You are on page 1of 11

เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

บทที 11
เนย

เนย (butter) หมายความว่า ผลิตภัณฑ์ที(ได้ จากส่วนที(เป็ นไขมันของนมซึ(งผ่านกรรมวิธี


การผลิตและอาจเติมวิตามินหรื อวัตถุอื(นได้ ที(จําเป็ นต่อกรรมวิธีการผลิต (กระทรวงสาธารณสุข,
2544ข)

การจําแนกประเภทเนย

อภิญญา เจริ ญกูล (2553, หน้ า 100; Bylund (1995, pp. 265-266); Walstra,
Wouters, & Geurts (2006, p. 467) กล่าวว่าเนยสามารถจําแนกได้ เป็ น 2 ประเภท คือ

1. เนยสด (fresh butter หรื อ sweet butter)


เนยสดเป็ นเนยที(ผลิตจากครี มสด (fresh cream หรื อ sweet cream) โดยไม่ผ่านการ
หมักด้ วยจุลินทรี ย์จงึ ไม่มีกลิ(นหอม อาจเติมเกลือหรื อไม่ก็ได้ หากไม่เติมเกลือจะเป็ นเนยสดชนิดจืด
และหากเติมเกลือจะเป็ นเนยสดชนิดเค็ม สําหรับการเติมเกลือนอกจากเพื(อให้ รสเค็มแล้ วยังช่วย
ยืดอายุการเก็บรักษาอีกประการหนึง(

2. เนยหมัก (cultured butter)


เนยหมัก ผลิตจากการนําครี มที( ผ่านการหมักหรื อมีการเติมส่วนผสมที( ได้ จากการหมัก
สามารถแบ่งได้ เป็ น 3 ชนิด ดังนี [
2.1 Ripened cream butter หรื อ sour cream butter คือเนยที(ทําจากครี มที(ผ่าน
การหมักด้ วยจุลินทรี ย์พวกแบคทีเรี ยแลคติก จนมี ปริ มาณกรดแลคติกร้ อยละ 0.45-0.60 และมี
กลิ(นหอมจากอะซีตลิ เมทิลคาร์ บนิ อล (acetylmethyl carbinol) และไดอะซิทิล (diacetyl)
2.2 Neutralized sour cream butter คือ เนยที(ทําจากครี มที(ผ่านการหมักด้ วย
จุลิ น ทรี ย์ แ ล้ ว ถู ก ทํ า ให้ เ ป็ นกลางด้ ว ยโซเดี ย มไบคาร์ บ อเนต โซเดี ย มคาร์ บ อเนต (โซดาแอช)
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ร่วมกับแมกนีเซียมออกไซด์หรื อแมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ แต่อาจเกิดกลิ(นหืน
ที(เรี ยกว่า tallow flavor ถ้ าครี มที(ใช้ มีความเป็ นด่างมากเกินไป
ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา
เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

2.3 Fresh cream butter คือ เนยที(ทําจากครี มที(ไม่ได้ ผ่านการหมัก แต่มีการเติม


สารให้ กลิ(นรสและกรดแลคติกเข้ มข้ น ซึ(งได้ จากการนําผลิตภัณฑ์นมไปผ่านการหมักด้ วยจุลินทรี ย์
แล้ วนําไปผ่านกระบวนการอัลตร้ าฟิ ลเทรชัน (ultrafiltration) เพื(อทําให้ เข้ มข้ นขึ [น เรี ยกว่าวิธีของ
netherlands dairy research institute (NIZO)

วิธีการผลิตเนย

วิธีการผลิตเนยขอนําเสนอตามการจําแนกชนิดของเนย ได้ แก่ วิธีการผลิตเนยสดและ


วิธีการผลิตเนยหมัก (อภิญญา เจริ ญกูล, 2553, หน้ า 102-109; Walstra, Wouters, & Geurts
(2006, pp. 468-478) ซึง( มีรายละเอียดดังต่อไปนี [

1. วิธีการผลิตเนยสด
กระบวนการผลิตเนยสดแสดงดังภาพที( 11.1 เริ( มจากการปั( นแยกครี มออกจากนํ [านม
แล้ วนําครี มที(มีปริ มาณไขมันร้ อยละ 30-40 ไปผ่านการพาสเจอไรส์ที(อณ ุ หภูมิ 95 องศาเซลเซียส
หรื อสูงกว่าเพื( อทํ าลายเอนไซม์ และจุลิ นทรี ย์ จากนัน[ ใส่ครี ม ลงไปในเครื( องปั( นแยกเนย (butter
churner) (ภาพที( 11.2) ประมาณร้ อยละ 40-50 ของความจุเครื( อง แล้ วเปิ ดเครื( องให้ ใบพัดของ
เครื( องหมุนด้ วยความเร็ วประมาณ 20-100 รอบ/นาที นาน 30 นาที ใบพัดจะตีครี มผสมกับอากาศ
จนเกิดฟอง ทําให้ เม็ดไขมันในนํ [านมแตกออกแล้ วไขมันเนยแยกตัวออกมารวมตัวกัน มี ลกั ษณะ
เป็ นก้ อน (grains) เรี ยกว่า เม็ดเนย (butter granule) ต่อจากนันจึ [ งแยกหางเนย (butter milk) ซึ(ง
เป็ นส่วนของเหลวที(ประกอบด้ วยเนื [อนมไม่รวมมันเนยและนํ [าออก จากนันล้ [ างเม็ดเนยที( ได้ ด้วย
นํ า[ เย็ น เพื( อ กํ า จัด ส่ ว นของหางเนยเหลว เนื( อ งจากอาจทํ า ให้ เ กิ ด กลิ( น ที( ไ ม่ ดี แ ละรสเปรี ย[ วได้
หลังจากนันเป็ [ นการนวด (working) เพื(อกําจัดความชื [นออกจนเหลือเพียงร้ อยละ 16 ทังนี [ [สําหรับ
เนยชนิดเค็มอาจเติมเกลือก่อนการนวด ต่อจากนันทํ [ าการบรรจุและเก็บรักษาเพื(อรอจําหน่าย

ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา


เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

ครี ม (ไขมันร้ อยละ 30-40)

พาสเจอไรส์
(95 องศาเซลเซียส หรื อสูงกว่า)

เติมสี 0-16 ออนซ์/ไขมัน 100 ปอนด์

ปั( นแยกเนย
หางเนย
(ไขมันร้ อยละ 0.4-1.0)
เม็ดเนย

ล้ างด้ วยนํ [าเย็น

เติมเกลือ
(ร้ อยละ 0-3)
ปรับความชื [น
นวด

เนย
(ไขมันร้ อยละ 80)

บรรจุและเก็บรักษา

ภาพที( 11.1 ขันตอนการผลิ


[ ตเนยสด
ที(มา: (ดัดแปลงจาก อภิญญา เจริ ญกูล, 2553, หน้ า 103)

ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา


เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

ภาพที( 11.2 เครื( องปั( นแยกเนย


หมายเหตุ 1= สวิทซ์ควบคุมการทํางาน 2 = คานหยุดฉุกเฉิน 3 = ใบพัด
ที(มา: (Bylund, 1995, p. 273)

2. วิธีการผลิตเนยหมัก
ขัน[ ตอนการผลิ ต เนยหมัก (ภาพที( 11.3) เริ( ม ต้ น จากการทํ า skimming หรื อ
concentration of fat phase of milk เป็ นขันตอนการแยกครี
[ ม (cream separation) ออกจาก
นํ [านมโดยใช้ อณ ุ หภูมิในการแยกสูงกว่า 45 องศาเซลเซียส คือที(อุณหภูมิ 50-55 องศาเซลเซียส
ให้ ได้ ครี มที( มีไขมันประมาณร้ อยละ 35-40 เพื(อลดการทํ างานของเอนไซม์ ไลเปส หลังจากนัน[
ให้ ความร้ อนเพื( อพาสเจอไรส์ โดยใช้ เครื( องแลกเปลี(ยนความร้ อนแบบแผ่นในช่วงอุณหภูมิ 85-95
องศาเซลเซี ยส เป็ นเวลานาน 10-30 นาที เพื( อทํ าลายจุลินทรี ย์ที(ทําให้ เกิ ดโรคและลดจํ านวน
จุลินทรี ย์ทงหมดรวมทั
ั[ งยั
[ บยังการทํ
[ างานของเอนไซม์ไลเปส จากนันทํ
[ าให้ เย็น (cooling)
ทําการเตรี ยมหัวเชื อ[ โดยการนํ าหางนมมาพาสเจอไรส์ แล้ วเติมจุลินทรี ย์ผสม (mixed
culture) ของ Streptococcus lactis, S. Cremoris, S. diacetylactic และ Leuconostoc
cremoris ซึ(งจะให้ กรดแลคติกและสารให้ กลิ(นรสต่าง ๆ กับเนย โดยเติมจุลินทรี ย์ผสมในปริ มาณ

ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา


เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

ร้ อยละ 0.5 ของปริ มาณหางนม แล้ วบ่มที(อณ ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส นาน 16 ชัว( โมง จะได้ หวั เชื [อ
สําหรับผลิตเนยหมัก จากนันเติ [ มหัวเชื [อดังกล่าวลงในครี มที(ผา่ นการพาสเจอไรส์แล้ ว
จากนัน[ นํ าครี ม ที( ผ่านการพาสเจอไรส์ และเติม หัวเชื อ[ แล้ วมาทํ าการบ่มหรื อ ripening
หรื อ aging ที(อณ ุ หภูมิ 14 องศาเซลเซียส นาน 20 ชัว( โมง ทําให้ ครี มมีรสเปรี ย[ วและไขมันเกิดการ
ตกผลึก จากนันนํ [ าไปทําการปั( นแยกเนยที(อณ ุ หภูมิ 14 องศาเซลเซียส นาน 20 นาที ซึ(งทําให้ เกิด
การรบกวนระบบอิมลั ชันแบบนํ [ามันในนํ [า (oil in water emulsion) ทําให้ เยื(อหุ้มเม็ดไขมัน (milk
fat globule membrane, MFGM) แตกออก และทําให้ ไขมันนมแยกออกมาแล้ วรวมกันเป็ นก้ อน
หรื อเม็ดเนยที(มีขนาดเล็ก โดยยังคงมีความชื [นเหลืออยู่ในส่วนของเม็ดเนยประมาณร้ อยละ 20-25
ส่วนนํ [าที(ถูกแยกออกมาเรี ยกว่า หางเนย จากนันนํ [ าเม็ดเนยไปเข้ าสู่กระบวนการล้ างด้ วยนํ [าเย็น
แล้ วนํ า ส่วนที( เ ป็ นนํ า[ ทิ ง[ ส่ วนที( เ หลื อคื อ เม็ ดเนยที( มี ความชื น[ ซึ( ง กระบวนการล้ างช่วยปรั บปรุ ง
คุณภาพของเนย
นํ า เนยที( ผ่ า นการล้ า งด้ ว ยนํ า[ เย็ น แล้ ว มาทํ า การนวด เพื( อ ให้ เ ม็ ด เนยและความชื น[
กระจายตัว อย่ า งสมํ( า เสมอ ควบคุม ความชื น[ และหากมี ก ารเติ ม เกลื อ จะช่ ว ยทํ า ให้ เ กิ ด
การกระจายตัวของเกลืออย่างสมํ(าเสมอ จากนันจึ [ งทําการบรรจุเนยสําหรับการผลิตเพื(อขายปลีก
หรื อหากต้ องการให้ เนยมีความนุ่มมากขึ [นสามารถนําเนยที(ผ่านการเก็บรักษาที( 10 องศาเซลเซียส
นาน 7 วัน มาผ่านการโฮโมจีไนซ์ก่อนการบรรจุ

ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา


เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

milk

skim milk skimming


50°C

pasteurizing cream
95°C, 30 min 35% fat

pasteurizing
85°C, 15 s

starter 5% inoculating
20°C, 16 h
ripening
0.5%
14°C, 20 h
culture
churning
14°C

buttermilk separating packing

butter grains homogenizing

water 12°C washing cold storing


10°C, 7 days

water, salt wWorking butter


standardizing

buttermilk packaging

ภาพที( 11.3 ขันตอนการผลิ


[ ตเนยหมัก
ที(มา: (Walstra, Wouters, & Geurts, 2006, p. 469)

ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา


เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

กระบวนการผลิตเนยสดและเนยหมักเป็ นผลให้ เกิดการเปลี(ยนแปลงทางกายภาพของ


ส่วนที(เป็ นของเหลวและส่วนที(เป็ นไขมันระหว่างการผลิตเนยดังแสดงในภาพที( 11.4

milk cream small grains large grains butter

ภาพที( 11.4 การเปลี(ยนแปลงทางกายภาพของส่วนที(เป็ นของเหลวและส่วนที(เป็ นไขมันระหว่าง


กระบวนการผลิตเนย
หมายเหตุ สีดํา = ส่วนที(เป็ นของเหลว
สีขาว = ส่วนที(เป็ นไขมัน
ที(มา: (Walstra, Wouters, & Geurts, 2006, p. 470)

สมบัตแิ ละมาตรฐานเนย

กระทรวงสาธารณสุข (2544ข) กําหนดสมบัตแิ ละมาตรฐานของเนยไว้ ดงั นี [


1. ไม่มีกลิ(นหืน
2. มีมนั เนยไม่น้อยกว่าร้ อยละ 80 ของนํ [าหนัก
3. มีเนื [อนมไม่รวมมันเนยได้ ไม่เกินร้ อยละ 2 ของนํ [าหนัก
4. มีเกลือโซเดียมคลอไรด์ได้ ไม่เกินร้ อยละ 4 ของนํ [าหนัก
5. มีนํ [าได้ ไม่เกินร้ อยละ 16 ของนํ [าหนัก
6. ไม่มีวตั ถุกนั เสีย
7. ไม่มีสารเป็ นพิษจากจุลินทรี ย์ในปริ มาณที(อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
8. ตรวจพบสารปนเปื อ[ นจากตะกัว( ไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัม/เนย 1 กิโลกรัม
9. วัตถุเจือปนอาหารที(อนุญาตให้ ใช้ ได้ มีดงั นี [

ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา


เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

9.1 สี (colour) ให้ ใ ช้ ไ ด้ เ พื( อความมุ่ง หมายที( จ ะทํ า ให้ ผ ลิ ตภัณ ฑ์ มี สี เ หมื อ น
ธรรมชาติ
9.1.1 บี ต้า-แคโรที น (beta-carotene) ปริ ม าณสูง สุด ที( ใ ห้ ใ ช้ ไ ด้ คื อ 25
มิลลิกรัม/กิโลกรัม
9.1.2 สี คําแสด (annatto) ปริ มาณสูงสุดที( ใ ห้ ใ ช้ ไ ด้ คื อ 20 มิล ลิกรั ม /
กิโลกรัม (คํานวณเป็ น bixin หรื อ norbixin ทังหมด)
[
9.1.3 แคโรที นธรรมชาติ (carotene) ปริ ม าณสูง สุดที( ให้ ใ ช้ ไ ด้ คื อ 600
มิลลิกรัม/กิโลกรัม
9.1.4 บีต้า-อะโป-แคโรทีนัล (β-apo-carotenal) ปริ มาณสูงสุดที(ให้ ใช้ ได้
คือ 35 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
9.1.5 เมทิลและเอทิลเอสเทอร์ ของกรดบีต้า-เอโป-8’-แคโรทีนอยด์ (methyl
หรื อ ethyl ester ของ β-apo-8’-carotenoid acid) ปริ มาณสูงสุดที(ให้ ใช้ ได้ คือ 35 มิลลิกรัม/
กิโลกรัม
9.2 สารปรับความเป็ นกรด-ด่าง (acidity regulators)
9.2.1 โซเดียมฟอสเฟต (sodium phosphate) ปริ มาณสูงสุดที(ให้ ใช้ ได้ คือ
2,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
9.2.2 โซเดี ยมคาร์ บอเนต (sodium carbonate) อนุญ าตให้ ใ ช้ ไ ด้ ใ น
ปริ มาณที(เหมาะสม
9.2.3 โซเดียมไฮโดรเจนคาร์ บอเนต (sodium hydrogen carbonate)
อนุญาตให้ ใช้ ได้ ในปริ มาณที(เหมาะสม
9.2.4 โซเดียมไฮดรอกไซด์ (sodium hydroxide) อนุญ าตให้ ใ ช้ ไ ด้ ใ น
ปริ มาณที(เหมาะสม
9.2.5 แคลเซี ยมไฮดรอกไซด์ (calcium hydroxide) อนุญาตให้ ใช้ ได้ ใน
ปริ มาณที(เหมาะสม

การเสือมเสียและการเก็บรั กษาเนย

เนยเป็ นผลิตภัณฑ์นมที(พบการเจริ ญของแบคทีเรี ยน้ อยที(สดุ โดยเฉพาะในกรณีของเนย


ที(ใส่เกลือและเนยที(มีกรดแลคติก (บุญศรี จงเสรี จิตต์, 2553, หน้ า 46) อย่างไรก็ตามเนยอาจเกิด

ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา


เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

การเสื( อมเสี ยได้ หากวัตถุดิ บและกระบวนการผลิ ตไม่ถูกสุข ลักษณะรวมถึ ง การเก็ บรั กษาไม่ ดี
สํ า หรั บ ลั ก ษณะและสาเหตุ ก ารเสื( อ มเสี ย ของเนย สภาวะการเก็ บ รั ก ษาเนยที( เ หมาะสมมี
รายละเอียดดังนี [

การเสือมเสียของเนย
สุมาลี เหลืองสกุล (2541, หน้ า 184); Walstra, Wouters, & Geurts (2006, pp. 485-
486) กล่าวว่า คุณภาพของครี มและนมที( นํามาใช้ ใ นการผลิ ตมี ความสํ าคัญ ต่อคุณภาพของ
เนยมากจึงไม่ควรนําครี มเก่ามาผลิตเนยเนื(องจากอาจมีการเจริ ญของแบคทีเรี ยชนิดให้ กรดและรา
สําหรับลักษณะการเสื(อมเสียของเนยมีดงั นี [
1. เนยอาจมีกลินรสไม่ ดี
เนื(องจากการใช้ ครี มหรื อนมที(มีคณ
ุ ภาพไม่ดีและอาจมีสาเหตุจากจุลินทรี ย์ที(เจริ ญ
ได้ ในเนย เช่น Pseudomonas putrefaciens ทําให้ มีกลิ(นเหม็นเน่า (putridity) ซึ(งมักพบในเนยที(มี
ความเข้ มข้ นของเกลือตํ(า Aeromonas hydrophila ทําให้ เกิดกลิ(นคาวปลา P. fragi ทําให้ เกิดกลิ(น
เอสเทอร์ P. mephitica ทําให้ เกิดกลิ(นคล้ ายสกัvงและกลิ(นรสต่าง ๆ นอกจากนี [เนยยังอาจเกิด
กลิ(นหืนเนื(องจากการออกซิเดชันของไขมันเมื(อเก็บไว้ นาน 1 เดือน ถึง 2 ปี
2. เนยอาจเกิดการเปลียนสี
การเปลี( ยนสีของเนย เช่น สี คลํ [าเนื( องจากการสูญเสียนํ [าที(ผิวหน้ าหรื อมี สีต่าง ๆ
เนื( องจากการสร้ างสี ของรา แบคที เรี ยและยี สต์ที(อาจปนเปื [อนมาในระหว่างผลิต การเจริ ญของ
Alternaria, Cladosporium และ Stemphylium ทําให้ เนยมีสีดําออกเขียวหรื อเทา Penicillium
ทําให้ เนยมีสีเขียว Fusarium culmorum ทําให้ เนยมีสีชมพูแดงและ Pseudomonas nigrifaciens
ทําให้ เนยมีสีนํ [าตาลแดง

การเก็บรั กษาเนย
เนยมี การบรรจุในบรรจุภัณฑ์ หลายขนาด ตังแต่ [ 10 กรั ม จนกระทัง( ถึง 5 กิ โลกรั ม
แต่ขนาดที(นิยมบรรจุเนย ได้ แก่ 10 กรัม 15 กรัม 250 กรัม และ 500 กรัม การบรรจุเนยมักทําโดย
ระบบอัตโนมัติ นิยมห่อหุ้มด้ วยอลูมิเนียมฟอล์ย (aluminium foil) เนื(องจากเป็ นวัสดุที(สามารถ
ป้องกันแสง ป้องกันการซึมผ่านของสารให้ กลิ(นรสและนํ [า หลังจากนันจะทํ [ าการบรรจุห่อเนยลงใน
บรรจุภัณ ฑ์ ที(ปิ ดผนึ กอย่างมิ ดชิ ด แล้ ว ทํ าการเก็ บรั กษาที( อุณ หภู มิ 5 องศาเซลเซี ยส (Bylund,
1995, p. 277)

ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา


เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

บทสรุ ป

เนย คือ ผลิตภัณฑ์ที(ได้ จากส่วนที(เป็ นไขมันจากนมซึ(งผ่านกรรมวีการผลิตและอาจเติม


วิตามินหรื อวัตถุอื(นได้ ที(จําเป็ นต่อกรรมวิธีการผลิต
เนยแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ เนยสดและเนยหมัก วิธีการผลิตเนยสดเริ( มจากการ
นําครี มซึง( มีไขมันร้ อยละ 30-40 มาพาสเจอไรส์แล้ วนําไปเข้ าเครื( องปั( นแยกเนยเพื(อนําหางเนยออก
แล้ วนําเม็ดเนยมาล้ างด้ วยนํ า[ เย็น จากนันนํ [ าเม็ดเนยไปนวดแล้ วบรรจุ ส่วนวิธีการผลิตเนยหมัก
ทําจากการนําครี มที(พาสเจอไรส์แล้ วมาหมักด้ วยจุลินทรี ย จากนันนํ [ าครี มที(ผ่านการหมักไปบ่มแล้ ว
นํ าเข้ าเครื( องปั( นแยกเนยเพื( อนํ าหางเนยออกแล้ วนํ าเม็ ดเนยที( ได้ จากการปั( นมาล้ างด้ วยนํ า[ เย็ น
จากนัน[ นํ าไปนวดจะได้ เนยหมัก ซึ(งสมบัติและมาตรฐานเนยเป็ นไปตามข้ อกํ าหนดของประกาศ
กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที( 227 พ.ศ. 2544 เรื( อง เนย
การเสื(อมเสียของเนยมักเกิดจากการนําครี มและนมที(มีคณ ุ ภาพไม่ดีมาผลิตหรื อเนยมี
อายุการเก็บรักษานานเกินไป ลักษณะการเสื(อมเสียของเนย คือ เนยมีกลิ(นรสไม่ดี ได้ แก่ เกิดกลิ(น
เหม็นเน่า กลิ(นคาวปลา กลิ(นเอสเทอร์ กลิ(นคล้ ายสกังv กลิ(นเหม็นหืน หรื อเนยอาจเกิดการเปลี(ยนสี
เพื( อป้องกันการเสื( อมเสี ยของเนยควรห่อหุ้มเนยด้ วยอลูมิเนี ยมฟอล์ ยและบรรจุในบรรจุภัณฑ์ ที(
ปิ ดผนึกมิดชิดและเก็บรักษาที(อณ ุ หภูมิ 5 องศาเซลเซียส

คําถามท้ ายบท

1. จงอธิบายความหมายของเนย
2. เนยสดและเนยหมักมีความแตกต่างกันอย่างไร
3. จงอธิบายสาเหตุและลักษณะการเสื(อมเสียของเนย
4. จงบอกวิธีการเก็บรักษาเนย

ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา


เทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์

เอกสารอ้ างอิง

บุญศรี จงเสรี จิตต์. (2553). จุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์ นม. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย


ศิลปากร.
สาธารณสุข, กระทรวง. (2544ข). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที 227) พ.ศ. 2544
เรื อง เนย. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง
สุมาลี เหลืองสกุล. (2541). จุลชีววิทยาทางอาหาร. พิมพ์ครัง[ ที( 4. กรุงเทพมหานคร: ชัยเจริ ญ.
อภิญญา เจริ ญกูล. (2553). เทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์ นม. [Online]. Available:
http://www.elearning2.utcc.ac.th/officialtcu/econtent/sf411/ [2555, 12 มีนาคม].
Bylund, G. (1995). Dairy processing handbook. Sweden: LP Gafiska AB.
Walstra, P., Wouters, J. T. M., & Geurts, T.J. (2006). Dairy science and technology. 2nd
ed. USA: Taylor & Francis Group, LLC.

ดร.ปิ ยวรรณ ศุภวิทติ พัฒนา

You might also like