากอ้อย 68.27 40.34 46.83 76.28 60.41
แกลบ 4.55 4.36 5.18 5.18 5.28
ข้าว
ฟางข้าว 22.97 22.00 26.12 26.12 26.63
ล้าต้น ยอด ใบ 0.24 0.35 0.22 0.25 0.24
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ซังข้าวโพด 0.05 0.08 0.05 0.06 0.05
ล้าต้น 47.86 50.00 44.70 45.07 44.23
มันสาปะหลัง
เหง้า 37.20 38.86 34.74 35.03 34.37

ทางใบและก้าน 18.81 16.78 18.53 17.72 20.53


ปาล์มน้ามัน ใยปาล์ม 20.24 18.06 19.94 19.09 20.09
กะลา 21.75 19.40 21.42 20.48 23.73

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2-2


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

2551
2552 2553 2554 2555
ชนิดพลังงาน
พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe)
ทะลาย 19.15 17.09 18.86 18.04 20.90
กะลา 16.15 14.82 12.59 10.81 10.68
มะพร้าว เปลือก และกาบ 33.20 30.47 25.88 22.22 21.96
ก้านใบ จั่น ทะลาย 31.11 28.55 24.25 20.82 20.57
ถ่านไม้ 7.03 7.20 8.36 8.76 9.09
ไม้ฟืน 3.25 3.33 3.87 4.05 4.20
ยางพารา
เศษไม้ 1.05 1.07 1.25 1.31 1.36
ขี้เลื่อย 0.30 0.31 0.36 0.38 0.39
สับปะรด ตอซังสับปะรด 38.75 33.18 40.77 43.69 42.15
รวม 490.51 404.50 421.54 485.50 454.08
(ที่มา : รายงานพลังงานทดแทนประจ้าปี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน www.dede.go.th)

สับปะรด, 42.15
ยางพารา, 15.04

มะพร้าว, 53.21 อ้อยโรงงาน,


147.63

ปาล์มน้้ามัน,
85.25
มันส้าปะหลัง, ข้าว, 31.91
78.6
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
, 0.29

(ที่มา : รายงานพลังงานทดแทนประจ้าปี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน)


รูปที่ 2-2 ศักยภาพเชิงพลังงานจากชีวมวลแข็งแยกตามชนิดปี 2555
รูปที่ 2-2 แสดงศักยภาพพลังงานจากชีวมวลแข็งที่สามารถผลิตได้ในปี พ.ศ. 2555 ทั้งจังหวัดเป็นจ้านวน
454.08 พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ จะเห็นได้ว่าภายในจังหวัดมีศักยภาพเชิงพลังงานจากชีวมวลแข็ง จากการปลูก
อ้อยโรงงานมากที่สุด คือ 147.63 พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ รองลงมาคือชีวมวลแข็งจากการปาล์มน้้ามันและมัน
ส้าปะหลัง คือ 85.25 พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ และ 78.6 พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2-3


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

2.2.3 ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์
มูลสัตว์ และน้้าเสีย อุตสาหกรรมสามารถน้ามาผลิ ตเป็นก๊าซชีว ภาพที่น้าไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
ตารางที่ 2-2 แสดงรายละเอียดปริมาณมูลสัตว์ น้้าเสียอุตสาหกรรม ที่ผลิตขึ้นได้ และศักยภาพเชิงพลังงานจากก๊าซ
ชีวภาพที่ผลิตได้ในปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2555
ตารางที่ 2-3 ปริมาณมูลสัตว์ น้าเสียอุตสาหกรรม และศักยภาพเชิงพลังงานจากก๊าซชีวภาพ จาแนกรายปี
ปี พ.ศ. ปริมาณมูลสัตว์ / น้าเสียอุตสาหกรรม และศักยภาพเชิงพลังงานจากก๊าซชีวภาพ
มูลสัตว์1/ น้้าเสียอุตสาหกรรม2/
ปริมาณ ศักยภาพเชิงพลังงาน ปริมาณ ศักยภาพเชิงพลังงาน
(ตัน) (พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ) (ลูกบาศก์เมตร) (พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ)
2551 151,571 3.74 23,562,646 11.71
2552 458,429 11.77 23,562,646 11.71
2553 241,539 6.08 24,856,129 14.12
2554 520,860 13.59 24,856,129 14.12
2555 412,375 10.69 24,856,129 14.12
หมายเหตุ : 1/ ไม่รวมน้้าเสียจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ,2/ ข้อมูลอยู่ระหว่างการปรับปรุง
(ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และกรมปศุสัตว์)
14.12

14.12

14.12
16.00
13.59

14.00
11.77
11.71

11.71

10.69

12.00
พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ

10.00
8.00
6.08

มูลสัตว์
6.00
3.74

น้้าสียอุตสาหกรรม
4.00
2.00
0.00
2551 2552 2553 2554 2555
ปี พ.ศ.

รูปที่ 2-3 ศักยภาพเชิงพลังงานจากก๊าซชีวภาพ จาแนกรายปี


รูปที่ 2-3 แสดงศักยภาพพลังงานจากก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้จากมูลสัตว์ในปี พ.ศ.2551 ถึง ปี พ.ศ. 2555 จะ
เห็นได้ว่าจังหวัดชลบุรีมีแนวโน้มด้านศักยภาพเชิงพลังงานจากก๊าซชีวภาพของมูลสัตว์นั้นมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นและ
ลดลงในบางปี แต่ด้านศักยภาพเชิงพลังงานจากก๊าซชีวภาพของน้้าเสียนั้นมีปริมาณที่เพิ่มขึ้น ซึ่งในปี พ.ศ.2555 มี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2-4


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ศักยภาพเชิงพลัง งานจากก๊าซชีวภาพของมูลสัตว์คือ 10.69 พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ และในปี พ.ศ.2555 มี


ศักยภาพเชิงพลังงานจากก๊าซชีวภาพของน้้าเสียคือ 14.12 พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ
2.2.4 ขยะ
วิธีการก้าจัดขยะแบบเดิมที่เราใช้กันคือฝังกลบ ซึ่งปัจจุบันพื้นที่ฝังก็มีอยู่อย่างจ้ากัด และในชุมชนยังมีการ
ก้าจัดขยะด้วยการเผาในที่โล่งซึ่งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมาก ดังนั้นจึงมีการการประเมินศักยภาพเชิง
พลังงานขยะขึ้นเพื่อใช้ขยะเหล่านั้นเป็นเชื้อเพลิงความร้อน ซึ่งจะท้าให้สามารถได้ประโยชน์สองต่อคือได้ก้าจัดขยะ
และสามารถได้พลังงานกลับ มาใช้อีกด้ว ย ตารางที่ 2-4 แสดงรายละเอียดปริมาณขยะชุมชนและศักยภาพเชิง
พลังงานขยะ ในปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2555

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2-5


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 2-4 ปริมาณขยะชุมชน และศักยภาพเชิงพลังงานขยะ จาแนกรายปี

ศักยภาพเชิงพลังงาน2/
ปริมาณขยะชุมชน1/
ปี พ.ศ. ขยะเผาไหม้ ขยะฝังกลบ
(ตัน)
(พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ) (พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ)
2551 487,205 127.38 0.01
2552 344,560 127.91 0.01
2553 492,758 128.82 0.01
2554 519,667 135.85 0.01
2555 492,020 128.62 0.01
(ที่มา : รายงานพลังงานทดแทนประจ้าปี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน)

135.85
138.00
136.00
พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ

134.00
128.82

132.00
128.62
127.91
127.38

130.00
128.00 ขยะเผาไหม้
126.00
124.00
122.00
2551 2552 2553 2554 2555
ปี พ.ศ.

(ที่มา : รายงานพลังงานทดแทนประจ้าปี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน)


รูปที่ 2-4 ศักยภาพเชิงพลังงานขยะ จาแนกรายปี
รูปที่ 2-4 แสดงศักยภาพเชิงพลังงานขยะตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 ถึง ปี พ.ศ.2555 ที่ส่วนใหญ่จะได้มาจากการ
ขยะเผาไหม้ ซึ่งในปี 2555 มีศักยภาพเชิงพลังงานขยะ คือ 128.62 พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ
2.2.5 น้้า
ไม่มีศักยภาพพลังงานน้้า
2.2.6 ลม
ไม่มีศักยภาพพลังงานลม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2-6
สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

2.2.7 แสงอาทิตย์
ปัจจุบันเราใช้ประโยชน์จากพลังงานแสงอาทิตย์อยู่ 2 รูปแบบคือ การใช้ประโยชน์จากพลังงานความร้อนที่
ได้โดยตรง กับการน้าพลังงานแสงอาทิตย์เปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟูา ซึ่งในการผลิตพลังงานจากแสงอาทิตย์จะขึ้นอยู่
กับความเข้มแสงในแต่ละพื้นที่ และพื้นที่ในการติดตั้งอุปกรณ์ ตารางที่ 2-5 แสดงค่าความเข้มแสง และศักยภาพเชิง
พลังงานที่ผลิตได้เป็นรายปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2555
ตารางที่ 2-5 ความเข็มแสง และศักยภาพเชิงพลังงานแสงอาทิตย์ จาแนกรายปี
ปี พ.ศ. ความเข้มแสง และศักยภาพเชิงพลังงานแสงอาทิตย์
ความเข้มแสงเฉลี่ยรายปี ศักยภาพเชิงพลังงาน
(เมกะจูล/ตารางเมตร.วัน) (พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ)

2551 17.5 5,777.90


2552 17.5 5,777.90
2553 17.5 5,783.52
2554 17.5 5,783.52
2555 17.4 5,745.17
(ที่มา : รายงานพลังงานทดแทนประจ้าปี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน)
5,783.52

5,783.52
5,777.90

5,777.90

5,800.00
พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ

5,780.00
5,745.17

5,760.00
5,740.00 พลังงานแสงอาทิตย์

5,720.00
2551 2552 2553 2554 2555
ปี พ.ศ.

(ที่มา : รายงานพลังงานทดแทนประจ้าปี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน)


รูปที่ 2-5 ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ จาแนกรายปี
รูปที่ 2-5 ศักยภาพพลังงานจากแสงอาทิตย์ที่ได้จากค่าความเข้มแสงเฉลี่ยรายปี จะเห็นได้ว่าศักยภาพเชิง
พลังงานจากแสงอาทิตย์มีปริมาณที่สูงมาก เมื่อเทียบกับศักยภาพเชิงพลังงานทดแทนอื่นๆ ซึ่งในปี พ.ศ. 2555 มี
ศักยภาพเชิงพลังงานจากแสงอาทิตย์ถึง 5,745.17 พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2-7


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

บทที่ 3
โครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน

3.1 ถ่านหิน
3.1.1 เหมืองถ่านหิน
ไม่มีเหมืองถ่านหิน
3.2 น้้ามัน
3.2.1 บ่อน้้ามัน
ไม่มีบ่อน้้ามัน
3.2.2 โรงกลั่นน้้ามัน
โรงกลั่นน้้ามันภายในจังหวัดชลบุรี มีทั้งสิ้น 2 แห่ง ดังนี้
ตารางที่ 3-1 โรงกลั่นน้ามันภายในจังหวัดชลบุรี
กาลังการผลิต
ที่ ประเภทโรงกลั่น ชื่อโรงกลั่น ที่ตั้ง
(บาร์เรล/วัน)
1 คอมเพล็กซ์ ไทยออยล์(TOP) 275,000 อ้าเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
2 คอมเพล็กซ์ เอสโซ่(ESSO) 170,000 อ้าเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
3.2.3 ท่อส่งน้้ามัน
ไม่มีท่อน้้ามัน
3.2.4 สถานีบริการน้้ามันเชื้อเพลิง (ข้อมูลปี 2555)
สถานีบริการน้้ามันเชื้อเพลิงภายในจังหวัดชลบุรีมีทั้งสิ้น 313 แห่ง กระจายในอ้าเภอต่างๆ ดังนี้
- อ้าเภอเมืองชลบุรีจ้านวน 65 แห่ง
- กิ่งอ้าเภอเกาะจันทร์จ้านวน 8 แห่ง
- อ้าเภอบางละมุงจ้านวน 58 แห่ง
- อ้าเภอบ่อทองจ้านวน 11 แห่ง
- อ้าเภอบ้านบึงจ้านวน 29 แห่ง
- อ้าเภอพนัสนิคมจ้านวน 39 แห่ง
- อ้าเภอพานทองจ้านวน 19 แห่ง
- อ้าเภอศรีราชาจ้านวน 58 แห่ง
- อ้าเภอสัตหีบจ้านวน 20 แห่ง
- อ้าเภอหนองใหญ่จ้านวน 5 แห่ง
- อ้าเภอเกาะสีชังจ้านวน 1 แห่ง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-1
สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

3.3 ก๊าซธรรมชาติ (ข้อมูลปี 2555)


3.3.1 หลุมเจาะก๊าซธรรมชาติ
ไม่มีหลุมเจาะก๊าซธรรมชาติ
3.3.2 โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
ไม่มีโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
3.3.3 ท่อก๊าซธรรมชาติ
โครงการท่อก๊าซธรรมชาติเส้นที่ 4 (ระยอง-แก่งคอย) มีจุดเริ่มต้นโครงการ ณ เทศบาลเมืองมาบตาพุด
จังหวัดระยอง และพื้นที่โครงการแนวท่อพาดผ่านจังหวัดชลบุรี โดยพาดผ่านอ้าเภอหนองใหญ่, อ้าเภอศรีราชา,
อ้าเภอบ้านบึง, อ้าเภอพนัสนิคม และอ้าเภอเกาะจันทร์ เป็นระยะทาง 63.6 กิโลเมตร

(ที่มา : http://www.pttplc.com/th/)
รูปที่ 3-1 ท่อก๊าซธรรมชาติจังหวัดชลบุรี
3.3.4 สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ
3.3.4.1 สถานีบริการก๊าซ LPG ภายในจังหวัดชลบุรีมีทั้งสิ้น 48 แห่ง กระจายในอ้าเภอต่างๆ
ดังนี้
- อ้าเภอเมืองชลบุรีจ้านวน 8 แห่ง
- กิ่งอ้าเภอเกาะจันทร์จ้านวน 2 แห่ง
- อ้าเภอบางละมุงจ้านวน 13 แห่ง
- อ้าเภอพนัสนิคมจ้านวน 2 แห่ง

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-2


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

- อ้าเภอพานทองจ้านวน 1 แห่ง
- อ้าเภอศรีราชาจ้านวน 13 แห่ง
- อ้าเภอสัตหีบจ้านวน 7 แห่ง
- อ้าเภอบางเสร่จ้านวน 1 แห่ง
3.3.4.2 สถานีบริการก๊าซ NGV ภายในจังหวัดชลบุรีมีทั้งสิ้น 30 แห่ง กระจายในอ้าเภอต่างๆ
ดังนี้
- อ้าเภอเมืองชลบุรีจ้านวน 7 แห่ง
- อ้าเภอบางละมุงจ้านวน 6 แห่ง
- อ้าเภอบ้านบึงจ้านวน 4 แห่ง
- อ้าเภอพานทองจ้านวน 2 แห่ง
- อ้าเภอศรีราชาจ้านวน 10 แห่ง
- อ้าเภอสัตหีบจ้านวน 1 แห่ง

รูปที่ 3-2 สถานีบริการก๊าซ NGV อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-3


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

รูปที่ 3-3 สถานีบริการก๊าซ NGV อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-4


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

รูปที่ 3-4 สถานีบริการก๊าซ NGV อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-5


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

รูปที่ 3-5 สถานีบริการก๊าซ NGV อาเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-6


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

รูปที่ 3-6 สถานีบริการก๊าซ NGV อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-7


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

รูปที่ 3-7 สถานีบริการก๊าซ NGV อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-8


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

3.4 ไฟฟูา
3.4.1 โรงไฟฟูา
โรงไฟฟูาในจังหวัดชลบุรีมีจ้านวนทั้งสิ้น 18nแห่ง โดยแยกเป็นโรงไฟฟูาชีวมวลจ้านวน 3 แห่ง, โรงไฟฟูา
ชีวภาพจ้านวน 3 แห่ง, โรงไฟฟูาก๊าซธรรมชาติจ้านวน 8 แห่ง, โรงไฟฟูาพลังงานขยะจ้านวน 1 แห่ง และโรงไฟฟูา
พลังแสงอาทิตย์จ้านวน 3 แห่ง ก้าลังการผลิตรวม 1905.056 MW ดังนี้
ตารางที่ 3-2 โรงไฟฟ้าชีวมวล
ลาดับ บริษัท / บุคคล อาเภอ จังหวัด ปริมาณขายตามสัญญา (MW)
1 บจก.น้้าตาลนิวกว้างสุ้นหลี พนัสนิคม ชลบุรี 3
2 บจก.น้้าตาลระยอง บ่อทอง ชลบุรี 6
3 บจก.แอ็ดวานซ์ คลีน เพาเวอร์ บ้านบึง ชลบุรี 8
รวม 17

ตารางที่ 3-3 โรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ

ลาดับ บริษัท / บุคคล อาเภอ จังหวัด ปริมาณขายตามสัญญา (MW)


1 บจก.ชลเจริญ บ้านบึง ชลบุรี 2.00
2 บจก.พลังงานสุขสมบูรณ์ หนองใหญ่ ชลบุรี 2.40
3 บจก.อีสเทิร์นลาบอราทอรี่ (โครงการ 1) บ่อทอง ชลบุรี 0.15
รวม 4.55

ตารางที่ 3-4โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ

ลาดับ บริษัท / บุคคล อาเภอ จังหวัด ปริมาณขายตามสัญญา (MW)


1 บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ้ากัด ศรีราชา ชลบุรี 700
2 บริษัท โกลว์ ไอพีพี จ้ากัด ศรีราชา ชลบุรี 713
3 บริษัท ไซม์ ดาร์บี้ เพาเวอร์ จ้ากัด ศรีราชา ชลบุรี 60
4 บริษัท ไทยออยล์ เพาเวอร์ จ้ากัด ศรีราชา ชลบุรี 41
5 บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ้ากัด (มหาชน) ศรีราชา ชลบุรี 90
6 บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 1 จ้ากัด เมืองชลบุรี ชลบุรี 90
7 บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 2 จ้ากัด เมืองชลบุรี ชลบุรี 90
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-9
สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ลาดับ บริษัท / บุคคล อาเภอ จังหวัด ปริมาณขายตามสัญญา (MW)


8 บริษัท อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 3 จ้ากัด ชลบุรี 90
รวม 1874

ตารางที่ 3-5 โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ


ลาดับ บริษัท / บุคคล อาเภอ จังหวัด ปริมาณขายตามสัญญา (MW)
1 บจก.พีเจที เทคโนโลยี เมืองชลบุรี ชลบุรี 1.50
รวม 1.50

ตารางที่ 3-6 โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์

ลาดับ บริษัท / บุคคล อาเภอ จังหวัด ปริมาณขายตามสัญญา (MW)


1 คุณปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา ศรีราชา ชลบุรี 0.003
2 นส.นงพร กลิ่นสุวรรณ เมืองชลบุรี ชลบุรี 0.003
3 บจก.ซี ออน ท๊อป บางละมุง ชลบุรี 8.000
รวม 8.006

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-10


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

3.4.2 สถานีไฟฟูาแรงสูง
3.4.2.1 จังหวัดชลบุรีมีสถานีไฟฟูาแรงสูง (กฟผ.) จ้านวน 10 แห่ง
- สถานีไฟฟูาแรงสูงขนาด 500 kV มีจ้านวน 1 แห่ง
ตารางที่ 3-7 สถานีไฟฟ้าแรงสูงขนาด 500 kV
สถานี ระดับ หมายเลข
สถานที่ตั้ง
ไฟฟ้าแรงสูง แรงดัน โทรศัพท์
ปลวกแดง เลขที่ 279 หมู่ที่ 4 ต.ปลวกแดง อ.ปลวกแดง จ.ระยอง - 797 - 5011 ,
(PDG) 21140 12

- สถานีไฟฟูาแรงสูงขนาด 230 kV มีจ้านวน 2 แห่ง


ตารางที่ 3-8 สถานีไฟฟ้าแรงสูงขนาด 230 kV
สถานี ระดับ หมายเลข
สถานที่ตั้ง
ไฟฟ้าแรงสูง แรงดัน โทรศัพท์
บ่อวิน (BWN) เลขที่ 85/8 หมู่ที่ 2 ต.บ่อวิน อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20110 115 751 - 5011 ,
12
. อ่าวไผ่ (AP) เลขที่ 285 หมู่ที่ 6 ถ.สุขุมวิท ต.ทุ่งสุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 22 , 115 770 - 5011 ,
20110 12

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-11


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

- สถานีไฟฟูาแรงสูงขนาด 115 kV มีจ้านวน 7 แห่ง


ตารางที่ 3-9 โรงไฟฟ้าแรงสูงขนาด 115 kV
สถานี ระดับ หมายเลข
สถานที่ตั้ง
ไฟฟ้าแรงสูง แรงดัน โทรศัพท์
จอมเทียน เลขที่ 61/2 หมู่ที่ 1 ถ.สุขาภิบาลห้วยใหญ่ ต.ห้วยใหญ่ อ.บาง 22 756 - 5011 ,
(CTN) ละมุง จ.ชลบุรี 20150 ( ยกเลิก สฟ.จอมเทียน ( ชั่วคราว ) และ 12
น้า สฟ.จอมเทียน( ถาวร ) เข้าใช้งานแทน เมื่อ วันที่ 7 ส.ค. 38
)
ชลบุรี (CB) เลขที่ 24/5 หมู่ที่ 1 ต.หนองค่างคอก อ.เมือง จ.ชลบุรี 22 753 - 5011 ,
20000 12
บางละมุง (BL) เลขที่ 228 หมู่ที่ 6 ถ.พรประภา แยก ถ.สุขุมวิท ต.หนองปรือ 22, 115 755 – 5011
อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150
บ้านบึง (BBG) เลขที่ 154 หมู่ที่ 5 ต.หนองไผ่แก้ว อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี 20220 22, 115 754 – 5011
ศรีราชา (SC) เลขที่ 87 หมู่ที่ 2 ต.สุรศักดิ์ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20110 22 741 - 5011 ,
12
สัตหีบ 1 (SH1) เลขที่ 131/1 หมู่ที่ 6 ถ.สุขุมวิท ต.บางเสร่ อ.สัตหีบ 22 739 - 5011 ,
จ.ชลบุรี 20180 12
สัตหีบ 2 (SH2) เลขที่ 103/44 หมู่ที่ 6 ถ.สุขุมวิท ต.พลูตาหลวง อ.สัตหีบ 22 757 - 5011 ,
จ.ชลบุรี 20180 12

3.4.2.2 จังหวัดชลบุรีมีสถานีไฟฟูาแรงสูง (กฟภ.) จ้านวน 16 แห่ง ดังนี้


o สถานีไฟฟูาศรีราชา (SCA) ระดับแรงดัน 22 kV
o สถานีไฟฟูาบางละมุง (BLA) ระดับแรงดัน 22 kV
o สถานีไฟฟูาชลบุรี 1 (CBA) ระดับแรงดัน 22 kV
o สถานีไฟฟูาบ้านบึง (BBA) ระดับแรงดัน 22 kV
o สถานีไฟฟูาอ่าวไผ่ (APA) ระดับแรงดัน 22 kV
o สถานีไฟฟูาบ่อวิน 1 (BWI) ระดับแรงดัน 115 kV
o สถานีไฟฟูาบึง (BNG) ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาบ่อวิน 2 (BWN) ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาแหลมฉบัง (LCA) ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาพัทยาใต้ (PYT) ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาจอมเทียน (CHT) ระดับแรงดัน 22 kV
o สถานีไฟฟูาอ่างไผ่ 2 (APB) ระดับแรงดัน 115 kV
o สถานีไฟฟูาพนัสนิคม (PSA) ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาแหลมฉบัง 2 (LCB) ระดับแรงดัน 115-22 kV

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-12


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

o สถานีไฟฟูาบางแสน (BSN) ระดับแรงดัน 115-22 kV


o สถานีไฟฟูาชลบุรี 3 (CBC) ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาชลบุรี 2 (CBB) ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาเกาะโพธิ์ (KOP) ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาเขาไม้แก้ว (KMK) ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาพัทยาเหนือ ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาบ้านบึง 3 (BBC) ระดับแรงดัน 115-22 kV
o สถานีไฟฟูาชลบุรี 5 ระดับแรงดัน 115-22 kV

สถานีไฟฟูาแรงดัน 115-22 kV
สถานีไฟฟูาแรงดัน 115 kV

รูปที่ 3-8 สถานีไฟฟ้าแรงสูง (กฟภ.) จังหวัดชลบุรี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-13


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

3.4.3 สายส่งไฟฟูา

รูปที่ 3-9 ระยะทางสายส่งไฟฟ้าจังหวัดชลบุรี

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3-14


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

บทที่ 4
การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย

4.1 ภาพรวม
ตารางที่ 4-1 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของจังหวัดชลบุรีในหน่วยทางกายภาพ (Physical unit)
ปี พ.ศ.
ชนิดเชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน หน่วยทางกายภาพ
2551 2552 2553 2554 2555
ถ่านหิน ตัน(Tons) - - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว กิโลกรัม(kg) 164,998,174 165,129,000 206,181,000 224,190,000 257,212,649
ดีเซลหมุนช้า ลิตร(Litre) - 71,002,000.00 - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล ลิตร(Litre) 677,836,367 664,825,933 729,265,001 942,450,287 1,212,746,480
น้้ามันเตา ลิตร(Litre) 479,488,298 445,496,000 121,453,000 607,090,000 465,461,819
น้ามันสาเร็จรูป
เบนซิน 91 พันลิตร(103Litre) 106,520 55,378 116,169 163,842 215,891
เบนซิน 95 พันลิตร(103Litre) 14,100 5,822 3,193 2,012 2,443
แก๊สโซฮอล์ 91 พันลิตร(103Litre) 36,606 114,851 68,137 94,682 111,874
แก๊สโซฮอล์ 95 พันลิตร(103Litre) 103,781 133,397 133,321 127,580 134,742
ก๊าซธรรมชาติ ลูกบาศก์ฟุต(ft3) 17,044,599,609 5,255,114,000 5,953,927,000 5,103,000,000 -
ไฟฟ้า kwh 8,195,571,464 6,976,200,064 7,967,529,088 9,088,720,355 9,732,875,405
*ก๊าซธรรมชาติมีการใช้งานแต่ไม่มีการบันทึกข้อมูล
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

ต า ร า ง ที่ 4-2 แ ส ด ง ภ า พ ร ว ม ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น ขั้ น สุ ด ท้ า ย ข อ ง จั ง ห วั ด ช ล บุ รี ใ น ห น่ ว ย พั น ตั น


เทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe unit)
ปี พ.ศ.
ชนิดเชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน
2551 2552 2553 2554 2555
ถ่านหิน - - - - -
น้ามันสาเร็จรูป 1,431.30 1,488.16 1,233.35 1,947.14 2,144.14
ก๊าซธรรมชาติ 411.98 127.02 143.91 123.34 0.00
ไฟฟ้า 699.15 595.13 679.69 775.34 830.29
ผลรวมปริมาณเชื้อเพลิงต่อปี 2,542.43 2,210.30 2,056.95 2,845.82 2,974.43

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 4-3 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของจังหวัดชลบุรีในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ


(ktoe unit) ในปี พ.ศ. 2555

การค้าและ
ครัวเรือน อุตสาหกรรม ขนส่ง รวม
ชนิดเชื้อเพลิง(พลังงาน)/ภาคส่วน บริการ
พันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ (ktoe unit)
ถ่านหิน - - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 40.80 61.97 136.73 66.66 306.16
ดีเซลหมุนช้า - - - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล - - - 1,046.64 1,046.64
น้ามัน น้้ามันเตา - 25.25 1.57 - 26.82
สาเร็จรูป เบนซิน 91 - - - 411.85 411.85
เบนซิน 95 - - - 161.05 161.05
แก๊สโซฮอล์ 91 - - - 1.82 1.82
แก๊สโซฮอล์ 95 - - - 103.71 103.71
ก๊าซธรรมชาติ - - - - -
ไฟฟ้า 128.52 578.56 123.21 - 830.29

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

2500.00

2000.00

พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ
1500.00

1000.00
500.00
0.00
2551 2552 2553 2554 2555
น้้ามันส้าเร็จรูป 1431.30 1488.16 1233.35 1947.14 2144.14 ปี พ.ศ.
ก๊าซธรรมชาติ 411.98 127.02 143.91 123.34 0.00
ไฟฟูา 699.15 595.13 679.69 775.34 830.29

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
รูปที่ 4-1 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของจังหวัดชลบุรี
ในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe unit)

4.2 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคครัวเรือน
ตารางที่ 4-4 แสดงภาพรวมการใช้ พ ลั ง งานขั้ น สุ ด ท้ า ยของ ภาคครั ว เรื อ นในหน่ ว ยทางกายภาพ
(Physical unit)
ปี พ.ศ.
ชนิดเชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน หน่วยทางกายภาพ
2551 2552 2553 2554 2555
ถ่านหิน ตัน(Tons) - - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว กิโลกรัม(kg) 31,711,885 29,016,494 30,021,425 31,249,371 34,278,742
ดีเซลหมุนช้า ลิตร(Litre) - - - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล ลิตร(Litre) - - - - -
น้้ามันเตา ลิตร(Litre) - - - - -
น้ามันสาเร็จรูป
เบนซิน 91 พันลิตร(103Litre) - - - - -
เบนซิน 95 พันลิตร(103Litre) - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 91 พันลิตร(103Litre) - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 95 พันลิตร(103Litre) - - - - -
ก๊าซธรรมชาติ ลูกบาศก์ฟุต(ft3) - - - - -
ไฟฟ้า kwh 1,115,751,936 1,177,350,016 1,304,519,936 1,348,323,279 1,506,530,823
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 4-5 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคครัวเรือนในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ


( ktoe unit )
ปี พ.ศ.
ชนิดเชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน
2551 2552 2553 2554 2555
ถ่านหิน - - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 37.75 34.54 35.73 37.20 40.80
ดีเซลหมุนช้า - - - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล - - - - -
น้้ามันเตา - - - - -
น้ามันสาเร็จรูป
เบนซิน 91 - - - - -
เบนซิน 95 - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 91 - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 95 - - - - -
ก๊าซธรรมชาติ - - - - -
ไฟฟ้า 95.18 100.44 111.29 115.02 128.52
ผลรวมปริมาณเชื้อเพลิงต่อปี 132.93 134.98 147.02 152.22 169.32
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

150.00
พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ

100.00

50.00

0.00
2551 2552 2553 2554 2555 ปี พ.ศ.
ไฟฟูา 95.18 100.44 111.29 115.02 128.52
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 37.75 34.54 35.73 37.20 40.80

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
รูปที่ 4-2 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคครัวเรือน
ในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe unit)
จากรูปที่ 4-2 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคครัวเรือนในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ
ของจังหวัดชลบุรี ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2555 พบว่ามีสัดส่วนของการใช้พลังงานไฟฟูามากที่สุด โดยมีแนวโน้มการใช้ใน
ปี 2555 เพิ่มขึ้นจากปี 2554 คิดเป็น 13.5 ktoe หรือคิดเป็นร้อยละ 11.74 เชื้อเพลิงที่มีการใช้รองลงมา คือ ก๊าซ
ปิโตรเลียมเหลว

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

4.3 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคอุตสาหกรรม
ตารางที่ 4-6 แสดงภาพรวมการใช้ พ ลั ง งานขั้ น สุ ด ท้ า ยของภาคอุ ต สาหกรรมในหน่ ว ยทางกายภาพ
(Physical unit)
ปี พ.ศ.
ชนิดเชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน หน่วยทางกายภาพ
2551 2552 2553 2554 2555
ถ่านหิน ตัน(Tons) - - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว กิโลกรัม(kg) 43,342,371 37,904,000 63,270,000 59,903,000 52,062,250
ดีเซลหมุนช้า ลิตร(Litre) - 897,000 - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล ลิตร(Litre) - - - - -
น้้ามันเตา ลิตร(Litre) 63,830,251 43,639,000 18,655,000 34,684,000 26,790,105
น้ามันสาเร็จรูป
เบนซิน 91 พันลิตร(103Litre) - - - - -
เบนซิน 95 พันลิตร(103Litre) - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 91 พันลิตร(103Litre) - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 95 พันลิตร(103Litre) - - - - -
ก๊าซธรรมชาติ ลูกบาศก์ฟุต(ft3) 17,044,599,609 2,627,557,000 2,621,594,000 5,103,000,000 -
ไฟฟ้า kwh 5,947,697,544 5,244,550,016 6,061,900,160 6,398,249,627 6,782,036,958
*ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล มีข้อจ้ากัดในการประเมินตัวเลขการบริโภคที่แท้จริง จึงยังไม่สามารถน้ามาพิจารณาได้
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

ตารางที่ 4-7 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้น สุดท้า ยของอุตสาหกรรมในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ


(ktoe unit)
ปี พ.ศ.
ชนิดเชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน
2551 2552 2553 2554 2555
ถ่านหิน - - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 51.59 45.12 75.31 71.30 61.97
ดีเซลหมุนช้า - 0.77 - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล - - - - -
น้้ามันเตา 60.15 41.13 17.58 32.69 25.25
น้ามันสาเร็จรูป
เบนซิน 91 - - - - -
เบนซิน 95 - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 91 - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 95 - - - - -
ก๊าซธรรมชาติ 411.98 63.51 63.37 123.34 -
ไฟฟ้า 507.39 447.40 517.13 545.82 578.56
ผลรวมปริมาณเชื้อเพลิงต่อปี 1031.11 597.93 673.38 773.15 665.78
*ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล มีข้อจ้ากัดในการประเมินตัวเลขการบริโภคที่แท้จริง จึงยังไม่สามารถน้ามาพิจารณาได้
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4-2


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

700.00

600.00

พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ
500.00

400.00

300.00

200.00

100.00

0.00
2551 2552 2553 2554 2555
ปี พ.ศ.
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 51.59 45.12 75.31 71.30 61.97
ดีเซลหมุนช้า 0.00 0.77 0.00 0.00 0.00
น้้ามันเตา 60.15 41.13 17.58 32.69 25.25
ก๊าซธรรมชาติ 411.98 63.51 63.37 123.34 0.00
ไฟฟูา 507.39 447.40 517.13 545.82 578.56

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
รูปที่ 4-3 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคอุตสาหกรรม
ในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe unit)
จากรูปที่ 4-3 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคอุตสาหกรรมในหน่วยพันตันเทียบเท่า
น้้ามันดิบของจังหวัดชลบุรี ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2555 พบว่ามีสัดส่วนของการใช้พลังงานไฟฟูามากที่สุด โดยมี
แนวโน้มการใช้ในปี 2555 เพิ่มขึ้นจากปี 2554 คิดเป็น 32.74 ktoe หรือคิดเป็นร้อยละ 5.99 เชื้อเพลิงที่มีการใช้
รองลงมา คือ ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวและน้้ามันเตา ตามล้าดับ ส่วนเชื้อเพลิงดีเซลหมุนช้า มีการใช้
เกิดขึ้นแค่เพียงในปี 2552

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4-3


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

4.4 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคการค้าและบริการ
ตารางที่ 4-8 แสดงภาพรวมการใช้ พ ลั งงานขั้ น สุด ท้ า ยของภาคการค้ า และบริ ก ารในหน่ วยทางกายภาพ
(Physical unit)
ปี พ.ศ.
ชนิดเชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน หน่วยทางกายภาพ
2551 2552 2553 2554 2555
ถ่านหิน ตัน(Tons) - - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว กิโลกรัม(kg) 57,508,927 65,939,506 77,994,575 83,533,629 114,872,063
ดีเซลหมุนช้า ลิตร(Litre) - - - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล ลิตร(Litre) - - - - -
น้้ามันเตา ลิตร(Litre) 16,473,891 14,431,000 9,622,000 1,510,000 1,662,184
น้ามันสาเร็จรูป
เบนซิน 91 พันลิตร(103Litre) - - - - -
เบนซิน 95 พันลิตร(103Litre) - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 91 พันลิตร(103Litre) - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 95 พันลิตร(103Litre) - - - - -
ก๊าซธรรมชาติ ลูกบาศก์ฟุต(ft3) - - - - -
ไฟฟ้า kwh 1,132,121,984 554,300,032 601,108,992 1,342,147,449 1,444,307,624
*ก๊าซธรรมชาติมีการใช้งานแต่ไม่มีการบันทึกข้อมูล
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

ตารางที่ 4-9 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุ ดท้ายของภาคการค้าและบริการในหน่วยพัน ตันเทียบเท่า


น้ามันดิบ(ktoe unit)
ปี พ.ศ.
ชนิดเชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน
2551 2552 2553 2554 2555
ถ่านหิน - - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 68.45 78.49 92.84 99.43 136.73
ดีเซลหมุนช้า - - - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล - - - - -
น้้ามันเตา 15.53 13.60 9.07 1.42 1.57
น้ามันสาเร็จรูป
เบนซิน 91 - - - - -
เบนซิน 95 - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 91 - - - - -
แก๊สโซฮอล์ 95 - - - - -
ก๊าซธรรมชาติ - - - - -
ไฟฟ้า 96.58 47.29 51.28 114.50 123.21
ผลรวมปริมาณเชื้อเพลิงต่อปี 180.56 139.37 153.18 215.35 261.51

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4-4


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

150.00

พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ
100.00

50.00

0.00
2551 2552 2553 2554 2555 ปี พ.ศ.
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 68.45 78.49 92.84 99.43 136.73
น้้ามันเตา 15.53 13.60 9.07 1.42 1.57
ไฟฟูา 96.58 47.29 51.28 114.50 123.21

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
รูปที่ 4-4 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคการค้าและบริการ
ในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe unit)
จากรูปที่ 4-4 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคการค้าและบริการในหน่วยพันตันเทียบเท่า
น้้ามันดิบของจังหวัดชลบุรี ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2555 พบว่ามีสัดส่วนของการใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลวมากที่สุด โดยมี
แนวโน้มการใช้ในปี 2555 เพิ่มขึ้นจากปี 2554 คิดเป็น 37.30 ktoe หรือคิดเป็นร้อยละ 37.51 เชื้อเพลิง/พลังงานที่
มีการใช้รองลงมา คือ ไฟฟูาและน้้ามันเตา ตามล้าดับ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4-5


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

4.5 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคขนส่ง
ตารางที่ 4-10 แสดงภาพรวมการใช้ พ ลั ง งานขั้ น สุ ด ท้ า ยของภาคขนส่ ง ในหน่ ว ยทางกายภาพ
(Physical unit)
ปี พ.ศ.
ชนิดเชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน หน่วยทางกายภาพ
2551 2552 2553 2554 2555
ถ่านหิน ตัน(Tons) - - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว กิโลกรัม(kg) 32,434,990 32,269,000 34,895,000 49,504,000 55,999,594
ดีเซลหมุนช้า ลิตร(Litre) - 70,105,000 - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล ลิตร(Litre) 677,836,367 664,825,933 729,265,001 942,450,287 1,212,746,480
น้้ามันเตา ลิตร(Litre) 399,184,156 387,426,000 93,176,000 570,896,000 437,009,530
น้ามันสาเร็จรูป
เบนซิน 91 พันลิตร(103Litre) 106,520 55,378 116,169 163,842 215,891
เบนซิน 95 พันลิตร(103Litre) 14,100 5,822 3,193 2,012 2,443
แก๊สโซฮอล์ 91 พันลิตร(103Litre) 36,606 114,851 68,137 94,682.07 111,874
แก๊สโซฮอล์ 95 พันลิตร(103Litre) 103,781 133,397 133,321 127,580 134,742
ก๊าซธรรมชาติ ลูกบาศก์ฟุต(ft3) - 2,627,557,000 3,332,333,000 - -
ไฟฟ้า kwh - - - - -
*ก๊าซธรรมชาติมีการใช้งานแต่ไม่มีการบันทึกข้อมูล
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
ตารางที่ 4-11 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคขนส่งในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe
unit)
ปี พ.ศ.
ชนิดเชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน
2551 2552 2553 2554 2555
ถ่านหิน - - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 38.61 38.41 41.53 58.92 66.66
ดีเซลหมุนช้า - 60.50 - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล 585.00 573.77 629.38 813.37 1046.64
น้้ามันเตา 376.20 365.12 87.81 538.02 411.85
น้ามันสาเร็จรูป
เบนซิน 91 79.46 41.31 86.66 122.22 161.05
เบนซิน 95 10.52 4.34 2.38 1.50 1.82
แก๊สโซฮอล์ 91 28.17 88.40 52.44 72.87 86.11
แก๊สโซฮอล์ 95 79.88 102.67 102.61 98.19 103.71
ก๊าซธรรมชาติ - 63.51 80.54 - -
ไฟฟ้า - - - - -
ผลรวมปริมาณเชื้อเพลิงต่อปี 1197.83 1338.03 1083.37 1705.10 1877.82

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

1200.00

1000.00

800.00
พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ

600.00

400.00

200.00

0.00
2551 2552 2553 2554 2555 ปี พ.ศ.
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 38.61 38.41 41.53 58.92 66.66
ดีเซลหมุนช้า - 60.50 - - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล 585.00 573.77 629.38 813.37 1046.64
น้้ามันเตา 376.20 365.12 87.81 538.02 411.85
เบนซิน 91 79.46 41.31 86.66 122.22 161.05
เบนซิน 95 10.52 4.34 2.38 1.50 1.82
แก๊สโซฮอล์ 91 28.17 88.40 52.44 72.87 86.11
แก๊สโซฮอล์ 95 79.88 102.67 102.61 98.19 103.71
ก๊าซธรรมชาติ - 63.51 80.54 - -

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
รูปที่ 4-5 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายภาคขนส่ง
ในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe unit)
จากรูปที่ 4-5 แสดงภาพรวมการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของภาคขนส่งในหน่วยพันตันเทียบเท่าน้้ามันดิบของ
จังหวัดชลบุรี ตั้งแต่ปี 2551 ถึง 2555 พบว่ามีสัดส่วนของการใช้ดีเ ซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล มากที่สุด โดยมีแนวโน้ม
การใช้ในปี 2555 เพิ่มขึ้นจากปี 2554 คิดเป็น 233.27 ktoe หรือคิดเป็นร้อยละ 28.68 เชื้อเพลิงที่มีการใช้
รองลงมาในปี 2555 คือ น้้ามันเตา , เบนซิน 91, แก๊สโซฮอล์ 95, แก๊สโซฮอล์ 91, ก๊าซปิโตรเลียมเหลวและเบนซิน
95 ตามล้าดับ ส่วนเชื้อเพลิงดีเซลหมุนช้ามีการใช้เกิดขึ้นแค่เพียงปี 2552

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4-2


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

บทที่ 5
คุณภาพและความปลอดภัย

5.1 คุณภาพและความปลอดภัยของสถานประกอบกิจการพลังงาน
5.2 อุบตั ิเหตุในสถานประกอบกิจการพลังงาน

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 5-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

บทที่ 6
ดัชนีชี้วัดด้านพลังงาน

6.1 มิติด้านสังคม
6.1.1 สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้
สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้ หมายถึง ร้อยละจ้านวนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้ต่อจ้านวนครัวเรือนทั้งหมด
ในจังหวัด
สัดส่วนครัวเรือนในจังหวัด ชลบุรีที่ไม่มีไฟฟูาใช้ในปี พ.ศ. 2551 มีเท่ากับ 0.09% ของจ้านวนครัวเรือน
ทั้งหมดจังหวัดชลบุรี ในปีพ.ศ. 2552 สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้ ลดลงเหลือเพียง 0.45% ของจ้านวนครัวเรือน
ทั้งหมดในจังหวัดชลบุรี และในปีพ.ศ. 2553 สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้มี ลดลงเป็น 0.20% และเพิ่มขึ้นในปี
พ.ศ. 2554 เป็น 0.56% ของจ้านวนครัวเรือนทั้งหมดในจังหวัด ชลบุรี ดังแสดงในตารางที่ 6-1, รูปที่ 6-1 และรูปที่
6-2
ตารางที่ 6-1 สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2554
ปี จานวนประชากร(คน) จานวนครัวเรือน จานวนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้า สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ (%)
พ.ศ. 2551 1,264,687 652,001 591 0.09
พ.ศ. 2552 1,289,590 678,508 3,066 0.45
พ.ศ. 2553 1,316,293 706,277 1,380 0.20
พ.ศ. 2554 1,338,656 733,031 4,107 0.56
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 6-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

800,000
700,000
600,000
500,000
ครัวเรือน 400,000
300,000
200,000
100,000
0
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
จ้านวนครัวเรือน 652,001 678,508 706,277 733,031
จ้านวนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูา 591 3,066 1,380 4,107

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

รูปที่ 6-1 จานวนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2554

1.5

1.0
เปอร์เซ็น

0.5

0.0
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟูาใช้ (%) 0.09 0.45 0.20 0.56

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

รูปที่ 6-2 สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2554


6.2 มิติด้านเศรษฐกิจ
6.2.1 การใช้พลังงานต่อหัวประชากร
หน่วย “ตันเทียบเท่าน้้ามันดิบ” (ton of oil equivalent; toe) คือ หน่วยวัดปริมาณพลังงานโดยเทียบ
การใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงนั้นๆในปริมาณที่เท่ากันกับพลังงานที่ได้จากการเผาไหม้น้ามันดิบ 1 ตัน เช่น การใช้
ไฟฟูา 4 toe หมายถึง ปริมาณไฟฟูาที่ใช้มีค่าการให้พลังงานเท่ากับพลังงานที่ได้จากการเผาน้้ามันดิบไป 4 ตัน หรือ
การใช้ก๊าซธรรมชาติ 6 ktoe หมายถึง ปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ใช้มีค่าการให้พลังงานเท่ากับพลังงานที่ได้จากการเผา
น้้ามันดิบไป 6 กิโลตัน หรือ 6,000 ตันนั่นเอง
จังหวัดชลบุรีมีปริมาณการใช้พลัง งานในปีพ.ศ. 2554 เท่ากับ 2,125.88 ktoeต่อประชากรล้านคน โดย
จังหวัดชลบุรีไม่มีการใช้พลังงานจากถ่านหิน มีเพียงการใช้ก๊าซธรรมชาติ น้้ามันส้าเร็จรูปและไฟฟูา ซึ่งมีปริมาณการ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 6-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ใช้ก๊าซธรรมชาติในปีพ.ศ. 2554 เท่ากับ 92.14 ktoeต่อประชากรล้านคน ปริมาณการใช้น้ามันส้าเร็จรูป ในปีพ.ศ.


2554 เท่ากับ 1,454.55 ktoeต่อประชากรล้ านคน โดยส่ว นใหญ่จะใช้น้ามันส้ าเร็จรูปในรูปแบบดีเซลหมุนเร็ว
หรื อไบโอดี เซลมากถึ ง 704.03 ลิ ตรต่อคน และมีป ริมาณการใช้พลั งงานในรูปไฟฟูา เท่ากับ 579.19 ktoeต่ อ
ประชากรล้านคน หรือเท่ากับ 6,789.44 kwhต่อคน
สถิติการใช้พลังงานต่อหัวประชากรของจังหวัดชลบุรี ปีพ.ศ. 2551 ถึงปีพ.ศ. 2554 แสดงในตารางที่ 6-2
และรูปที่ 6-3 และรายละเอียดการใช้พลังงานต่อคนแสดงในตารางที่ 6-3 และรูปที่ 6-4

ตารางที่ 6-2 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆ ต่อหัวประชากร (ktoeต่อล้านคน) ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ.


2554

ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆต่อหัวประชากร(ktoe/ล้านคน)
ชนิดเชื้อเพลิง พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
1. ถ่านหิน - - - -
2. น้ามันสาเร็จรูป 1,131.74 1,153.98 936.99 1,454.55
3. ก๊าซธรรมชาติ 325.76 98.50 109.33 92.14
4. ไฟฟ้า 552.82 461.48 516.37 579.19
รวม 2,010.32 1,713.96 1,562.69 2,125.88
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 6-2


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

2,500

2,000
(ktoe/ล้านคน)
1,500

1,000

500

0
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
2. น้้ามันส้าเร็จรูป 1,131.74 1,153.98 936.99 1,454.55
3. ก๊าซธรรมชาติ 325.76 98.50 109.33 92.14
4. ไฟฟูา 552.82 461.48 516.37 579.19
รวม 2,010.32 1,713.96 1,562.69 2,125.88

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

รูปที่ 6-3 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆต่อหัวประชากร หน่วย ktoeต่อล้านคน

ตารางที่ 6-3 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆหน่วยกายภาพต่อคน ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2554


ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆต่อหัวประชากร
ชนิดเชื้อเพลิง หน่วยกายภาพ
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
1. ถ่านหิน ตัน/คน - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ลิตร/คน 241.60 237.13 290.07 310.14
ดีเซลหมุนช้า ลิตร/คน - 55.06 - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล ลิตร/คน 535.97 515.53 554.03 704.03
น้้ามันเตา ลิตร/คน 379.14 345.46 92.27 453.51
2. น้ามันสาเร็จรูป เบนซิน 91 ลิตร/คน 84.23 42.94 88.25 122.39
เบนซิน 95 ลิตร/คน 11.15 4.51 2.43 1.50
แก๊สโซฮอล์ 91 ลิตร/คน 28.94 89.06 51.76 70.73
แก๊สโซฮอล์ 95 ลิตร/คน 82.06 103.44 101.29 95.30
รวม ลิตร/คน 1,363.09 1,393.13 1,180.10 1,757.60
3. ก๊าซธรรมชาติ ลูกบาศก์ฟุต/คน 13,477.33 4,075.03 4,523.25 3,812.03
4. ไฟฟ้า kwh/คน 6,480.32 5,409.63 6,053.01 6,789.44
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 6-1


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

800
700
600
500
400
(ลิตร/คน)

300
200
100
0
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 241.60 237.13 290.07 310.14
ดีเซลหมุนช้า - 55.06 - -
ไบโอดีเซล 535.97 515.53 554.03 704.03
น้้ามันเตา 379.14 345.46 92.27 453.51
เบนซิน 91 84.23 42.94 88.25 122.39
เบนซิน 95 11.15 4.51 2.43 1.50
แก๊สโซฮอล์ 91 28.94 89.06 51.76 70.73
แก๊สโซฮอล์ 95 82.06 103.44 101.29 95.30

*ดีเซลหมุนช้าไม่มีการใช้งาน
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

รูปที่ 6-4 ปริมาณการใช้น้ามันสาเร็จรูปต่อหัวประชากร (ลิตรต่อคน) ปี พ.ศ. 2551 ถึง ปี พ.ศ. 2554


6.2.2 การใช้พลังงานต่อหน่วยGPP
“ผลิตภัณฑ์จังหวัด” (Gross Provincial Products; GPP) หมายถึง จ้านวนรายได้จากกิจกรรมการผลิต
ของจังหวัด โดยแสดงในหน่วย บาท
จังหวัดชลบุรีมีปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วย GPP ในปีพ.ศ. 2554 เท่ากับ 6.47toeต่อล้านบาท โดย
จังหวัดชลบุรีไม่มีการใช้พลังงานจากถ่านหิน มีเพียงการใช้ก๊าซธรรมชาติ น้้ามันส้าเร็จรูปและไฟฟูา ซึ่งมีปริมาณการ
ใช้ก๊าซธรรมชาติต่อหน่วย GPP ในปีพ.ศ. 2554 เท่ากับ 0.28 toeต่อล้านบาท มีปริมาณการใช้น้ามันส้าเร็จรูปต่อ
หน่วย GPP ในปีพ.ศ. 2554 เท่ากับ 4.43 toeต่อล้านบาท โดยส่วนใหญ่จะใช้น้ามันส้าเร็จรูปในรูปแบบดีเซลหมุน
เร็วหรือไบโอดีเซลมากถึง 2,142.76 ลิตรต่อล้านบาท และมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟูาต่อหน่วย GPP เท่ากับ
1.76 toeต่อล้านบาท หรือเท่ากับ 20,664.17 kwh/ล้านบาท
สถิติการใช้พลังงานต่อหัวหน่วยของ GPP ของจังหวัดชลบุรี ปี พ.ศ. 2551 ถึง พ.ศ. 2554 แสดงในตารางที่
6-4, ตารางที่ 6-5, รูปที่ 6-5 และรูปที่ 6-6

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 6-2


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 6-4 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆต่อGPP (toe/ล้านบาท) ปีพ.ศ. 2551 ถึงปีพ.ศ. 2554


ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆต่อGPP(toe/ล้านบาท)
ชนิดเชื้อเพลิง พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
1. ถ่านหิน - - - -
2. น้ามันสาเร็จรูป 2.96 3.30 2.68 4.43
3. ก๊าซธรรมชาติ 0.85 0.28 0.31 0.28
4. ไฟฟ้า 1.44 1.32 1.48 1.76
รวม 5.25 4.90 4.47 6.47
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

7
6
5
4
(toe/ล้านบาท)

3
2
1
0
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
2. น้้ามันส้าเร็จรูป 2.96 3.30 2.68 4.43
3. ก๊าซธรรมชาติ 0.85 0.28 0.31 0.28
4. ไฟฟูา 1.44 1.32 1.48 1.76
รวม 5.25 4.90 4.47 6.47

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

รูปที่ 6-5 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆ ต่อหน่วย GPP (toe/ล้านบาท)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 6-3


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 6-5 ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆ ต่อ GPP หน่วยกายภาพต่อล้านบาท ปี พ.ศ. 2551 ถึงปี พ.ศ.
2554
ปริมาณการใช้พลังงานชนิดต่างๆต่อ GPP
ชนิดเชื้อเพลิง หน่วยกายภาพ
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
1. ถ่านหิน ตัน/ล้านบาท - - - -
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ลิตร/ล้านบาท 631.30 677.71 829.16 943.93
ดีเซลหมุนช้า ลิตร/ล้านบาท - 157.36 - -
ดีเซลหมุนเร็ว/ไบโอดีเซล ลิตร/ล้านบาท 1,400.47 1,473.41 1,583.69 2,142.76
น้้ามันเตา ลิตร/ล้านบาท 990.66 987.32 263.75 1,380.28
2. น้ามันสาเร็จรูป เบนซิน 91 ลิตร/ล้านบาท 220.08 122.73 252.28 372.51
เบนซิน 95 ลิตร/ล้านบาท 29.13 12.90 6.93 4.57
แก๊สโซฮอล์ 91 ลิตร/ล้านบาท 75.63 254.54 147.97 215.27
แก๊สโซฮอล์ 95 ลิตร/ล้านบาท 214.42 295.64 289.52 290.07
รวม ลิตร/ล้านบาท 3,561.69 3,981.60 3,373.31 5,349.39
3. ก๊าซธรรมชาติ ลูกบาศก์ฟุต/ล้านบาท 35,215.61 11,646.52 12,929.72 11,602.21
4. ไฟฟ้า kwh/ล้านบาท 16,932.76 15,460.84 17,302.52 20,664.17
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 6-4


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

2,500

2,000

1,500
(ลิตร/ล้านบาท)

1,000

500

0
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว 631.30 677.71 829.16 943.93
ดีเซลหมุนช้า - 157.36 - -
ไบโอดีเซล 1,400.47 1,473.41 1,583.69 2,142.76
น้้ามันเตา 990.66 987.32 263.75 1,380.28
เบนซิน 91 220.08 122.73 252.28 372.51
เบนซิน 95 29.13 12.90 6.93 4.57
แก๊สโซฮอล์ 91 75.63 254.54 147.97 215.27
แก๊สโซฮอล์ 95 214.42 295.64 289.52 290.07

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

รูปที่ 6-6 ปริมาณการใช้น้ามันสาเร็จรูปต่อ GPP (ลิตรต่อล้านบาท) ปี พ.ศ. 2551 ถึงปี พ.ศ. 2554
6.3 มิติด้านสิ่งแวดล้อม
6.3.1 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อหัวประชากร
หน่วย “ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ” (ton carbon dioxide equivalent; tCO2e) คือ หน่วยบอก
ปริ ม าณการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกนั้ น ๆที่ ส่ ง ผลกระทบเที ย บเท่ า กั บ ผลกระทบที่ เ กิ ด จากการปล่ อ ยก๊ า ซ
คาร์บอนไดออกไซด์ 1 ตัน เช่น การปล่อยก๊าซไนตรัสออกไซด์(ก๊าซเรือนกระจกชนิดหนึ่ ง) 3 tCO2e หมายถึง ก๊าซ
ไนตรัสออกไซด์ถูกปล่อยออกมาในปริมาณที่ส่งผลกระทบเท่ากับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 3 ตัน
ในปีพ.ศ. 2554 จังหวัดชลบุรีมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานโดยเฉลี่ย 3.64 tCO2e/คน
โดยสถิติการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อหัวประชากรปีพ.ศ. 2551 ถึงปีพ.ศ. 2554 แสดงในตาราง
ที่ 6-6 และรูปที่ 6-7

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 6-5


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 6-6 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อหัวประชากร (tCO2e/คน) ปี พ.ศ. 2551 ถึงปี


พ.ศ. 2554
ปริมาณการปล่อยการ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงาน
ปี จานวนประชากร(คน)
เรือนกระจก (tCO2e) ต่อหัวประชากร (tCO2e/คน)
พ.ศ. 2551 1,264,687 4,843,240 3.83
พ.ศ. 2552 1,289,590 4,104,100 3.18
พ.ศ. 2553 1,316,293 4,457,830 3.39
พ.ศ. 2554 1,338,656 4,879,400 3.64
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

4.50
4.00
3.50
3.00
2.50
tCO2e/คน

2.00
1.50
1.00
0.50
0.00
พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้
3.83 3.18 3.39 3.64
พลังงานต่อหัวประชากร

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)

รูปที่ 6-7 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อหัวประชากร (tCO2e/คน)


6.3.2 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อ GPP
ในปีพ.ศ. 2554 จังหวัดชลบุรีมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อ GPP โดยเฉลี่ย 11.09
tCO2e/ล้านบาท โดยสถิติการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อ GPP ปี พ.ศ. 2551 ถึงปี พ.ศ. 2554
แสดงในตารางที่ 6-7 และรูปที่ 6-8

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 6-6


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ตารางที่ 6-7 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อ GPP(tCO2e/ล้านบาท) ปีพ.ศ. 2551 ถึงปีพ.ศ.


2554
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงาน
ปี พ.ศ. GPP (ล้านบาท) ปริมาณการปล่อยการเรือนกระจก (tCO2e)
ต่อ GPP (tCO2e/ล้านบาท)
พ.ศ. 2551 484,007 4,843,240 10.01
พ.ศ. 2552 451,217 4,104,100 9.10
พ.ศ. 2553 460,484 4,457,830 9.68
พ.ศ. 2554 439,830 4,879,400 11.09
(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th)
12
10
8
tCO2e/ล้านบาท

6
4
2
0
พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
2551 2552 2553 2554
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้
10.01 9.10 9.68 11.09
พลังงานต่อGPP

(ที่มา : http://www.thaienergydata.in.th และ www.nesdb.go.th)

รูปที่ 6-8 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานต่อ GPP (tCO2e/ล้านบาท)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 6-7


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ภาคผนวก

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

สถานีบริการน้้ามันเชื้อเพลิง
- อ้าเภอเมืองชลบุรีจ้านวน 65 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
บริษัท กัลยาปิโตรเลียม จากัด 109/26 3 สุขุมวิท คลองต้าหรุ เมืองชลบุรี 20000
บางนา -
บริษัท ซี 123 ซี.เค. จากัด 40/2 5 คลองต้าหรุ เมืองชลบุรี 20000
ตราด
บริษัท ภูบดินทร์ จากัด 700/1503 1 บางนา-ตราด คลองต้าหรุ เมืองชลบุรี 20000
บริษัท อมตะแก๊ส จากัด 79/2 2 - คลองต้าหรุ เมืองชลบุรี 20000
บริษัท อาร์ พี ที เทรดดิ้ง จากัด 700/400 6 - ดอนหัวฬ่อ เมืองชลบุรี 20000
สถานีบริการน้้ามันเพียว สาขา
บริษัท เพียวพลังงานไทย จากัด 700/400 6 - ดอนหัวฬ่อ เมืองชลบุรี 20000
อมตะนคร
บริษัท ทรัพย์ไพศาล ออยล์ จากัด 52/1 9 สุขประยูร นาปุา เมืองชลบุรี 20000
บริษัท ธ.ร่วมเจริญปิโตรเลียม จากัด 1/14 11 สุขประยูร นาปุา เมืองชลบุรี 20000
บริษัท บางกระแบง จากัด 50 5 - นาปุา เมืองชลบุรี 20000
บริษัท พนัสนิคม แอล.พี.จี. จากัด 52/5 9 สุรประยูร นาปุา เมืองชลบุรี 20000
บริษัท ฟิฟท์ รีเทล จากัด (สาขาชลบุรี พนัสนิคม) 1/4 11 - นาปุา เมืองชลบุรี 20000
บริษัท ไทย ซี - เซ็นเตอร์ จากัด (สาขาชลบุรี
30/6 10 - นาปุา เมืองชลบุรี 20000
ขาออก )
ห้างหุ้นส่วนจากัด ซือตระกูล ออยล์ 1/4 11 -- นาปุา เมืองชลบุรี 20000

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


ห้างหุ้นส่วนจากัด ราชาวดีแก๊สแอนด์ปิโตรเคมีคัลส์ 88 8 - นาปุา เมืองชลบุรี 20000
บริษัท กัลยาปิโตรเลียม จากัด 144 5 สุขุมวิท บางทราย เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจากัด รุ่งเรือง แก๊ส เซอร์วิส 193 6 สุขุมวิท บางทราย เมืองชลบุรี 20000
บางปลา
บริษัท เพลินพานิช จากัด 688/16-17 - สุขุมวิท เมืองชลบุรี 20000
สร้อย
ห้างหุ้นส่วนจ้ากัด ขนอมแสงดาว
ห้างหุ้นส่วนจากัด ขนอมแสงดาว 999 91/126 3 สุขุมวิท บานสวน เมืองชลบุรี 20000
999
บริษัท ชยาภิวัฒน์ จากัด 19/1 10 บายพาส บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
บริษัท ทรัพย์ไพศาลออยล์ จากัด 7/7 6 เศรษฐกิจ บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
บริษัท นาคะพงษ์ชลบุรี จากัด 351 4 สุขุมวิท บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
สายเลี่ยงเมือง
บริษัท บายพาสเซอร์วิส จากัด 73 10 บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
ชลบุรี
บริษัท ปิยะภาพ บริการ จากัด 1/21 6 เศรษฐกิจ บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
บริษัท ภัทรพงศ์ ปิโตรเลียม จากัด 6-37 2 ชลบุรีบายพาส บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
บริษัท สตาร์โฮลดิ้งส์ จากัด (สาขาซีเอ - บ้านสวน
29/3 4 สุขุมวิท บ้านสวน เมืองชลบุรี 10900
1)
บริษัท สุชาติการปิโตรเลียม จากัด 65/19 1 เลี่ยงเมือง บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
บริษัท เพลินพานิช จากัด 126/4 3 สุขุมวิท บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


บริษัท ไทย ซี - เซ็นเตอร์ จากัด (สาขาบายพาส
24/73 6 เลี่ยงเมือง บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
ชลบุรี )
สถานีบริการน้ามัน เชื้อเพลิงเพื่อสวัสดิการกรม
302 9 สุขุมวิท บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
ทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ฯ
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชลบุรีเนินเต็ง 66/6 6 - บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจากัด ดวงใหม่ 188/1 9 สุขุมวิท บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจากัด บวรกิจ 198/10 9 สุขุมวิท บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจากัด มาริสาพูนทรัพย์ 196/3 9 สุขุมวิท บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจากัด วิวัฒน์บริการ 477 5 ชลบุร-ี บ้านบึง บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000
กลุ่ม เกษตรกรทาประมงมะขามหย่ง 541/2 - วชิรปราการ มะขามหย่ง เมืองชลบุรี 20000
นาย พีรศักดิ์ พรมภักษร 45 1 - ส้านักบก เมืองชลบุรี 20000
หนองข้าง
บริษัท ทัศนา เอ็น จี วี จากัด 60/3 1 บายพาส เมืองชลบุรี 20000
คอก
บริษัท ชยาภิวัฒน์ จากัด 42 8 ชลบุร-ี บ้านบึง หนองรี เมืองชลบุรี 20000
บริษัท รัตนวารี คอร์ปอเรชั่น จากัด 23/17 8 - หนองรี เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจากัด ทองธารเซอร์วิส 63/20 7 ชลบุร-ี บ้านบึง หนองรี เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาสะออยล์ 63/20 7 ชลบุรีบ้านบึง หนองรี เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาสะออยล์ สาขา 1 20/27 9 ชลบุรีบ้านบึง หนองรี เมืองชลบุรี 20000

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๓


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


ห้างหุ้นส่วนจากัด ศรีเจริญออยล์ 63/14 7 ชลบุร-ี บ้านบึง หนองรี เมืองชลบุรี 20000
บริษัท ฟิฟท์ รีเทล จากัด 99/1 4 - หนองไม้แดง เมืองชลบุรี 10110
บริษัท ไทย ซี - เซ็นเตอร์ จากัด (สาขาเลี่ยงเมือง
98 4 - หนองไม้แดง เมืองชลบุรี 20000
ชลบุรี )
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชลบุรีสันติสุข 9/4 3 สายอ้อมเมือง หนองไม้แดง เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจ้ากัด ซี.อาร์.พี.
ห้างหุ้นส่วนจากัด ซี.อาร์.พี.ปิโตรเลียม 90/2 4 เลี่ยงเมือง หนองไม้แดง เมืองชลบุรี 20000
ปิโตรเลียม (สาขา 1)
ห้างหุ้นส่วนจากัด ซี.อาร์.พี.ปิโตรเลียม 102 4 เลี่ยงเมือง หนองไม้แดง เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจากัด ซือตระกูล ออยล์ 99/1 4 บายพาส หนองไม้แดง เมืองชลบุรี 20000
บริษัท นครชัยปราการเคมีภัณฑ์ จากัด 4/9 3 - ห้วยกะปิ เมืองชลบุรี 20000
บริษัท บัณณาสรณ์ จากัด 101 5 สุขุมวิท ห้วยกะปิ เมืองชลบุรี 20000
บริษัท บางจากกรีนเนท จากัด (สาขาบายพาส) 20/69 1 - ห้วยกะปิ เมืองชลบุรี 10260
บริษัท สตาร์โฮลดิ้งส์ จากัด (สาขาชลบุรี 6) 20/7 1 เลี่ยงเมือง ห้วยกะปิ เมืองชลบุรี 20000
บริษัท อนงค์ แอนด์ ซันเซอร์วิส จากัด 4/6 3 สุขุมวิท ห้วยกะปิ เมืองชลบุรี 20000
บริษัท ไทย ซี - เซ็นเตอร์ จากัด (สาขาบางแสน) 9/7 3 - ห้วยกะปิ เมืองชลบุรี 20000
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชลบุรีพรสุรางค์ 25/8 3 คีรีนคร ห้วยกะปิ เมืองชลบุรี 20000
อ่างศิลา-บาง
กลุ่ม เกษตรกรทาประมงอ่างศิลา 94 4 อ่างศิลา เมืองชลบุรี 20000
แสน

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๔


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


นาง สมจิตร คอปแลนด์ - 2 พระยาสัจจาด เสม็ด เมืองชลบุรี 20000
บริษัท ชลสินปิโตรเลียม จากัด 67/1 2 สุขุมวิท เสม็ด เมืองชลบุรี 20000
บริษัท บางจากกรีนเนท จากัด (สาขาชลบุรี 101) 53/2 4 สุขุมวิท เสม็ด เมืองชลบุรี 10260
สายอ่างศิลา
บริษัท พี.วี.ปิโตรเลียมออยล์ จากัด 41/9 3 เสม็ด เมืองชลบุรี 20000
บ้านเสม็ด
ห้างหุ้นส่วนจากัด วงศ์ทรายทอง 19/2 8 สุขุมวิท เสม็ด เมืองชลบุรี 20130
บริษัท บัณณาสรณ์ จากัด 112/4 11 สุขุมวิท แสนสุข เมืองชลบุรี 20130
บริษัท สตาร์โฮลดิ้งส์ จ้ากัด
บริษัท สตาร์โฮลดิ้งส์ จากัด (สาขาซีเอ - แสนสุข) 413 - สุขุมวิท แสนสุข เมืองชลบุรี 20130
(สาขาซีเอแสนสุข)
ห้างหุ้นส่วนจากัด ธิดามหานคร 1/2 8 สุขุมวิท แสนสุข เมืองชลบุรี 20130

- กิ่งอ้าเภอเกาะจันทร์จ้านวน 8 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
นาย ฉลอม มาลี ช. มาลีออยล์ 2007 79/2 3 - เกาะจันทร์ กิ่งอ้าเภอเกาะจันทร์ 20240
นาง ทิพวรรณ สุขขา 457 10 - ท่าบุญมี เกาะจันทร์ 20240
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชารินทร์ ปิโตรเลียม 502/3 4 331 ท่าบุญมี เกาะจันทร์ 20240
ห้างหุ้นส่วนจากัด พงษ์ชมพร 314/1 2 331 ท่าบุญมี เกาะจันทร์ 20240
ห้างหุ้นส่วนจากัด อาร์ แอนด์ เอส เพาว์เวอร์แก๊ส 601/8 4 - ท่าบุญมี เกาะจันทร์ 20240

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๕


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


ห้างหุ้นส่วนจากัด เจริญวัฒนะบริการ 511/4 5 331 ท่าบุญมี เกาะจันทร์ 20240
นาย ฉลอม มาลี กิตติชัย ออยล์ 79/2 3 - เกาะจันทร์ เกาะจันทร์ 20240
นาย ประวิทย์ วนัสบดี 445/2 3 สายเกษตร เกาะจันทร์ เกาะจันทร์ 20240

- อ้าเภอบางละมุงจ้านวน 58 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
นาง นวน กาเนิดดี 68/2 2 - ตะเคียนเตี้ย บางละมุง 20150
นางสาว อรุณรัตน์ โตจาด 189 3 โรงโปฺะ-เขาไม้แก้ว ตะเคียนเตี้ย บางละมุง 20150
นาย ไพฑูรย์ ยินดี 128/5 2 บ้านตะเคียนเตี้ย ตะเคียนเตี้ย บางละมุง 20150
บริษัท เอส ซี กรุ๊ป จากัด 40/25 4 - ตะเคียนเตี้ย บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด สิริรณชัย 113/59 2 - ตะเคียนเตี้ย บางละมุง 20150
นางสาว วาสนา ศิริรูป 184/21 6 - นาเกลือ บางละมุง 20150
บริษัท บางจากกรีนเนท จากัด สาขาพัทยาเหนือ 159/114 5 พัทยาเหนือ นาเกลือ บางละมุง 20150
บริษัท ปิโตรนาส มาร์เก็ตติ้ง (ประเทศไทย)
159/1 2 สุขุมวิท. นาเกลือ บางละมุง 20150
จากัด
บริษัท พรวีนัส จากัด 11/19 6 ถนนสุขุมวิท นาเกลือ บางละมุง 20260
บริษัท เทียนชัยปิโตรเคมีคัล จากัด 126/86 6 - นาเกลือ บางละมุง 20260

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๖


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


บริษัท เทียนชัยปิโตรเคมีคัล จากัด 126/86 6 สุขุมวิท นาเกลือ บางละมุง 20150
บริษัท เทียนชัยปิโตรเคมีคัล จากัด 126/86 6 - นาเกลือ บางละมุง 20150
บริษัท ไทย ซี - เซ็นเตอร์ จากัด (สาขา
141 6 สุขุมวิท นาเกลือ บางละมุง 20150
พัทยา )
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชาญพานิชพัทยา 279 4 สุขุมวิท นาเกลือ บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด พระราม 2 มาร์ท 193/4 2 สุขุมวิท นาเกลือ บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด ม.จงเจริญเซอร์วิส 285 4 สุขุมวิท นาเกลือ บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด ศรีทรายทอง 11/2 6 สุขุมวิท นาเกลือ บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด ศิริวิไล 219 6 สุขุมวิท นาเกลือ บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด เพิ่มทรัพย์ทวี แก๊ส
183/1 2 สุขุมวิท นาเกลือ บางละมุง 20150
เซอร์วิส
นาง กฤษณา รัตนสิน 30/13 8 ทุ่งกราด บางละมุง บางละมุง 20150
นาง ทิม ทองน้อย 1/13 2 - บางละมุง บางละมุง 20150
บริษัท บางจากกรีนเนท จากัด (สาขาบางละ
182/22 2 สุขุมวิท บางละมุง บางละมุง 10260
มุง)
บริษัท สตาร์โฮลดิ้งส์ จากัด (สาขาบางละ
245 5 สุขุมวิท บางละมุง บางละมุง 20150
มุง)
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชลศรีพลัง แก๊สปิโตรเลียม 63/4 4 สุขุมวิท บางละมุง บางละมุง 20150

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๗


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


ห้างหุ้นส่วนจากัด พรปิยภัทร (สาขา 2) 12/1 3 สุขุมวิท บางละมุง บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด เสรีค้าน้ามัน 11/1 8 สุขุมวิท บางละมุง บางละมุง 20150
บริษัท บัณณาสรณ์ จากัด 301/69 12 เทพประสิทธิ์ หนองปรือ บางละมุง 20260
บริษัท บัณณาสรณ์ จากัด 361/6 12 สุขุมวิท หนองปรือ บางละมุง 20260
บริษัท บางจากกรีนเนท จากัด (สาขาพัทยา
80/2 12 สุขุมวิท หนองปรือ บางละมุง 10260
ใต้)
บริษัท บุญสมทบ จากัด 75 2 ไชยพรวิถี หนองปรือ บางละมุง 20260
บริษัท พิเชษฐภากรณ์ เซอร์วิส จากัด 255/5 9 พัทยาสาย 2 หนองปรือ บางละมุง 20260
บริษัท สตาร์. เค. พี. เอ็น จากัด 151/4 11 สุขุมวิท หนองปรือ บางละมุง 20150
บริษัท ไทย ซี - เซ็นเตอร์ จากัด (สาขา
147/36 9 สุขุมวิท หนองปรือ บางละมุง 20260
พัทยาใต้ )
ห้างหุ้นส่วนจากัด กลกนก ค้าน้ามัน 10 5 บ้านเนินพลับหวาน หนองปรือ บางละมุง 20260
ห้างหุ้นส่วนจากัด จารุวรรณบริการ(1999) 144 9 สุขุมวิท หนองปรือ บางละมุง 20260
ห้างหุ้นส่วนจากัด ท้องฟ้าและบุตร 124/43 10 พัทยาใต้ หนองปรือ บางละมุง 20260
ห้างหุ้นส่วนจากัด น.พัฒนงามเซอร์วิส 25 7 พรประภานิมิตร หนองปรือ บางละมุง 20260
ห้างหุ้นส่วนจากัด พรปิยภัทร 78/49 9 พัทยาสาย 2 หนองปรือ บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด พูนประสบสิน คาร์คลีน 301/49 12 - หนองปรือ บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด วุฒิพร บริการ 183 13 - หนองปรือ บางละมุง 20260

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๘


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


นาง ยุพา ทองเมือง 99/1 3 วัดหนองเกตุใหญ่ หนองปลาไหล บางละมุง 20150
บริษัท สิทธาภรณ์ จากัด 41/9 7 สุขุมวิทสาย 36 หนองปลาไหล บางละมุง 20150
สหกรณ์ การเกษตรบางละมุง จากัด 61/1 8 สุขุมวิท หนองปลาไหล บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด กอบชัย-พัทยา 30/2 6 สาย 36 หนองปลาไหล บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด อรรถพร ออยล์ แอนด์
44 8 สายโรงไม้ขีด-สาย36 หนองปลาไหล บางละมุง 20150
เซอร์วิส
นาง วันดี เจริญคลัง 11/3 6 ห้วยใหญ่-จอมเทียน ห้วยใหญ่ บางละมุง 20260
นาง อภิสรา พุฒพึ่งทรัพย์ 34 7 - ห้วยใหญ่ บางละมุง 20150
นาย สมบัติ เม่นสุวรรณ์ 311/10 10 สาย331 ห้วยใหญ่ บางละมุง 20260
ห้างหุ้นส่วนจากัด ราชาวดีแก๊สแอนด์ปิโตร ห้างหุ้นส่วนจ้ากัด ราชาวดีแก๊ส
1 1 - เขาไม้แก้ว บางละมุง 20230
เคมีคัลส์ แอนด์ปิโตรเคมีคัลส์ (สาขา 1)
ห้างหุ้นส่วนจากัด เขาไม้แก้วบริการ 98 1 สาย331 เขาไม้แก้ว บางละมุง 20150
นาย ไพฑูรย์ ยินดี 91 3 ไชยพรวิถี โปุง บางละมุง 20150
บริษัท บางละมุงโป่งแก๊ส จากัด 2/33 7 - โปุง บางละมุง 20150
บริษัท ฟิฟท์ รีเทล จากัด (สาขาพัทยาเซอร์
66/2 2 หมายเลข36 โปุง บางละมุง 20150
กิต )
บริษัท เจริญเนตรออยล์ จากัด บริษัท เจริญเนตรออยล์ จ้ากัด 18/4 2 - โปุง บางละมุง 20150
บริษัท เต็กย้ง รุ่งเรือง จากัด 1/3 1 สาย 331 โปุง บางละมุง 20150

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๙


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


ห้างหุ้นส่วนจากัด จันทนาพร 13/3 1 สาย36 โปุง บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด ปฐวีการปิโตรเลียม 66/1 2 สาย36 โปุง บางละมุง 20150
ห้างหุ้นส่วนจากัด พัทยาศิริวัฒนา 70 7 ศรีราชา-ระยอง(สาย36) โปุง บางละมุง 20150

- อ้าเภอบ่อทองจ้านวน 11 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
บริษัท หนองบอนปิโตรเลียม จากัด 547 4 - ธาตุทอง บ่อทอง 20270
ห้างหุ้นส่วนจากัด ไทยชื่นชมปิโตรเลี่ยม 71 5 - ธาตุทอง บ่อทอง 20270
นาย ไพโรจน์ พนมรัสมี 163 1 - บ่อกวางทอง บ่อทอง 20270
บริษัท พนมรัสมีปิโตรเลียม จากัด 99 5 - บ่อกวางทอง บ่อทอง 20270
นาย นุกูล จันทร์กูล 251 2 - บ่อทอง บ่อทอง 20270
บริษัท ขวัญชัยปิโตรเลียม จากัด 444 1 - บ่อทอง บ่อทอง 20270
บริษัท ดาวบ่อทอง จากัด 321 1 - บ่อทอง บ่อทอง 20270
ห้างหุ้นส่วนจากัด บ่อทองปิโตรเลียม 5/7 1 ปรกฟูา-หนองใหญ่ บ่อทอง บ่อทอง 20270
ห้างหุ้นส่วนจากัด เทพภูธรอมพนม 99/74 1 - บ่อทอง บ่อทอง 20270
นาย ปิยะวัฒน์ ฮึงเสงี่ยมธนากร 19/2 4 - วัดสุวรรณ บ่อทอง 20270

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑๐


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

นาย ไพโรจน์ พนมรัสมี 25 6 ปรกฟูา-หนองใหญ่ วัดสุวรรณ บ่อทอง 20270

- อ้าเภอบ้านบึงจ้านวน 29 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
บริษัท ปิโตรเลียมไทย คอร์ปอเรชั่น จากัด 685 1 บ้านบึง-บ้านค่าย คลองกิ่ว บ้านบึง 20220
บริษัท ปิโตรเลียมไทย คอร์ปอเรชั่น จ้ากัด
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น จากัด 200/32 1 - คลองกิ่ว บ้านบึง 20220
(สาขาบ้านบึง 3)
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชนะใจ 50 7 -- คลองกิ่ว บ้านบึง 20220
ประชาราษฎร์
ห้างหุ้นส่วนจากัด นุโรจน์บริการ 200/32 1 คลองกิ่ว บ้านบึง 20220
รังสรรค์
ห้างหุ้นส่วนจากัด พนารัตน์ ปิโตรเลียม 317/9 1 บ้านบึง - บ้านค่าย คลองกิ่ว บ้านบึง 20220
ห้างหุ้นส่วนจากัด วรัทธยา บริการ 50 7 - คลองกิ่ว บ้านบึง 20220
บริษัท กิมฮ้งบ้านบึง ปิโตรเลียม จากัด 92/10 - วิฑูรย์ด้าริ บ้านบึง บ้านบึง 20170
บริษัท ตะวันออกปิโตรเลียม จากัด 144/2 - สายบ้านบึง-แกลง บ้านบึง บ้านบึง 20170
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น (บ้าน
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น จากัด 73/73 5 - บ้านบึง บ้านบึง 20170
บึง) จ้ากัด

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑๑


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


บริษัท เตี้ยงซิมและบุตร จากัด 613 - ชลบุร-ี บ้านบึง บ้านบึง บ้านบึง 20170
ห้างหุ้นส่วนจากัด กิตติปิโตรเลียม 175 - บ้านบึง-แกลง บ้านบึง บ้านบึง 20170
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชัยชนะบริการบ้านบึง 154 - ชลบุร-ี บ้านบึง บ้านบึง บ้านบึง 20170
ห้างหุ้นส่วนจากัด ธรรมสุธน 1/12 - บ้านบึง-แกลง บ้านบึง บ้านบึง 20170
บริษัท แกรนด์เซ็นทรัล ชลบุรี จากัด 105 5 ชลบุรี - บ้านบึง มาบไผ่ บ้านบึง 20170
ห้างหุ้นส่วนจากัด บางจากธวัชชัย 82/11 2 บ้านบึง-แกลง หนองชาก บ้านบึง 20170
ห้างหุ้นส่วนจากัด แสงอินทร์จันทร์ ทางหลวงหมายเลข
102/3 3 หนองซาก บ้านบึง 20170
บริการ 3133
หนองบอน
นาย ไพโรจน์ พนมรัสมี 45/1 5 - บ้านบึง 20270
แดง
ห้างหุ้นส่วนจากัด ถนอมพงษ์ แก๊ส ห้างหุ้นส่วนจ้ากัด ถนอมพงษ์ แก๊ส หนองบอน
38/3 5 - บ้านบึง 20170
เซอร์วิส เซอร์วิส แดง
บริษัท มหัคฆภัณฑ์ ปิโตรเลียม จากัด บริษัท มหัคฆภัณฑ์ ปิโตรเลียม จ้ากัด 116/1 5 - หนองอิรุณ บ้านบึง 20220
บริษัท สามสามหนึ่ง เอ็นจีวี จากัด 9/8 10 - หนองอิรุณ บ้านบึง 20220
บริษัท ทรัพย์ไพศาลออยล์ จากัด 12/20 2 บ้านบึง-แกลง หนองไผ่แก้ว บ้านบึง 20220
บริษัท บางจากกรีนเนท จากัด (สาขา ทางหลวงหมายเลข
10/25 2 หนองไผ่แก้ว บ้านบึง 20220
หนองปรือ) 331
บริษัท ปิโตรเลียมไทย คอร์ปอเรชั่น จ้ากัด
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น จากัด 345 2 บ้านบึง-แกลง หนองไผ่แก้ว บ้านบึง 20220
(สาขาบ้านบึง 2)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑๒


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


บริษัท เจ เอส เค แก๊ส จากัด 552/1 5 - หนองไผ่แก้ว บ้านบึง 20220
บริษัท เลิศวรกมลการปิโตรเลียม จากัด 81/9 5 บ้านบึง-แกลง หนองไผ่แก้ว บ้านบึง 20220
บริษัท เสริมวรรณ จากัด 951 2 สาย331 หนองไผ่แก้ว บ้านบึง 20220
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชลบุรีปฐมวงศ์ 545/9 1 บ้านบึง-แกลง หนองไผ่แก้ว บ้านบึง 20220
ห้างหุ้นส่วนจากัด ศิริวัฒนกรณ์ 12/14 2 บ้านบึง-แกลง หนองไผ่แก้ว บ้านบึง 20220
ห้างหุ้นส่วนจากัด ฮั่วเงี๊ยบบริการ 444/119 3 - หนองไผ่แก้ว บ้านบึง 20220

- อ้าเภอพนัสนิคมจ้านวน 39 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น จากัด 15/1 4 - กุฎโง้ง พนัสนิคม 20140
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชลบุรีเฉลิมสุขบริการ 57 1 สุขประยูร กุฎโง้ง พนัสนิคม 20140
บริษัท เพียวพลังงานไทย จากัด (สาขา อ.พนัส บริษัท เพียวพลังงานไทย จ้ากัด (สาขา อ.
57 1 สุขประยูร กุฏโง้ง พนัสนิคม 20140
นิคม 2) พนัสนิคม 2)
ห้างหุ้นส่วนจากัด ศิริพรชัย 15/1 4 สุขประยูร กุฏโง้ง พนัสนิคม 20140
ห้างหุ้นส่วนจากัด จันทร์กระจ่างฟาร์ม 46 5 - ทุ่งขวาง พนัสนิคม 20140
นาง เกษร ดีศรี 67 7 - ท่าข้าม พนัสนิคม 20140
นาย ประสิทธิ์ ศรีเจริญ 30 1 สุขประยูร ท่าข้าม พนัสนิคม 20140

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑๓


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


นาย สัญญา พรหมศิริ 51/2 2 - นามะตูม พนัสนิคม 20140
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น จ้ากัด
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น จากัด 80/6 5 สาย 331 นาวังหิน พนัสนิคม 20240
(สาขาพนัสนิคม)
บริษัท อรทัยปิโตรเลียม จากัด 80/6 5 - นาวังหิน พนัสนิคม 20240
บริษัท โตฮ้ง ปิโตรเลียม แอนด์ เทรดดิ้ง จากัด 11/5 9 - นาวังหิน พนัสนิคม 20140
ห้างหุ้นส่วนจากัด เอแอนด์บี รุ่งเรืองแก๊ส 44/4 4 - นาวังหิน พนัสนิคม 20240
นาง เนาวรัตน์ จักรานันท์ 1/6 9 - นาเริก พนัสนิคม 20240
นาย ศุภชัย ไตรรัตนพิพัฒน์ 51 3 - นาเริก พนัสนิคม 20140
บริษัท เต็กย้ง ปิโตรเลียม จากัด บริษัท เต็กย้ง ปิโตรเลียม จ้ากัด 51 3 พนัส-เกาะโพธิ์ นาเริก พนัสนิคม 20140
ห้างหุ้นส่วนจากัด นาเริกปิโตรเลียม 28 13 - นาเริก พนัสนิคม 20240
บริษัท ปิโตรเลียมไทย คอร์ปอเรชั่น จากัด สาขา พนัสนิคม 2 66/4 1 - บ้านช้าง พนัสนิคม 20140
พนัสนิคม-หัว
บริษัท พนัสทวีพรออยล์ จากัด 59 1 บ้านช้าง พนัสนิคม 20140
ถนน
พนัสนิคม-หัว
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชลดาปิโตรเลียม 66/4 1 บ้านช้าง พนัสนิคม 20140
ถนน
ห้างหุ้นส่วนจากัด ถาวรกิจเจริญลาภ 28 4 - บ้านช้าง พนัสนิคม 20140
บริษัท บางจากกรีนเนท จากัด สาขาพนัสนิคม 2 30 2 สุขประยูร บ้านเชิด พนัสนิคม 20140
ห้างหุ้นส่วนจากัด ถนอมพงษ์ แก๊ส ปิโตรเลียม 72/1 7 - บ้านเชิด พนัสนิคม 20140

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑๔


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


ห้างหุ้นส่วนจากัด ซินเจี่ยอู๋ 479 - ศรีกุญชร พนัสนิคม พนัสนิคม 20140
ห้างหุ้นส่วนจากัด ฮั่วเชียงชลบุรี 382 - ศรีกุญชร พนัสนิคม พนัสนิคม 20140
บริษัท บางจากกรีนเนท จากัด (สาขาสุขประยูร) 42/1 7 สุขประยูร วัดโบสถ์ พนัสนิคม 20140
สระ
นาย เมือง ลุนล้า 60 9 - พนัสนิคม 20140
สี่เหลี่ยม
บริษัท 331 ปิโตรก๊าซ จากัด 125 9 - หนองปรือ พนัสนิคม 20140
นาย สมเจตน์ พนมรัสมี 69 9 - หนองเหียง พนัสนิคม 20140
บริษัท ชัยเสรีปิโตรเลี่ยม จากัด 212 7 สัตหีบ-โคราช หนองเหียง พนัสนิคม 20140
ห้างหุ้นส่วนจากัด ฮั่วเซียง ออยล์ 99/1 11 ทางหลวง331 หนองเหียง พนัสนิคม 20140
หน้าพระ
นาย ปรีชา ชลพันธุ์ 48 5 - พนัสนิคม 20140
ธาตุ
หน้าพระ
สหกรณ์ การเกษตรพนัสนิคม จากัด 21/4 10 สุขประยูร พนัสนิคม 20140
ธาตุ
นาง จาเนียร พนมรัสมี 52/4 3 พนัส-บ่อทอง หมอนนาง พนัสนิคม 20140
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น (พนัส
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น จากัด 24/9 11 ทางหลวง331 หมอนนาง พนัสนิคม 32140
นิคม4) จ้ากัด
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น จากัด สาขา พนัสนิคม 4 24/9 11 - หมอนนาง พนัสนิคม 20140
บริษัท เพียวพลังงานไทย จากัด สาขาต้าบลหมอนนาง 5-8 8 สาย 331 หมอนนาง พนัสนิคม 20140

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑๕


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


พนัสนิคม-ทุ่ง
ห้างหุ้นส่วนจากัด ตระกูลชัยการปิโตรเลียม 47/1 7 หมอนนาง พนัสนิคม 20140
เหียง
นาง สุจิตรา วงศ์วิเศษ 76/1 2 - หัวถนน พนัสนิคม 20140
ห้างหุ้นส่วนจากัด พรอินทภัณฑ์ 30/2 11 สุขประยูร ไร่หลักทอง พนัสนิคม 20140

- อ้าเภอพานทองจ้านวน 19 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
นาย เจริญพร เพชรมุณี เจริญพร 99/2 5 - บางนาง พานทอง 20160
นางสาว วิลาวัณย์ คชชัย ชวิศา ออยล์ 100 6 บ้านเก่า-หนองต้าลึง บ้านเก่า พานทอง 20160
นาย นิพนธ์ ตันกิม 92/2 7 บ้านเก่า-พานทอง บ้านเก่า พานทอง 20160
นาย นิวัฒน์ คงวิทย์ นิวัฒน์บริการ 90 6 - บ้านเก่า พานทอง 20160
นาย วัลลพ สหายา 3/3 2 - บ้านเก่า พานทอง 20160
นาย ศรณรงค์ ทองมา สุขวุฒิ แก๊ส แอนด์ ออยล์ 102 2 - บ้านเก่า พานทอง 20160
ห้างหุ้นส่วนจากัด วรรณาออยล์ 123/5 10 - พานทอง พานทอง 20160
ห้างหุ้นส่วนสามัญ เฉลิมชัยฟาร์ม 40/1 5 - พานทอง พานทอง 20160
ห้างหุ้นส่วนจากัด ถนอมพงษ์พัฒนา แก๊ส แอลพีจี 92/1 3 สุขประยูร มาบโปร่ง พานทอง 20140
นาง สาลี่ ไพจิตร เนรมิตสมบัติ 88/2 1 สุขประยูร มาบโปุง พานทอง 20160

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑๖


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


บริษัท ศรีสุขแก๊ส จากัด 140/5 2 สุขประยูร มาบโปุง พานทอง 20160
บริษัท ไทยพานทอง จากัด 71/1 7 สุขประยูร มาบโปุง พานทอง 20160
ห้างหุ้นส่วนจากัด ชุ่มมณี(ชลบุรี) 63/4 1 สุขประยูร มาบโปุง พานทอง 20160
บริษัท บัวชลิตาฟู่กุ้ย จากัด 70 1 สุขประยูร หนองกะขะ พานทอง 20160
บริษัท ชลบุรีสันติสุข เอ็นจีวี จากัด 81/2-4 6 - หนองต้าลึง พานทอง 20160
นาย พงษ์ สหายา เนรมิตสมบัติ 19/2 1 - หน้าประดู่ พานทอง 20160
นาง รุ่งทิพย์ กิตยารักษ์ สุณัชชาเซอร์วิส 2/1 4 พานทอง-หัวไผ่ โคกขี้หนอน พานทอง 20160
นาย สนาม อยู่เจริญ 33/2 2 พานทอง-หัวไผ่ โคกขี้หนอน พานทอง 20160
นายไพบูลย์ ยิ่งเจริญนาน 26/5 1 พานทอง-หัวไผ่ โคกขี้หนอน พานทอง 20160

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑๗


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

- อ้าเภอศรีราชาจ้านวน 58 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
บริษัท ซุปเปอร์ เค พาวเวอร์ จากัด 168/1-4 2 - ทุ่งสุขลา ศรีราชา 20230
บริษัท อัยรญา ปิโตเลี่ยม จากัด 305/29 7 สุขุมวิท ทุ่งสุขลา ศรีราชา 20230
บริษัท เอ็ม พี เพทโทรล จากัด 166/162 7 สุขุมวิท ทุ่งสุขลา ศรีราชา 20230
ร้านสหกรณ์ ไทยออยล์ จากัด 42/5 1 สุขุมวิท ทุ่งสุขลา ศรีราชา 20230
ห้างหุ้นส่วนจากัด 9 กิโล ค้าน้ามัน 242 6 สาย9กิโล ทุ่งสุขลา ศรีราชา 20230
ห้างหุ้นส่วนจากัด กาญจนาปิโตรเลียม 60/1 5 สุขุมวิท ทุ่งสุขลา ศรีราชา 20230
ห้างหุ้นส่วนจากัด จีรนันท์ออยล์ 62/21 10 การเคหะ ทุ่งสุขลา ศรีราชา 20230
ห้างหุ้นส่วนจากัด พรปิยภัทร (สาขา 1) 166/7 7 สุขุมวิท ทุ่งสุขลา ศรีราชา 20110
นาย ช้อง รอดศิริ 36/3 11 ตลาดห้วยกุ่ม - เขาเขียว บางพระ ศรีราชา 20210
นาย สกุลยศ วงศ์พันธุ์เจริญ บุญยงค์แก๊ส 47/3 9 สุขุมวิท บางพระ ศรีราชา 20110
นาย สุริยา แสงพงค์ 222 12 - บางพระ ศรีราชา 20210
บริษัท ทรัพย์ไพศาลออยล์ จากัด 218ข 10 สุขุมวิท บางพระ ศรีราชา 20110
บริษัท ปิโตรเลียมไทย คอร์
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น จากัด 102/44 9 สุขุมวิท บางพระ ศรีราชา 20110
ปอเรชั่น จ้ากัด (สาขาศรีราชา)
บริษัท พงศธร การปิโตรเลียม จากัด 211/2 10 สุขุมวิท บางพระ ศรีราชา 20210
บริษัท สตาร์โฮลดิ้งส์ จากัด (สาขาซีเอ -
274/3 2 สุขุมวิท บางพระ ศรีราชา 20110
บางพระ)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑๘


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


บริษัท สเปลนคิด เอ็นเนอร์จี้ จากัด 99/9 5 - บางพระ ศรีราชา 20110
บริษัท เอ็น กรุ๊ป ศรีราชา จากัด 102/44 9 สุขุมวิท บางพระ ศรีราชา 20210
ร้านสหกรณ์ ไทยออยล์ จากัด 99/99 9 สุขุมวิท บางพระ ศรีราชา 20120
ห้างหุ้นส่วนจากัด ราไพเซอร์วิส 322/2 8 - บางพระ ศรีราชา 20210
ห้างหุ้นส่วนจากัด เจริญกิจมหานคร 129/8 7 สายสวนสัตว์เปิด บางพระ ศรีราชา 20210
นาง ชรินทร์ญา สิริกุล 84 1 บ้านบึง - ศรีราชา บึง ศรีราชา 20230
นาย ชิต แจ้งกระจ่าง 44/3 4 โยธา - ชนบท บึง ศรีราชา 20230
ทางหลวงหมายเลข7-หนอง
นาย ชูเกียรติ คูหเพ็ญแสง ปั๊มหนองแขวะ 57 4 บึง ศรีราชา 20230
แขวะ
นาย ประชา แจ่มสุธี ประชา บริการ 53/6 8 สุขาภิบาล8 บึง ศรีราชา 20230
นาย ไพโรจน์ พนมรัสมี 89 1 บ้านบึง - บ่อวิน บึง ศรีราชา 20230
บริษัท พรอนันท์รุ่งโรจน์ บริการ จากัด 3/9 4 - บึง ศรีราชา 20230
ห้างหุ้นส่วนจากัด อนันต์กิจรุ่งเรือง 110/60 2 - บึง ศรีราชา 20230
ห้างหุ้นส่วนจากัด อนันท์ รุ่งโรจน์ บริการ 138/3 2 สุขาภิบาล 8 บึง ศรีราชา 20230
ห้างหุ้นส่วนจากัด เอส.บี.บี.โฟ เซอร์วิส 281/9 7 - บึง ศรีราชา 20230
บริษัท พรอนันท์รุ่งโรจน์ (อีสเทิร์นซี
789 3 - บ่อวิน ศรีราชา 20230
บอร์ด) จากัด
บริษัท วีเอ็นพี แก๊สแอนด์เซอร์วิส จากัด 6/8 6 331 บ่อวิน ศรีราชา 20230

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๑๙


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


บริษัท เจวีซี แก๊สแอนด์เซอร์วิส จากัด 116/36 3 - บ่อวิน ศรีราชา 20230
หจก. ศรีภาชนะ ห้างหุ้นส่วนจ้ากัด ศรีภาชนะ 126/30 3 - บ่อวิน ศรีราชา 20230
ห้างหุ้นส่วนจากัด ธิติปิโตรเลียม 286 3 สัตหีบ-ฉะเชิงเทรา บ่อวิน ศรีราชา 20230
ห้างหุ้นส่วนจากัด อานวยการปิโตรเลียม 269/34 6 สัตหีบ-ฉะเชิงเทรา บ่อวิน ศรีราชา 20230
บริษัท ชลสิน ปิโตรเลียม จากัด (สาขา 1) 6/9 - สุขุมวิท ศรีราชา ศรีราชา 20110
บริษัท ไทย ซี - เซ็นเตอร์ จากัด (สาขาศรี
137/65 - สุขุมวิท ศรีราชา ศรีราชา 20110
ราชา )
ห้างหุ้นส่วนจากัด ทรงพลศรีราชา 2004 95/5 - สุขุมวิท ศรีราชา ศรีราชา 20110
ห้างหุ้นส่วนจากัด พิรุณสาร1998 11/10 - สุขุมวิท ศรีราชา ศรีราชา 20110
ห้างหุ้นส่วนจากัด โอ้วเจริญศรีราชา 121/2 - สุขุมวิท ศรีราชา ศรีราชา 20110
นาย สมบัติ มะโนเจริญ 145/1 5 ศรีราชา-หนองค้อ สุรศักดิ์ ศรีราชา 20110
นาย สุทัศน์ โชติช่วง 148/9 5 ศรีราชา-หนองค้อ สุรศักดิ์ ศรีราชา 20110
บริษัท จันทร์เพ็ญแก๊ส จากัด 15/20 4 สุขุมวิท สุรศักดิ์ ศรีราชา 20110
บริษัท เค.ทรี.พี. เซอร์วิส จากัด 18/42 4 - สุรศักดิ์ ศรีราชา 20110
ห้างหุ้นส่วนจากัด ฉลวยปิโตรเลียม 315/1 6 ศรีราชา-หนองค้อ สุรศักดิ์ ศรีราชา 20110
ห้างหุ้นส่วนจากัด ตรีรุ่งเรือง 299/2 8 - สุรศักดิ์ ศรีราชา 20110
นาง ชรินทร์ญา สิริกุล ณัฐชญา 206 11 - หนองขาม ศรีราชา 20230

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒๐


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


นาง ชลธิชา เกตุงาม 430 9 สาย 3241 หนองขาม ศรีราชา 20280
นาย เจริญ หิรัญวัฒน์ 168/1 2 - หนองขาม ศรีราชา 20110
นาย ไพโรจน์ พนมรัสมี 433/4 3 ศรีราชา -หนองค้อ หนองขาม ศรีราชา 20110
ทางหลวงหมายเลข 331
บริษัท จันทร์เพ็ญ ปตท. ศรีราชา จากัด 144/5 4 หนองขาม ศรีราชา 20110
ตอนเนินผาสุข
บริษัท นาคะพงษ์ชลบุรี จากัด 163/4 9 ศรีราชา - หนองค้อ หนองขาม ศรีราชา 20110
ห้างหุ้นส่วนจากัด รุ่งสหชัย บริการ 588 11 สุขาภิบาล10 หนองขาม ศรีราชา 20280
ห้างหุ้นส่วนจากัด ส.นิวัฒน์รุ่งเรือง 35/26 5 บ้านหนองขาม หนองขาม ศรีราชา 20280
ห้างหุ้นส่วนจากัด ส.มั่นศิริ 126/10 1 - หนองขาม ศรีราชา 20280
ห้างหุ้นส่วนจากัด สายสวาทบริการ 613 5 สุขาภิบาล8 หนองขาม ศรีราชา 20280
นาย นิพนธ์ ปินตัน 389/20 2 ศรีราชา-331 เขาคันทรง ศรีราชา 20110
ห้างหุ้นส่วนจากัด ณัฐวงศ์ ออยล์ 896 3 สาย 331 เขาคันทรง ศรีราชา 20110

- อ้าเภอสัตหีบจ้านวน 20 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น
5/27 2 สุขุมวิท นาจอมเทียน สัตหีบ 20250
จากัด จ้ากัด (สาขาสัตหีบ)
บริษัท ลาภภิวัฒน์ จากัด 21/6 1 - นาจอมเทียน สัตหีบ 20250

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒๑


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


บริษัท เตียวเจริญ จากัด 226/64 - สุขุมวิท นาจอมเทียน สัตหีบ 20250
ห้างหุ้นส่วนจากัด ปิยะศาลบริการ 30/4 2 สุขุมวิท นาจอมเทียน สัตหีบ 20250
ห้างหุ้นส่วนจากัด อนุสกา เซอร์วิส 45/33 1 ห้วยใหญ่ นาจอมเทียน สัตหีบ 20250
กลุ่ม เกษตรกรทาประมงบางเสร่ 15 4 ชายทะเล บางเสร่ สัตหีบ 20250
นาย อรรถกร กาลวันตวานิช สะพานปลาดาวบางเสร่ 18/1 4 ชายทะเล บางเสร่ สัตหีบ 20250
ห้างหุ้นส่วนจากัด ทรัพย์สมพิศปิโต
133/1 8 สุขุมวิท บางเสร่ สัตหีบ 20250
รเลี่ยม
ห้างหุ้นส่วนจากัด วีระโรจน์ การปิโต
205 8 สุขุมวิท บางเสร่ สัตหีบ 20250
รเลี่ยม
บริษัท บุญชัยพลูตาหลวง จากัด 33/6 2 - พลูตาหลวง สัตหีบ 20180
ทางหลวงแผ่นดินสาย331กม
บริษัท ปทุมพฤกษรักษ์ จากัด 36/54 5 พลูตาหลวง สัตหีบ 20180
130
ห้างหุ้นส่วนจากัด พี.เอส.(1986) 33/1 1 ถนนสุขุมวิท พลูตาหลวง สัตหีบ 20180
บริษัท ตากันสุขรุ่ง จากัด 4/2 7 สุขุมวิท สัตหีบ สัตหีบ 20180
บริษัท เพียวพลังงานไทย จากัด 84/18 9 สุขุมวิท สัตหีบ สัตหีบ 20180
ห้างหุ้นส่วนจากัด ดวงเอกชัย 84/18 9 - สัตหีบ สัตหีบ 20180
ห้างหุ้นส่วนจากัด วีออยล์ กรุ๊ป 11/58 7 สุขุมวิท สัตหีบ สัตหีบ 20180
ห้างหุ้นส่วนจากัด สัตหีบปั๊มแก๊ส 50/2 3 สุขุมวิท สัตหีบ สัตหีบ 20180

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒๒


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์


ห้างหุ้นส่วนจากัด เจ็ดหีบทองคา
23 2 สุขุมวิท สัตหีบ สัตหีบ 20180
รุ่งโรจน์
นาย ประเสริฐ พิทักษ์กรณ์ พิทักษ์มงคล 59/18 1 - แสมสาร สัตหีบ 20180
นาย ปรีชา ชอบธรรม ณัฐวัตรบริการ 6/21 1 แสมสาร - สุขุมวิท แสมสาร สัตหีบ 20180

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒๓


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

- อ้าเภอหนองใหญ่จ้านวน 5 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
ห้างหุ้นส่วนจากัด ศรีประไพบริการ 43 2 บ้านบึง-แกลง หนองเสือช้าง หนองใหญ่ 20190
บริษัท เลิศวรกมล จากัด 329/29 1 - หนองใหญ่ หนองใหญ่ 20190
ห้างหุ้นส่วนจากัด กิตติชัยบริการ 143 1 เฉลิมพระเกียรติร9 หนองใหญ่ หนองใหญ่ 20190
บริษัท ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น จากัด 163 3 - เขาซก หนองใหญ่ 20190
บริษัท วรรณวลี ปิโตรเลียม จากัด 163 3 บึง-แกลง เขาซก หนองใหญ่ 20190
- อ้าเภอเกาะสีชังจ้านวน 1 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ ชื่อสถานบริการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์
กลุ่ม เกษตรกรทาประมง ท่าเทววงษ์ 30 5 - ท่าเทววงษ์ เกาะสีชัง 20120

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒๔


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ
- อ้าเภอเมืองชลบุรีจ้านวน 8 แห่ง
ชื่อ เลขที่ เลขที่ หมู่ที่ ถนน ซอย ตาบล อาเภอ เบอร์โทร
นางจุรี กิจรานนท์ 1095 39/4 8 ต้าบลนาปุา อ้าเภอเมืองชลบุรี
นางนิภา ธีระวณิชตระกูล 767 19 ถนนแสนสุข ต้าบลแสนสุข อ้าเภอเมืองชลบุรี 038-383-364
นายกฤษดา พิมพ์ทอง 1100 64/35 4 ต้าบลดอนหัวร่อ อ้าเภอเมืองชลบุรี
นายนุสิต อภิรมย์สวัสดิ์ 789 466/22 5 ต้าบลบ้านสวน อ้าเภอเมืองชลบุรี 038-798-583
นายบุญช้วน เฟื่องพูนทรัพย์ 799 74/3 6 ถนนเศรษฐกิจ ต้าบลบ้านสวน อ้าเภอเมืองชลบุรี 038-286-414,038-285-086
นายภาสกร ธีระวณิชตระกูล 766 49/30 ถนนเนตรดี ต้าบลแสนสุข อ้าเภอเมืองชลบุรี 038-390-184
ห้างหุ้นส่วนจากัด วิศาลแก๊ส 782 694/7 ถนนสุขุมวิท ต้าบลบางปลาสร้อย อ้าเภอเมืองชลบุรี 038-284-417
ห้างหุ้นส่วนจากัด สินทะเลแก๊ส 781 203/2-3 ถนนสุขุมวิท ต้าบลบ้านสวน อ้าเภอเมืองชลบุรี 038-284-562

- กิ่งอ้าเภอเกาะจันทร์จ้านวน 1 แห่ง
ชื่อ เลขที่ เลขที่ หมู่ที่ ถนน ซอย ตาบล อาเภอ เบอร์โทร
นายวิโรจน์ ทวิวัฒน์ 775 456 7 ต้าบลท่าบุญมี กิ่งอ้าเภอเกาะจันทร์ 038-779-573

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒๕


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

- อ้าเภอบางละมุงจ้านวน 13 แห่ง
ชื่อ เลขที่ เลขที่ หมู่ที่ ถนน ซอย ตาบล อาเภอ เบอร์โทร
นางขนิษฐา หนูพันธ์ 793 68 7 ต้าบลนาเกลือ อ้าเภอบางละมุง 081-663-8074
นางนที สาฤทธิ์ 1102 148/8-9 9 ต้าบลหนองปรือ อ้าเภอบางละมุง
นางน้าค้าง ธรรมคงทอง 796 17/11 5 ต้าบลหนองปรือ อ้าเภอบางละมุง 038-731-154
นางสาวมยุรี สุสมบูรณ์ 1279 263/83 12 ต้าบลหนองปรือ อ้าเภอบางละมุง
นางสาวศิริวรรณ รื่นอารมณ์ 771 668/27 ถนนพัทยา-นาเกลือ ต้าบลนาเกลือ อ้าเภอบางละมุง 038-422-238
นายจุมพล กลิ่นกุหลาบ 1101 80/5 1 ต้าบลห้วยใหญ่ อ้าเภอบางละมุง
นายปัญญา คุ้มพราย 798 48 3 ถนนเอส-อาร์ ต้าบลตะเคียนเตี้ย อ้าเภอบางละมุง 038-241-564,086-311-1383
นายสุวิทย์ หาเงิน 790 25/3 5 ต้าบลบางละมุง อ้าเภอบางละมุง 038-241-545
ห้างหุ้นส่วนจากัด พัทยานาเกลือแก๊ส 764 579/28 5 ถนนพัทยา-นาเกลือ ต้าบลนาเกลือ อ้าเภอบางละมุง 038-421-503
ถนนศรีราชา-
ห้างหุ้นส่วนจากัด พัทยาศิริวัฒนา 786 70 7 ต้าบลโปุง อ้าเภอบางละมุง 038-227-119
ระยอง
ถนนสาย 331 (สัตหีบ-
ห้างหุ้นส่วนจากัด เขาไม้แก้วแก๊ส 787 98 1 ต้าบลเขาไม้แก้ว อ้าเภอบางละมุง 038-309-118
ฉะเชิงเทรา)
ห้างหุ้นส่วนจากัด เทียนชัยนาเกลือแก๊ส 784 27/8 5 ต้าบลนาเกลือ อ้าเภอบางละมุง 038-222-131
ห้างหุ้นส่วนจากัด เมืองพัทยาแก๊ส 1060 124/53-54 10 ต้าบลหนองปรือ อ้าเภอบางละมุง 038-412-503

- อ้าเภอพนัสนิคมจ้านวน 2 แห่ง

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒๖


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อ เลขที่ เลขที่ หมู่ที่ ถนน ซอย ตาบล อาเภอ เบอร์โทร


นายวิเชียร แก้วประเสริฐ 791 585 4 ถนนสมประยูร ต้าบลท่าบุญมี อ้าเภอพนัสนิคม 081-323-0416
ห้างหุ้นส่วนจากัด พงศ์พนัส 785 34 ซ.1 ถนนตลาดเก่า ต้าบลพนัสนิคม อ้าเภอพนัสนิคม 038-461-1154

- อ้าเภอพานทองจ้านวน 1 แห่ง
ชื่อ เลขที่ เลขที่ หมู่ที่ ถนน ซอย ตาบล อาเภอ เบอร์โทร
นายวัยวุฒิ เสริมศักดิ์ศศิธร 772 80/6 1 ถนนสุขประยูร ต้าบลหนองต้าลึง อ้าเภอพานทอง 038-789-145

- อ้าเภอศรีราชาจ้านวน 13 แห่ง
ชื่อ เลขที่ เลขที่ หมู่ที่ ถนน ซอย ตาบล อาเภอ เบอร์โทร
นางนันทพร แสวงวัฒนาทรัพย์ 778 133/4 ถนนสุขุมวิท ต้าบลศรีราชา อ้าเภอศรีราชา 038-311-406
นางนิตยา กาลังดี 774 165/235 7 ต้าบลทุ่งศุขลา อ้าเภอศรีราชา 038-351-456
นางสาวสุธิดา รักทองสุข 776 21-23 ถนนเทศบาล1 ต้าบลศรีราชา อ้าเภอศรีราชา 038-313-728
นางอดิศร อนันทคุณ 800 174/6 7 ถนนสุขุมวิท ต้าบลทุ่งศุขลา อ้าเภอศรีราชา 038-351-178
นายทวนเพ็ชร ภูลพิพัฒน์ 768 140 10 ถนนสุขุมวิท22 ต้าบลบางพระ อ้าเภอศรีราชา 038-777-760
นายบุญชาติ ออกผล 1058-1 110/16 9 ถนนเมืองใหม่ 1 ต้าบลทุ่งสุขลา อ้าเภอศรีราชา
นายปริวัฒน์ สุรพิพิธ 773 82/39 3 ต้าบลบึง อ้าเภอศรีราชา 038-480-619
นายศุภชัย ง้อเจริญ 769 3/12/2014 ถนนสุรศักดิ์3 ต้าบลศรีราชา อ้าเภอศรีราชา 038-311-489
นายสุกิจ ตันตยานนท์ 770 86/8 ถนนสุรศักดิ์สงวน ต้าบลศรีราชา อ้าเภอศรีราชา 038-322-115

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒๗


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อ เลขที่ เลขที่ หมู่ที่ ถนน ซอย ตาบล อาเภอ เบอร์โทร


บริษัท ศรีราชาแก๊ส จากัด 780 15/58 4 ต้าบลสุรศักดิ์ อ้าเภอศรีราชา 038-313-958
ห้างหุ้นส่วนจากัด บ่อวินแก๊ส 794 276/9-10 6 ต้าบลบ่อวิน อ้าเภอศรีราชา
ห้างหุ้นส่วนจากัด วรรณนิภาแก๊ส 797 536/2 11 ต้าบลหนองขาม อ้าเภอศรีราชา 038-763-328,038-482-101
ห้างหุ้นส่วนจากัด อุทัยวรรณพานิช 788 553/29 11 ถนนสุขาภิบาล8 ต้าบลหนองขาม อ้าเภอศรีราชา 038-480-000

- อ้าเภอสัตหีบจ้านวน 7 แห่ง
ชื่อ เลขที่ เลขที่ หมู่ที่ ถนน ซอย ตาบล อาเภอ เบอร์โทร
กิจการสโมสรหน่วยบัญชาการ นาวิกโยธินสโมสรเตยงาม 795 นาวิกบริการ2 1 ต้าบลสัตหีบ อ้าเภอสัตหีบ 089-008-5582
นางพรทิพย์ ปรางจันทร์ 1103 25/8-9 1 ต้าบลพลูตาหลวง อ้าแภอสัตหีบ
นายพิชิต โรจน์วัฒนบูลย์ 765 14/1-2 ต้าบลนาจอมเทียน อ้าเภอสัตหีบ 038-237-042
นายพุสดี พูลสุวรรณ 1277 19 2 ต้าบลบางเสร่ อ้าเภอสัตหีบ
นายศักรินทร์ สุวรรณ์ 792 36/56 5 ถนนสาย331 ต้าบลพลูตาหลวง อ้าเภอสัตหีบ 038-722-013
บริษัท เตียวเจริญ จากัด 779 226/64 ถนนสุขุมวิท ต้าบลนาจอมเทียน อ้าเภอสัตหีบ 038-237-954
ห้างหุ้นส่วนจากัด สัตหีบก๊าซ แอล พี จี 2006 1019 171/93-94 2 ต้าบลสัตหีบ อ้าเภอสัตหีบ 038-437-251

- อ้าเภอบางเสร่จ้านวน 1 แห่ง
ชื่อ เลขที่ เลขที่ หมู่ที่ ถนน ซอย ตาบล อาเภอ เบอร์โทร
นายวรจิตร์ จิตงาม 1104 41/1 4 ต้าบลบางเสร่ อ้าเภอบางเสร่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒๘


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๒๙


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

สถานีบริการก๊าซ NGV ภายในจังหวัดชลบุรี


- อ้าเภอเมืองชลบุรีจ้านวน 7 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์ โทร แฟกซ์
สถานีบริการ NGV ชลบุรี 4 41291 11 - นาปุา เมือง 20000 02-537-5418 02-537-5417
สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ บริษัท ทัศนาเอ็นจีวีจากัด 60/3 1 บายพาส หนองข้างคอก เมือง 20000 - -
สถานีบริการ NGV ชลบุรี 109/26 3 สุขุมวิท คลองต้าหรุ เมืองชลบุรี 20000 02-537-5745 02-537-5794
สถานีบริการ NGV ปตท. ศูนย์ปฏิบัตการก๊าซธรรมชาติ ชลบุรี 59 8 - นาปุา เมืองชลบุรี 20000 02-537-5418 02-537-5417
สถานีบริการ NGV ปตท. ชยาภิวัฒน์ 3/19 10 - บ้านสวน เมืองชลบุรี 20000 02-537-5418 02-537-5417
สถานีบริการ NGV ชลบุรี 5 41534 3 - หนองไม้แดง เมืองชลบุรี 20000 02-537-5418 02-537-5417
สถานีบริการ NGV ชลบุรี 5 101/1 5 - ห้วยกะปิ เมืองชลบุรี 20000 02-537-5418 02-537-5417

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๓๐


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

- อ้าเภอบางละมุงจ้านวน 6 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์ โทร แฟกซ์
สถานีบริการ NGV ปตท. เอส ซี
- 4 - ตะเคียนเตี้ย บางละมุง 20150 02-537-2000 02-537-3498-9
แครีเออร์
สถานีบริการ NGV บางละมุง 193/7 2 - นาเกลือ บางละมุง 20150 02-537-5418 02-537-5417
สถานีบริการ NGV ปตท. บัณณาสรณ์
361/6 12 สุขุมวิท หนองปรือ บางละมุง 20260 02-537-5418 02-537-5417
สาขา พัทยาใต้
สถานีบริการ NGV ปตท.สหกรณ์
16/143 8 - หนองปลาไหล บางละมุง 20150 02-537-5745 02-537-5794
การเกษตรบางละมุง
สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ บริษัท ทางหลวงหมายเลข 02-7474-
- 7 หนองปลาไหล บางละมุง - -
สิทธาภรณ์ จากัด 36 3079
สถานีบริการ NGV บางละมุง 2 70/9 7 - โปง บางละมุง 20150 02-537-5418 02-537-5417

- อ้าเภอบ้านบึงจ้านวน 4 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์ โทร แฟกซ์
สถานีหลัก ปตท. บ้านบึง 689/2 1 - คลองกิ่ว บ้านบึง 20220 02-537-5418 02-537-5417
สถานีบริการ NGV ปตท.แฮนด์ลิตา เอ็นจิเนียริ่ง 114/9 2 - หนองซ้้าซาก บ้านบึง 20170 02-537-2000 02-537-3498-9
สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ บริษัท สามสามหนึ่งเอ็นจีวี จากัด 252 10 - หนองอิรุณ บ้านบึง - - -
สถานีบริการกาซ NGV ปตท.สาขาบ้านบึง 2 283/2 2 - หนองไผแก้ว บ้านบึง 20170 02-537-5706 02-537-5829

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๓๑


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

- อ้าเภอพานทองจ้านวน 2 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์ โทร แฟกซ์
สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ บริษัท ชลบุรีสันติสุข เอ็นจีวี 81/2-4 6 พานทอง 20160
สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ บริษัทฮีโนมอเตอร์ส แมนูแฟคเจอริ่ง(ประเทศไทย)จากัด 700/529 2 - บ้านเก่า พานทอง - 02-384-2900 -

- อ้าเภอศรีราชาจ้านวน 10 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์ โทร แฟกซ์
สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ บริษัท สแปลนดิด ทางหลวงพิเศษหมายเลข
99/8-9 5 ศรีราชา 20110
เอ็นเนอร์จี้ จากัด 7
สถานีบริการ NGV นิคมอุตสาหกรรมแหลม
79/2 2 - ทุ่งสุขลา ศรีราชา 20230 02-537-5418 02-537-5417
ฉบัง
สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ บริษัทศรีราชา เอ็น
559 10 - ทุ่งสุขลา ศรีราชา - -
จีวี จากัด
สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ ปตท.สาขาแหลม
- 3 - ทุ่งสุขลา ศรีราชา - 02-537-5706 02-537-5761
ฉบัง
สถานีบริการ NGV ฟินมอร์ บางพระ 352/9 8 - บางพระ ศรีราชา 20210 02-537-5418 02-537-5417
สถานีบริการ NGV นิคมฯสหพัฒนฯ 311/2 5 - บึง ศรีราชา 20110 02-537-5418 02-537-5417
สถานีบริการก๊าซธรรมชาติ สาขาถนนสาย331
- 4 - บ่อวิน ศรีราชา 20110 02-537-2000 02-537-3798-9
(บ่อวิน)
สถานีบริการNGV หนองขาม-ศรีราชา 24 10 - หนองขาม ศรีราชา 20230 02-537-5706 02-537-5761

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๓๒


สถานการณ์พลังงานจังหวัดชลบุรี
โครงการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์พลังงานระดับกลุ่มจังหวัดตามยุทธศาสตร์ประเทศ

ชื่อผู้ประกอบการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์ โทร แฟกซ์


สถานีบริการ NGV ปตท. จันทร์เพ็ญเอ็นจีวี บ่อ
789/5 9 - เขาคันทรง ศรีราชา 20110 02-537-5745 02-537-5794
วิน (๒๐๐๘)
สถานีบริการ NGV ปตท.ธิติปิโตรเลียม 671/46 10 - เขาคันทรง ศรีราชา 20110 02-537-2000 02-537-3498-9

- อ้าเภอสัตหีบจ้านวน 1 แห่ง
ชื่อผู้ประกอบการ เลขที่ หมู่ ถนน ตาบล อาเภอ รหัสไปรษณีย์ โทร แฟกซ์
สถานีบริการ NGV ปตท. สวัสดิการฐานทัพเรือสัตหีบ 2040 1 - สัตหีบ สัตหีบ 20180 02-537-5745 02-537-5794

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ๓๓

You might also like