You are on page 1of 23

บทความวิชาการสาหรับการศึกษาต่อเนื่อง

เรื่อง กฎหมายด้านอาหารที่น่าสนใจและประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2564


จานวน 2.5 หน่วยกิต

ผู้เขียน
ภญ. นรินทร อาศิรพรพงศ์
ภญ. จิตติญาณ์ รอดรักษา

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. เพื่อทราบการความเป็นมาและเปลี่ยนแปลงของกฎหมายด้านอาหารที่น่าสนใจและประกาศใช้ในปี พ.ศ.
2564
2. เพื่อทราบและเข้าใจภาพรวมของกฎหมายด้านอาหารที่น่าสนใจและประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2564
กฎหมายด้านอาหารที่น่าสนใจและประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2564

การเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ามันและไขมัน
เดิมคณะกรรมการอาหารและยา มีการออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับน้ามันและไขมันทั้งหมด 8 ฉบับ
โดยมีข้อกาหนดแยกเป็น 4 ประเภทหลักๆ ได้แก่ น้ามันถั่วลิสง นา้ มันปาล์ม น้ามันมะพร้าว และน้ามันและไขมัน (น้ามันอื่นๆ
ที่ไม่เข้าตามเกณฑ์ของน้ามัน 3 ประเภทแรก) โดย อย. พิจารณาทบทวนประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับน้ามันและ
ไขมัน เพื่อปรับปรุงให้เหมาะสม ทันสมัยสอดคล้องกับมาตรฐานสากลและสถานการณ์ปัจจุบนั โดยอ้างอิงมาตรฐานอาหารโค
เด็กซ์ (Codex) ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1. Standard for edible fats and oils not covered by individual standards (CODEX STAN 19-1981)[1]
2. Standard for olive oils and olive pomace oils (CODEX STAN 33-1981)[2]
3. Standard for named vegetable oils (CODEX STAN 210-1999)[3]
4. Standard for named animal fats (CODEX STAN 211 -1999)[4]
5. Standard for fish oils (CODEX STAN 329-2017)[5]
แนวทางการจัดทาประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับใหม่ แยกออกเป็น 2 ฉบับ โดยยกเลิกประกาศฯ ทั้ง 8 ฉบับเดิม
และจัดกลุ่มโดยรวมน้ามันถั่วลิสง น้ามันปาล์ม น้ามันมะพร้าว น้ามันและไขมันจากพืช นอกเหนือจาก 3 ชนิดข้างต้น น้ามัน
และไขมันจากสัตว์ และน้ามันผสม ไว้ภายใต้ประกาศฯ ฉบับเดียวกัน คือ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 421) พ.ศ.
2564 เรื่อง น้ามันและไขมัน[6] และแยกข้อกาหนดเรื่องน้ามันปลา ออกเป็นประกาศฯ ฉบับที่ 422[7]

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 421) พ.ศ. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 422) พ.ศ.


2564 เรื่อง น้ามันและไขมัน[6] 2564 เรื่อง น้ามันปลา[7]

น้ามันถั่วลิสง น้ามันปลา
น้ามันปาล์ม
น้ามันมะพร้าว
น้ามันสาหร่าย
น้ามันและไขมันจากพืชอื่นๆ
น้ามันและไขมันจากสัตว์
น้ามันผสม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 421) พ.ศ. 2564 เรื่อง น้ามันและไขมัน[6]
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 421) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง
น้ามันและไขมัน มีสาระสาคัญดังต่อไปนี้
1. ยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง จานวน 8 ฉบับ (น้ามันถั่วลิสง น้ามันปาล์ม น้ามันมะพร้าว และ
น้ามันและไขมัน) เพื่อให้ใช้ข้อก้าหนดในประกาศฯ นี้แทน
2. ปรับปรุงขอบเขต นิยาม ประเภทน้ามันและไขมัน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานโคเด็กซ์ที่เกี่ยวข้อง และเทคโนโลยี
ปัจจุบนั มากขึ้น
1) กาหนดบทนิยาม น้ามันและไขมัน (Edible oils and fats) หมายความว่า “กลีเซอไรด์ของกรดไขมันชนิด
ต่างๆที่ได้จากพืช สัตว์หรือสิ่งมีชีวิตที่มีแหล่งกาเนิดจากทะเล (marine origin) เพื่อใช้บริโภคเป็นอาหาร
ทั้งนี้ ไม่รวมถึง น้ามันปลา” โดย “น้ามันและไขมัน” รวมถึง น้ามันและไขมันที่ทาให้แห้ง และกาหนดให้
ครอบคลุมวัตถุประสงค์เพื่อการบริโภคเป็นอาหารโดยตรง การใช้ปรุงประกอบอาหาร เช่น ทอด ผัด และ
การใช้เป็นวัตถุดิบ หรือส่วนผสมในผลิตภัณฑ์อาหารประเภทอื่นด้วย
2) “น้ามันและไขมัน” ไม่รวมถึง เนยและเนยเทียม น้ามันหอมระเหย (essential oil) ที่ใช้เป็นวัตถุแต่งกลิ่น
รส น้ามันที่ได้จากพืชและส่วนของพืชกัญชาหรือกัญชง (เนื่องจากมีประกาศฯ/ ข้อกาหนดเฉพาะ) น้ามัน
เชื้อรา (fungal oil) และไม่รวมสารอาหารพรีมิกซ์ (premix) ที่มีสารอาหารต่างๆ และน้ามันและไขมัน
เพื่อใช้เป็นสารสาคัญ (active ingredient) ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น
3) ตามประกาศฯ ฉบับนี้ มีการกาหนดชนิดของน้ามันและไขมันแยกเป็น 5 ประเภท สอดคล้องกับมาตรฐานโค
เด็กซ์ และครอบคลุมกับชนิดน้ามันและไขมันที่จาหน่ายในปัจจุบนั ดังนี้
i. น้ามันและไขมันที่ได้จากพืช (ตามบัญชีหมายเลข 1) 26 ชนิดหลัก โดยในแต่ละชนิด กาหนดชื่อ
วิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ และส่วนที่ใช้เป็นแหล่งน้ามันได้
ii. น้ามันและไขมันที่ได้จากสัตว์ (ตามบัญชีหมายเลข 2) 5 ชนิดหลัก โดยในแต่ละชนิด กาหนดชื่อ
วิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ และส่วนที่ใช้เป็นแหล่งน้ามันได้
iii. น้ามันและไขมันที่ได้จากสิ่งมีชีวติ ที่มีแหล่งกาเนิดจากทะเล (marine origin) (ตามบัญชี
หมายเลข 3) โดยมีน้ามันจากสาหร่ายที่ผ่านการประเมินความปลอดภัยแล้ว 2 ชนิด
(Schizochytrium sp. และ Crypthecodinium cohnii) ในแต่ละชนิด กาหนดชื่อวิทยาศาสตร์
ไว้ชัดเจน
iv. น้ามันและไขมันอื่นทีน่ อกเหนือจากรายชื่อชนิดของน้้ามันและไขมันตามบัญชีหมายเลข 1 2 และ
3 ตามที่ อย. อนุญาต
v. น้ามันและไขมันผสม ขยายขอบเขตให้สามารถผสมกันมากกว่า 2 ชนิดขึน้ ไปได้ เพื่อปรับปรุง
คุณสมบัติของน้ามันให้เหมาะสมกับการผลิต โดยนิยามว่า “น้ามันและไขมันในประกาศฯ หรือ
น้ามันและไขมันที่มีประกาศ สธ. ว่าด้วยเรื่องนั้นๆ เป็นการเฉพาะ ทั้งที่ได้มาโดยวิธีธรรมชาติ หรือ
วิธีผ่านกรรมวิธี นามาผสมกันตั้งแต่สองชนิดขึน้ ไป โดยวิธีทางกายภาพหรือผ่านกระบวนการ
อินเตอร์- เอสเทอริฟิเคชัน (interesterification) หรือที่ผสมโดยใช้กระบวนการอื่นตามที่
อย. อนุญาต” ยกเว้น กรณีน้ามันและไขมันผสมชนิดที่เป็นไปตามนิยามเฉพาะของคุณลักษณะ
น้ามันและไขมันที่มีการกาหนดไว้แล้ว ยังคงจัดเป็นน้ามันและไขมันตามชนิดนั้นๆ เช่น น้ามันกัน
ชง
กรณีที่ผู้ประกอบการต้องการต้องการเพิ่มชนิดน้ามันภายใต้ข้อกาหนดในประกาศฯ ฉบับนี้ ต้องยื่นเอกสาร
หรือหลักฐานประกอบการพิจารณา ดังนี้
✓ ข้อมูลแหล่งวัตถุดิบของน้ามันและไขมัน
✓ คุณภาพมาตรฐาน (specification) ของน้ามันและไขมัน ตามที่กาหนดไว้ ใน ป.สธ. พิจารณา
ตามแหล่งวัตถุดิบที่ใช้และวิธีการผลิตน้ามันและไขมันนั้นๆ เช่น น้าและสิ่งที่ระเหยได้, ปริมาณสบู่,
สิ่งอื่นที่ไม่ละลาย, สารอื่นที่อาจปนเปื้อน
✓ ข้อมูลองค์ประกอบของกรดไขมันของน้ามันและไขมัน (ตัวอย่าง ตามบัญชีหมายเลข 5 ท้าย
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยน้ามันและไขมัน)
✓ ข้อมูลคุณลักษณะทางเคมีและกายภาพของน้ามันและไขมัน (ตัวอย่าง ตามบัญชีหมายเลข 4 ท้าย
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยน้ามันและไขมัน)
✓ กระบวนการผลิตน้ามันและไขมันโดยละเอียด
✓ กรณีแหล่งวัตถุดิบ เข้าข่ายเป็นอาหารใหม่ ต้องผ่านการประเมินความปลอดภัยก่อน
3. ปรับปรุงกระบวนการผลิตทั้งวิธีธรรมชาติ และวิธีผ่านกรรมวิธีให้ครอบคลุมกับเทคโนโลยีปัจจุบัน โดยขยายความให้
ชัดเจนขึ้น และสอดคล้องกับประกาศฯ ที่เกี่ยวข้อง
1) วิธีธรรมชาติ ทาโดยการบีบอัดอาจบีบร้อนหรือบีบเย็น การสกัดเย็น การใช้ความร้อน การกลั่นและแยก
ลาดับส่วนโดยวิธีทางกายภาพ หรือวิธีธรรมชาติอื่นตามที่สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาอนุญาต
แล้วอาจนามาทาให้บริสุทธิ์ โดยการล้างด้วยน้า การตั้งให้ตกตะกอน การกรอง หรือการหมุนเหวี่ยง
2) วิธีผ่านกรรมวิธี ทาโดยนาน้ามันและไขมันที่ได้จากวิธีธรรมชาติ หรือน้ามันและไขมันที่ได้จากการสกัดด้วย
ตัวทาละลายมาผ่านกรรมวิธีการกาจัดกรดไขมันอิสระ อาจฟอกสี หรือกาจัดกลิ่นด้วยก็ได้ ทั้งนี้ ให้รวมถึง
การนามาผ่านการแยกลาดับส่วน (fractionation) หรือกระบวนการเติมเต็มไฮโดรเจน (ฟูลไฮโดรจิเนชัน
หรือ full hydrogenation) หรือกระบวนการอินเตอร์เอสเทอริฟิเคชัน (interesterification) หรือ
กระบวนการเกิด เอสเตอร์ใหม่ (รีเอสเตอร์ริฟิเคชัน หรือ re-esterification) โดยอาจมีการใช้สารเคมี
เอนไซม์ หรือความร้อน ช่วยเร่งปฏิกิริยา แล้วแต่กรณีด้วย
3) วิธีอื่นตามที่ อย. อนุญาต
4. ปรับปรุงข้อกาหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานโคเด็กซ์ ได้แก่
1) ข้อกาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานทั่วไป
✓ สี เป็นไปตามลักษณะเฉพาะของน้ามันและไขมันนัน้ ๆ
✓ กลิ่นรส ตามคุณลักษณะเฉพาะของน้ามันและไขมันนัน้ ๆ โดยไม่มีสิ่งแปลกปลอม และไม่มีกลิ่นหืน
o ต้องมีกลิ่นและรสตามวัตถุดิบหรือแหล่งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต หรืออาจมีการเติมกลิ่น
รสที่เป็นกลิน่ รสเฉพาะของน้ามันและไขมันนัน้ ตามแหล่งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
o กรณีน้ามันและไขมันที่ผสมพืชสมุนไพร เช่น โรสแมรี่ เห็ดทรัฟเฟิล พริก เป็นต้น
วัตถุประสงค์ให้กลิ่นรสแก่น้ามัน ทาให้กลิ่นและรสของน้ามันและไขมันไม่มีคุณลักษณะ
เฉพาะตามชนิดของน้ามันและไขมันนัน้ ๆ ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวไม่จดั เป็นน้ามันและไขมัน
ตาม ป.สธ. นี้ แต่จัดเป็นเครื่องปรุงรส โดยคุณภาพของน้ามันและไขมันที่ใช้เป็นวัตถุดิบ
ต้องเป็นไปตามประกาศฯ
✓ ค่าของกรด (Acid Value) ค่าเพอร์ออกไซด (Peroxide Value) น้าและสิ่งที่ระเหยได้ (Water
and Volatile Matter) ปริมาณสบู่ (Soap Content) สิ่งอื่นทีไ่ ม่ละลาย (Insoluble
Impurities) ซึ่งปรับปรุงค่าให้สอดคล้องกับมาตรฐานโคเด็กซ์
✓ ตรวจไม่พบน้ามันแร่ (Mineral oil) และอาจตรวจพบสารอื่นที่อาจปนเปื้อนมาได้ไม่เกินที่กาหนด
แล้วแต่กรณี ได้แก่ เหล็ก และทองแดง
2) คุณลักษณะทางเคมีและกายภาพของน้ามันและไขมันบางชนิด (บัญชีหมายเลข 4)
3) องค์ประกอบกรดไขมันตามชนิดของน้ามันและไขมันบางชนิด (บัญชีหมายเลข 5)
5. เพิ่มข้อกาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของน้ามันและไขมันที่ทาให้แห้ง โดยข้อกาหนดคุณภาพมาตรฐาน และ
องค์ประกอบของกรดไขมัน ต้องตรวจสอบที่วัตถุดิบ ไม่สามารถตรวจสอบที่ผลิตภัณฑ์สุดท้าย
1) ลักษณะทางกายภาพ : ลักษณะเป็นผง ไม่เกาะเป็นก้อน
2) ความชื้นไม่เกินร้อยละ 5 ของน้าหนัก
3) กาหนดน้ามันและไขมันที่ใช้เป็นวัตถุดิบ ต้องมีคุณภาพมาตรฐานตามชนิดของชนิดน้ามันนั้นๆ แล้วแต่กรณี
4) ส่วนประกอบอืน่ หรือคุณภาพหรือมาตรฐานอื่น ตามที่ อย. อนุญาต
6. กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของน้ามัน MCT ซึ่งได้จากการแยกลาดับส่วนกรดไขมัน และกลีเซอรอลของน้ามัน
มะพร้าว หรือน้ามันปาล์ม หรือน้ามันจากพืชตามบัญชีหมายเลข 1 นามาผ่านกระบวนการเชื่อมต่อกับกลีเซอรอล
ด้วยวิธีต่างๆ เพื่อให้ได้ไทรกลีเซอไรด์ของกรดไขมันชนิดอิ่มตัวที่โครงสร้างมีกรดไขมันชนิด 8-10 คาร์บอน เป็น
องค์ประกอบหลัก
1) น้ามัน MCT ต้องมีปริมาณกรดลอริก (C12:0, lauric acid) ไม่เกินร้อยละ 3 ของกรดไขมันทั้งหมดใน
น้ามันและไขมัน
2) มีปริมาณกรดแคโพรอิก (C6:0, caproic acid) ไม่เกิน ร้อยละ 2 ของกรดไขมันทั้งหมดในน้ามันและไขมัน
ทั้งนี้การจัดประเภทของน้ามัน MCT ขึ้นกับแหล่งที่มา โดยหากเป็น MCT oil ทีใ่ ช้น้ามันพืช 1 ชนิดเป็นวัตถุดิบตั้งต้น
ในการผลิต จัดเป็นน้ามันและไขมันที่ได้จากพืช (บัญชีหมายเลข 1) แต่ถ้าใช้น้ามันพืช 2 ชนิดเป็นวัตถุดิบตั้งต้นใน
การผลิต จัดเป็นน้ามันและไขมันผสม
7. ปรับปรุงข้อกาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานอื่น ๆ (มาตรฐานแนวนอน) ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวง
สาธารณสุขว่าด้วยเรื่องนั้นๆ เช่น สารปนเปื้อน วัตถุเจือปนอาหาร ภาชนะบรรจุ GMP
1) กาหนดให้ตรวจพบสารปนเปื้อน และจุลนิ ทรีย์ก่อโรค ไม่เกินข้อกาหนดตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่า
ด้วยเรือ่ งที่เกี่ยวข้อง
2) กาหนดให้การใช้วัตถุเจือปนอาหาร และภาชนะบรรจุน้ามันและไขมัน ต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวง
สาธารณสุขว่าด้วยเรื่องที่เกี่ยวข้อง
3) กาหนดให้การผลิตหรือนาเข้าน้ามันและไขมัน เพื่อจาหน่ายต้อง
i. ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต
และการเก็บรักษาอาหาร และ
ii. ไม่ใช้น้ามันทอดซ้า น้ามันและไขมันที่ใช้ซ้า หรือใช้ทอดหรือประกอบอาหารมาแล้ว ใน
กระบวนการผลิต
4) กาหนดการแสดงฉลากของน้ามันและไขมัน ให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง การ
แสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ[8] และต้องแสดงรายละเอียดเพิ่มเติม แล้วแต่กรณี
i. แสดงวิธีการผลิต โดยแสดงต่อจากชื่อของน้ามันและไขมันนั้นๆ
ii. กรณีน้ามันและไขมันผสม ให้แสดงชนิดน้ามันหรือไขมันที่เป็นส่วนประกอบ สัดส่วนที่ผสม
ตามลาดับของปริมาณจากมากไปน้อย พร้อมแสดงวิธีการผลิตน้ามันหรือไขมันก่อนผสม โดย
แสดงต่อจากชื่ออาหาร
8. ปรับปรุงข้อกาหนดการแสดงฉลาก ตาม ป.สธ. การแสดงฉลากของอาหารฯ และเพิ่มเงื่อนไขการแสดงฉลาก ให้ระบุ
1) วิธีการผลิตในชื่ออาหาร
2) ชนิด สัดส่วน วิธีการผลิตของน้ามันและไขมันที่นามาผสม (กรณีน้ามันและไขมันผสม)

ตัวอย่างการแสดงฉลากน้ามันและไขมันที่ได้จากพืช

ตัวอย่างการแสดงฉลากน้ามันและไขมันที่ได้จากพืช กรณีน้ามันและไขมันสามารถผสมกัน 2 ชนิดได้

ตัวอย่างการแสดงฉลากน้ามันและไขมันชนิดผสม

ตัวอย่างการแสดงฉลากน้ามันและไขมันที่ได้จากพืช กรณีน้ามันมะกอกผ่านกรรมวิธี (Refined olived-


pomace oil)
9. กาหนดบทเฉพาะกาล ให้ผู้ผลิต ผู้นาเข้าน้ามันและไขมันที่ได้รับอนุญาตก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ (10 กุมภาพันธ์
2564) จะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามประกาศฉบับนี้ ภายในสองปีนับแต่วันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ และให้คงจาหน่าย
ต่อไปได้ทั้งนี้ ต้องไม่เกินสองปีนบั แต่วันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ (9 กุมภาพันธ์ 2566)

แนวทางการอนุญาตน้ามันและไขมันภายใต้ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 421) พ.ศ. 2564 เรื่อง


น้ามันและไขมัน
• ผู้ผลิต นาเข้าหรือแบ่งบรรจุน้ามันและไขมัน รายใหม่
o กรณี ชนิดน้ามันและคุณภาพมาตรฐานตามประกาศฯ → ผู้ประกอบการยื่นและได้รับใบสาคัญฯ สบ.7/1
(อัตโนมัติ)
o กรณี ชนิดน้ามันหรือคุณภาพมาตรฐานไม่เป็นไปตามประกาศฯ → ผู้ประกอบการเตรียมเอกสารวิชาการ
ยื่นให้ อย. เพื่อขออนุญาตเพิ่มเติมชนิดน้ามัน หรือขออนุญาตคุณภาพมาตรฐานก่อน จึงจะยืน่ ขออนุญาตได้
• ผู้ผลิต นาเข้าหรือแบ่งบรรจุน้ามันและไขมัน รายเดิม
o กรณีที่ได้รับเลขสารบบอาหาร ก่อนวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564
น้ามันและไขมัน มีรายชื่อชนิดตามบัญชีหมายเลข 1 ถึง 3 ท้าย ป.สธ. ฉบับ 421 (เช่น น้ามันมะพร้าว ซึ่ง
ประกาศฯ ใหม่ มีข้อแก้ไขคุณภาพมาตรฐาน)
▪ สามารถจาหน่ายต่อไปได้ แต่ต้องไม่เกิน 2 ปี (จาหน่ายได้ถึงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566)
▪ โดยหากมีฉลากเดิม ต้องดาเนินการปรับปรุงฉลากให้ถูกต้อง และควบคุมให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ
หรือมาตรฐานเป็นไปตามประกาศ ภายใน 2 ปี (ภายใน 9 กุมภาพันธ์ 2566)
✓ กรณีที่ประสงค์จะขอแก้ไขรายละเอียดในใบสาคัญการแจ้งรายละเอียดอาหาร (สบ.7/1)
ให้ยื่นแก้ไขรายละเอียดของอาหารที่จดทะเบียนอาหาร/แจ้งรายละเอียดอาหาร (สบ.8)
ผ่านระบบ E-submission และแก้ไขให้ถูกต้องตามประกาศฯ ใหม่ ตามระยะเวลาผ่อน
ผัน และเมื่อครบระยะเวลาที่กาหนด ผู้ประกอบการต้องปรับปรุงคุณภาพมาตรฐาน และ
การแสดงฉลากให้สอดคล้องกับประกาศฯ ใหม่
✓ กรณีไม่มีการขอแจ้งแก้ไข ผู้ประกอบการต้องปรับปรุงคุณภาพมาตรฐาน และการแสดง
ฉลากของน้ามันและไขมัน ให้สอดคล้องกับประกาศฯ ใหม่ ทั้งนี้ หากมีการปรับปรุงแล้ว
ให้ถือว่าการแจ้งรายละเอียดอาหารตามประเภทอาหารตามประกาศฉบับเดิมนั้นได้ถูก
ปรับแก้ไขประเภทอาหารและชื่อประกาศให้เป็นไปตามประกาศฯ ใหม่ โดยอนุโลม
o กรณีที่ได้รับเลขสารบบอาหาร ก่อนวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564
น้ามันและไขมัน มีรายชื่อชนิดตามบัญชีหมายเลข 1 ถึง 3 ท้าย ป.สธ. ฉบับ 421
▪ สามารถจาหน่ายต่อไปได้ แต่ต้องไม่เกิน 2 ปี (จาหน่ายได้ถึงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566)
▪ ต้องดาเนินการปรับปรุงฉลากให้ถูกต้อง และควบคุมให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพหรือมาตรฐานเป็นไป
ตามประกาศฯ ภายใน 2 ปี (ภายใน 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566)
▪ ต้องดาเนินการยื่นข้อมูลคุณภาพมาตรฐานและรายละเอียดของนา้ มันและไขมัน ให้ อย. พิจารณา
อนุญาต ภายใน 2 ปี (ภายใน 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566) เพื่ออนุญาตเพิ่มเติมเป็นรายกรณี และ
รวบรวมรายชื่อและข้อกาหนดคุณภาพมาตรฐานนาไปปรับปรุงประกาศฯ ต่อไป
o กรณีที่ขอแก้ไขรายละเอียดในใบสาคัญการแจ้งรายละเอียดอาหาร (สบ.7/1)
▪ ระบบอนุญาตจะแสดงข้อมูลแก่ผู้ประกอบการให้ทราบว่า “น้ามันและไขมันดังกล่าว ต้องปรับปรุง
รายละเอียด ชนิด คุณภาพมาตรฐาน และการแสดงฉลากให้ถูกต้อง ตามประกาศกระทรวง
สาธารณสุข (ฉบับที่ 421) พ.ศ. 2564[6] และ (ฉบับที่ 422) พ.ศ. 2564[7] ภายในวันที่ 9
กุมภาพันธ์ 2566” ที่ประวัติการแก้ไขท้ายใบสาคัญฯ (แบบ สบ.7/1)

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 422) พ.ศ. 2564 เรื่อง น้ามันปลา[7]


ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 422) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง
น้ามันปลา อ้างอิงตามมาตรฐานโคเด็กซ์เรื่องน้ามันปลา (CODEX STAN 329-2017)[5] มีสาระสาคัญดังต่อไปนี้
1. กาหนดขอบเขต นิยาม ชนิด ให้สอดคล้องกับมาตรฐานโคเด็กซ์ ที่เกี่ยวข้อง
✓ “น้ามันปลา” (fish oils) หมายความว่า กลีเซอไรด์ของกรดไขมันชนิดต่างๆ รวมถึงกรดไขมันในรูปของ
เอทิลเอสเตอร์ที่ได้จากปลา* หรือสัตว์น้าประเภทมีเปลือก** ที่ใช้บริโภคเป็นอาหาร อาจมีส่วนประกอบ
ของลิพิดอื่น*** (lipids) และสารที่แซพอนิไฟด์ไม่ได้ ซึ่งพบได้ตามธรรมชาติ ทั้งนี้ให้รวมถึงน้ามันปลาที่
ทาให้แห้งด้วย
* ปลา: สัตว์น้าเลือดเย็นที่มีกระดูกสันหลังไม่รวมถึงสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า และสัตว์เลื้อยคลานที่อาศัยอยู่ใน
น้า
** สัตว์น้าประเภทมีเปลือก: สัตว์น้าในกลุ่มมอลลัสกา (Mollusca) และสัตว์พวกกุ้ง ปู (Crustaceans)
*** ส่วนประกอบของลิพิดอื่น หมายรวมถึง ไขมันและกลุม่ ฟอสโสลิพิด ซึ่งอาจพบเป็นส่วนประกอบหลัก
โดยธรรมชาติในน้ามันปลาบางชนิด เช่น น้ามันคริลล์ (krill oil) เป็นต้น
✓ ครอบคลุมวัตถุประสงค์เพื่อการบริโภคเป็นอาหารโดยตรง การใช้เป็นวัตถุดิบ หรือส่วนผสมในผลิตภัณฑ์
อาหารประเภทอื่นด้วย โดยการใช้น้ามันปลาเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น น้ามันปลาที่ใช้เป็น
ส่วนประกอบต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐานตาม ป.สธ. น้ามันปลา และ ผลิตภัณฑ์อาหารนั้นยังต้องมี
คุณภาพหรือมาตรฐาน เงื่อนไขการใช้ การแสดงฉลาก เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย
เรื่องผลิตภัณฑ์อาหารนั้นๆ ด้วย
✓ ประกาศฯ ฉบับนี้ไม่รวมสารอาหารพรีมิกซ์ (premix) ที่มีสารอาหารต่างๆ รวมถึงน้ามันปลาด้วย เพื่อใช้
เป็นเป็นสารสาคัญ (active ingredient) ในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น เช่น นมดัดแปลงสาหรับทารก
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เป็นต้น
✓ ชนิดของน้ามันปลา (fish oils) ตามประกาศฯ แบ่งเป็น 5 ชนิด ได้แก่
o น้ามันปลาที่มีชื่อเฉพาะ (named fish oil): น้ามันปลาที่ผลิตจากวัตถุดิบตามคุณลักษณะของ
ปลาหรือสัตว์น้าประเภทมีเปลือกที่ใช้ในการสกัดน้ามัน มี 5 ชนิด ได้แก่ น้ามันปลากะตัก
(Anchovy oil) น้ามันปลาทูน่า (Tuna oil) น้ามันปลาเมนเฮเดน (Menhaden oil) น้ามัน
ปลาแซลมอน (Salmon oil) และ น้ามันคริลล์ (Krill oil)
o น้ามันปลาชนิดอืน่ (unnamed fish oil) : น้ามันปลาที่ผลิตจากปลาหรือสัตว์น้าประเภทมี
เปลือก 1 ชนิดหรือมากกว่า 1 ชนิดผสมกัน และน้ามันปลาที่มีส่วนผสมของน้ามันตับปลา
o น้ามันตับปลา (fish liver oils) : น้ามันที่ได้จากตับของปลาและมีส่วนประกอบของกรดไขมัน
วิตามินหรือส่วนประกอบอื่นๆ ทีไ่ ด้จากการสกัดน้ามันจากตับของปลาหลายชนิด ได้แก่
- น้ามันตับปลาค็อด (cod liver oil)
- น้ามันตับปลาอื่น (unnamed fish liver oils) ได้จากตับของปลา 1 ชนิดหรือมากกว่า 1
ชนิดผสมกัน
o น้ามันปลาชนิดเข้มข้น: น้ามันปลาตาม (1) (2) (3) ที่นามาผ่านกรรมวิธีต่างๆ เช่น hydrolysis,
fractionation, winterization, re-esterification เพื่อเพิ่มความเข้มข้นของกรดไขมันบาง
ชนิด โดยเฉพาะ EPA และ DHA แบ่งเป็น ชนิดเข้มข้น และเข้มข้นสูง
o น้ามันปลาในรูปเอทิลเอสเทอร์ชนิดเข้มข้น: น้ามันปลาที่มกี รดไขมันในรูปเอทิลเอสเทอร์เป็น
องค์ประกอบหลัก ที่ได้จากน้ามันปลาตาม (1) (2) (3) แบ่งเป็น ชนิดเข้มข้น และเข้มข้นสูง
2. กาหนดกระบวนการผลิตน้ามันปลา (อ้างอิงตามมาตรฐานโคเด็กซ์ และกาหนดรายละเอียดกระบวนการผลิตให้
ครอบคลุมกับเทคโนโลยีการผลิตปัจจุบนั )
✓ นาน้ามันปลาดิบ (crude fish oil) หรือน้ามันตับปลาดิบ (crude liver fish oil) ที่สกัดได้มาจากวัตถุดิบ
มาผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การผ่านความร้อน การใช้กรดหรือด่าง การกาจัดน้าออก การกาจัดกรด
ไขมันอิสระ อาจฟอกสี หรือกาจัดกลิ่นด้วยก็ได้ ทั้งนี้ ให้รวมถึงการนามาผ่านกระบวนการต่างๆ เช่น การ
แยกสลายด้วยน้า (hydrolysis) กระบวนการวินเทอร์ไรเซชัน (winterization) กระบวนการแยกลาดับ
ส่วน (fractionation) กระบวนการเติมเต็มไฮโดรเจน (ฟูลไฮโดรจิเนชัน หรือ full hydrogenation)
กระบวนการเกิดเอสเตอร์ใหม่ (รีเอสเตอร์ริฟิเคชัน หรือ re-esterification) หรือกระบวนการอินเตอร์อส
เทอริฟิเคชัน (inter-esterification) ด้วย
✓ น้ามันปลาตามประกาศฯ เป็นน้ามันที่ผ่านกรรมวิธี เท่านั้น น้ามันปลาดิบ (crude fish oil) ยังไม่สามารถ
ใช้บริโภคเป็นอาหารโดยตรงได้
3. กาหนดคุณภาพมาตรฐาน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานโคเด็กซ์ ได้แก่
1) ข้อกาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานทั่วไป
✓ น้ามันปลาชนิดเหลว
- สี เป็นไปตามลักษณะเฉพาะของน้ามันปลา
- กลิ่นและรส ตามคุณลักษณะเฉพาะของน้ามันปลา โดยไม่มีสิ่งแปลกปลอม และไม่มกี ลิน่ หืน
- องค์ประกอบของกรดไขมันสาหรับน้ามันปลาบางชนิด (บัญชีหมายเลข 1)
- องค์ประกอบอื่นที่จาเป็น (บัญชีหมายเลข 2)
- ค่าของกรด (Acid value), ค่าเพอร์ออกไซด์ (Peroxide value), ค่าแอนิซิดีน (Anisidine
values),
ค่าออกซิเดชั่นรวม (Total oxidation value: ToTox) แล้วแต่ชนิดของน้ามันปลา
- ปริมาณวิตามินเอ และวิตามินดี เฉพาะน้ามันตับปลา ซึ่งอ้างอิงตามมาตรฐานโคเด็กซ์
✓ น้ามันปลาที่ทาให้แห้ง
- ลักษณะทางกายภาพเป็นผง ไม่เกาะเป็นก้อน
- ความชื้นไม่เกินร้อยละ 5 ของน้าหนัก
- กาหนดน้ามันปลาที่ใช้เป็นวัตถุดิบผลิต ต้องมีคุณภาพมาตรฐานตามชนิดของชนิดน้ามันนั้นๆ
- มีส่วนประกอบอื่น หรือคุณภาพหรือมาตรฐานอื่น ตามที่ อย. อนุญาต
2) องค์ประกอบกรดไขมันตามชนิดของน้ามันปลาบางชนิด (บัญชีหมายเลข 1)
3) องค์ประกอบอื่นที่จาเป็นของน้ามันปลาบางชนิด (บัญชีหมายเลข 2)
4. กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานของน้ามันและไขมันที่ทาให้แห้ง
5. กาหนดคุณภาพหรือมาตรฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่องนั้นๆ เช่น สาร
ปนเปื้อน วัตถุเจือปนอาหาร ภาชนะบรรจุ GMP
✓ กาหนดให้ตรวจพบสารปนเปื้อน และจุลนิ ทรีย์ก่อโรค ไม่เกินข้อกาหนดตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ว่าด้วยเรื่องที่เกี่ยวข้อง
✓ กาหนดให้การใช้วัตถุเจือปนอาหาร และภาชนะบรรจุน้ามันปลา ต้องเป็นไปตามประกาศกระทรวง
สาธารณสุขว่าด้วยเรื่องที่เกี่ยวข้อง
✓ กาหนดให้การผลิตหรือนาเข้าน้ามันและไขมัน เพื่อจาหน่าย ต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ว่าด้วยเรื่อง วิธีการผลิตเครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร[9]
✓ การนาน้ามันปลาตามประกาศฯนี้ ไปใช้เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์อาหารอื่น ผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้ต้อง
มีคุณภาพมาตรฐาน เงื่อนไขการใช้ การแสดงฉลาก เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง
ผลิตภัณฑ์อาหารนั้น ๆ
6. กาหนดเงื่อนไขการแสดงฉลาก ตาม ป.สธ. การแสดงฉลากของอาหารฯ และเพิ่มเงื่อนไขการแสดงฉลาก โดยให้ระบุ
✓ ชื่อของวัตถุดิบ กรณีน้ามันปลาและน้ามันตับปลาที่มชี ื่อเฉพาะ
✓ แหล่งที่มาของปลา (สาหรับน้ามันปลาแซลมอน)
✓ ปริมาณวิตามินเอและวิตามินดีสาหรับน้ามันตับปลา
✓ ปริมาณกรดไขมัน DHA และ EPA สาหรับน้ามันปลาบางชนิด
✓ น้ามันปลาผสม น้ามันตับปลาผสม และน้ามันปลาที่ทาให้แห้ง แสดงชนิดน้ามันปลาที่เป็นส่วนประกอบ
ตามลาดับปริมาณจากมากไปน้อย โดยแสดงต่อจากชื่ออาหาร
7. กาหนดบทเฉพาะกาล ให้ผู้ผลิต ผู้นาเข้าน้ามันและไขมันที่ได้รับอนุญาตก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ (10 กุมภาพันธ์
2564) จะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามประกาศฯ ฉบับนี้ ภายในสองปีนับแต่วันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ และให้คงจาหน่าย
ต่อไปได้ทั้งนี้ ต้องไม่เกินสองปีนบั แต่วันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ (9 กุมภาพันธ์ 2566)

แนวทางการอนุญาตภายใต้ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 422) พ.ศ. 2564 เรื่อง น้ามันปลา


• ผู้ผลิต นาเข้าหรือแบ่งบรรจุน้ามันปลา รายใหม่
o กรณี ชนิดน้ามันและคุณภาพมาตรฐานตามประกาศฯ → ผู้ประกอบการยื่นและได้รับใบสาคัญฯ สบ.7/1
(อัตโนมัติ)
• ผู้ผลิต นาเข้าหรือแบ่งบรรจุน้ามันปลา รายเดิม
o กรณีที่ได้รับเลขสารบบอาหาร (ตามประเภทอาหารน้ามันและไขมัน ตาม ป.สธ. ฉ. 205) และน้ามันปลา
(อาหารทั่วไป - ที่มีหลักฐานการอนุญาตผลิตหรือนาเข้าเป็นอาหารทั่วไป) ก่อนวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564
▪ สามารถจาหน่ายต่อไปได้ แต่ต้องไม่เกิน 2 ปี (จาหน่ายได้ถึงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566)
▪ โดยหากมีฉลากเดิม ต้องดาเนินการปรับปรุงฉลากให้ถูกต้อง และควบคุมให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ
หรือมาตรฐานเป็นไปตามประกาศฯ ภายใน 2 ปี (ภายใน 9 กุมภาพันธ์ 2566)
✓ กรณีที่ประสงค์จะขอแก้ไขรายละเอียดในใบสาคัญการแจ้งรายละเอียดอาหาร (สบ.7/1)
ให้ยื่นแก้ไขรายละเอียดของอาหารที่จดทะเบียนอาหาร/แจ้งรายละเอียดอาหาร (สบ.8)
ผ่านระบบ E-submission และแก้ไขให้ถูกต้องตามประกาศฯ ใหม่ ตามระยะเวลาผ่อน
ผัน และเมื่อครบระยะเวลาที่กาหนด ผู้ประกอบการต้องปรับปรุงคุณภาพมาตรฐาน และ
การแสดงฉลากให้สอดคล้องกับประกาศฯ ใหม่
✓ กรณีไม่มีการขอแจ้งแก้ไข ผู้ประกอบการต้องปรับปรุงคุณภาพมาตรฐาน และการแสดง
ฉลากของน้ามันและไขมัน ให้สอดคล้องกับประกาศฯ ใหม่ ทั้งนี้ หากมีการปรับปรุงแล้ว
ให้ถือว่าการแจ้งรายละเอียดอาหารตามประเภทอาหารตามประกาศฯ ฉบับเดิมนั้นได้ถูก
ปรับแก้ไขประเภทอาหารและชื่อประกาศให้เป็นไปตามประกาศฯ ใหม่ โดยอนุโลม
o กรณีที่ได้รับเลขสารบบอาหาร ก่อนวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564
น้ามันปลาที่ใช้ อยู่นอกบัญชีแนบท้ายประกาศฯ
▪ ให้ใช้รายการส่วนประกอบอาหาร (FDA number) ที่ถูกกาหนดไว้ในฐานข้อมูล ก่อนวันที่ 10
กุมภาพันธ์ 2564 เพื่ออนุโลมใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารได้ 2 ปี เมื่อได้รับเลขสารบบอาหาร
แล้วผู้ประกอบการจะต้องส่งเอกสารข้อมูล คุณภาพมาตรฐานและรายละเอียดของน้ามันให้ อย.
พิจารณาอนุญาตภายในระยะเวลาผ่อนผัน 2 ปี เพื่อเพิ่มเติมรายชื่อ และข้อกาหนดคุณภาพ
มาตรฐานในประกาศฯ ต่อไป
o กรณีที่ขอแก้ไขรายละเอียดในใบสาคัญการแจ้งรายละเอียดอาหาร (สบ.7/1)
▪ ระบบอนุญาตจะแสดงข้อมูลแก่ผู้ประกอบการให้ทราบว่า “น้ามันและไขมันดังกล่าว ต้องปรับปรุง
รายละเอียด ชนิด คุณภาพมาตรฐาน และการแสดงฉลากให้ถูกต้อง ตามประกาศกระทรวง
สาธารณสุข (ฉบับที่ 421) พ.ศ. 2564[6] และ (ฉบับที่ 422) พ.ศ. 2564[7] ภายในวันที่ 9
กุมภาพันธ์ 2566” ทีป่ ระวัติการแก้ไขท้ายใบสาคัญฯ (แบบ สบ.7/1)

แนวทางการดาเนินการกับใบอนุญาตผลิตและนาเข้าอาหาร
• ใบอนุญาตผลิตอาหาร (แบบ อ.2) คาขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบ สบ.1) หรือใบสาคัญ
เลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน (แบบสบ.1/1)
ประเภทอาหารเดิมที่ได้รับอนุญาต
น้ามันมะพร้าว หรือ
ระบบนาเข้าข้อมูล ใบอนุญาต/ ใบสาคัญฯ
น้ามันปาล์ม หรือ น้ามันและไขมัน
น้ามันถั่วลิสง
1. ระบบปรับปรุงข้อมูลอัตโนมัติ 1. เจ้าหน้าที่ไม่ต้อง
โดยไม่ต้องยื่นคาขอเพิ่มประเภท ดาเนินการ กับใบอนุญาต
อาหาร
2. กรณีใบอนุญาตฉบับเดิมได้รับ ยกเว้น การปรับปรุงประเภท
อนุญาต ผลิต น้ามันปลา ไว้ อาหาร กรณีขึ้นใบใหม่
แล้ว** ระบบจะเพิ่ม ประเภท 2. ผู้ประกอบการ >> ยื่น
น้ามันปลา โดยอัตโนมัติ หนังสือชี้แจงความประสงค์
ขอแก้ไข/เพิ่มประเภทอาหาร
พร้อมกรรมวิธีผลิต สูตร
ส่วนประกอบ และเลขสารบบ
อาหารที่เคยได้รับอนุญาต
เจ้าหน้าที่ >> ดาเนินการสลัก
หลังเพิ่มประเภทอาหาร
น้ามันปลา ในใบอนุญาต โดย
ผู้ประกอบการ ไม่ต้องชาระ
เงินค่าใช้จ่าย
ระบบปรับปรุงข้อมูลอัตโนมัติ ปรับปรุงการสลักหลังใบ
โดยไม่ต้องยื่นค้าขอเพิ่มประเภท อนุญาตเมื่อผู้ประกอบการมา
อาหาร ดาเนินการแก้ไขรายการใน
ใบอนุญาต โดยระบุข้อความ
สลักหลัง ดังนี้ แก้ไขประเภท
อาหารที่กาหนดคุณภาพหรือ
มาตรฐาน ได้แก่ น้ามันปาล์ม
หรือน้ามันมะพร้าว หรือ
น้ามันจากถั่วลิสง (ระบุตาม
ข้อเท็จจริง) เป็นน้ามันและ
ไขมัน ที่จดทะเบียนอาหารไว้
(...ลงวันที่อนุญาต...)
**เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตไว้ก่อนวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564

• ใบอนุญาตผลิตนาหรือสั่งอาหารเข้ามาในราชอาณาจักร (แบบ อ.7)


ประเภทอาหารเดิมที่ได้รับอนุญาต**
น้ามันมะพร้าว หรือ
ระบบนาเข้าข้อมูล ใบอนุญาต/ ใบสาคัญฯ
น้ามันปาล์ม หรือ น้ามันและไขมัน
น้ามันถั่วลิสง
ระบบปรับปรุงข้อมูลอัตโนมัติ อย.มีการปรับการยื่นคาขอที่
และเพิ่มประเภท น้ามันปลา ใน เกี่ยวข้องกับใบอนุญาตอ.7
ระบบอัตโนมัติ ผ่านระบบ E-submission
และปรับการสลักหลัง จาก
ประเภทอาหาร เป็น สภาวะ
การเก็บรักษา แล้ว
>> กรณีที่ผู้ประกอบการ
ต้องการขอเพิ่มประเภท
อาหาร จะต้องยื่นค้าขอ
เปลี่ยนแปลงรายการใน
ใบอนุญาตนาหรือสั่งอาหาร
เข้ามาในราชอาณาจักร กรณี
เพิ่มสภาวะการเก็บอาหาร
แทนการเพิ่มประเภทอาหาร
ระบบปรับปรุงข้อมูลอัตโนมัติ ปรับปรุงการสลักหลังใบ
อนุญาตเมื่อผู้ประกอบการมา
มีหรือไม่มี ระบบปรับปรุงข้อมูลอัตโนมัติ ดาเนินการแก้ไขรายการใน
และเพิ่มประเภท น้ามันปลา ใน ใบอนุญาต โดยระบุข้อความ
ระบบอัตโนมัติ สลักหลัง ดังนี้ แก้ไขประเภท
อาหารที่กาหนดคุณภาพหรือ
มาตรฐาน ได้แก่ น้ามันปาล์ม
หรือน้ามันมะพร้าว หรือ
น้ามันจากถั่วลิสง (ระบุตาม
ข้อเท็จจริง) เป็นน้ามันและ
ไขมัน ที่จดทะเบียนอาหารไว้
(...ลงวันที่อนุญาต...)
**เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับอนุญาตไว้ก่อนวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2564

การเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชาจากพืช
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 426) พ.ศ. 2564 เรื่อง ชาจากพืช[10]
อย. เห็นควรให้ปรับปรุงประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง ชาสมุนไพร เพื่อให้สอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ที่มี
จาหน่าย ซึ่งในปัจจุบันมีประกาศฯ ที่เกี่ยวข้องจานวน 2 ฉบับ ได้แก่
1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 280) พ.ศ. 2547 เรื่อง ชาสมุนไพร (15 รายการ)[11]
2. ประกาศสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง กาหนดรายชื่อพืชหรือส่วนของพืชที่ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับชา
สมุนไพร (3 รายการ)[12]
บัญชีรายชื่อพืชและส่วนของพืชที่ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับชาจากพืช ท้ายประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 426)
พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เรื่อง ชาจากพืช จะมีรายชื่อพืชที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 201
รายการ โดยรวบรวมรายชื่อพืชที่ใช้แปรรูปเป็นวัตถุดิบในการทาชา โดยอ้างอิงจากข้อมูลวิชาการและข้อมูลการอนุญาต
รวมถึงพืชที่มีการอนุญาตเป็นชาสมุนไพรในต่างประเทศ ทั้งนี้รายชื่อพืชตามประกาศฯ ได้ผ่านการตรวจสอบข้อมูลความ
ปลอดภัย และความถูกต้องของชื่อวิทยาศาสตร์จากฐานข้อมูลที่น่าเชื่อถือทั้งในและต่างประเทศ เช่น กลุม่ งานพฤกษศาสตร์ป่า
ไม้ สานักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้ เว็บไซต์ฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพระดับโลก (Global Biodiversity
Information Facility; GBIF) เป็นต้น โดยจัดเรียงรายชื่อตามลาดับตัวอักษรภาษาอังกฤษ และกาหนดการแสดงข้อความคา
เตือนบนฉลากผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพร สาหรับกลุ่มผู้บริโภคที่มีความเสี่ยง
เกณฑ์การพิจารณาการนาพืชเป็นส่วนประกอบในชาจากพืช เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพิจารณารายชื่อพืชและส่วนที่
ใช้ในบัญชีแนบท้ายประกาศฯ จะต้องผ่านทั้ง 3 เกณฑ์ ดังต่อไปนี้
1. ประวัติการใช้เป็นอาหาร หรือบริโภคในรูปแบบชาจากพืชที่เป็นอาหารมากกว่า 15 ปี และไม่พบสารพิษธรรมชาติ
(Natural toxin) หรือสารอื่นที่อาจมีอันตรายต่อสุขภาพ
2. วิธีการบริโภค ต้องไม่มีข้อบ่งใช้ ไม่จากัดขนาดรับประทาน และไม่จากัดกลุ่มผู้บริโภคเป็นการเฉพาะ
3. วัตถุประสงค์การบริโภค ต้องไม่มีความมุ่งหมายหรือหวังผลในเชิงบาบัด บรรเทา ป้องกัน รักษาโรค ไม่มีความมุ่ง
หมายให้ผลต่อการทางานของร่างกายให้ดีขึ้น
สาระสาคัญของประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 246) พ.ศ. 2564 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร
พ.ศ. 2522 เรื่อง ชาจากพืช มีการกาหนดนิยาม “ชาจากพืช” หมายความว่า ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จากส่วนต่างๆ ของพืช ที่ผ่าน
กระบวนการทาให้แห้ง อาจผ่านการบดหยาบหรือลดขนาดโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อนาไปบริโภคโดยการต้มหรือชงกับน้า โดย
ประกาศฯ ฉบับนี้จะอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522[13] ต่างจากบทนิยาม “สมุนไพร” ตามพระราชบัญญัติ
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562[14] ที่กาหนดบทนิยามว่า “สมุนไพร” หมายความว่า “ผลิตผลธรรมชาติที่ได้จากพืช สัตว์ จุล
ชีพ หรือแร่ที่ใช้ผสม ปรุงหรือ แปรสภาพ”โดยการประกาศใช้ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 426) พ.ศ. 2564 เรื่อง ชา
จากพืช มีผลยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 280) พ.ศ. 2547 เรื่อง ชาสมุนไพร ลงวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2547
ข้อกาหนดเดิม ข้อกาหนดใหม่
ป. สธ. (ฉบับที่ 280) พ.ศ. 2557 “ชาสมุนไพร”[11] ป. สธ. (ฉบับที่ 426) พ.ศ. 2564 “ชาจากพืช”[10]
กาหนด พืชที่ใช้เป็นชาจากพืช ให้เป็นไปตามที่กาหนดในบัญชีรายชื่อพืช
ข้อ 4 พืชตามข้อ 3 ให้เป็นไปตามที่กาหนดในบัญชี ข้อ 4 พืชตามข้อ 3 ให้เป็นไปตามที่กาหนดในบัญชี
รายชื่อพืชและส่วนของพืชที่ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับชาจาก รายชื่อพืชและส่วนของพืชที่ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับชาจาก
พืชท้ายประกาศฯ นี้ พืชท้ายประกาศฯ นี้ [และรายชื่อเพิ่มเติมตามที่รัฐมนตรี
ประกาศฯ
กาหนด]
ปรับปรุงข้อกาหนดบางส่วนเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง
1. มีความชื้นตามมาตรฐานที่กาหนดในตารายาที่ 1. มีความชื้นได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของน้าหนัก
รัฐมนตรีประกาศฯ ตามกฎหมายว่าด้วยยา ในกรณีที่ไม่มี
มาตรฐานกาหนดไว้ ให้มีความชื้นได้ไม่เกินร้อยละ 10
ของน้าหนัก
2. ไม่มีจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค 2. จุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรคให้เป็นไปตามประกาศ
กระทรวง
สาธารณสุขว่าด้วยมาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทาให้
เกิดโรค
3. ไม่มีสารเป็นพิษจากจุลินทรีย์ สารเคมีป้องกันกาจัด 3. (1) ตรวจพบสารปนเปื้อนไม่เกินปริมาณสูงสุดที่
ศัตรูพืช สารปนเปื้อน หรือสารเป็นพิษอื่นในปริมาณที่ กาหนดตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย
อาจเป็นอันตราย เว้นแต่ดังต่อไปนี้ มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน (ครอบคลุมถึง
- สารหนู ≤ 0.2 มก./ อาหาร 1 กก. - สารหนู ≤ 0.2 มก./ อาหาร 1 กก. (สภาพ
- แคดเมียม ≤ 0.3 มก./ อาหาร 1 กก. พร้อมบริโภค)
- ตะกั่ว ≤ 0.5 มก./ อาหาร 1 กก. - แคดเมียม ≤ 0.3 มก./ อาหาร 1 กก. (ลักษณะ
- ทองแดง ≤ 5 มก./ อาหาร 1 กก. แห้ง)
- สังกะสี ≤ 5 มก./ อาหาร 1 กก. - ตะกั่ว ≤ 0.5 มก./ อาหาร 1 กก. (สภาพพร้อม
- เหล็ก ≤ 15 มก./ อาหาร 1 กก. บริโภค)
- ดีบุก ≤ 250 มก./ อาหาร 1 กก. - ดีบุก ≤ 250 มก./ อาหาร 1 กก.
- ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ≤ 10 มก./ อาหาร 1 กก. - ปรอททั้งหมด (total mercury) 0.02 มก./
อาหาร 1 กก.
- แอฟลาทอกซินทั้งหมด ≤ 20 ไมโครกรัม/
อาหาร 1 กก. )
(2) ข้อ 5(3) สารพิษตกค้าง ให้เป็นไปตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาหารที่มีสารพิษตกค้าง
4. “ข้อ 4(4) ไม่มียาแผนปัจจุบนั หรือวัตถุที่ออกฤทธ์ิ ๔. “ข้อ 5(5) ไม่มียาแผนปัจจุบนั หรือวัตถุที่ออกฤทธิ์
ต่อจิตและประสาทหรือยาเสพติดให้โทษตามกฎหมาย ต่อจิตและประสาทหรือยาเสพติดให้โทษตามกฎหมาย
ว่าด้วยการนั้นแล้วแต่กรณี” ว่าด้วยการนั้นแล้วแต่กรณี” (คงเดิม)
“ข้อ 4 (6) ไม่มีส”ี “ข้อ 5(6) การใช้วัตถุเจือปนอาหาร ให้ปฏิบัติตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหาร”
(กาหนดห้ามใช้สีสาหรับผลิตภัณฑ์นี้ ในหมวดอาหาร
14.1.5)
5. “ข้อ 5 ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าชาจากพืช เพื่อจาหน่ายต้อง 5. “ข้อ 6 ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าชาจากพืช เพื่อจาหน่ายต้อง
ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวิธีการ ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวิธีการ
ผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษา ผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษา
อาหาร” อาหาร”
(คงเดิม)
6. “ข้อ 6 การใช้ภาชนะบรรจุชาจากพืช ให้ปฏิบัติตาม 6. “ข้อ 7 การใช้ภาชนะบรรจุชาจากพืช ให้ปฏิบัติตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยภาชนะบรรจุ” ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยภาชนะบรรจุ”
(คงเดิม)
7. “ข้อ 7 การแสดงฉลากของชาจากพืช ให้ปฏิบัติตาม 7. “ข้อ 8 การแสดงฉลากของชาจากพืช ให้ปฏิบัติตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย ฉลาก” ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย การแสดงฉลากของ
อาหารในภาชนะบรรจุ และต้องแสดงคาเตือนเพิ่มเติม
ตามที่ระบุไว้ในบัญชีแนบท้ายฯ ด้วย”

เนื่องจากประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 246) พ.ศ. 2564 เรื่อง ชาจากพืช มีการรวบรวมรายชื่อพืชจาก


ประกาศฯ ชาสมุนไพร (เดิม) ทั้งหมด 18 รายการเข้ามาไว้ในประกาศด้วย ทาให้มีข้อกาหนดจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค และ
ปริมาณโลหะหนักที่ยอมให้พบได้เป็น 2 เกณฑ์ ดังนี้
ข้อกาหนด พืชตามบัญชีชาสมุนไพร พืชตามบัญชีชื่อพืชที่อนุญาตให้ใช้ใน
(18 รายการเดิม) เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
จุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค แซลโมเนลลา (Salmonella spp.): สแตฟิโลค็อกคัส ออเรียส
ไม่พบใน 25 กรัม (Staphylococcus aureus): ไม่เกิน
100 CFU ใน 1 กรัม
โลหะหนัก
- แคดเมียม < 0.3 mg/kg คานวณในลักษณะ -
- ดีบุก แห้ง < 250 mg/kg*
- ตะกั่ว < 250 mg/kg* < 1 mg/kg*
- ปรอท (ทั้งหมด) < 0.5 mg/kg < 0.02 mg/kg*
- สารหนู (ทั้งหมด) < 0.02 mg/kg* < 2 mg/kg
< 2 mg/kg
(*) อาจไม่จาเป็นต้องตรวจวิเคราะห์หากมีข้อมูลทางวิชาการสนับสนุนว่าอาหารนั้นไม่มีความเสี่ยงของการปนเปื้อน และ
สามารถเลือกตรวจวิเคราะห์เป็นวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์สุดท้ายก็ได้
ทั้งนี้ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 246) พ.ศ. 2564 เรื่อง ชาจากพืช มีบทเฉพาะกาลกาหนดให้ผู้ผลิต หรือ
ผู้นาเข้า เพื่อจาหน่าย หรือผู้จาหน่ายชาจากพืชดังต่อไปนี้ตอ้ งปฏิบัติให้ถูกต้องตามประกาศฯ ฉบับนี้ ภายในสองปีนับแต่วันที่
ประกาศฯ บังคับใช้ โดยผู้ผลิตหรือนาเข้าที่ได้รับอนุญาตก่อนวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ที่มีรายชื่อตามบัญชีแนบท้าย
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชาจากพืช ยังสามารถจาหน่ายชาจากพืชดังกล่าวต่อไปได้ แต่ต้องไม่เกินวันที่ 13
พฤษภาคม พ.ศ. 2566
บัญชีรายชื่อพืชและส่วนของพืชที่ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับชาจากพืช ท้ายประกาศฯ มีการจัดเรียงลาดับตามชื่อ
วิทยาศาสตร์ (Accepted name) และระบุชื่อสามัญ ส่วนของพืช และข้อกาหนดในการแสดงคาเตือน (ถ้ามี) พืชทีจ่ ะ
เข้าเกณฑ์ของประกาศฯ ฉบับนี้ ต้องมีรายชื่อและส่วนของพืชตรงตามบัญชีแนบท้ายประกาศฯ หากเป็นพืชชนิดเดียวกัน แต่
เป็นส่วนอืน่ ที่ไม่ได้อยู่ในบัญชี ถือว่ายังไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ได้ภายใต้ประกาศฯ ฉบับนี้ โดยการแสดงคาเตือนบนฉลากนัน้ จะ
ไม่ได้ใช้บังคับกับพืชทุกรายการ แต่จะระบุเฉพาะพืชที่มีความเสี่ยงสาหรับกลุ่มผู้บริโภคเฉพาะกลุ่ม เช่น ผู้ที่แพ้ละอองเกสร
ดอกไม้ ผู้ที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด เป็นต้น โดยการแสดงฉลากชาจากพืช ต้องมีรายละเอียดที่ครบถ้วนตาม
ข้อกาหนด ดังตัวอย่าง

การดาเนินการเกี่ยวกับการอนุญาตผลิตภัณฑ์อาหาร “ชาจากพืช” แบ่งเป็นการขออนุญาตสถานที่ และการขอ


อนุญาตผลิตภัณฑ์ โดยมีหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ดังนี้
• การขออนุญาตสถานที่
o กรณีใบอนุญาตผลิต/นาเข้าอาหาร ระบุประเภท “ชาสมุนไพร” (อ.2, สบ.1/1)
▪ ระบบจะจัดการ แก้ไขประเภทอาหารเป็น “ชาจากพืช” โดยอัตโนมัติ
▪ เมื่อผู้ประกอบการเข้ามาดาเนินการที่เกี่ยวข้องกับใบอนุญาต เจ้าหน้าที่จะดาเนินการสลักหลัง
แก้ไขเปลี่ยนแปลงประเภทอาหารในใบอนุญาตนั้นๆ
o กรณีใบอนุญาตผลิต/นาเข้าอาหารระบุประเภท “เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท” (อ.2, แบบ สบ.1,
สบ.1/1 และอ.7*)
▪ ผู้ประกอบการจะต้องติดต่อกับหน่วยงานผู้อนุญาต โดยไม่ต้องชาระเงินค่าใช้จ่ายใดๆ ภายในวันที่
13 พ.ค. 2566 โดยมีหนังสือชี้แจงความประสงค์ขอแก้ไขประเภทอาหาร พร้อมแนบข้อมูล
กรรมวิธีการผลิต รายละเอียดสูตรส่วนประกอบ และเลขสารบบอาหาร
▪ *อ.7 ให้ผู้ประกอบการยื่นหนังสือขอปรับปรุงข้อมูลสภาวะการเก็บรักษา (ประเภทอาหาร) ผ่าน
ระบบ E-submission
• การขออนุญาตผลิตภัณฑ์
o ประเภทอาหารเดิม: ชาสมุนไพร
▪ กรณีได้รับอนุญาตก่อนวันที่ 14 พฤษภาคม 2564 โดยใบสาคัญการแจ้งรายละเอียดอาหาร (สบ.
7/1) ระบุประเภทอาหารที่ได้รบั อนุญาตเป็นชาสมุนไพร ระบบจะแก้ไขอัตโนมัติ โดย
ผู้ประกอบการไม่ต้องดาเนินการแก้ไขประเภทอาหาร
▪ กรณีที่คาขออนุญาตอยู่ระหว่างดาเนินการ ระบบจะดาเนินการแก้ไขประเภทอาหารจาก “ชา
สมุนไพร” เป็น “ชาจากพืช”
o ประเภทอาหารเดิม: เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท
▪ กรณีได้รับอนุญาตก่อนวันที่ 14 พฤษภาคม 2564 โดยใบสาคัญการจดทะเบียนอาหาร (สบ.5/1)
ระบุประเภทอาหารที่ได้รับอนุญาตเป็นเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุทปี่ ิดสนิท ผู้ประกอบการต้องยื่น
หนังสือหรือส่งอีเมลมาที่ผู้อนุญาต พร้อมแจ้งเลขสารบบอาหาร สูตรส่วนประกอบ และกรรมวิธี
การผลิต ภายใน 2 ปี (ภายในวันที่ 13 พฤษภาคม 2566) เพื่อให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการแก้ไข
ประเภทอาหารเป็นชาจากพืช และออกใบสาคัญการแจ้งรายละเอียดอาหาร (สบ. 7/1) ให้
อัตโนมัติ
▪ กรณีที่คาขออนุญาตอยู่ระหว่างดาเนินการ ผู้ประกอบการต้องยื่นคาขอใหม่เป็รประเภทอาหาร
“ชาจากพืช” โดยผู้ประกอบการสามารถยกเลิกหรือแจ้งคืนคาขอเดิม พร้อมทาเรื่องขอคืนเงิน

หลักเกณฑ์การจัดประเภทผลิตภัณฑ์ และประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง

หลักเกณฑ์การจัดประเภท ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง
ชาสกุล Camellia มากกว่า หรือเท่ากับ 90% และชา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 196) พ.ศ. 2543
จากพืชเท่ากับหรือน้อยกว่า 10% (เพื่อแต่งกลิ่น) เรื่อง ชา[15]
ชาจากพืช 100% หรืออาจมีส่วนประกอบของชาจาก ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 426) พ.ศ. 2564
พืชและส่วนต่างๆ ชา Camellia (น้อยกว่า 90%) เรื่อง ชาจากพืช[10]
และไม่มีการแต่งกลิน่ หรือรส
ชาจากพืช 100% หรือ อาจมีส่วนประกอบของชาจาก ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 356) พ.ศ. 2556
พืชและส่วนต่างๆ ชา Camellia (น้อยกว่า 90%) และมี เรื่อง เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุทปี่ ิดสนิท[16]
การแต่งกลิ่นหรือรส

กรณีที่ต้องการเพิ่มเติมรายชื่อพืชแนบท้ายประกาศฯ จาเป็นต้องมีการยื่นขอ โดยยื่นข้อมูลวิชาการเพื่อประกอบการ


พิจารณา ดังนี้
1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับพืช
1) ชื่อวิทยาศาสตร์และส่วนที่ใช้
2) ประวัติการบริโภคเป็นอาหาร
3) ข้อมูลวิชาการอื่นๆ เช่น การศึกษาด้านความปลอดภัย
4) ข้อมูลกฎหมาย/ การอนุญาตในประเทศต่างๆ
2. ข้อมูลผลิตภัณฑ์
1) สูตรส่วนประกอบ
2) กระบวนการผลิต
3) ความมุ่งหวังในการบริโภค
เอกสารอ้างอิง
1. Standard for edible fats and oils not covered by individual standards (CODEX STAN 19-1981).
[ออนไลน์]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
file:///C:/Users/rainterns1/Downloads/CXS_019e_2015.pdf.
2. Standard for olive oils and olive pomace oils (CODEX STAN 33-1981). [ออนไลน์]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ
28 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก: https://www.fao.org/fao-who-codexalimentarius/sh-
proxy/en/?lnk=1&url=https%253A%252F%252Fworkspace.fao.org%252Fsites%252Fcodex%252F
Standards%252FCXS%2B33-1981%252FCXS_033e.pdf.
3. Standard for named vegetable oils (CODEX STAN 210-1999). [ออนไลน์]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค.
2564]; เข้าถึงได้จาก: https://www.fao.org/fao-who-codexalimentarius/sh-
proxy/en/?lnk=1&url=https%253A%252F%252Fworkspace.fao.org%252Fsites%252Fcodex%252F
Standards%252FCXS%2B210-1999%252FCXS_210e.pdf.
4. Standard for named animal fats (CODEX STAN 211 -1999). [ออนไลน์]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค.
2564]; เข้าถึงได้จาก: https://www.fao.org/fao-who-codexalimentarius/sh-
proxy/en/?lnk=1&url=https%253A%252F%252Fworkspace.fao.org%252Fsites%252Fcodex%252F
Standards%252FCXS%2B211-1999%252FCXS_211e.pdf.
5. Standard for fish oils (CODEX STAN 329-2017). [ออนไลน์]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้
จาก: https://www.fao.org/fao-who-codexalimentarius/sh-
proxy/ar/?lnk=1&url=https%253A%252F%252Fworkspace.fao.org%252Fsites%252Fcodex%252FS
tandards%252FCXS%2B329-2017%252FCXS_329e.pdf.
6. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 421) พ.ศ. 2564 เรื่อง น้้้ามันและไขมัน. [ออนไลน์]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 28
ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก: http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P421.pdf.
7. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 422) พ.ศ. 2564 เรื่อง น้ามันปลา. [ออนไลน์]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค.
2564]; เข้าถึงได้จาก: http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P422.pdf.
8. ประกาศสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง ค้าชี้แจงประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 367) พ.ศ.
2557 เรื่อง การแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ้. [ออนไลน์]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้
จาก:
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/367%20%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%
8A%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B9%81%E0%B8%88%E0%B8%87.pdf.
9. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บ
รักษาอาหาร. [ออนไลน์]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P420.pdf.
10. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 426) พ.ศ. 2564 เรื่อง ชาจากพืช. [ออนไลน์]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค.
2564]; เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/E/102/T_0008.PDF.
11. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 280) พ.ศ. 2547 เรื่อง ชาสมุนไพร. [ออนไลน์]. 2547 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค.
2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/CANCEL/280_Cancel_T.PDF.
12. ประกาศสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง กาหนดรายชื่อพืชหรือส่วนของพืชที่ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับชา
สมุนไพร. [ออนไลน์]. 2553 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_fda/CANCEL/HerbalTea_Cancel_TH.pdf.
13. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522. [ออนไลน์]. 2522 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/079/1.PDF.
14. พระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562. [ออนไลน์]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 28 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
https://www.fda.moph.go.th/Herbal/SitePages/Document/law/พระราชบัญญัติ/พระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์
สมุนไพร%20พ.ศ.2562.PDF.
15. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 196) พ.ศ. 2543 เรื่อง ชา. [ออนไลน์]. 2543 [เข้าถึงเมื่อ 29 ต.ค. 2564];
เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/E/006/20.PDF.
16. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 356) พ.ศ. 2556 เรื่อง เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท. [ออนไลน์]. 2556
[เข้าถึงเมื่อ 29 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P356.pdf.
17. คาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา วันพฤหัสบดีที่ 25
กรกฎาคม 2562. [ออนไลน์]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 25 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/186/T_0001.PDF.
18. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2563. [ออนไลน์]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ
25 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/290/T_0033.PDF.
19. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 424) เรื่อง กาหนดอาหารที่ห้ามผลิต นาเข้า หรือจาหน่าย. [ออนไลน์]. 2564
[เข้าถึงเมื่อ 25 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P424.pdf.
20. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 378) พ.ศ. 2559 เรื่องกาหนดพืช สัตว์ หรือส่วนของพืชหรือสัตว์ที่ห้ามใช้ใน
อาหาร. [ออนไลน์]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 25 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/CANCEL/378_Cancel.PDF.
21. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 425) เรื่อง เมล็ดกัญชง น้ามันจากเมล็ดกัญชง โปรตีนจากเมล็ดกัญชง และ
ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของเมล็ดกัญชง น้ามันจากเมล็ดกัญชง หรือโปรตีนจากเมล็ดกัญชง. [ออนไลน์].
2564 [เข้าถึงเมื่อ 25 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P425.PDF.
22. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 427) เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง.
[ออนไลน์]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 25 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/E/168/T_0022.PDF.
23. เปลี่ยน ภาสกรวงศ์. ตาราแม่ครัวหัวป่าก์. พิมพ์ครั้งที่ 10. สถาพรบุค๊ ส์; 2021.
24. มูลนิธิโครงการหลวง. หนังสือองค์ความรู้เรื่องพืชป่าที่ใช้ประโยชน์ทางภาคเหนือของไทย. 2542.
25. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 428) เรื่อง มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อนชนิดสารเตตราไฮโดร- แคนนาบิ
นอล และสารแคนนาบิไดออล. [ออนไลน์]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 25 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/E/168/T_0025.PDF.
26. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 429) เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีสารสกัดแคนนาบิไดออลเป็นส่วนประกอบ.
[ออนไลน์]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 25 ต.ค. 2564]; เข้าถึงได้จาก:
http://food.fda.moph.go.th/law/data/announ_moph/P429.PDF.
27. เอกสารประกอบการประชุม เรื่อง New Updates from Food Division จัดโดย สมาคมเภสัชกรรมทะเบียนและ
กฎหมายผลิตภัณฑ์ (ประเทศไทย) วันที่ 6 ตุลาคม 2564 (บรรยายโดยวิทยากรจากกองอาหาร อย.ประกอบด้วย
ภก. วีระชัย นลวชัย นายญาณพล ขาวพลศรี นางสาวนฤมล ฉัตรสง่า นางสาวศลินา แสงทอง นายเอกกมล ณ น่าน
นางสาวศิริลักษณ์ เกศสิริกุล)

You might also like