You are on page 1of 27

การตัดสินใจในการลงทุน

(Capital Investment Decision)

1 7/21/2010
บทเรียน
1.งบประมาณรายจ่ายเพื่อลงทุน
2.โครงการลงทุน
3.เครื่องมือประเมินโครงการ
3.1 วิธีหาระยะเวลาคืนทุน (PB)
3.2 วิธีผลตอบแทนอย่างง่าย (ARR)
3.3 วิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( NPV)
3.4 วิธีอัตราผลตอบแทนคิดลด (IRR)
3.5 วิธีดัชนีกําไร (PI)

2 7/21/2010
ประเภทของรายจ่าย
1.เพื่อการดําเนินงาน ( Operating expenditure)
เช่น
จ่ายค่าสินค้าและบริหาร เงินเดือน ค่าสาธารณูปโภค ค่า
ขนส่ง
2.เพื่อการลงทุน ( Capital expenditure)
เป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดขึ้นบ่อยและไม่ประจํา เช่นสิทธิการ
เช่าสัมปทานเครื่องหมายการค้า
รายจ่ายเพื่อการลงทุนสําคัญต่อความสําเร็จของกิจการ

3 7/21/2010
งบประมาณรายจ่ายเพื่อลงทุน
ประเภทโครงการลงทุน
1.การลงทุนในโครงการใหม่
2.การขยายกิจการ
3.การลงทุนเปลี่ยนทดแทนสินทรัพย์เดิม
4.การลงทุนเช่าแทนการซื้อสินทรัพย์
5.การวิจัยและพัฒนาแผนงานใหม่

4 7/21/2010
การจัดประเภทความสัมพันธ์โครงการลงทุน
1.โครงการอิสระต่อกัน
เลือกตัดสินใจโครงการใดโครงการหนึ่งที่ให้ผลตอบแทน
สูงสุด โดยไม่สัมพันธ์กับโครงการอื่นๆ
2.โครงการเดีย่ ว
จําเป็นต้องเลือกโครงการเดียวกรณีเงินทุนจํากัด
3.โครงการที่เป็นส่วนเสริมซึ่งกันและกัน
มีหลายโครงการที่เกีย่ วข้องกันแต่ละโครงการช่วยให้กระแส
เงินสดของกิจการเพิ่มขึ้น เช่น โครงการสนามกอล์ฟกับ
โครงการบ้านจัดสรร

5 7/21/2010
ขั้นตอนการจัดทาโครงการลงทุน
1.รวบรวมโครงการลงทุน
2.ประมาณเงินทุน และผลตอบแทนจากการลงทุน
3.ประมาณต้นทุนเงินลงทุน
4.ประเมินค่าโครงการลงทุน
5.ดําเนินงานตามโครงการลงทุนที่เลือก
6.ติดตามผลของโครงการ

6 7/21/2010
1.รวบรวมโครงการลงทุนต่างๆ
ผู้บริหารจะรวบรวมโครงการต่างๆที่มีความเป็นไปได้
ในการลงทุนที่ให้ผลประโยชน์สูงสุด และมีต้นทุน
ต่ํ า สุ ด และพิ จ ารณาสิ่ ง ต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น
เครื่องจักรที่นําเข้ามาช่วยการผลิต ราคาเครื่องจักร
ต้นทุนแต่ละเครื่อง เป็นต้น

7 7/21/2010
2.การประเมินเงินทุน และผลตอบแทนการลงทุน
1.พิจารณากระแสเงินสด
2.พิจารณาข้อมูลทางการบัญชีเกณฑ์คงค้าง
ตัวอย่าง บริษัท จานด่วน จํากัด
3. การประมาณต้นทุนเงินลงทุน
3.1 ต้นทุนหนี้สิน( cost of debt )

3.2 ต้นทุนหุ้นบุริมสิทธิ์ ( cost of preferred stock)

3.3 ต้นทุนส่วนผู้ถือหุ้นสามัญ (cost of common stock )

8 7/21/2010
ต้นทุนหนีส้ ิน
ต้นทุนหนี้สินหลังภาษี = ต้นทุนหนี้สินก่อนภาษี(1-อัตราภาษี)x100
หรือ
kd(1-t) = kd x 100
กําหนดให้
kd = ต้นทุนของหนี้สินก่อนหักภาษี
kd(1-t) = ต้นทุนของหนี้สินหลังหักภาษี
t = อัตราภาษีเงินได้
I = ดอกเบี้ยจ่าย
P0 = ราคาจําหน่ายของหุ้นกู้
F = มูลค่าตามหน้าตั๋ว
n = ระยะเวลาตั้งแต่วันออกหุ้นกู้จําหน่ายถึงวันครบกําหนดไถ่ถอน

9 7/21/2010
ต้นทุนหนีส้ ิน
1.กรณีไม่มีระยะเวลาไถ่ถอน ดังนี้
kd = I x 100
P0

ตัวอย่าง บริษัท ศรีไทย จํากัด

10 7/21/2010
ต้นทุนหนีส้ ิน
2.กรณีมีระยะเวลาไถ่ถอนคืน
F-P0
I + n
kd = F+P0 x100
2
ตัวอย่าง เดิม

11 7/21/2010
ต้นทุนของหุ้นบุริมสิทธิ์
kp = Dp x 100
Pp
กําหนดให้
Kp = ต้นทุนของหุ้นบุริมสิทธิ
Dp = เงินปันผล
Pp = ราคาจําหน่ายหุ้นบุริมสิทธิ
ตัวอย่าง บริษัท ศรีไทย จํากัด
12 7/21/2010
ต้นทุนหุน้ สามัญ(เก่า)
kc = D1 + g x 100
P0
กําหนดให้
kc = ต้นทุนของหุ้นสามัญเก่า
kr = ต้นทุนของกําไรสะสม
D1 =เงินปันผลต่อหุ้นที่คาดว่าจะได้รับเมื่อสิ้นปีที่ 1
P0 = ราคาตลาดของหุ้นสามัญ
g = อัตราการเจริญเติบโตของเงินปันผล
ตัวอย่าง บริษัท ศรีไทย จํากัด

13 7/21/2010
ต้นทุนหุ้นสามัญ(ใหม่)
Ks = n1 + g x 100
Pn
กําหนดให้
Ks = ต้นทุนหุ้นสามัญใหม่
N1 = เงินปันผลต่อหุ้นที่คาดว่าจะจ่ายปีถัดไป
Pn = เงินสดรับสุทธิจากการขายหุ้น
g = อัตราการเจริญเติบโตที่คงที่
ตัวอย่าง เดิม

14 7/21/2010
ต้นทุนเฉลี่ย หรือ
ค่าเฉลีย่ ต้นทุนของเงินทุน (Weighted Average Cost of Capital : WACC)
คือการนําต้นทุนของเงินทุนทุกประเภทมาถัวเฉลี่ยเพื่อถ่วง
น้ําหนักต้นทุน
WACC = WdKd(1-t) + WPKP + WCKC+WrKr+WsKs
โดย WACC = สัดส่วนของเงินทุนแต่ละประเภท
kd = ต้นทุนของหนี้สิน
kp = ต้นทุนของหุน้ บุริมสิทธิ์
kc = ต้นทุนของหุน้ สามัญ
kr = ต้นทุนของกําไรสะสม
ks = ต้นทุนของหุน้ สามัญใหม่
ตัวอย่าง บริษัท อารยา จํากัด

15 7/21/2010
การประเมินค่าโครงการลงทุน
1. ไม่คํานึงถึงค่าของเงินตามเวลา
1.1.วิธีหาระยะเวลาคืนทุน (payback period : PP)
1.2.วิธีอัตราผลตอบแทนอย่างง่าย (Accounting rate of return:ARR)
2.วิธีคํานึงถึงค่าของเงิน
1 วิธีมลู ค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV)
2 วิธอี ัตราผลตอบแทนคิดลด ( Internal Rate of Return : IRR)
3. วิธีดัชนีกําไร ( Profit Index : PI)

16 7/21/2010
ไม่คํานึงค่าของเงินตามเวลา
จาก
เงินต้น+ดอกเบี้ย = เงินรวมทบต้น
P + ( P x k ) = Fn
เป็น
P = Fn
(1+k)n

P = เงินต้น หรือค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด
Fn = เงินรวมทบต้น หรือกระแสเงินสดที่ได้รับในอนาคต
k = อัตราดอกเบี้ย
n = ปีที่ได้รับกระแสเงินสด

ตัวอย่าง 8.14

17 7/21/2010
เครื่องมือประเมินโครงการลงทุน
1.วิธีหาระยะเวลาคืนทุน
2.วิธีอัตราผลตอบแทนทางบัญชี
3.วิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ
4.วิธีอัตราผลตอบแทนคิดลด
5.วิธีดัชนีกาํ ไร

18 7/21/2010
1.วิธีหาระยะเวลาคืนทุน
เกณฑ์ที่ใช้เพื่อตัดสินใจ
1.โครงการอิสระ เลือกโครงการที่คืนทุนเร็วที่สุด
2.โครงการเดีย่ ว เลือกโครงการที่คืนทุนเร็วที่สุด
ข้อดี ข้อเสีย
1.คํานวณง่าย 1.ไม่คํานึงค่าของเงิน
2.โครงการมีสภาพคล่องสูง 2.ไม่พิจารณากระแสเงินสด
หลัง คืนทุน

19 7/21/2010
กระแสเงินสดรับเท่ากับทุกปี
PB = เงินสดจ่ายลงทุนเริ่มแรก
กระแสเงินสดรับสุทธิรายปี
ตัวอย่าง บริษัท ดุสิต จํากัด
กรณีกระแสเงินสดไม่เท่ากันทุกปี
ตัวอย่าง 8.18

20 7/21/2010
ผลตอบแทนทางบัญชี
ARR = กําไรสุทธิหลังภาษีเฉลี่ย x 100
เงินลงทุนสุทธิ
หรือ
ARR = กําไรสุทธิหลังภาษีเฉลี่ย x 100
เงินลงทุนสุทธิ/2
เกณฑ์ : เลือก ARR มากที่สุด
ตัวอย่าง 8.19

21 7/21/2010
มูลค่าปัจจุบันสุทธิ
NPV = ค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับ – เงินสดจ่าย
เกณฑ์ :
1. อิสระ เลือกทุกโครงการที่มี NPV เป็น บวก
2. โครงการเดี่ยว เลือกNPV มากที่สุด
3. ถ้า NPV เป็น 0 ไม่เลือก

22 7/21/2010
วิธีคานวณ NPV
1.กรณีกระแสเงินสดรับเท่ากันทุกปี
NPV = ค่าปัจจุบันสุทธิของกระแสเงินสดรับสุทธิ-เงิน
ลงทุน
ตัวอย่าง 8.20

23 7/21/2010
วิธี IRR
เกณฑ์ : เลือก IRR มากกว่า อัตราผลตอบแทนทั่วไป
วิธีคิด
1.หาปัจจัยลดค่า = เงินจ่ายลงทุนสุทธิตอนเริม่ แรก
กระแสเงินสดรับทุกปลายปี
จากตัวอย่างเดิม
IRR = 1000 = 3.333 บาท
300

24 7/21/2010
IRR
2.นําปัจจัยลดค่าที่คํานวณได้มาเปิดตารางมูลค่า
ปัจจุบัน
3.นํ า อั ต ราลดค่ า ทั้ ง หมดมาคํ า นวณหาผลต่ า ง
เพื่อหา IRR
ตัวอย่างเดิม

25 7/21/2010
ดัชนีกาไร (PI)
PI = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับรวม
เงินลงทุนสุทธิ
เกณฑ์ :
เลือก โครงการมี PI มากที่สุด
จากตัวอย่างเดิม
PI- ก = 1208.9 = 1.21 เท่า
1000
PI – ข = 1065.1 = 1.07 เท่า
1000

26 7/21/2010
บทสรุป
1. การประเมินโครงการลงทุนมีเครื่องมือดังนี้ 1.ระยะเวลา
คืนทุน (PB) 2.มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) 3.อัตรา
ผลตอบแทนทางการบัญชี(ARR) 4. อัตราผลตอบแทน
ภายใน (IRR) และ 5. ดัชนีกําไร (PI)
เมื่อพิจารณาโดยใช้เครื่องมือแล้ว ผู้บริหารจะตัดสินใจเลือก
โดยเกณฑ์
เลือก PB เร็วที่สุด NPV เป็นบวกและมากที่สุด ARR มาก
ที่สุด IRR มากกว่าอัตราผลตอบแทนทั่วไป และ PI
มากกว่า 1
27 7/21/2010

You might also like