You are on page 1of 11

การรับแรงดึงของเหล็กเสนขอออย

Tensile Test of Deformed Bars


วัตถุประสงค
เพื่อหาคุณสมบัติในการรับแรงดึงของเหล็กเสนขอออย เพื่อศึกษาความสามารถในการรับ
แรงตางๆ ไดแก
- Ultimate Tensile Strength (กําลังรับแรงดึงประลัย)
- Yield Point ( กําลังรับแรงดึงที่จุดคลาก)
- %Elongation (เปอรเซ็นตการยืดหยุน)
- Modulus of Elasticity, E (คาโมดูลัสยืดหยุน)
- Stress-strain diagram (กราฟระหวางความเคน-ความเครียด)
- Modulus of Resilience
- Type and Character of Fracture

เพื่อศึกษาพฤติกรรมการยืดของเหล็ก (Ductility) ไดแก


- Percentage of eiongation
- Percentage of area reduction

วัสดุที่ใชทดลอง
1. เหล็กเสนขอออย เสนผานศูนยกลาง DB 10 จํานวน 3 เสน
2. เหล็กเสนขอออย เสนผานศูนยกลาง DB 12 จํานวน 3 เสน

อุปกรณที่ใช
1. Universal Testing Machine พรอมชุดทดสอบแรงดึง
2. Extensometer (เครื่องวัดการยืดคัว)
3. Vernier Caliper ที่มีความคลาดเคลื่อนไมเกิน + 0.05 ม.ม. และมีความละเอียดใน
การวัดถึง 0.1 ม.ม.
4. ตลับเมตร ที่มีความยาวเพียงพอที่จะวัดความยาวโดยตลอดของเหล็ก
5. ตาชั่งแบบ Triple Beam Balance ชั่งไดละเอียดถึง 0.1 กรัม
6. เลื่อยตัดเหล็ก
7. ตะไบ
ทฤษฎี
เหล็กขอออย หมายถึง เหล็กเสนกลมที่มีบั้ง (Tarnsverse Rids) และอาจมีครีบ
(Longitudinal Rids) ที่ผิว เพื่อเสริมสรางแรงยึดเหนี่ยวระหวางเหล็กเสนกับเนื้อคอนกรีต
เหล็กขอออยมีกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอุสาหกรรม มี 3 ชั้นคุณภาพ และมีสัญลักษณ
ดังนี้คือ SD30 , SD40 และ SD50 มาตรฐานงานเหล็กเสริมคอนกรีต (Standard for Steel Bars for
Reinforced concrete) เหล็กเสนกลมขอออย (Deformed Bars) มีดังตอไปนี้

ขอบขาย
1. เหล็กขอออยตองมีผิวทั้งหมดเรียบเกลี้ยง ไมมีรอยปริแตกหรือรอยราว
2. เหล็กขอออยตองมีบั้งเปนระยะๆ เทาๆ กันตลอดทั้งเสน โดยบั้งตองทํามุมกับแกน
เหล็กเสนไมนอยกวา 45 องศา มุมที่ทํามีตั้งแต 45 ถึง 70 องศา บั้งจะวางสวนทางกัน
บนแตละขางของเหล็กเสน หรือบั้งทั้งหมดของดานหนึ่งสวนทางกับบั้งทั้งหมดของดาน
ตรงขาม แตตัวบั้งทํามุมเกิน 70 องศา ไมจําเปนตองสลับกัน

คุณสมบัติทางกล
ความยืดในชวงความ การทดสอบดวยการดัดเย็น
แรงเคนที่จุด แรงเคนดึง
เหล็กสน ยาว 5 เทาของ
ครากไมนอยกวา สูงสุดไมนอย มุมการ เสนผาศูนยกลาง
กลม เสนผาศูนยกลางไม
กก./ซม.2 กวา กก./ซม.2 ดัด วงดัด
นอยกวา

SD30 3000 4900 17% 4 เทาของ


180
SD40 4000 5700 15% เสนผาศูนยกลาง
องศา
SD50 5000 6300 13%

หมายเหตุ แรงเคนที่จุดคราก = Yield Stress


ความเคนดึงสูงสุด = Maximum Tensile Stress
ความยืด = Elongation
การทดสอบดวยแรงดัดเย็น = Cold Bend Test
มุมการดัด = Bending Angle
เสนผาศูนยกลางการดัด = Diameter of Bends
ชวงความยาว 5 เทาของเสนผาศูนยกลาง =Gauge Length
ชั้นคุณภาพ เหล็กเสนขอออยที่กําหนดในมาตรฐานผลิตภัณฑอุสาหกรรม มี 3 ชั้นคุณภาพ คือ
SD30 , SD40 และ SD50

ความคลาดเคลือนที่ยอมให
เสนผานศูนยกลาง เกณฑความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหไมเกินกวา
ชื่อขนาด
(มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร)
DB 10-16 10-16 + 0.4
DB 19-25 19-25 + 0.5
DB 28-32 28-32 + 0.6

หมายเหตุ DB = Deformed Bar (เหล็กเสนขอออย)


การคลาดเคลื่อนสําหรับความยาว ถาหากคามยาวไมเกิน 10 เมตร ยอมใหคลาดเคลื่อน
ได +55 มม. สวนความยาวที่เกิด 10 เมตร ยอมใหเกินกวา 55 มม. ไดอีก 5 มม. ทุกความยาว 1
เมตรแตตองไมเกิน 120 มม.
รายละเอียดอื่นๆ สามาตรศึกษาไดจากมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเหล็กเสริม
คอนกรีต; เหล็กเสนกลม มอก. 20-2527 . กระทรวงอุตสาหกรรม
การนําตัวอยางของเหล็กเสนกลมไปใชในการทดสอบ ควรทราบถึงรายละเอียดของ
เหล็กเสนกลมมาตรฐานที่ผลิตออกมาจําหนาย ดังแสดงในตาราง

ขนาด เสนผานศูนยกลาง พื้นที่หนาตัดขวาง น้ําหนักตอเมตร


(มม.) (ม.ม.2) (กก./ม.)
DB 10 10 78 0.617
DB 12 12 113 0.888
DB 16 16 201 1.578
DB 20 20 314 2.466
DB 22 22 380 2.984
DB 25 25 491 3.853
DB 28 28 616 4.834
พื้นที่ภาคตัดที่ระบุ คํานวณไดจากสูตร

A = 100 W / 0.785L

เมือ A = พื้นที่ภาคตัดขวางระบุ เปนตรางมิลลิเมตร


W = มวลระบุเปนกิโลกรัม
L = ความยวเปนเมตร

เสนผาศูยกลางระบุ คํานวณไดจากสูตร

D2 = 162W / L

เมือ D = เสนผาศูยกลางระบุเปนมิลลิเมตร
W = มวลระบุเปนกิโลกรัม
L = ความยวเปนเมตร

เส็นรอบวง คํานวนไดจากสูตร

C = 3.142 D

เมือ C = เสนรอบวงระบุเปนมิลลิเมตร
D = เสนผาศูยกลางระบุเปนมิลลิเมตร
รูปแบบการวิบัติเนื่องจากแรงดึงของเหล็ก
รูปแบบการวิบัติจะมีรูปแบบตางๆ ดังแสดงในรูปขางลาง

รูปแสดงการวิบัติเนื่องจากแรงดึงของเหล็ก

การเตรียมตัวอยาง
1. ตัดวัสดุทดสอบอยางนอย 3 ตัวอยาง แตละชิ้นตองยาว 1.00-1.50 ม. ซึ่งทั้ง 3
ตัวอยางควรจะเตรียมจากเหล็กเสนเสนละตัวอยาง
2. ความยาวชิ้นทดสอบ และระยะระหวางหัวจะตองเปนไปตามตาราง 17.1
3. ตัดวัสดุทดสอบใหยาวไมนอยกวา 5.5D โดย D คือขนาดเสนผาศูนยกลางของเหล็กเสน
4. สภาพของวัสดุทดสอบตองคงรูป ตองไมผานกรรมวิธีทางความรอนมากอน การดัดจาก
สภาพโคงใหตรงตองทําโดยการดัดเย็น หากบิดโคงมากไปใหตัดทิ้ง
5. การทดสอบแตละชุดจะตองทําการทดสอบไมนอยกวา 3 ตัวอยาง
6. เหล็กเสนขอออยตั้งแต DB16 ลงมาใหทดสอบโดยไมตองกลึงชิ้นทดสอบใหเล็กลง
เหล็กเสนกลมตั้งแต DB20 ขึ้นไปอาจกลึงลดขนาดลงไปพอเหมาะที่จะใชกับเครื่องทดสอบแรงดึงก็
ไดแตตองไมนอยกวา 16 ม.ม. ในกรณีที่กลึงลดขนาดลง ความยาวของสวนที่กลึงตองไมนอยกวา
5.5D ( D คือขนาดเสนผาศูนยกลางของสวนที่กลึง )
7. ความยาวพิกัด(Gauge Length) ตองเทากับ 5D และความยาวระหวางหัวจับ จะตองไม
นอยกวา 5.5D
8. ใหทําเครื่องหมายบอกระยะ Gauge Length บนเหล็กดวยตะไบ โดยวัดออกจาก
กึ่งกลางของความยาวออกไปขางละเทาๆกันดังแสดงในรูป
รูปแสดงการทําระยะ Gauge Length บนตัวอยาง

วิธีการทดลอง
1. ใหทําการวัดขนาดเสนผาศูนยกลางอยางนอย 3 แหง ภายในสวนของความยาวพิกัด
(ความยาวพิกัด= 5  เสนผาศูนยกลางของชิ้นทดสอบ) โดยการวัดเสนผาศูนยกลางแตละแหงให
วัด 2 ครั้ง ในทิศทางตั้งฉากกัน แลวนําเสนผาศูนยกลางที่วัดไดทั้ง 6 คานี้ไปหาคาเฉลี่ย
เสนผาศูนยกลางของชิ้นตัวอยางที่ทดสอบ
2. การขนาดเสนผาศูนยกลาง อาจทําไดโดยการนําเล็กไปชั่งน้ําหนัก และวัดความยาวเพื่อ
หาน้ําหนักกิโลกรัม ตอ เมตร แลวนํามาเขาสูตร D=162W / L เพื่อหาเสนผาศูนยกลางเฉลี่ย
3. นําเสนผาศูนยกลางที่เปนขนาดของเหล็กตามมาตรฐาน เชน DB10 เสนผาศูนยกลาง
เทากับ 10 ม.ม. ไปลบเสนผาศูนยกลางเฉลี่ย จะไดเฉลี่ย Error of Diameter ซึ่ง คลามคลาดเคลื่อน
ของเสนผาศูนยกลางที่กําหนดตามมาตรฐานไมควรเนิดคามาตรฐานกําหนด
4. นําชิ้นทดสอบใสในเครื่องทดสอบแรงดึง โดยใหระยะหัวจับไดตามกําหนดในตาราง 17.1
5. ติดตั้งเครื่อง Extensometer ไวที่ระยะพิกัดตามที่กําหนดไวในตาราง 17.1 ปรับแนวแกน
ใหทับกัน และใหเข็มชี้ที่ศูนย
6. คํานวณอัตราการเพิ่มของแรงโดยกําหนดใหไมเกิน 3 kg/mm2/sec (คํานวณตามสูตร
แลวไปปรับตัวเลขที่ Preset Value)
7. เริ่มใหแรงดึงกระทําตามกําหนด เตรียมบันทึกคาแรงและการยืดตัว โดยใหจดบันทึก
คาแรงและยืดตัวในชวง Proportional Limit ทั้งหมด 15 คา เมื่อเพิ่มคาแรงกระทําเปนชวงๆ เทากัน
ซึ่งคาแรงแตละชวงสามารถประมาณไดโดย นําเอาคาแรง Proportional Limit ตามที่มาตรฐาน
กําหนดแบงออกเปน 15 คา ใหมีชวงหางเทากันโดยประมาณ ทําการทดสอบจนกระทั่งถึงจุดคราก
(Yield) ซึ่งสามารถสังเกตไดโดยเมื่อเราใหแรงกระทําเพิ่มขึ้นอยางคงสม่ําเสมอ แตเข็มบนหนาปดจะ
คงที่อยูขณะหนึ่ง แสดงวาเหล็กตัวอยางกําลังเกิดการคราก เมื่อถึงจุดใหถอด Extensometer ออก
และเดินเครื่องตอไปจนกระทั่งชิ้นทดสอบออกจากกัน
ตารางแสดงระยะพิกัดและระหวางหัวจับ
การดึง
ขนาด ความยาวชิ้นทดสอบ ระยะระหวางหัวจับ ระยะพิกัด (Gauge
 ม.ม. ม.ม. Length)
6 mm. 233.000 33.000 30.00
¼” 234.925 34.925 31.75
9 mm 249.500 49.500 45.00
3/8” 252.415 52.415 47.65
12 mm. 266.110 66.000 60.00
½” 269.850 69.850 63.50
15 mm. 282.500 82.500 75.00
5/8” 287.450 87.450 79.30
16 mm. 288.000 88.000 80.00
19 mm. 304.500 104.50 95.00
3.4” 305.050 105.05 95.50
20 mm. 310.000 10.00 100.00
22 mm. 321.000 121.00 110.00
7/8” 322.210 122.21 111.10
25 mm. 337.500 137.50 125.00
1” 339.700 139.70 127.00
28 mm. 354.000 154.00 140.00
34 mm. 387.000 187.00 170.00

8. ใหทําการบันทึกคาแรง ณ. จุดครากและจุดที่ชิ้นทดสอบขาดออกจากกัน
9. นําชิ้นทดสอบออกจากเครื่องทดสอบ แลวนํามาตอกันใหเหมือนลักษณะกอนขาด
แลวทําการวัดระยะระหวางจุด ที่ทําเครื่องหมาย Gauge Length เดิม
10. วัดขนาดภาคตัดขวางสวนที่เล็กที่สุด 2 ทิศทางตั้งฉาก จากนั้นทําการวาดรูป และ
สังเกตลักษณะการขาดของตัวอยาง พรอมวิเคราะห
11. เขียน Stress – Strain Diagram จากผลไมที่ไดหลังจากการทดสอบทั้งแสดงวิธี
คํานวณหาคุณสมบัติที่ตองการดวย
12. หากชิ้นทดสอบถูกดึงขาดออกจากกันนอกชวงระยะพิกัดหรือ ภายในชวงพิกัด แตหาง
จากจุดพิกัดใดจุดหนึ่งเปนระยะทางนอยกวา ¼ ของความยาวพิกัด ใหยกเลิกการทดสอบนั้นและ
ทําการทดสอบใหม ดวยชิ้นทดสอบจากชุดตัวอยางเดียวกัน ถาหากชิ้นทดสอบถูกดึงขาดนอกชวง
middle – third ใหพิจารณาหาระยะยืดตัว

รูปแสดงการคํานวณหาระยะยืดตัวโดยประมาณสําหรับการวิบัตินอกชวง middle third ของ


ระยะพิกัด

MATERIAL TESTING LABORATORY


DEPARTMENT OF CIVIL ENGINEERING
KMITL
TENSION TEST OF DEFORMED BARS

DB…………. DB………….
Number Of Specimen No.1 No.2 No.3 No.1 No.2 No.3
Diameter By Measuring(mm.)
Diameter By Weight (mm)
Diameter By After Test (mm)
Gauge Length (mm)
Elongation After Test (mm)

LOAD AND ELONGATION DATA


Project………………………….Tested By………………..Date Test……………………..
Sample No…………….Weight…………………..gm/m. Gauge Length…………………mm.
Diameter………………mm. Cross Section Are………………… mm.2 Length………….mm.
Proportional limit…………ksc. Yield Strength……..……..ksc. Tensile.Strength………..ksc.
Modulus of Elasticity………………….ksc. Percentage Elongation………………..%

Specimen No.1
Load (kg.) Dial(mm.) Stress(ksc.) Strain(mm./mm.)
MATERIAL TESTING LABORATORY
TENSION TEST OF DEFORMED BARS
Type of Gauge Error of Weight of Cross Load Stress
Elongation
Steel Dia. Length Dia. Specimen Sectional Area (kg.) (kg./cm2)
No Remark
Deformed (mm.) (cm.) (%) (kg/m.) (cm2.) Yield Ultimate Yield Ultimate Cm. %
Bars
SAMPLE OF CALCULATION
Specimen No……………………………………
1. Stess = Load /A(Original Area)
= ………………………………..
= ………………………………..ksc.
2. Strain = Value pfrom Extensometer / Original Length
= ………………………………..
= ………………………………..ksc.
3. Proportional Limt Strength = Load Any Point in Prop / A(Original Area)
= ………………………………..
= ………………………………..ksc.
4. Yield Strenngth = Load at Yield Point /A(Original Area)
= ………………………………..
= ………………………………..ksc.
5. Yield Strenngth at 0.1% Offset =Load at 0.1% Offset /A(Original Area)
= ………………………………..
= ………………………………..ksc.
6. Ultimate Strength = Load at Breaking point / A(Original Area)
= ………………………………..
= ………………………………..ksc.
7. % Elongation = Final Length –Original Length/ Original Lengthx 100
= ………………………………..
= ………………………………..%
8. Percentage of Area Reduction = Original Area – Final Area / Original Area x 100
= ………………………………..
= ……………………………….. %
9. Modulus of Elasticity = Stress/Strain
= ………………………………..
= ………………………………..ksc.
10. Modulus of Resilience = Area under Stress- Strain Diagram at Proportional Limit
= ½ x ( Stress at Prop.) x ( Strain at Prop.)
= ………………………………..
= ………………………………..ksc.

You might also like