You are on page 1of 5

ขัน้ ตอนกำรทำนำ้ ครำม

ส่ วนประกอบ

ต้ นครำม ปูนขาว ปูนขาว นำ้ มะขำมเปี ยก

วิธีทำนำ้ ครำม

ใส่ปนู ขาวกวนให้ เกิดฟองมากๆน ้า ได้ เนื ้อคราม


แช่ใบครามทิ ้งไว้ 18-24 ชัว่ โมง แยกกากออก
ครามจะเปลีย่ นเป็ นสีน ้าเงินพักไว้ 1 คืน
ต้ นครามอายุ 4 เดือน

ชัง่ เนื้อครามเปี ยก 1 กิโลกรัมผสมน้ าขี้เถ้า 3 ลิตร ในโอ่งดิน โจกน้ าย้อม ทุกเช้าเย็น สังเกต สี กลิ่น และฟอง (ทิ้งไว้ 2 วัน)
- วันที่ 3 ใช้มะขามเปี ยก 100 กรัมต้มกับน้ า 1 ลิตร พักให้เย็น ผสมลงไปในโอ่งน้ าย้อม โจกครามทุกวัน ซึ่ งน้ าย้อมจะใส
ขึ้น เปลี่ยนเป็ นสี เขียวปนน้ าเงิน กลิ่นหอมอ่อน ฟองสี น้ าเงิน โจกครามทุกวันจนกว่าน้ าย้อมจะเป็ นสี เหลืองอมเขียวหรื อเขียวยอด
ตอง ขุ่นข้น ฟองสี น้ าเงินเข้มวาว ไม่แตกยุบ แสดงว่าเกิดสี คราม (indigo white) ในน้ าย้อมแล้ว ซึ่ งใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 7 วัน
กำรผลิตผ้ ำฝ้ำยย้ อมครำม

นาฝ้ ายหมาดน้ าลงย้อม กาเส้นฝ้ ายในน้ าย้อม ให้แน่นแล้วคลายมือให้สีครามแทรกเข้าไปในทุกอณูของเส้นฝ้ าย กาและ


คลายไล่เรี ยงไปตามวงเส้นฝ้ าย สังเกตน้ าย้อม สี เหลืองจางไป สี น้ าเงินเข้มมาแทน ความข้นหนืดลดลง จึงหยุดย้อม บิด
เส้นฝ้ ายให้หมาด กระตุกให้ฝ้ายเรี ยงเส้นและสัมผัส พักไว้ 3-5 นาที จึงล้างให้สะอาดจนน้ าล้างใส
ไม่มีสี ผึ่งลมให้แห้ง นาไปใช้งานต่อไป ส่ วนน้ าย้อมที่ตกั ไว้ใช้เป็ นเชื้อ เทกลับคืนหม้อครามเดิมและเติมเนื้ อครามอีก

จึงล้ างให้ สะอาดจนน ้าล้ างใสไม่มีสี ผึง่ ลมให้ แห้ ง

นาไปทอเป็ นผืนผ้ าฝ้าย

เทคนิคควรรู้ -นาเส้ นฝ้ายที่จะย้ อมไปชุบน ้าบิดหมาดๆก่อน , -ขณะย้ อมไม่ควรให้ เส้ นด้ ายสัมผัสอากาศเส้ นด้ ายจะ
ด่าง,-เก็บฝ้ายชื ้นนันในภาชนะปิ
้ ด ถ้ าตากฝ้ายที่ย้อมทันทีจะเกิดรอยด่างในเส้ นฝ้าย -หากต้ องการสีเข้ มต้ องย้ อมซ ้าใน
หม้ อครามอื่นอีกต่อไป
ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผ้ าย้ อมครามของกลุม่ แม่บ้านเกษตรกรบ้ านนาเดา ตาบลเสริมซ้ าย อ.เสริมงาม จ.ลาปาง

แหล่ งจำหน่ ำยผลิตภัณฑ์


- ต่างประเทศ ร้ อยละ ๓๐ , ต่างจังหวัด ร้ อยละ ๕๐ , ในจังหวัดและในอาเภอ ร้ อยละ ๒๐
- มูลค่าการจาหน่าย ประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาทต่อปี
ผ้ ำย้ อมครำม ภูมิปัญญำที่ควรอนุรักษ์
กลุ่มแม่ บ้ำนเกษตรกรบ้ ำนนำเดำ ต.เสริมซ้ ำย อ.เสริมงำม จ.ลำปำง
ครำม เป็ นพืชขนาดเล็ก มีใบน้ อย ใบมีขนาดเล็ก คนสมัย
โบราณนิยมนากิ่งครามทังใบมาแช่
้ น ้าด่าง เพื่อหมักเอาน ้าคราม มา
ย้ อมผ้ า สีที่ได้ คือสีน ้าเงินเข้ ม เรี ยกว่าสีคราม นัน่ เอง แต่ต้องย้ อมซ ้า
หลาย ๆ ครัง้ ครัง้ แรก ๆ อาจได้ เป็ นสีฟ้าเข้ ม ในการหมักนันมี

กรรมวิธีที่ซบั ซ้ อนพอสมควร เรี ยกว่าการ 'เลี ้ยงคราม' หากทาไม่ถกู
ขันตอน
้ ครามจะไม่ให้ สี เรี ยกว่า 'ตาย' น ้าสีที่ยงั ไม่สมบูรณ์จะเห็น
เป็ นสีเขียวเข้ ม ครัง้ เมื่อโดนอากาศ จะเข้ มขึ ้นจนเป็ นสีน ้าเงิน ถึง
ครามในที่สดุ

ชาวอีสานเรี ยกสีครามว่าสีนิล สีหม้ อ หรื อสีหม้ อนิล ชาวอีสาน


ตอนบนนิยมนาไปย้ อมผ้ า และมัดเป็ นลาย เรี ยกว่า ผ้ ำย้ อมครำม
ชาวเหนือยังมีธรรมเนียมคล้ าย ๆ กัน แต่เรี ยกต้ นครามที่ใช้ นี ้ว่า
ต้ นห้ อม เสื ้อผ้ าที่ย้อมนี ้ เรี ยกว่า เสือ้ หม้ อห้ อม เดิมคงจะย้ อม
ด้ ายเพื่อนาไปทอและตัดเย็บ แต่ปัจจุบนั นิยมนาผ้ าฝ้ายที่ตดั เป็ น
เสื ้อแล้ วไปย้ อม

ปั จจุบนั มีการวิจยั จากต่างประเทศ ทังในอเมริ


้ กาและ
ญี่ปนพบว่
ุ่ า ผ้ าที่ย้อมด้ วยครามสามารถป้องกันรังสีอลั ตราไวโอเลต
ให้ กบั ผู้ที่ส่วมใส่ได้ เป็ นอย่างดี ดังนันจึ
้ งช่วยให้ ผิวของผู้ส่วมใส่ไม่
หมองคล ้าด้ วยแสงแดด

กลุม่ แม่บ้านเกษตรกรบ้ านนาเดา ตาบลเสริมซ้ าย อ.เสริม


งาม จ.ลาปาง ได้ สง่ เสริมสมาชิกกลุ่มฯปลูกต้ นครามเพื่อนามา
ย้ อมผ้ าฝ้ายและแปรรูปจาหน่ายเป็ นอาชีพเสริมสร้ างรายได้
ให้ แก่สมาชิกกลุ่ม ๒๐๐,๐๐๐ บาท/ปี


องค์ ความรู้
เรื่องผ้ ำย้ อมครำม ภูมปิ ั ญญำที่ควรอนุรักษ์

กลุ่มแม่ บ้ำนเกษตรกรบ้ ำนนำเดำ ต.เสริมซ้ ำย อ.เสริมงำม จ.ลำปำง

สำนักงำนเกษตรอำเภอเสริมงำม จ.ลำปำง

You might also like