You are on page 1of 26

2.

งานช่างฝี มือดัง้ เดิม


งานช่างฝี มือดัง้ เดิม หมายถึง ภูมิปัญญา ทักษะฝี มือช่าง การเลือกใช้วัสดุ
และกลวิธีการสร้างสรรค์ที่แสดงถึง
อัตลักษณ์ สะท้อนพัฒนาการทางสังคม และวัฒนธรรมของกลุ่มชน แบ่งออก
เป็ น
- ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า หมายถึง ผลผลิตที่เกิดจากการทอ ย้อม ถัก ปั ก
ตีเกลียว ยก จก มัด หมี่ พิมพ์ลาย ขิด เกาะ/ล้วง เพื่อใช้เป็ นเครื่องนุ่งห่ม
และแสดงสภาพทางสังคม
ตัวอย่าง
1. ผ้าขิด เกิดจากการใช้ด้ายพุ่งพิเศษเพื่อใส่สีและลวดลายต่างจากสี
พื้น โดยใช้ไม้ค้ำสำหรับทอลายขัด เรียกว่า "การเก็บขิด" มีหน้าที่ยกด้าย
เส้นยืนให้สลับกันเป็ นลวดลาย โดยลวดลายขิดมีลักษณะเหมือนกัน
ตลอดหน้าผ้า ผ้าขิดมีความสัมพันธ์กับความเชื่อ ประเพณีท้องถิ่นจาก
ลวดลายประกอบกับกรรมวิธีผลิต มี วิธีการที่ซับซ้อน ใช้ความพยายาม
และความอดทนในการทอให้เป็ นผืนผ้า จึงถือว่าผ้าขิดเป็ นของสูง ไม่ นิยม
ใช้ผ้าขิดเป็ น ผ้านุ่งที่ต่ำกว่าเอว
ที่มาภาพ: https://www.isangate.com

2.ผ้ามัดหมี่ เป็ นการสร้างลวดลายโดยวิธีย้อมสี โดยออกแบบลวดลาย


ก่อนย้อมสีด้วยเส้นพุ่ง เตรียมลาย กรอบไม้ห น้า กว้า งเท่า กับ หน้า กว้า งผ้า
ออกแบบโดยใช้เชือกมัดส่วนที่ไม่ต้องการสีไว้ แล้วนำมาย้อมสีก่อน นำมา
ทอ ลายผ้าของชาวผู้ไทมักทำเป็ นลายหยักแหลมหรือเป็ นลายคมๆ เหมือน
ฟั นปลา เรียกตามภาษา ท้อ งถิ่น ว่า  "หมี่ก าบ" ได้แ ก่ ลายกาบหลวง
ลายตุ้ม ลายตุ่มมะจีบ ลายนาค และลายปราสาท เป็ นต้น

ที่มาภาพ: https://www.isangate.com

3.ผ้า ไหมแพรวา แต่เ ดิม หมายถึง ผ้า ไหมที่ม ีค วามยาวขนาด 1 วา


ชาวกาฬสินธุ์นิยมใช้เป็ นผ้าสไบ ผ้าโพก หัว หรือผ้าพันคอ เฉพาะในโอกาส
สำคัญ เท่านัน
้ ซึง่ อาจจะแสดงถึง ฐานะทางสัง คมในแง่ก ารมีผ ้า สวยงาม มี
คุณ ค่า เป็ นสมบัต ิต ิด กาย เฉพาะผ้า แพรวาของชาวภูไ ทในจัง หวัด
กาฬสินธุ์นน
ั ้ มีลวดลายวิจิตรงดงาม ต้อง ใช้ค วามสามารถและเวลาในการ
ทอมาก ด้ว ยเป็ นลายผสมระหว่า งลายขิด และลายจก บางผืน อาจต้อ งใช้
เวลาทอมากกว่า 3 เดือน เช่น ลายนาค ซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ของ
กาฬสินธุ์มีความวิจิตรงดงามมากและ ละเอียดกว่าลายอื่นๆ

ที่มาภาพ: https://www.isangate.com

4.ผ้า ยก (ผ้า ไหมยกทองจัง หวัด สุร ิน ทร์) เกิด จากการรวมกลุ่ม นัก


ออกแบบโดยการนำของ อาจารย์วีระ ธรรม ตระกูลเงินไทย ซึ่งนำความรู้
จากการออกแบบลวดลายไทยและลายชัน
้ สูงแบบราชสำนักโบราณ เ ม ่อ

ครัง้ ศึก ษาที่ว ิท ยาลัย อาชีว ะศึก ษาวิท ยาเขตพาะช่า ง มาประยุก ต์เ ข้า กับ
ภูมิปัญญาการทอผ้าแบบ พื้น เมือ ง รวบรวมชาวบ้า นท่า สว่า งมาทอผ้า
ยามว่างจากการทำไร่ไถนา จัดตัง้ กลุ่มทอผ้ายกทอง
 "จันทร์โสมา" 

ที่มาภาพ: https://www.isangate.com

5.ผ้าย้อมคราม ครามเป็ นวัสดุย้อมสีเส้นใยผ้าทัง้ ฝ้ ายและไหมที่ได้จาก


ต้นครามธรรมชาติ มีกลิ่นหอม เฉพาะ สีครามที่ได้จากธรรมชาติเป็ นสีที่
ไม่ละลายน้ำ นำมาเปลี่ยนคุณสมบัติให้เป็ นสีที่ละลายน้ำได้ตาม ก ร ร ม ว ิธ ี
โบราณ โดยไม่ใช้ส ารเคมี แล้วทำการย้อ มเย็น โดยการจุ่มลงในหม้อ คราม
แล้วผ่านออกซิเจน เปลี่ยนคุณสมบัติกลับคืนเป็ นสีที่ไม่ละลายน้ำ จุ่มลง
ย้อมหลายๆ ครัง้ จนกว่าจะได้โทนสีเข้มตามต้องการ นิยมใช้ย้อมฝ้ ายและทอ
ด้วยทคนิค มัดหมี่ และขิด ลวดลายบนผืนผ้าแสดงถึง วิถ ีชีวิตและประเพณี
วัฒนธรรม

ที่มาภาพ: https://www.isangate.com
- เครื่องจักสาน หมายถึง ภาชนะเครื่องใช้ประจำบ้านที่ท ำจากวัตถุดิบ ใน
ท้องถิ่น เช่น ไผ่ หวาย กระจู ลำเจียก โดยการนำมาจักและสาน จึงเรียกว่า
เครื่องจักสาน กลวิธีในการทำเครื่องจักสาน ได้แก่ การถัก ผูกรัด มัด ร้อย
โดยการใช้ต อก หวาย เพื่อ ให้เ ครื่อ งจัก สานคงทนและคงรูป อย ู่ไ ด้ต าม
ต้องการ

ตัวอย่าง

เครื่องจักสาน ที่เป็ นเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน

- ครุ ภาชนะบรรจุน้ำ ตักน้ำ  ทำจากไม้ไผ่นำมาลงน้ำมันยางและชัน

ที่มาภาพ: http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th

- ก่องข้าว และกระติบข้าว เป็ นภาชนะบรรจุข้าวเหนียวของชาวอีสาน


ความแตกต่างของภาชนะทัง้ สองอยู่ที่รูปทรง คือ
ก่อ งข้า ว จะมีลก
ั ษณะคล้า ยกระบุง มีฝ าปิ ด และมีข าทำด้ว ยไม้เ นื้อ
แข็งเป็ นฐานแยกสี่แฉก มีความแข็งแรงทนทานมากกว่า การสานด้วย
ไม้ไผ่มค
ี วามแน่นหนา เก็บขอบด้วยหวายโดยรอบ
ที่มาภาพ: http://apinya.sakonshop.com/

กระติบข้าว เป็ นภาชนะทรงกลมมีฝ าปิ ด ฐานของกระติบจะทำจาก


ก้านตาลขดเป็ นวงกลม การสานทำได้ง่ายกว่าก่องข้าว เพราะใช้ตอก
ไม้ไผ่ที่มีความบางอ่อนตัว ทำให้กระติบข้าวมีความแข็งแรงน้อ ยกว่า
ก่องข้าว

ที่มาภาพ: https://sites.google.com/

หวดและมวยนึ่งข้าวเหนียว ความจริงแล้วหวดจะมีรูป ร่างแตกต่าง
จากมวย เพราะจะมีลก
ั ษณะเหมือนรูปกรวย แต่ส่วนล่างจะปิ ด ไม่เป็ น
รูปทรงกระบอกเหมือนมวย ส่วนการใช้ประโยชน์ทงั ้ สองชนิดทำหน้าที่
เหมือนกันคือใช้สำหรับนึ่งข้าวเหนียวหรือนึ่งอาหาร เพียงแต่มวยจะให้
ปริมาณได้มากกว่าและแข็งแรงทนทานกว่าเพราะมีความหนา
หวด

ที่มาภาพ: https://pantip.com/
มวยนึ่งข้าว

ที่มาภาพ: https://shopee.co.th

เครื่องจักสาน ที่เป็ นเครื่องมือดักสัตว์


เป็ นเครื่องมือที่ทำจากไม้ไผ่ ได้แก่ ข้อง ไซ ซูด ต้อน ตุ้มบอง ตุ้มปลา
ยอน โด่ง ลอบ จั่น สุ่ม หลี่ ฯลฯ เครื่องมือดักจับสัตว์เหล่านี ้ เกิดจากการ
เฝ้ าสังเกตพฤติกรรมของสัตว์ที่มีหลากหลายก่อนประดิษฐ์ เครื่องมือ และยัง
สะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาของชาวบ้านได้หลายอย่าง เช่น ความชาญฉลาดใน
การ เลือกสรรวัตถุดิบ ที่ตนมีความรู้ในด้านคุณสมบัติเป็ นอย่างดี โดย
เฉพาะอย่างยิ่งไม้ไผ่นำมาดัดแปลง แปร รูปทำเป็ นเครื่องจักสาน นอกจากนี ้
ยังมีคุณค่าทางศิลปะและความงาม ซึ่งมีรูปทรง โครงสร้าง และ ลวดลายที่
งดงาม
ที่มาภาพ: https://www.isangate.com

-เครื่องปั ้ นดินเผา หมายถึงหัตถกรรมที่ใช้ดินเหนียวเป็ นวัตถุดิบหลักในการ


ผลิต มีทงั ้ เคลือบและไม่เคลือบ

ตัวอย่าง
เครื่องปั ้ นดินเผาไฟสูง  ที่โดดเด่นของภาคอีสานมีแหล่งผลิตสำคัญอยู่
5 แห่งใน 5 จังหวัด คือ บ้านด่าน เกวียน อำเภอโชคชัย จังหวัด
นครราชสีมา บ้านดอนกลาง บ้านโพนบก บ้านโพนเงิน อำเภอโพนพิสัย
จังหวัดหนองคาย บ้านกลาง อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม บ้านท่า
ไห อำเภอเขื่องใน และบ้านท่าเตา ไห อำเภอเมือง จังหวัด
อุบลราชธานี เป็ นเครื่องปั ้ นดินเผาเนื้อแกร่ง จัดว่าเป็ นเครื่องใช้ในชีวิต
ประจำวันที่ สำคัญในการดำรงชีวิต เพราะใช้เก็บถนอมรักษาสิ่งจำเป็ น
ในการดำรงชีวิต เช่น ใช้เป็ นภาชนะใส่ข้าว น้ำ ดื่ม น้ำใช้ เกลือ ผัก
ดอง ปลาแดก (ปลาร้า) ตลอดจนใช้เก็บน้ำตาล สุรา รวมทัง้ เก็บนุ่นฝ้ าย
และเสื้อผ้า นอกจากนี ้ ยังมีความจำเป็ นที่จะต้องใช้เป็ นเครื่องครัว
จำพวกครกแลพถ้วยชามต่างๆ ด้วย

ที่มาภาพ: https://www.isangate.com

เครื่องปั ้ นดินเผาไฟต่ำ (Earthenware) มีแหล่งผลิตอยู่ทั่วทุกจังหวัด
ในภาคอีสาน มีประวัติความเป็ นมา ยาวนาน แหล่ง ที่ม ีช่ อ
ื เสีย งมาก
คือ  แหล่ง โบราณคดีบ ้า นเชีย ง อำเภอหนองหาน จัง หวัด อุด รธานี ซึ่ง เป็ น
ภาชนะดินเผาเนื้อดินธรรมดาชนิดสีดำขูดลายในผิวเนื้อ ชนิดสีเทาลาย
เชือกทาบ ชนิดสีนวลก้นโค้ง และ ช น ิด ม ีล า ย เ ข ีย น ส ีเ ป็ น ร ูป แ ล ะ
ลวดลายต่างๆ สันนิษฐานว่าใช้ประโยชน์ในพิธีกรรมความเชื่อ เกี่ยวกับ
ความตาย รวมถึงบริเวณแอ่งโคราชก็พบหลักฐานภาชนะดิน เผาเนื้อ
ดินธรรมดา เผาไฟต่ำ ทัง้ ที่ทำ เพื่อใช้ สอยในชีวิตประจำวัน และใช้
ในพิธีกรรมความเชื่อเกี่ยวกับความตายกระจายอยู่ทั่วไป
ที่มาภาพ: https://www.isangate.com

- เครื่องโลหะ หมายถึง สิ่งที่มีวัสดุหลักเป็ นเหล็ก ทองเหลืองหรือทองแดง


เครื่องโลหะที่ทำจากเหล็ก นิยมทำโดยการเผาไฟให้อ่อนตัวและตีเหล็กเป็ น
รูปทรงต่างๆ เครื่องโลหะที่ทำจากทองเหลือง นิยมนำทองเหลืองมาเผาจน
หลอมเหลวแล้วจึงนำไปเทลงในแบบตามลักษณะที่ต้องการ เสร็จแล้วนำมา
ตกแต่ง ส่วนเครื่องโลหะที่ทำจากทองแดง มีการนำทองแดงมาให้เป็ น
โลหะเจือหลักสำหรับผลิตตัวเรือนของเครื่องประดับโลหะเงินเจือ

ตัวอย่าง
เครื่องทองเหลืองของบ้านปะอาว อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 
ที่มาภาพ: https://www.isangate.com

- งานช่างไม้
งานไม้เป็ นงานช่างที่ใช้ฝีมือภาคอีสาน และความคิดสร้างสรรค์  ต้องมีความ
อดทน  ขยัน มีความรับผิดชอบสูง  สามารถนำทรัพยากรธรรมชาติที่เป็ นไม้
มาประดิษฐ์เป็ นของเล่นของใช้ได้อย่างเหมาะสมตามภูมิภาคและ วิถีชีวิต
ของชาวอีสาน  ทัง้ ที่จะต้องมีทักษะในการใช้เครื่องมือและกระบวนการใน
การใช้  จึงจะสามารถทำงาน  ไม้ได้อย่างสวยงาม  เรียบร้อย  มี
ประสิทธิภาพในการใช้เครื่องมือและใช้วัสดุ  ปั จจุบันไม้มีคณ
ุ ค่ามาก  หา
ยาก  เพราะป่ าไม้ถูกทำลายไปเกือบหมด  จนต้องใช้วัสดุอ่ น
ื ๆ มาทดแทน
ไม้  เช่น  พลาสติก  โลหะ  งานช่างไม้ในงานช่างพื้นฐานเป็ นงานช่างไม้เบื้อง
ต้นสามารถปฏิบัติได้ทงั ้ ชายและหญิง  เช่น  การรู้จักเครื่องมือเครื่องใช้  วิธี
การใช้วัสดุ  และการเก็บรักษา  การซ่อมบำรุงสิ่งของเครื่องใช้ภายในบ้าน 
เช่นเฟอร์นิเจอร์  ส่วนประกอบของอาคารบ้านเรือน

ตัวอย่างเครื่องไม้ภาคอีสาน

โบม  โบมหรือกั๊วเป็ นภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้


ขนาดใหญ่เป็ นรูปกลม ขุดเนื้อไม้จนมีขอบลึก
ประมาณ 2 - 3 นิว้ มีด้ามจับ ใช้สำหรับสรงข้าว
เหนียวหรือส่ายข้าวเหนียวที่นึ่งมาใหม่ ๆ เพื่อให้
ไอน้ำและความร้อนระเหยออกก่อนที่จะนำข้าว
เหนียวไปใส่ในกระติบหรือก่องข้าวเพื่อไม่ให้ข้าว
แฉะ ซึ่งจะทำให้ข้าวบูดหรือเสียง่าย เมื่อคว่ำลงจะ
สามารถใช้เป็ นภาชนะสำหรับรองถ้วยชามเป็ น
สำรับอาหารได้
            การทำโบมทำจากไม้เพราะไม้เนื้อแข็งเป็ นวัตถุดิบมีมาก หาได้ง่าย
จึงมีผู้คิดทำที่สำหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ ให้ได้มากขึน
้ ในบางท้องที่อาจเรียกว่า
บม กระบม กะโบม กระโบม อัวะ อั๊วะ กั๊วข้าว เขียน กระเขียน หรืออ่างไม้
ในท้องถิ่นอื่นใช้สำหรับนวดข้าวให้อ่อนนุ่มหรือใช้นวดแป้ งทำขนมจีน

ที่มาของภาพ https://www.sac.or.th/databases/traditional-
objects/th/equipment-detail.php?ob_id=35

กระบวยหรือ บวย ชาวอีสาน


โบราณเกือบทุกครัวเรือนใช้ตักน้ำ
ดื่มน้ำใช้

ส่วนประกอบของบวย

ตัวบวย ทำจากกะลามะพร้าวแห้ง
ตัดแต่งผิวให้เรียบ ขนาดของบวย
ใหญ่เล็กขึน
้ อยู่กับขนาดของกะลา
มะพร้าว ขอบปากกระบวยด้านบน
เจาะรูเพื่อใส่ด้ามไม้สำหรับมือจับ
ด้ามบวย หรือ คันบวย ทำจากไม้จริงหรือไม้ไผ่ ถ้าเป็ นด้ามบวยที่ใช้ตักน้ำใช้
นิยมทำคันหรือด้ามเรียบไม่แกะสลักลวดลาย แต่ถ้าเป็ นด้ามบวยที่ใช้ตักน้ำ
ดื่ม จะแกะสลักวิจิตรสวยงาม หางหรือปลายด้ามนิยมแกะสลักเป็ นพระยา
นาคตามคติความเชื่อโบราณว่า หมายถึงความอุดมสมบูรณ์จากนาคให้น้ำ
ด้ามติดกับตัวบวย จะบากใส่เข้าไปในตัวบวย และทำให้แน่นไม่ให้หลุดเลื่อน
ด้วยการใส่ “ไล” (ลูกสลัก) เล็ก ๆ

ที่มาของภาพ http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/localobjects/?
p=149

ไม้หนีบข้าวหรือค้อนฟาด
ข้าว ไม้นวดข้าว หรือบางที่
เรียกว่าไม้ตีข้าว ไม้ทุบข้าว ไม้
หนีบ หรือไม้หีบ เป็ นเครื่องมือ
ของชาวนาใช้สำหรับรัดฟ่ อน
ข้าวเพื่อทุบหรือตีรวงข้าวที่มัด
อยู่ในฟ่ อนให้เมล็ดข้าว
กระเด็นออกมาจากรวง
ไม้นวดข้าวทำจากไม้ไผ่ที่มีเนื้อ
แน่น ไม้แก่จัด ข้อสัน
้ ลำต้น
เล็ก มีขนาดพอดีมือ กำได้รอบ
อาจะใช้ไม้อ่ น
ื เช่น ไม้ประดู่ ไม้แดง ไม้ชิงชันหรือไม้สัก การทำไม้นวดข้าวเริ่ม
จากการตัดไม้มา 2 ท่อนให้มีความยาวประมาณ 50 เซนติเมตร เส้นผ่า
ศูนย์กลาง 3 เซนติเมตร เหลาไม้ให้เรียบ หากใช้ไม้จริงต้องใช้กบไสแล้วใช้บุ้ง
ถูให้เรียบ เจาะรูที่ปลายไม้ทงั ้ 2 ท่อน ห่างจากปลายไม้ประมาณ 50
เซนติเมตร แล้วใช้เชือกหนังที่เรียกว่าหนังหัวเกวียน หรือใช้เชือกยาว
ประมาณ 50 เซนติเมตร หรือให้ยาวประมาณเส้นรอบวงของฟ่ อนข้าว ร้อยรู
ไม้ที่เจาะทัง้ 2 ท่อนแล้วขมวดปมที่ส่วนปลายเชือก

ก่อนการนวดหรือฟาดข้าว ชาวนาจะไปขนจ้าวจากที่ตากแดดอยู่ หรือเอา


ออกจากกองข้าวมาวางที่ตาราง โดยเรียกขัน
้ ตอนนีว้ ่า "ลอมข้าว" การลอม
ข้าวนีบ
้ างคนจะเอาข้าวมาวางซ้อนกันเป็ นวงกลมหรือสี่เหลี่ยมรอบตาราง
โดยเว้นช่องว่างให้คนสามารถเข้า-ออกตารางได้ ต่อจากนัน
้ จึงเป็ นขัน
้ ตอน
การทำให้ข้าวเปลือกหลุดจากรวงข้าวซึ่งเรียกว่าการฟาดข้าว หรือ ตีข้าว
หรือ บุบข้าว หรือ ย่ำข้าว ในอดีตนัน
้ จะนิยมทำในเวลากลางคืน เนื่องจากใน
ช่วงกลางวัน ชาวนาจะต้องไปตอบแทนแรงงานผู้อ่ น
ื ซึง่ มาช่วยงานในไร่นา
ของตน จึงมีเวลาทำการฟาดข้าวในเวลากลางคืน

ในการใช้งานไม้นวดข้าว ชาวนาจะจับไม้นวดข้าวทัง้ สอง ใช้เชือกคล้องกับ


ฟ่ อน เคน็ดข้าว หรือตรงส่วนที่ใช้ตอกรัดฟ่ อนข้าว แล้วไขว้ไม้นวดข้าวใน
ลักษณะที่ขัดกันเพื่อรัดฟ่ อนข้าวให้แน่น แล้วจึงยกฟ่ อนข้าวขึน
้ ฟาดกับท่อน
ไม้ที่วางไว้จนเมล็ดข้าวเปลือกจะร่วงออกจากรวง โดยจะทุบในลานข้าว ใน
เสื่อ หรือในผืนผ้าใบที่ปพ
ู ้น
ื กว้างๆ

ปั จจุบันนีก
้ ารใช้ไม้นวดข้าวไม่ค่อยเป็ นที่นิยมใช้เนื่องจากมีการใช้เทคโนโลยี
เข้ามาใช้งานแทนเช่นรถไถเดินตาม รถแทรกเตอร์หรือเครื่องนวดข้าวที่
ออกแบบมาโดยเฉพาะ ซึ่งสะดวกสบายและประหยัดแรงงานกว่า
ที่มาของภาพ
http://www.siamfreestyle.com/photos/supanburi/พิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติชาวนาไทย/650010019

อัก เป็ นเครื่องมือสำหรับคัดด้ายหรือไหม


รูปร่างคล้ายระวิง เมื่อต้องการคัดด้ายหรือ
คัดไหมจะใช้อักสาวไหมออกจาก “กงกวัก”
ในขณะสาวไหมหรือด้ายออกจากกงกวัก
หากพบเส้นไหมหรือด้ายมี “ขีไ้ หม” หรือ
ไหมมีปม เส้นไหมไม่เรียบ ตะปุ ่มต่ำ ก็จะใช้
“มีดแกะขีไ้ หม” ออก ซึ่งเป็ นมีดเล็ก ๆ
เป็ นการคัดเส้นไหมให้เรียบงาม อัก ต้องใช้คู่
กับ กงกวัก

อัก จะทำด้วยไม้จริงประกอบด้วยส่วนต่าง
ๆ ดังนี ้
แขนอัก เป็ นไม้รว
ิ ้ 4-6 ริว้ เหลี่ยมขนาด
กว้างประมาณ 3 เซนติเมตร ยาวประมาณ
40 เซนติเมตร ปลายสองข้างเรียวเล็กน้อย ห่างจากปลายสองข้างประมาณ
ข้างละ 5 เซนติเมตร เจาะรูเพื่อสอดใส่กับ “ตีนกา” ซึ่งถือเป็ นแกนกลางของ
อัก แต่ละริว้ ห่างกันประมาณ 15 เซนติเมตร
ตีนกา เป็ นไม้ 2 อัน ขนาดกว้างอันละประมาณ 3 เซนติเมตร ยาวประมาณ
อันละ 25 เซนติเมตร ประกบกันเป็ นรูปเหมือนกากบาท แกนกลางของ
ตีนกา เจาะเป็ นรูกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 เซนติเมตร
เพื่อใส่กับ “โคยอัก” ได้ ปลายตีนกาแต่ละข้างยึดติดกับ “แขนอัก”
แท่นอัก หรือ ไม้คอนอัก เป็ นแท่นไม้สี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้างประมาณ
20 เซนติเมตร ยาวประมาณ 40 เซนติเมตร หนาประมาณ 5 เซนติเมตร
ปลายข้างหนึง่ ของแท่นปั กเสาไม้ 2 เสา เพื่อยึด “โคยอัก” (เพลาอัก)
สำหรับสอดใส่อักให้แกว่งหรือหมุน เมื่อต้องการจะคัดไหมหรือด้ายให้แยก
เป็ นตอน ๆ ตามต้องการ
ที่ม าของภาพ http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/localobjects/?
p=171

- เครื่องหนัง

คือ งานที่สร้างสรรค์จากหนังสัตว์เป็ นวัสดุหลัก เช่น หมัก ฟอก ตากแห้ง


ตัด เจาะ ฉลุ ลงสี หนังได้มาจากหนังสัตว์บางชนิด หลังจากได้การกำจัด
ขนหรือขนสัตว์ที่ตามมาหนังจะผ่านกระบวนการฟอกหนังและในที่สุดก็
กลายเป็ นหนังที่ทนทาน

กลองตึง้ เป็ นกลองที่ให้เสียงทุ้มต่ำ คุม


จังหวะตกของเพลง มีลักษณะทรง
กระบอกกลม ข้างในกลวง ตัวกลองทำ
จากต้นไม้ขนาดใหญ่ เจาะรูทะลุ หุ้ม
ด้านหนึ่งด้วยหนังสัตว์ ซึ่งนิยมใช้หนังวัว ขึงให้ตึงด้วยเชือกหนังสัตว์
(ปั จจุบันใช้เชือกไนล่อน) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของกลองตึง้ ใหญ่พอๆ กับ
กลองเพล แต่ความยาว จะน้อยกว่า หรือยาวประมาณ หนึ่งศอก

 กลองตึง้ นิยมใช้ประกอบขบวนแห่ เช่นวงมะโหรี และวงกลองยาว


เนื่องจากมีขนาดใหญ่มาก ไม่สามารถถือตีคนเดียวได้ จึงผูกเชือกหนังเป็ น
ห่วงเล็กๆ ไว้ที่ขอบกลองตึง้ สำหรับสอดไม้เข้าไป และแบกสองคน คนที่เดิน
ตามหลัง เป็ นคนตี

ที่มาของภาพ
https://www.lib.ru.ac.th/journal/isan/music/tee.html

- เครื่องประดับ

แต่เดิมมีคำศัพท์ที่อธิบายความหมายอยู่ ๒ คำ คือ คำว่า ศิราภรณ์ หมายถึง


เครื่องประดับศีรษะ และ ถนิมพิมพาภรณ์ หมายถึง เครื่อง
ประดับกาย แต่ปัจจุบันมักเรียกรวมๆ ว่า "เครื่องประดับ" อันหมายถึง
เครื่องหรือวัตถุที่ผลิตจากวัสดุมีค่า เช่น ทองคำ อัญมณี มีความงดงาม ใช้ใน
การประดับตกแต่งบนร่างกายมนุษย์ เครื่องประดับของไทยที่ปรากฏอยู่ใน
ปั จจุบันนัน
้ มีต้นกำเนิดและพัฒนาการที่ยาวนาน และได้รับการสร้างสรรค์
ขึน
้ มา มิใช่เพียงเพื่อเป็ นเครื่องหรือวัตถุที่ใช้ตกแต่งร่างกาย หรือเพื่อแสดง
ทักษะทางฝี มืออันประณีตเท่านัน
้ แต่ใช้ในการแสดงออกทางด้านจิตใจ
ความเชื่อ และการเป็ นส่วนหนึ่งของสังคมที่ตนอยู่อาศัยอีกด้วย
“เม็ดประเกือม” หรือลูกประคำนัน

ปรากฏแหล่งผลิตที่ อำเภอเขวาสินริ
นทร์ จังหวัดสุรินทร์ซึ่งลักษณะเด่น
เฉพาะคือการ ขึน
้ รูปทรงของเม็ดประ
เกือมที่มีลักษณะกลมแป้ นออกด้าน
ข้าง จะ ไม่กลมเท่ากันทุกด้าน ภายใน
เม็ดประคำกลวงเพื่อไว้สำหรับอัด ชัน
กล่าวว่า ภายในหัวปิ่ น จะใส่ครั่งไว้ เพื่อให้หัวปิ่ นทรงตัวอยู่ได้โดยไม่ยุบตัว
และครั่งยัง เป็ นตัวช่วยยึดชิน
้ ส่วนหัวปิ่ นและฐานปิ่ นให้ติดกันอีกด้วย คือ
ลักษณะคล้ายเปลือกหุ้มเนื้อในของผลไม้ ซึ่งลักษณะของเม็ด ประคำรูปแบบ
ดัง้ เดิมนัน
้ จะไม่กลมแป้ นเช่นเดียวกับเม็ดประคำที่ ทำขึน
้ ในปั จจุบันจะมีสัน
โค้งเหลี่ยมปรากฏตามแนวขวางของเม็ด ั ประคำซึ่งเกิดจากรอยต่อประสาน
ของเม็ดประคำซีกบน และซีก ล่าง ส่วนลวดลายนัน
้ จะเป็ นการสลักลายลง
บนผิวของเม็ดประคำ เป็ นลายกลีบบัวซึ่งเป็ นลวดลายดัง้ เดิม นิยมนำมาร้อย
ประดับข้อ มือ ภาษาเขมรเรียกว่า “ตะตรุมได” ส่วนปั จจุบันนีม
้ ีเม็ดประคำ
รูป ทรงต่างๆ และลวดลายต่างๆมากมายตามการสร้างสรรค์ของ ช่างฝี มือ
แต่สิ่งที่ยังคงไว้ดังเดิมคือเอกลักษณ์ในการอัดชัน และ การสลักลายลงบนผิว
ของชิน
้ งาน

ที่มาของภาพ https://so02.tci-thaijo.org 
- งานศิลปะกรรมพื้นบ้าน

สิ่งที่เป็ นศิลปะ สิ่งที่สร้างสรรค์ขน


ึ ้ เป็ นศิลปะ"  ดังนัน
้ คำ ศิลปกรรม จึงมี
ความหมายกว้างขวาง ไม่จำกัดเฉพาะงานจิตรกรรม งานประติมากรรมและ
งานสถาปั ตยกรรม อย่างที่นิยมใช้กันเท่านัน
้ หากแต่ยังมีความหมายรวมไป
ถึงงานวรรณกรรม งานนาฏศิลป์ และงานดุริยางคศิลป์ ด้วย

ศิลปะพื้นบ้านอีสาน มีความงามในความพอเหมาะพอดี เรียบง่ายไม่รก


รุงรัง ดูดิบ ๆ หยาบ ๆ มี ความคิดสร้างสรรค์ที่เป็ นอิสระ ไม่ยึดติดกรอบกฎ
เกณฑ์ มีความสนุกสนานและมีสุนทรียภาพในการ สร้างสรรค์แบบไร้เดียงสา
นอกจากนีย
้ ังแสดงให้เห็นความสมถะพอเพียง อ่อนน้อมถ่อมตน นอกจากนี ้
รูปทรงจะดูมีพลังในลักษณะไม้อ่อนหวานนุ่มนวล เป็ นลักษณะของพื้นบ้าน
บริสุทธิ ์

ภาพเขียน (Painting and Drawing) ได้แก่ ภาพเขียนระบายสี และภาพ


ลายเส้น เช่น จิตรกรรมฝาผนังโบสถ์ วิหาร การตกแต่งเกวียน เป็ นต้น

ฮูปแต้ม หรือภาพจิตรกรรมฝาผนังใน
อาคารที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนา     
ภาพจิตรกรรมฝาผนังตามโบสถ์  วิหาร 
เป็ นงานจิตรกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธ
ศาสนาลัทธิลังกาวงศ์  ภาพจิตรกรรมฝา
ผนังในภาคอีสานหรือที่เรียกว่า “ฮูป
แต้ม”   รูปแบบและกรรมวิธีการจัดองค์ประกอบศิลป์ ในฮูปแต้มอีสานไม่มี
กฎเกณฑ์ตายตัว 

ช่างแต้มมีอิสระเสรีในการแสดงออกอย่างเต็มที่ 
ช่างแต้มคนเดียวกันหากได้ไปเขียนภาพ  ณ สถาน
ที่ที่ต่างกันรูปลักษณ์ขององค์ประกอบศิลป์ รวมทัง้
รายละเอียดก็จะแตกต่างกันออกไป  ช่างแต้มจะ
เลือกสรรเรื่องราวจากพุทธประวัติหรือจาก
วรรณกรรมพื้นบ้านเฉพาะส่วนหรือตอนที่ช่างแต้ม
ประทับใจนำมาพรรณนาด้วย เส้นสี  และองค์
ประกอบภาพที่ต่อเนื่องกันไป  จากภาพหนึ่งเชื่อม
ต่อกับอีกภาพหนึง่ เพื่อสื่อสารความคิดให้ผู้ชมเกิด
จินตนาการ  มองเห็นความงามทางสุนทรียศาสตร์และคุณค่าทางคุณธรรมที่
แฝงอยู่ในปฐมธาตุทัศนศิลป์   เนื้อหาของภาพแต่ละตอนจะจบลงในตัวของ
มันเอง

ที่มาของภาพ https://cac.kku.ac.th/esanart/paint.html

การปั ้ นและลวดลายประดับ
(Sculpture and Decorating)
ได้แก่งานประติมากรรม และการ
ปั ้ นลวดลายประดับอาคารต่าง ๆ เช่น ตุ๊กตาเด็กเล่น ตุ๊กตาเสียกบาล การ
ปั ้ นลวดลายประดับโบสถ์ วิหาร

ประติมากรรมในงานพุทธศิลป์ อีสานมีหลากหลายลักษณะรวมไปถึงงานแกะ
สลักต่างๆที่ช่าง พื้นบ้านได้คิดค้นกระบวนเทคนิควิธีการต่างๆมาสร้างสรรค์
ให้เป็ น ศาสนวัตถุในบวรพระพุทธศาสนา ดังเช่น การปั ้ น การบุ การตี การ
เชื่อม เพื่อให้เกิดรูปลักษณะตามต้องการ โดยการสร้างจำลองหรือ เหมือน
จริงตามความรู้ความคิดของช่างพื้นบ้าน ประติมากรรมจะแบ่งลักษณะออก
เป็ นสามประเภท อันได้แก่ ภาพนูนต่ำ คือมองได้เห็นแค่ด้านเดียวลักษณะ
นูนเพียงเล็กน้อย ภาพนูนสูง คือภาพที่จำหลัก ลึกลงทำให้ภาพ
ประติมากรรมดูเด่นชัดขึน
้ สามารถมองให้เห็นทัง้ สามด้านทัง้ ด้านหน้าและ
ด้านข้าง

ที่มาของภาพ
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/2373/1/60
004214.pdf

การก่อสร้าง (Architecture) ได้แก่ สถาปั ตยกรรมพื้นบ้านทั่วไป เช่น การ


สร้างอาคาร บ้านเรือน เพิงพัก อาคารเกี่ยวเนื่องกับศาสนา

ธาตุอีสาน Taad I-San (Northeast Buddhist Holy Stupa)


            ธาตุและพระธาตุเป็ น
ภาษาถิ่นของอีสาน  ใช่เรียก
อนุสาวรีย์หรือสิ่งก่อสร้างที่บรรจุอัฐิ
ธาตุของผู้ตาย  มีความหมายเช่นเดียวกับสถูปหรือเจดีย์ในภาษาภาคกลาง 
ธาตุ  หมายถึงที่บรรจุกระดูกของบุคคลสำคัญธรรมดาสามัญ  นับแต่ชาว
บ้านไปจนถึงเจ้าเมืองและพระสงฆ์องค์เจ้าโดยทั่วไป  พระธาตุถูกสร้างขึน

เพื่อประดิษฐานเฉพาะพระบรมสารีริกธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสันพุทธ
เจ้า  หรือพระอรหันต์เท่านัน
้   ความโดดเด่นของรูปแบบมักแสดงออกตรง
ส่วน”ยอดธาตุ”  มากกว่าส่วนอื่น

ที่มาของภาพ https://cac.kku.ac.th/esanart/sculpture.html

การแกะสลัก (Carving) ได้แก่ การแกะสลักวัสดุเพื่อนำมาเป็ นเครื่องมือ


เครื่องใช้ เช่น ครกหิน การแกะสลัก
ไม้สำหรับทำเครื่องเรือน การแกะ
สลักไม้เป็ นรูปเคารพ การแกะสลัก
งาช้าง การแกะสลักเขาสัตว์ แกะ
สลักเทียน

พระไม้อีสาน การสร้างพระไม้ใน
อีสานไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่ามี
ประวัติความเป็ นมาและการสร้าง
อย่างไร ใครเป็ นผู้สร้างขึน
้ ครัง้ แรก
เนื่องจากไม่มีหลักฐานที่เป็ นเอกสารอ้างอิงชัดเจน จากการศึกษารูปแบบ
พระไม้อีสานเมื่อเปรียบเทียบกับพระไม้ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว จะมีลักษณะใกล้เคียงกันมากจนแทบจะแยกขาดจากกันโดย
สิน
้ เชิงไม่ได้หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็ นสกุลช่างเดียวกันที่ได้รับและแลกเปลี่ยน
อิทธิพลซึ่งกันและกัน นักวิชาการบางท่านได้ให้ความเห็นว่าพระไม้ในอีสาน
ได้รับอิทธิพลมาจากฝั่ งซ้ายแม่น้ำโขง โดยศิลปะแบบล้านช้าง แล้วแผ่ขยาย
อิทธิพลข้ามมายังฝั่ งไทย จากการอพยพโยกย้ายก็ดีหรือจากการถ่ายโอนโดย
ทางเครือญาติก็ดี

ที่มาของภาพ https://cac.kku.ac.th/esanart/sculpture.html

เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี

รูปแบบของต้นเทียนพรรษา
จังหวัดอุบลราชธานีในปั จจุบัน
นัน
้ มี 3 ประเภท คือ เทียน
พรรษาประเภทแกะสลัก
เทียนพรรษาประเภทติดพิมพ์
และเทียนพรรษาแบบโบราณ
ซึ่งต้นเทียนพรรษาแต่ละ
ประเภทนัน
้ ประกอบด้วย “ต้นเทียนและองค์ประกอบของต้นเทียน” หรือ
รวมเรียกว่า ขบวนเทียนพรรษา เทียนพรรษาแต่ละขบวนจะมีต้นเทียนเพียง
ต้นเดียวตัง้ อยู่ส่วนกลางและห้อมล้อมด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ตัง้ อยู่บนรถ
ลากเพื่อความพร้อมในการเคลื่อนที่ไปแสดงยังจุดต่าง ๆ

ที่มาของภาพ http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/esaninfo/?
p=4333
- ผลิตภัณฑ์อย่างอื่น

เป็ นงานหัตถกรรมที่อยู่นอกเหนือจากประเภทที่กล่าวมาข้างต้น และไม้นิยม


ทำกันแพร่หลาย และรู้จักเฉพาะกลุ่มย่อย เช่น การจัดดอกไม้ การแกะสลัก
ผลไม้ การแทงหยวก การทำหุ่นกระดาษ การทำเครื่องดนตรี เป็ นต้น

การแทงหยวกทำปราสาทผึ ้ง บ้า นโพนทราย

การทำปราสาทผึง้ หรือต้นดอกผึง้
ถวายเป็ นพุทธบูชา ซึง่ เป็ นศิลปะ
ประเพณีที่สืบทอดกันมานาน ตาม
ฮีตสิบสองของคนอีสาน มีความเชื่อ
และตำนานเล่าสืบต่อกันมาในเรื่องลิงถวายรวงผึง้ เมื่อครัง้ ที่พระพุทธเจ้า
เสด็จจำพรรษาในป่ ารักขิตวัน ซึง่ เป็ นดงไม้สาละใหญ่ มีช้างปาลิเลยยะ
(ปาลิไลยก์) เป็ นอุปัฏฐาก ได้จัดที่ประทับทัง้ หาน้ำและผลไม้มาถวายตลอด
ระยะ 3 เดือน ลิงตัวหนึ่งจึงนำรวงผึง้ มาถวายพระพุทธเจ้าด้วย และเมื่อเห็น
พระองค์ทรงเสวยน้ำผึง้ ทำให้ลิงดีใจกระโดดโลดเต้นจนกิ่งไม้หัก ผลัดตกลง
มาถูกตอไม้เสียบตาย ด้วยอานิสงส์ในการถวายรวมผึง้ ลิงจึงได้ไปเกิดเป็ น
เทพบุตรบนปราสาทวิมานสูง 30 โยชน์ ครัง้ ถึงวันปวารณาออกพรรษา (ขึน

15 ค่ำ เดือน 11) พระพุทธองค์เสด็จออกจากป่ าเข้าเมืองโกสัมพี ช้าง
ปาลิไลยก์ร้ส
ู ึกเศร้าโสกจนหัวใจแตกสลายล้มลงและด้วยอานิสงส์ของการ
อุปัฏฐากพุทธองค์จึงได้ไปเกิดบนประสาทสูง 30 โยชน์ ในสวรรค์ชน
ั ้ ดาวดึงส์
เช่นกัน

You might also like