You are on page 1of 43

บทที่ 2

วงจรไฟฟ้าเบื้องต้ น
Basic Electric Circuits

วิชา วงจรไฟฟ้ า 1
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี


RMUTT
เนื้อหา
วงจรไฟฟ้าและส่ วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
กฎพื้นฐาน (Basic Laws : กฎของโอห์ม กฎของเคอร์ ชอฟฟ์ )
วงจรอนุกรม
วงจรขนาน
วงจรผสม

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
2
RMUTT
วงจรไฟฟ้ าและส่ วนประกอบของวงจรไฟฟ้ า
วงจรไฟฟ้าหรื อโครงข่ายไฟฟ้า (Electric network) คือการ
เชื่อมต่อกันของอุปกรณ์ไฟฟ้า(Electric element) ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
แหล่ งจ่ ายพลังงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ป้องกัน อุปกรณ์ควบคุม
อุปกรณ์ ป้องกัน
อุปกรณ์ ควบคุม แหล่งกําเนิด โหลด
สายตัวนําเชื่ อมโยง
สายตัวนําเชื่อมโยง
อุปกรณ์ ไฟฟ้ าหรื อโหลด
บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
3
RMUTT
อุปกรณ์ป้องกัน อุปกรณ์ควบคุม

แหล่งกําเนิด โหลด

สายตัวนําเชื่อมโยง

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
4
RMUTT
ส่ วนประกอบของวงจรไฟฟ้ า

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
5
RMUTT
กฎพืน้ ฐาน (Basic Laws)
1. กฎของโอห์ ม (Ohm’s Law)
2. กฎของเคอร์ ชอร์ ฟ (Kirchhoff's Law)
2.1 กฎกระแสของเคอร์ ชอร์ ฟ (Kirchhoff's Current Law, KCL)
2.2 กฎแรงดันของเคอร์ ชอร์ ฟ (Kirchhoff's Voltage Law, KVL)

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
6
RMUTT
กฎของโอห์ม (Ohm’s Law)
(Georg Simon Ohm)
นิยาม
วัสดุต่าง ๆ จะมีคุณสมบัติในการต้านทานการเคลื่อนที่ของประจุ
ไฟฟ้า ซึ่งเราเรี ยกคุณสมบัติน้ ีวา่ “ความต้ านทานไฟฟ้า” (Resistance)
เขียนเป็ นสัญลักษณ์ได้คือ R มีหน่วยเป็ นโอห์ม (Ω, Ohms)
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ในการต้านทานกระแสไฟฟ้านี้เราเรี ยกว่า
“ตัวต้ านทาน” (Resistor) เขียนเป็ นสัญลักษณ์ ได้ ดังรู ป

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
7
RMUTT
“แรงดันที่ตกคร่ อมตัวต้านทาน มีค่าแปรผันตรงกับค่ากระแสที่ไหล
ผ่านตัวต้านทานนั้น” เขียนเป็ นสมการได้เป็ น
v = Ri v
โดยทิศทางของกระแสและแรงดันเป็ นดังรู ป i R
การกําหนดขั้วของแรงดันที่ตกคร่ อมความต้านทาน
จะดูทิศทางของกระแส

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
8
RMUTT
กําลังงาน (Power)
กําลังงานไฟฟ้ าทีต่ วั ต้ านทานใดๆหาได้ จาก
2
v
p= vi= Ri =
2

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
9
RMUTT
การลัดวงจร(Shot Circuit)
คือการที่ค่าตัวตัานทานที่เท่ากับศูนย์ ซึ่งจากกฎของโอห์มถ้าค่า
R = 0 จะได้ v = 0 นัน่ เองโดยที่กระแส i มีค่าเท่าไรก็ได้

i
+ +
v=0 R=0 v=0
- -

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
10
RMUTT
การเปิ ดวงจร (Open Circuit)
คือการที่ค่าตัวต้านทานที่เท่ากับอนันต์ ซึ่งจากกฎของโอห์มถ้า
ค่า R = ∞ จะได้ i = 0 นัน่ เองโดยที่แรงดัน v มีค่าเท่าไรก็ได้

i=0 i=0
+ +
v R=∞ v
- -

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
11
RMUTT
กฎแรงดันของเคอร์ ชอฟฟ์
“ผลรวมทางพีชคณิ ตของแรงดันรอบวงปิ ดใดๆมีค่าเท่ากับศูนย์” ∑ v = 0
“ผลรวมของแรงดันที่ตกคร่ อมโหลดแต่ละตัวจะเท่ากับแรงดันที่แหล่งจ่าย”
+
R 1
-+
R 2
-+
R 3
- v2 v3
I v1 v4
+ - - +

V v5
s1 V s2

IR1 + IR2 + IR3 = −V2 + V1 v2 + v3 + v4 + v5 − v1 = 0

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
12
RMUTT
กฎกระแสของเคอร์ ชอฟฟ์
“ผลรวมทางพีชคณิ ตของกระแสที่โนดใด ๆ มีค่าเท่ากับศูนย์” ∑ i = 0
“ผลรวมของกระแสที่ไหลเข้าโนดจะเท่ากับผลรวมของกระแสที่ไหลออกโนด”

i5 i1
i4 i2
i3
i1 + i2 + i4 − i5 − i3 = 0
i1 + i2 + i4 = i5 + i3

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
13
RMUTT
กระแสในพืน้ ผิวปิ ด (Closed surface current)
i5 i2
i1 b ใช้ KCL ที่ โนด a : i1= i5 − i6
a i8 โนด b : i2 =−i5 − i8 − i9 − i10
i6 i9 โนด c : i3 =−i7 + i8 + i10
i7 c i10
d โนด d : i4 = i6 + i7 + i9
i4 i3
พืน้ ผิวปิ ด
สมการทั้ง 4 บวกกันได้ i1 + i2 + i3 + i4 =0
ดังนั้นสามารถกล่าวสรุป KCL ได้ อกี อย่างหนึ่งว่ า
“ผลรวมทางพีชคณิ ตของกระแสที่พ้ืนผิวปิ ดใดๆมีค่าเท่ากับศูนย์”
บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
14
RMUTT
วงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม (Series Circuit)
i v1 v2 i
R1 R2
v RN vN v RS
วงจรตัวต้ านทานต่ ออนุกรม วงจรสมมูล
ตัวต้ านทานต่ ออนุกรมกันจะได้ ความต้ านทานสมมูลคือ
N
RS = R1 + R2 + ... + RN = ∑ Rn
n =1

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
15
RMUTT
กระแสทีไ่ หลผ่ านอุปกรณ์ ทอี่ นุกรมกันจะมีค่าเท่ ากัน
I T = I 1 = I 2 = I 3 = ... = I n

i v1 v2
R1 R2
v RN vN

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
16
RMUTT
การแบ่ งแรงดัน (Voltage Divider )

R=
T R1 + R2
E
I=
RT
 E 
V1 =I ⋅ R1 =  R1
 RT 
 E 
V2 =I ⋅ R2 =  R2
 RT 

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
17
RMUTT
ตัวอย่ างการต่ อใช้ งานจริง

1.5 V 1.5 V 1.5 V 1.5 V


+ + + +

V
+
6V
เพิม่ แรงดันถ่ านไฟฉาย(แบตเตอรี่) ไฟหยดนํา้

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
18
RMUTT
ตัวอย่าง จงหาค่ากระแสไฟฟ้ารวมของวงจร

R1 R2
82Ω 22Ω
E R3 15Ω
25V R4
10Ω

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
19
RMUTT
ตัวอย่าง จงหาค่าแรงดันไฟฟ้าแหล่งจ่าย

E
1.5Ω 1.2Ω
I = 1mA

1.2Ω 5.6Ω

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
20
RMUTT
ตัวอย่าง จงหาค่าแรงดันไฟฟ้า V1

V1
20Ω 60Ω

R1 R2
E 64V

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
21
RMUTT
วงจรไฟฟ้ าแบบขนาน (Parallel Circuit)
i i
i1 i2 iN
v R1 R2 RN v RP

วงจรตัวต้ านทานต่ อขนาน วงจรสมมูล


ตัวต้ านทานต่ อขนานกันจะได้ ความต้ านทานสมมูลคือ
1 1 1 1 N 1 1
= + + ... + = ∑ G=
RP R1 R2 RN n =1 Rn R
N
GP = G1 + G2 + ... + GN = ∑ Gn
n =1

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
22
RMUTT
i i
i1 i2
v R1 R2 v RP

ตัวต้ านทานต่ อขนานกัน 2 ตัว วงจรสมมูล

1 1 1 1 R2 + R1 R1 × R2
= + = RP =
RP R1 R2 RP R1 × R2 R1 + R2

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
23
RMUTT
แรงดันคร่ อมอุปกรณ์ ทตี่ ่ อขนานกันจะมีค่าเท่ ากัน
VT = V1 = V2 = V3 = ... = Vn

i
i1 i2 iN
v R1 R2 RN

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
24
RMUTT
ตัวอย่ างการต่ อใช้ งานจริง

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
25
RMUTT
การแบ่ งกระแส (Current Divider)

R1 R2
RT =
R1 + R2

V1 IT RT IT ( R1 R2 ) IT R2
=
I1 = = =
R1 R1 R1 ( R1 + R2 ) ( R1 + R2 )

V2 IT RT IT ( R1 R2 ) IT R1
=
I2 = = =
R2 R2 R2 ( R1 + R2 ) ( R1 + R2 )

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
26
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า Is, I2 และ R3

Is
RT = 4Ω I1 = 4 A I2

E R1 10Ω R2 20Ω R3

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
27
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า I1 และ I2

I1 I2

10 A R1 10Ω R2 20Ω 5A

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
28
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า Ia , I3 และแรงดันตกคร่ อมความต้านทานทุกตัว

Ia I3

20 A 40 Ω 50 Ω 70 Ω

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
29
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า IT, I1 ,I2 และ RT

IT R1 A
1kΩ I1 I2
E 12 V
2.2kΩ R2 3.3kΩ R3

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
30
RMUTT
วงจรไฟฟ้ าแบบผสม (Compound Circuit)
ตัวอย่ าง จงหาค่า Is, I2, I4 ,RTและ V5
R1

Is 6Ω I2
R2
RT 6Ω
R3
2Ω I4
24 V R4 R5 V5
8Ω 12Ω

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
31
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า Is, I1, I2 ,RTและ V3
I1 R1

12 Ω
I2
ISI RT R2

6Ω
+
E = 64 V R3 12 Ω V3
-

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
32
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า Is, I1, I2 ,RTและ Va

IS I1 I2

R3 10 Ω

VT
R1 10 Ω R2 15 Ω Va
36 V

R4 2Ω

RT

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
33
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า I1, I2 , I3, I4 , I5, It , Rxและ Ra

It I1 I2 I5
12 V 40 Ω Rx
24 V
I3 I4
Ra = 6Rx
10 Ω 8Ω

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
34
RMUTT
วงจรเดลต้ า และวงจรสตาร์

Rc
R1 R2

Ra Rb R3

การต่อแบบเดลต้า การต่อแบบสตาร์

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
35
RMUTT
Rc
R1 R2

Ra R3 Rb
การแปลงวงจร ∆ -To- Υ การแปลงวงจร Υ-To-∆

R1 =
RA RC R1 R2 + R1 R3 + R2 R3
RA =
RA + RB + RC R2

RB RC R1 R2 + R1 R3 + R2 R3
R2 = RB =
RA + RB + RC R1

R3 =
RA RB R1 R2 + R1 R3 + R2 R3
RA + RB + RC RC =
R3

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
36
RMUTT
ตัวอย่ าง จงแปลงวงจรในรู ปข้างล่างให้เป็ นสตาร์
Rc

100Ω

Ra Rb
220Ω 560Ω

การต่อแบบเดลต้า

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
37
RMUTT
ตัวอย่ าง จงแปลงวงจรในรู ปข้างล่างให้เดลต้า

1 kΩ
R2
R1 2.2kΩ

5.6 kΩ R3

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
38
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า IT
It
C
3Ω 6Ω
2Ω
E=30V A Rc B
Ra Rb
6Ω 4Ω
D

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
39
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า RT, IT

6Ω

10 V
5Ω

2Ω 2Ω
2Ω
6Ω

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
40
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า RT, IT
12Ω

4Ω 4Ω

IT +
240V - 4Ω 12 Ω

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
41
RMUTT
ตัวอย่ าง จงหาค่า RT, IT (กําหนดให้ ความต้านทานทุกตัวมีค่า 5 Ω)
It = ?

24 V

บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
42
RMUTT
บทที่ 2 Paisan
วงจรไฟฟ้Boonchiam
าเบื้องต้ น
43
RMUTT

You might also like