You are on page 1of 178

หนังสือชื่อ

: คู่มือโอกาสและทิศทางการค้าการลงทุนในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา

ชื่อผู้แต่ง : กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

ปีที่แต่ง : ตุลาคม 2558

พิมพ์ครั้งที่ 1 : เมษายน 2559

จำ�นวนที่พิมพ์ : 500 เล่ม

จำ�นวนหน้า : 176 หน้า

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คู่มือโอกาสและทิศทางการค้าการลงทุนในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

563 ถนนนนทบุรี ตำ�บลบางกระสอ อำ�เภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

โทร. (662) 507 8218-20 โทรสาร (662) 547 4212-4

เว็บไซต์ : http://www.ditp.go.th
ค�ำน�ำ
การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) อย่างเป็นทางการ ตั้งแต่วันที่
1 มกราคม 2559 เป็นจุดเริ่มต้นของพัฒนาการทางเศรษฐกิจการค้าการลงทุนภายในภูมิภาคอาเซียนทั้งเชิงกว้าง
และเชิงลึกที่ส�ำคัญในระยะยาว และเป็นเรื่องที่ผู้ประกอบธุรกิจควรให้ความสนใจอย่างจริงจัง

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศได้เล็งเห็นถึงโอกาสทางการค้าและการลงทุนระดับภูมิภาคส�ำหรับ
ผูป้ ระกอบการไทยในทุกแวดวงธุรกิจ จึงได้จดั ท�ำคูม่ อื โอกาสและทิศทางการค้าการลงทุนในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา
และประเทศอาเซียนอื่นๆ ขึ้น โดยมุ่งหวังที่จะสร้างความตระหนักต่อการผนึกก�ำลังร่วมกันของประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน และท�ำความรู้จักประเทศต่างๆ ได้อย่างทั่วถึงในทุกแง่มุม เพื่อเตรียมพร้อมต่อโอกาสทางธุรกิจ
ขณะเดียวกันก็พร้อมตั้งรับกับความท้าทายในการแข่งขันที่จะทวีความรุนแรงขึ้นจากคู่แข่งต่างชาติได้อย่างเหมาะสม

คู่มือโอกาสและทิศทางการค้าการลงทุนในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาฉบับนี้ ด�ำเนินการจัดท�ำเรียบเรียง
และตรวจทานโดยส�ำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงย่างกุ้ง ร่วมกับส�ำนักพัฒนาตลาดประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนและเอเชีย ประกอบด้วยสาระน่ารู้เกี่ยวกับ โอกาสและทิศทางการค้าการลงทุนในสาธารณรัฐแห่ง
สหภาพเมียนมาสิ่งที่ควรรู้ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาการจัดตั้งธุรกิจ ต้นทุนการท�ำธุรกิจ การเลือกที่ตั้งในการ
ประกอบธุรกิจ กฎระเบียบการลงทุน ตลอดจนเกร็ดความรู้เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติในการติดต่อธุรกิจ ซึ่งรวบรวม
ข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงเพื่อให้ได้เนื้อหาที่ครบถ้วนสมบูรณ์

ท้ายที่สุด กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศใคร่ขอขอบพระคุณองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของ
ญีป่ นุ่ (Japan External Trade Organization : JETRO) ซึง่ เป็นต้นแบบในการให้บริการข้อมูลการค้าการลงทุนเป็นอย่างสูง
โดยกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศได้น�ำรูปแบบการให้บริการดังกล่าว มาประยุกต์ใช้ในการรวบรวมข้อมูลการค้า
การลงทุนในอาเซียน เพื่อใช้ส�ำหรับให้บริการผู้ประกอบการไทย รวมทั้งเพื่อจัดท�ำเป็นคู่มือโอกาสและทิศทางการค้า
การลงทุนในประเทศสิงคโปร์ฉบับนี้ กรมฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้อ่านจะได้รับประโยชน์จากเนื้อหาไม่มากก็น้อย สามารถ
น�ำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจด�ำเนินธุรกิจในตลาดเมียนมา และเป็นส่วนหนึ่งในการก�ำหนดแผนกลยุทธ์ธุรกิจ
ในองค์กรด้วยมุมมองที่มีต่อตลาดอาเซียนอย่างครอบคลุมและครบครัน ทันต่อสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่จะเป็นไปใน
ระยะข้างหน้า ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐานส�ำหรับการศึกษาเพิ่มเติมในอนาคตต่อไป

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
เมษายน 2559
สารบัญ
เรื่อง หน้า
1. ข้อมูลพื้นฐานสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา
ลักษณะภูมิประเทศ 1
ลักษณะภูมิอากาศ 3
เมืองหลวง/เมืองส�ำคัญ/เมืองท่า 3
การปกครองและการแบ่งเขตการปกครอง 6
ระบบการปกครอง 6
ประชากร/สังคม/วัฒนธรรม 7
ภาษาราชการ 8
สกุลเงิน 8
เวลา 8
วันหยุดนักขัตฤกษ์/วันหยุดราชการ 8
การคมนาคมและการขนส่งสินค้า 8
จุดผ่านแดนระหว่างไทยกับเมียนมา 10

2. เศรษฐกิจการค้า
ภาวะเศรษฐกิจการค้า 16
เครื่องชี้วัดเศรษฐกิจส�ำคัญ 17
นโยบายด้านเศรษฐกิจการค้า 19
การค้าระหว่างประเทศ 22
การค้าระหว่างไทย-สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา 27
กฎระเบียบการน�ำเข้าสินค้า 35
ระบบโลจิสติกส์และการขนส่ง 39
กลยุทธ์การส่งเสริมสินค้าไทยไปประเทศเมียนมา 40
โอกาสทางการค้าและปัญหาอุปสรรค 41
สารบัญ
เรื่อง หน้า
3. รายงานภาวะอุตสาหกรรม 45

4. การลงทุนในเมียนมา
ต้นทุนการท�ำธุรกิจ 50
การจัดตั้งบริษัท 61
ข้อมูลการลงทุน 72
การเลือกท�ำเลที่ตั้งในการประกอบธุรกิจ/นิคมอุตสาหกรรม 89
แรงงานและการจ้างงาน 98
ใบอนุญาตและหน่วยงานเกี่ยวกับกิจการขนส่ง 108
การเงินการธนาคาร 116
การปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา 124
วัฒนธรรมและมารยาททางธุรกิจ 137
สภาพแวดล้อมในการด�ำรงชีวิต 140

5. ข้อมูลอื่นๆ ที่จ�ำเป็นในการลงทุน
ข้อควรค�ำนึงเมื่อมีการลงทุนในเมียนมา 151
ระบบการช�ำระเงิน 151
ข้อแนะน�ำอื่นๆ ทั่วไป 152

6. ค�ำถามที่ถามบ่อยเกี่ยวกับการค้าการลงทุน 154

7. หน่วยงานและสถานที่ติดต่อ 162

บรรณานุกรม 165
บทที่
ข้อมูลพื้นฐาน
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา 1
บทที่ 1
ข้อมูลพื้นฐาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา
(The Republic of the Union of Myanmar)

ลักษณะภูมิประเทศ
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เป็นประเทศ เมียนมาตั้งอยู่ตามแนวอ่าวเบงกอลและทะเล
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นประเทศที่มี อันดามัน มีชายฝั่งทะเลยาวประมาณ 2,832 กิโลเมตร
ขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของภูมิภาคนี้ ตั้งอยู่ มีพรมแดนตติดต่อกับ 5 ประเทศ คือ
ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของภูมิภาคเอเชียตะวันออก - ประเทศจีน ทางด้านทิศเหนือและทิศตะวัน
เฉียงใต้ ระหว่างละติจูดที่ 9-29 องศาเหนือ ลองติจูด ออกเฉียงเหนือ (2,185 กิโลเมตร)
ที่ 92-102 องศาตะวันออก มีพื้นที่โดยรวมประมาณ - ประเทศลาว ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้
676,577 ตารางกิโลเมตร แบ่งเป็นพื้นดิน 653,844 (253 กิโลเมตร)
ตารางกิโลเมตร พื้นน�้ำ 22,733 ตารางกิโลเมตร - ประเทศไทย ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้
(2,401 กิโลเมตร)

1
อนุสาวรีย์ 3 กษัตริย์ของเมียนมา

- ประเทศอินเดีย ทางด้านทิศตะวันตก (1,463 1.2 เขตส่ ว นกลาง เป็ น พื้ น ที่ เ พาะปลู ก
กิโลเมตร) และเลี้ยงสัตว์ขนาดใหญ่ อยู่ในเขตแห้งแล้ง (Dry Zone)
- ประเทศบังกลาเทศ ทางด้านทิศตะวันตก (193 ประกอบด้วย พื้นที่ราบลุ่มแม่น�้ำอิรวดี (Ayeyawady)
กิโลเมตร) ที่ราบลุ่มแม่น�้ำสะโตง (Shittaung) และที่ราบลุ่ม
ความยาวพื้ น ที่ เ มี ย นมา ตั้ ง แต่ เ หนื อ จดใต้ แม่น�้ำชินวิน (Chinwin) ได้แก่ เขตสะกาย เขตมะเกว
ยาวประมาณ 2,051 กิโลเมตร ส่วนที่กว้างที่สุดกว้าง เขตมัณฑะเลย์ รัฐกะยา เขตบะโก และรัฐกะเหรี่ยง
936 กิโลเมตร และส่วนที่แคบที่สุด 40 กิโลเมตร 2. เมียนมาตอนล่าง (Lower Myanmar)
แบ่งออกเป็น 2 เขต ได้แก่
ภูมปิ ระเทศของเมียนมา อาจแบ่งได้เป็น 2 เขตใหญ่ 2.1 เขตลุ่มปากแม่น�้ำ เป็นพื้นที่บริเวณ
คือ เมียนมาตอนบน (Upper Myanmar) และเมียนมา ปากแม่น�้ำอิีรวดี ใช้ส�ำหรับการท�ำนาปลูกข้าว และ
ตอนล่าง (Lower Myanmar) ในแต่ละ 2 เขตใหญ่ ถือว่าเป็นพื้นที่ที่ผลิตข้าวได้มากที่สุดของเมียนมา ได้แก่
นี้มีการแบ่งออกเป็น 2 เขตย่อย ดังนี้ เขตอิรวดี และเขตย่างกุ้ง
1. เมียนมาตอนบน (Upper Myanmar) 2.2 เขตชายฝั ่ ง ทะเล เป็ น พื้ น ที่ เ ขต
แบ่งออกเป็น 2 เขต ได้แก่ ชายฝั่งทะเลและเขตที่ราบลุ่มปากแม่น�้ำ ส่วนใหญ่ใช้
1.1 เขตเทือกเขา เป็นบริเวณทิวเขาทาง ประโยชน์ในการท�ำการประมง ได้แก่ รัฐยะไข่ รัฐมอญ
ภาคเหนือและที่ราบสูงฉาน ซึ่งจะประกอบไปด้วยภูเขาสูง และเขตตะนาวศรี
มากมาย มีพื้นที่กว้างขวางแต่มีคนอาศัยอยู่น้อย ได้แก่
รัฐฉาน รัฐคะฉิ่น และรัฐชิน

2
ลักษณะภูมิอากาศ
เมียนมาอยู่ในภูมิอากาศเขตร้อนแบบมีมรสุม พระเจ้าบุเรงนอง แห่งอาณาจักรหงสาวดี และพระเจ้า
บริเวณเขตชายฝั่งทะเลและลุ่มปากแม่น�้ำ มีฝนตกชุก อลองพญา แห่งอาณาจักรชเวโบ เมียนมาจัดสร้าง
เขตส่วนกลางอากาศร้อนและแห้งแล้ง และเขตเทือกเขา อนุสาวรีย์ขึ้นอย่างยิ่งใหญ่เพื่อระลึกถึงเกียรติคุณของ
มีอากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง อุณหภูมิเฉลี่ยทั้งประเทศ บูรพมหากษัตริย์ที่ได้รวบรวมเมียนมาให้เป็นปึกแผ่น
อยู่ระหว่าง 20-36 องศาเซลเซียส เมียนมามี 3 ฤดู คือ
- ฤดูร้อน : เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือน เมืองส�ำคัญ/เมืองท่า
พฤษภาคม อากาศจะร้อนจัดมากโดยเฉพาะเขตส่วน กรุงย่างกุ้ง (Yangon) อดีตเมืองหลวงของ
กลาง เมียนมา ในสมัยที่ตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เดิมชื่อ
- ฤดูฝน : เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงปลายเดือน
เมืองดาโกง (Dagon) มีพื้นที่ประมาณ 1 หมื่นตาราง
ตุลาคม ฝนจะเริ่มตกประมาณปลายเดือนพฤษภาคม กิโลเมตร พื้นที่เขตเมืองประมาณ 598 ตารางกิโลเมตร
และจะตกชุกมากเมื่อมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จาก มีประชากรประมาณ 7.3 ล้านคน เป็นศูนย์กลาง
อ่าวเบงกอล เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และกระจายสินค้าไปยัง
- ฤดูหนาว : เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมืองต่างๆ ของประเทศ เนื่องจากมีความพร้อมทางด้าน
กุมภาพันธ์ อากาศหนาวจัดในเดือนธันวาคมถึงเดือน สาธารณูปโภคพื้นฐานมากกว่าเมืองอื่น เป็นศูนย์กลาง
มกราคม โดยเดือนพฤศจิกายนมีอากาศเย็นสบาย การลงทุนที่ส�ำคัญ โดยมีเขตนิคมอุตสาหกรรม (Industrial
Zone) และเขตเศรษฐกิจพิเศษติละวา (Thilawa SEZ)
เมืองหลวง/เมืองส�ำคัญ/เมืองท่า เมืองบะโก หรือ พะโค (ฺBago) เดิมชื่อเมือง
หงสาวดี เป็นเมืองหลวงของเขตบะโก อยู่ห่างจาก
เมืองหลวง กรุงย่างกุ้งไปทางทิศเหนือประมาณ 80 กิโลเมตร
กรุงเนปิดอว์ (Nya Pyi Daw) เป็นเมืองหลวง มีพื้นที่ประมาณ 3.9 หมื่นตารางกิโลเมตร เขตบะโก
แห่งใหม่ของเมียนมา ย้ายเมื่อ พ.ศ. 2548 ตั้งอยู่ตรง มีประชากรประมาณ 4.8 ล้านคน เฉพาะเมืองบะโก
กึ่งกลางประเทศ ระหว่างย่างกุ้งกับมัณฑะเลย์ ห่างจาก มีประชากรประมาณ 1.7 ล้านคน เป็นแหล่งเพาะปลูกข้าว
ย่างกุ้งไปทางทิศเหนือประมาณ 360 กิโลเมตร พื้นที่ และสินค้าเกษตรที่ส�ำคัญ มีโรงงานน�้ำตาล โรงงานทอผ้า
ประมาณ 7 พันตารางกิโลเมตร ประชากรประมาณ และโรงงานเซรามิก อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยว
1.1 ล้านคน เดินทางโดยรถยนต์จากกรุงย่างกุ้งใช้เวลา ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม โดยมีพระราชวัง
ประมาณ 5 ชั่วโมง บุเรงนอง พระเจดีย์ชเวมอดอว์ เป็นแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ
กรุงเนปิดอว์ มีการออกแบบวางผังเมืองเป็น เมืองมัณฑะเลย์ (Mandalay) อดีตเมือง
4 เขตหลัก ได้แก่ เขตราชการ (Ministry Zone) หลวงของเมียนมา ก่อนที่จะกลายเป็นเขตอาณานิคม
เขตโรงแรม (Hotel Zone) เขตอุตสาหกรรม (Industry ของอังกฤษ มีพื้นที่เขตเมืองประมาณ 163 ตาราง
Zone) และเขตทหาร (Military Zone) กิโลเมตร เขตมัณฑะเลย์มีพื้นที่ประมาณ 3.7 หมื่น
จุดที่น่าสนใจของกรุงเนปิดอว์ คือ รัฐสภาแห่ง ตารางกิโลเมตร เขตมัณฑะเลย์มีประชากรประมาณ
สหภาพเมียนมา ที่มีการก่อสร้างเป็นอาคารขนาดใหญ่ 6.1 ล้ า นคน เฉพาะเมื อ งมั ณ ฑะเลย์ มี ป ระชากร
น่าเกรงขาม โดยเฉพาะถนนทางเข้ารัฐสภามีขนาดกว้างถึง ประมาณ 1.7 ล้านคน อยู่ห่างจากกรุงย่างกุ้งไปทาง
12 ช่องจราจร และอนุสาวรีย์ของกษัตริย์เมียนมา 3 ทิศเหนือประมาณ 620 กิโลเมตร เป็นศูนย์กลางการ
พระองค์ ได้แก่ พระเจ้าอโนรธา แห่งอาณาจักรพุกาม ค้าการลงทุนที่ส�ำคัญของเขตส่วนกลางและตอนเหนือ

3
4
ของเมียนมา เป็นศูนย์กลางเส้นทางการค้าไปยังอินเดียและจีน (ตอนใต้) เป็นแหล่งรวมงานศิลปหัตถกรรม
ทั้งงานภาพ งานแกะสลักไม้-หินอ่อน-หยก การสร้างสถูปเจดีย์ การผลิตแผ่นทองค�ำเปลว และงานหล่อรูปต่างๆ
เป็นแหล่งเพาะปลูกฝ้าย ยาสูบ ถั่วต่างๆ
เมืองเมียวดี (Myawaddy) เป็นเมืองชายแดนที่ส�ำคัญของรัฐกะเหรี่ยง มีพรมแดนติดต่อกับอ�ำเภอแม่สอด
จังหวัดตากของไทย มีประชากรประมาณ 2.1 แสนคน เป็นด่านการค้าชายแดนที่ส�ำคัญ มีบทบาทส�ำคัญในการ
รวบรวมสินค้าจากชายแดนไทย ก่อนที่จะกระจายสินค้าไปยังเมืองต่างๆ ของเมียนมา ถือเป็นเส้นทางขนส่งสินค้า
ทางถนนสายหลักของไทยกับเมียนมา อีกทั้งมีเขตนิคมอุตสาหกรรมเมียวดี ที่สามารถรองรับการเป็นฐานการผลิตสินค้า
ของไทย
เมืองท่าชี้เหล็ก (Tachileik) เป็นเมืองชายแดนที่ส�ำคัญของรัฐฉาน มีพรมแดนติดต่อกับอ�ำเภอแม่สาย จังหวัด
เชียงรายของไทย มีประชากรประมาณ 1.7 แสนคน เป็นด่านการค้าชายแดนที่ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่ง มีบทบาทส�ำคัญ
ในการเป็นช่องทางขนส่งสินค้าจากไทยไปยังเมืองต่างๆ ทางตอนเหนือของเมียนมาและจีน (ตอนใต้)
เมืองทวาย (Dawei) เมืองหลวงของเขตตะนาวศรี เขตตะนาวศรีมีประชากรประมาณ 1.4 ล้านคน ทวาย
มีประชากรประมาณ 4.9 แสนคน มีเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (Dawei Special Economic Zone : Dawei SEZ)
ร่วมลงทุนระหว่างไทย เมียนมา และญี่ปุ่น ถือเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเมียนมา ด้วยพื้นที่ 250
ตารางกิโลเมตร ห่างจากด่านบ้านน�้ำพุร้อน จังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 132 กิโลเมตร มีศักยภาพในการเป็นศูนย์กลาง
การลงทุนและการขนส่งสินค้าไปยังอินเดียและสหภาพยุโรป อีกทั้งทรัพยากรธรรมชาติยังมีความอุดมสมบูรณ์ เช่น
แร่ดีบุกและทังสเตน
เมืองมะริด (Myeik) เมืองท่าทางการประมงและศูนย์กลางการค้าไข่มุกที่ส�ำคัญของเขตตะนาวศรี มีประชากร
ประมาณ 6.9 แสนคน รัฐบาลเมียนมาก�ำหนดให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมประมงทะเลครบวงจร เป็นแหล่งเพาะเลี้ยง
ปูนิ่มและหอยมุก เพื่อส่งออกไปญี่ปุ่นและไทย
เมืองตองยี (Taunggyi) เป็นเมืองหลวงของรัฐฉาน รัฐฉานมีประชากรประมาณ 5.8 ล้านคน เฉพาะเมือง
ตองยี มีประชากรประมาณ 1.7 ล้านคน เป็นจุดรวบรวมและกระจายสินค้าจากจีนและไทยไปยังเมืองทางตอนเหนือ
เมืองมูเซ (Muse) เมืองชายแดนของรัฐฉาน มีพรมแดนติดต่อกับเมืองรุ่ยลี่ มณฑลยูนนานของจีน มีประชากร
ประมาณ 4.5 แสนคน เป็นด่านการค้าชายแดนที่ส�ำคัญระหว่างเมียนมากับจีน โดยเป็นเส้นทางขนส่งสินค้าสายหลัก
จากจีนสู่เมียนมา มีมูลค่าการค้าชายแดนสูงที่สุด คิดเป็นร้อยละ 80 ของมูลค่าการค้าชายแดนทั้งหมดของเมียนมา
เมืองชิตต่วย (Sittwe) เป็นเมืองหลวงของรัฐยะไข่ รัฐยะไข่มีประชากรประมาณ 2.1 ล้านคน เฉพาะเมือง
ชิตต่วย มีประชากรประมาณ 5.3 แสนคน เป็นเมืองศูนย์กลางของอุตสาหกรรมก๊าซธรรมชาติและน�้ำมัน รัฐบาลอินเดีย
ให้การสนับสนุนการลงทุนสร้างท่าเรือน�้ำลึกขนาดใหญ่ (Sittwe Deep Sea-port) เพื่อเชื่อมโยงรัฐ Mizoram และ
Manipur ของอินเดียที่ไม่มีทางออกทะเล เข้ากับเมือง Kaletwa ของเมียนมา ผ่านทางถนนและแม่น�้ำ Kaladan ซึ่งจะ
ช่วยร่นระยะทางการขนส่งสินค้าได้ถึง 673 กิโลเมตร
เมืองจ้าวผิ่ว (Kyaukpyu) มีประชากรประมาณ 4.3 แสนคน รัฐบาลจีนให้การสนับสนุนการลงทุนเขต
เศรษฐกิจพิเศษจ้าวผิ่ว (KyaukPyu Special Ecomonic Zone : KyaukPyu SEZ) เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรม
ปิโตรเลียมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวเนื่อง ซึ่งจะเชื่อมโยงกับแหล่งก๊าซธรรมชาติ Shwe (Shwe Gas Project) โครงการ
ขนส่งน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติทางท่อเชื่อมโยงสู่นครคุนหมิงและนครหนานหนิง สปป.จีน
เมืองป่าเต็ง (Pathein) เป็นเมืองหลวงของเขตอิรวดี เขตอิรวดีมีประชากรประมาณ 6.1 ล้านคน เฉพาะเมือง
ป่าเต็ง มีประชากรประมาณ 1.6 แสนคน เป็นแหล่งเพาะปลูกข้าวหอม “ปอซาน : Paw San” และเป็นแหล่งประมง
น�้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดของเมียนมา โดยเฉพาะกุ้งแม่น�้ำซึ่งมีขนาดใหญ่ (ประมาณ 2-3 ตัว/กิโลกรัม)

5
การปกครอง และการแบ่ง ระบบการปกครอง
เขตการปกครอง
เมียนมามีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
เมียนมาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 รัฐ มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้ารัฐบาล
(State) 7 เขต (Region) ดังนี้ ระบบรัฐสภา สภาแห่งสหภาพ (Pyidaungsu
- รัฐ (State) ประชาชนส่วนใหญ่เป็นชน Hluttaw) ประกอบด้วย 2 สภา ดังนี้
กลุ่มน้อย ได้แก่ 1. สภาผู้แทนราษฎร (Pyithu Hluttaw)
1. รัฐชิน (Chin) เมืองฮะคา เป็นเมืองหลวง มีสมาชิกไม่เกิน 440 คน มีวาระ 5 ปี นับตั้งแต่วันที่เริ่ม
2. รัฐกะฉิ่น (Kachin) เมืองมิตจีนา เป็น สมัยประชุมครั้งแรก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
เมืองหลวง 1.1. สมาชิกที่ได้รับการเลือกจากแต่ละเขต
3. รัฐกะเหรี่ยง (Kayin) เมืองพะอัน เป็น เลือกตั้ง ตามสัดส่วนประชากร จ�ำนวน
เมืองหลวง ไม่เกิน 330 คน
4. รัฐกะยา (Kayah) เมืองหลอยก่อ เป็น 1.2. สมาชิกที่เป็นบุคลากรของกองทัพตามที่
เมืองหลวง ได้รับการแต่งตั้งโดยผู้บัญชาการทหาร
5. รัฐมอญ (Mon) เมืองมะละแหม่ง เป็น สูงสุด จ�ำนวนไม่เกิน 110 คน
เมืองหลวง 2. สภาชาติพันธุ์ (Amyotha Hluttaw)
6. รัฐยะไข่ (Rakhine) เมืองซิตต่วย เป็น มีสมาชิกไม่เกิน 224 คน มีวาระเช่นเดียวกับสภาผู้แทน
เมืองหลวง ราษฎร และให้การหมดวาระเป็นวันเดียวกับการหมด
7. รัฐฉานหรือไทใหญ่ (Shan) เมืองตองยี เป็น วาระของสภาผู้แทนราษฎร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
เมืองหลวง 2.1. สมาชิกสภาชาติพันธุ์จ�ำนวน 168 คน
ที่ ไ ด้ รั บ การเลื อ กจากแต่ ล ะเขตการ
- เขต (Region) ประชาชนส่วนใหญ่เป็น ปกครอง (Region) และรัฐ (State) จ�ำนวน
เชื้อสายพม่า ได้แก่ 12 คนต่อเขตการปกครองและรัฐ
1. เขตอิรวดี (Ayeyarwady) เมืองป่าเต็ง เป็น 2.2. สมาชิกสภาชาติพันธุ์จ�ำนวน 56 คน
เมืองหลวง ที่เป็นบุคลากรของกองทัพ ที่ได้รับการ
2. เขตพะโค (Bago) เมืองบะโก เป็นเมืองหลวง แต่ ง ตั้ ง โดยผู ้ บั ญ ชาการทหารสู ง สุ ด
3. เขตมะเกวย์ (Magway) เมืองมะเกวย์ เป็น จ�ำนวน 4 คนต่อเขตการปกครองและรัฐ
เมืองหลวง สภาแห่งเขตการปกครองและสภาแห่งรัฐ (Region
4. เขตมัณฑะเลย์ (Mandalay) เมืองมัณฑะเลย์ Hluttaw/State Hluttaw) มีวาระเช่นเดียวกับสภา
เป็นเมืองหลวง ผู้แทนราษฎร และให้การหมดวาระเป็นวันเดียวกับการ
5. เขตสะกาย (Sagaing) เมืองสะกาย เป็น หมดวาระของสภาผู้แทนราษฎร ประกอบด้วยสมาชิก
เมืองหลวง 1. สมาชิกของสภาแห่งเขตการปกครองและสภา
6. เขตตะนาวศรี (Tanintharyi) เมืองทวาย เป็น แห่งรัฐ มาจากการเลือกตั้งจากแต่ละเมืองในเขตการ
เมืองหลวง ปกครอง (Region) หรือรัฐ (State) นั้น แล้วแต่กรณี
7. เขตย่างกุ้ง (Yangon) เมืองย่างกุ้ง เป็น 2. สมาชิกของสภาแห่งเขตการปกครอง ได้รับ
เมืองหลวง การเลือกตั้งจากแต่ละชาติพันธุ์ โดยอาศัยหลักว่า
ให้ชาติพันธุ์ที่มีสัดส่วนของประชากรตั้งแต่ร้อยละ 0.1 ของ
ประชากรทั้งหมดของสหภาพขึ้นไป มีผู้แทนของตนใน
สภาแห่งเขตการปกครอง

6
3. สมาชิกของสภาแห่งรัฐ ได้รับการเลือกตั้งจาก ชาติพันธ์ุ ได้แก่ พม่า มอญ ยะไข่ กะเหรี่ยง คะฉิ่น ไต
แต่ละชาติพันธ์ุ โดยอาศัยหลักว่า ให้ชาติพันธ์ุที่มีสัดส่วน (ไทใหญ่) ชิน เป็นต้น
ของประชากรตั้งแต่ร้อยละ 0.1 ของประชากรทั้งหมด เขตปกครองที่มีจ�ำนวนประชากรมากที่สุด คือ
ของสหภาพขึ้นไป มีผู้แทนของตนในสภาแห่งรัฐ ย่างกุ้ง (14%) รองลงมาคือ อิรวดี (12%) และมัณฑะเลย์
4. สมาชิกของสภาแห่งเขตการปกครองหรือสภา (12%) ตามล�ำดับ คิดเป็นร้อยละ 38 ของจ�ำนวน
แห่งรัฐ แล้วแต่กรณี ที่เป็นบุคลากรในกองทัพ ที่ได้รับการ ประชากรทั้งหมด ส�ำหรับรัฐที่มีจ�ำนวนประชากรมาก
แต่งตั้งจากผู้บัญชาการทหารสูงสุด จ�ำนวน 1 ใน 3 ของ ที่สุด คือ เนปิดอว์ (2%) ชิน (0.9%) และกะยา (0.6%)
สมาชิกทั้งหมดของสภานั้น ที่มาจากการเลือกตั้งตามวิธี คิดเป็นร้อยละ 3.5 ของจ�ำนวนประชากรทั้งหมด
ที่ 1. และ 2. หรือ 1. และ 3. ความหนาแน่นของประชากร 76 คนต่อตาราง
กิโลเมตร เขตย่างกุ้งที่ความหนาแน่นของประชากรมาก
ประธานาธิบดีแห่งสหภาพเมียนมา ได้รับการเลือกตั้ง ที่สุดที่ 716 คนต่อตารางกิโลเมตร ตามด้วยเขตมัณฑะเลย์
จากสภาผู้แทนราษฎร และสภาชาติพันธุ์ ดังนี้ 200 คนต่อตารางกิโลเมตร
1. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่ได้รับการเลือกตั้ง ประชากรร้อยละ 70 อาศัยอยู่ในเขตชนบท เขต/
จากแต่ละเขตเลือกตั้ง เสนอชื่อสมาชิก 1 คน รัฐที่มีประชากรอาศัยอยู่ในเขตชนบทมากที่สุดคือ อิรวดี
2. สมาชิกสภาชาติพันธุ์ ที่ได้รับการเลือกตั้ง (86%), มะเกวย์ (85%), สะกาย (83%) และยะไข่ (83%)
จากแต่ละเขตการปกครองและรัฐ เสนอชื่อสมาชิก 1 คน ตามล�ำดับ เขตย่างกุ้งมีผู้อาศัยอยู่ในเขตเมืองมากที่สุด
3. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภา (70%) ตามด้วย กะฉิ่น (36%) และมัณฑะเลย์ (35%)
ชาติพันธุ์ ที่เป็นบุคลากรของกองทัพ ที่ได้รับการแต่งตั้ง ประชากรในวัยแรงงาน (อายุ 15-64 ปี) มีจ�ำนวน
โดยผู้บัญชาการทหารสูงสุด เสนอชื่อสมาชิก 1 คน ร้อยละ 67 ของประชากรทั้งหมด แบ่งเป็นชายร้อยละ
4. สภาแห่งสหภาพ (สภาผู้แทนราษฎรและ 85.2 และหญิงร้อยละ 50.5 มีอัตราการว่างงานร้อยละ 4
สภาชาติพันธุ์) ลงคะแนนเสียง โดยผู้ที่ได้รับคะแนน
เสียงมากที่สุดจะเป็น ประธานาธิบดี และผู้ถูกเสนอชื่อ สังคมและวัฒนธรรม
อีก 2 คน เป็นรองประธานาธิบดี ประชาชนเมียนมาส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ
ประธานาธิบดีแห่งสหภาพเมียนมา พิจารณา รองลงมาคือ ศาสนาคริสต์ อิสลาม และฮินดู มีความยึดมั่น
แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงต่างๆ (Union ในขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมที่สั่งสมมา
Minister) จากสมาชิกสภาแห่งสหภาพ หรือบุคคลที่ ตั้งแต่อดีต โดยเฉพาะในเรื่องจริยธรรม การนับถือศาสนา
เหมาะสม โดยความเห็นชอบของสภาแห่งสหภาพ และ และการปฏิบัติตามประเพณีที่ได้รับการสืบทอดต่อกัน
พิจารณาแต่งตั้งมุขมนตรีประจ�ำเขตการปกครองหรือรัฐ มา สังคมของชาวเมียนมาให้ความส�ำคัญกับระบบอาวุโส
แล้วแต่กรณี จากสมาชิกสภาแห่งเขตการปกครองหรือ และระบบอุปถัมถ์ สถานภาพของชายจะสูงกว่าหญิง
สภาแห่งรัฐ แล้วแต่กรณี โดยความเห็นชอบของสภาแห่ง การแต่งกายของผู้ชาย นิยมนุ่งลองจี (Longi)
เขตการปกครองหรือสภาแห่งรัฐ แล้วแต่กรณี มีลกั ษณะคล้ายโสร่ง ส่วนใหญ่เป็นลายสก็อต ยาวตัง้ แต่เอว
หรือข้อเท้า สวมคู่กับเอ่งจี หรือไต้โป่ง คือเสื้อคลุมคอกลม
ประชากร/สังคม/วัฒนธรรม แขนยาวอีกทีหนึ่ง หากต้องแต่งกายอย่างเป็นทางการ
นิยมสวมกาวน์บาวน์ (Gaung Baung) หรือผ้าพันรอบ
ประชากร ศีรษะ แต่ปัจจุบันท�ำเป็นหมวกส�ำเร็จรูปเพื่อความสะดวก
เมียนมามีประชากรประมาณ 51.48 ล้านคน ในการใช้มาก การแต่งกายของผู้หญิง นิยมนุ่งผ้าถุงหรือ
(2557) ประกอบด้วย ชาติพันธุ์ต่างๆ ประมาณ 138 ผ้าซิ่น ยาวถึงข้อเท้า สวมเสื้อคอกลมแขนกระบอกยาว

7
เป็นผ้าลูกไม้หลากหลายสี หากต้องเข้าร่วมงานฉลองงาน 25 ธันวาคม วันคริสต์มาส
ส�ำคัญต่างๆ นิยมใส่เครื่องประดับ แรม 1 ค�่ำ เดือน 4 วันมาฆบูชา
แรม 1 ค�่ำ เดือน 7 วันวิสาขบูชา
ภาษาราชการ แรม 1 ค�่ำ เดือน 8 วันเข้าพรรษา
ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 วันออกพรรษา
ภาษาราชการ คือ ภาษาพม่า (Burmese) ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 12 Full Moon Day of
ส�ำหรับภาษาอื่นที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ ภาษาไท Tazaungmone
ใหญ่ ภาษากะเหรี่ยง ภาษาม้ง ภาษาว้า ภาษาอารากัน วัน - เวลาท�ำงาน
ภาษาที่นิยมใช้ในการติดต่อธุรกิจ คือ ภาษาพม่า ราชการ :
และภาษาอังกฤษ จันทร์ - ศุกร์ 09.00 - 12.00 น. และ
13.00 - 17.00 น.
สกุลเงิน เอกชน :
จันทร์ - ศุกร์ 09.00 - 12.00 น. และ
หน่วยเงินของเมียนมา คือ เมียนมาจ๊าต/จ๊าต 13.00 - 17.00 น.
(Myanmar Kyat : MMK) โดยมีอัตราแลกเปลี่ยน ธนาคาร :
ประมาณ 1,280 เมียนมาจ๊าต เท่ากับ 1 เหรียญสหรัฐ จันทร์ - ศุกร์ 10.00 - 15.00 น.
และ 35.90 เมียนมาจ๊าต เท่ากับ 1 บาท (แหล่งที่มา
: Central Bank of Myanmar เมื่อเดือนพฤศจิกายน
2558)
การคมนาคมและการขนส่งสินค้า
การคมนาคมทางบก ถนนและทางหลวง (Roads
เวลา and highways)
การคมนาคมทางถนนเป็นเส้นทางหลักในเมียนมา
เมียนมา เวลาช้ากว่าประเทศไทย 30 นาที หรือ จากพื้นที่ 676,577 ตารางกิโลเมตร และประชากร
GMT +06:30 51.48 ล้านคน เมียนมาเป็นประเทศที่มีความหนาแน่น
ของถนนต�่ำเมื่อเทียบกับพื้นที่และจ�ำนวนประชากร
วันหยุดนักขัตฤกษ์ ทั้งระยะทางทั้งหมดของถนนและถนนที่ได้มาตรฐาน
วันหยุดราชการ ถนนในเมียนมามีระยะทางประมาณ 130,000
กิโลเมตร คิดเป็นถนน 2.5 กิโลเมตรต่อประชากร 1,000
คน ปัจจุบันได้มีการก่อสร้าง ปรับปรุงและพัฒนาถนน
4 มกราคม วันเอกราช ในตัวเมืองและชานเมืองให้ได้มาตรฐาน เพื่อเชื่อมต่อ
12 กุมภาพันธ์ วันสหภาพ การคมนาคมในประเทศ กระจายความเจริญสู่ท้องถิ่น
2 มีนาคม วันเกษตรกร และรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นจากการ
27 มีนาคม วันกองทัพ เปิดประเทศ
13 -16 เมษายน วันสงกรานต์
17 เมษายน วันปีใหม่เมียนมา การคมนาคมทางรถไฟ (Railways)
1 พฤษภาคม วันกรรมกร ศูนย์กลางเส้นทางรถไฟอยู่ที่กรุงย่างกุ้ง เส้นทาง
19 กรกฎาคม วันวีรบุรุษ สายหลัก คือ กรุงย่างกุ้ง - มัณฑะเลย์ ระยะทางประมาณ
8 ธันวาคม วันชาติ

8
9
716 กิโลเมตร เป็นเส้นทางและขบวนรถไฟที่ได้มาตรฐาน ท่ า อากาศยานนานาชาติ 3 แห่ ง ได้ แ ก่
ที่สุดของเมียนมา ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง ท่าอากาศยานนานาชาติ
เมียนมา เปิดให้บริการการคมนาคมทางรถไฟ เนปิดอว์ และท่าอากาศยานนานาชาติมัณฑะเลย์
ครั้งแรกเมื่อ 1 พฤษภาคม 2420 เส้นทางรถไฟสายแรก
คือ ย่างกุ้ง - แปร/ปี (Pyay) และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2420 -
2531 เส้นทางการเดินรถไฟมีความยาว 1,976 กิโลเมตร
จุดผ่านแดนระหว่างไทย
และได้มกี ารขยายก่อสร้างทางรถไฟภายในประเทศเพิม่ เติม กับเมียนมา
จนมีระยะทางรวมกว่า 4,600 กิโลเมตร
ไทยกับเมียนมา มีแนวชายแดนติดต่อกันเป็น
การคมนาคมทางน�้ำ (Inland Waterways) ระยะทางยาวประมาณ 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่
เมียนมามีแม่น�้ำหลายสาย โดยมีระยะทางที่ใช้ใน 10 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก
การขนส่งทางน�้ำประมาณ 2,400 กิโลเมตร สินค้าที่มีการ กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และ
ขนส่งทางน�้ำภายในประเทศ ได้แก่ ไม้สัก ข้าว ปูนซีเมนต์ ระนอง
ปุ๋ย วัสดุก่อสร้าง และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม แม่น�้ำส�ำคัญ
4 สาย ได้แก่ จุดผ่านแดนถาวร
1. แม่น�้ำอิรวดี (Ayeyarwaddy) เป็นแม่น�้ำที่ 1. จังหวัดเชียงราย
มีความส�ำคัญที่สุด ไหลมาจากทางทิศใต้ของรัฐกะฉิ่นไป พื้นที่ของไทย สะพานข้ามแม่น�้ำสาย เขตเทศบาล
บรรจบกับแม่น�้ำชินวินที่มัณฑะเลย์ และไหลออกสู่ทะเล แม่สาย อ.แม่สาย
อันดามัน มีความยาว 2,170 กิโลเมตร พื้นที่ของเมียนมา เมืองท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน
2. แม่น�้ำสาละวิน (Thanlyin) ไหลมาจากธิเบต เวลาเปิด-ปิด 06.30-18.30 น. ของทุกวัน และ
ผ่านมณฑลยูนนานและไทย ออกสู่ทะเลอันดามันที่เมือง ประกาศฯ ลว. 11 ส.ค. 40 มีผลบังคับ 15 ส.ค. 40
เมาะละแหม่ง มีความยาว 1,270 กิโลเมตร 2. จังหวัดเชียงราย
3. แม่น�้ำสะโตง (Sittaung) ไหลมาจากทิศ พื้นที่ของไทย สะพานข้ามแม่น�้ำสายแห่งที่ 2
ใต้ของที่ราบสูงรัฐฉาน ผ่านภาคกลางฝั่งตะวันออกของ ต.สันผักฮี้ อ.แม่สาย
ประเทศ ออกสู่ทะเลอันดามันที่อ่าวเมาะตะมะ (Mart- พื้นที่ของเมียนมา เมืองท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน
aban) มีควมยาว 400 กิโลเมตร เป็นเส้นทางส�ำคัญใน เวลาเปิด-ปิด 06.30 - 18.30 น. ของทุกวัน และ
การขนส่งไม้ซุง ประกาศฯ ลว. 19 ม.ค. 49 มีผลบังคับ 22 ม.ค. 49
4. แม่น�้ำชินวิน (Chindwin) ไหลจากทิศ 3. จังหวัดตาก
เหนือในรัฐกะฉิ่นลงใต้ ผ่านทางตะวันตกของประเทศ พื้นที่ของไทย บ.ริมเมย ม.2 ต.ท่าสายลวด
มาบรรจบกับแม่น�้ำอิรวดีที่มัณฑะเลย์ มีความยาว 960 อ.แม่สอด
กิโลเมตร พื้นที่ของเมียนมา เมืองเมียวดี รัฐกะเหรี่ยง
เวลาเปิด-ปิด 06.30 - 18.30 น. ของทุกวัน และ
สนามบิน (Airport) ประกาศฯ ลว. 11 ส.ค. 40 มีผลบังคับ 15 ส.ค. 40
เมียนมา มีท่าอากาศยาน จ�ำนวน 80 แห่งซึ่ง 4. จังหวัดระนอง
ประกอบด้วย ท่าอากาศยานที่ลาดยางรันเวย์ 11 แห่ง พื้นที่ของไทย ด่านตรวจคนเข้าเมือง อ.เมือง
และท่าอากาศยานที่ไม่ได้ลาดยางรันเวย์ 69 แห่ง ระนอง

10
- ท่าเทียบเรือสะพานปลา ต.บางริ้น อ.เมือง 4. จังหวัดเชียงราย
ระนอง พื้นที่ของไทย ท่าดินดํา บ.ป่ าแดง ม.5 ต.เกาะช้าง
- ปากน�้ำระนอง ต.ปากน�้ำ อ.เมืองระนอง อ.แม่สาย
- ท่าเทียบเรือ บริษัท อันดามันคลับ จํากัด พื้นที่ของเมียนมา บ.ดินดํา จ.ท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน
ต.ปากน�้ำ อ.เมืองระนอง เวลาเปิด-ปิด 06.00 -18.00 น. ของทุกวัน และ
พื้นที่ของเมียนมา เมืองเกาะสอง ภาคตะนาวศรี ประกาศจังหวัด ลว. 4 เม.ย. 48
เวลาเปิด-ปิด 06.30 - 24.00 น. ของทุกวัน 5. จังหวัดเชียงราย
(สาเหตุที่เปิดด่านถึง 24.00 น. เพื่อส่งเสริมการ พื้นที่ของไทย บ.สบรวก ม.1 ต.เวียง อ.เชียงแสน
ท่องเที่ยวและการค้า) ประกาศฯ ลว. 16 ส.ค. 43 พืน้ ทีข่ องเมียนมา บ.เมืองพง จ.ท่าขีเ้ หล็ก รัฐฉาน
มีผลบังคับ 23 ส.ค. 43 เวลาเปิด-ปิด 06.00 -18.00 น. ของทุกวัน และ
- จังหวัดกําหนดช่องทาง ซึ่งเป็นจุดตรวจไว้ ประกาศจังหวัด ลว. 27 ต.ค. 41
3 ช่องทาง 6. จังหวัดเชียงใหม่
5. จังหวัดกาญจนบุรี พื้นที่ของไทย ช่องทางกิ่วผาวอก
พื้นที่ของไทย บ.พุน�้ำร้อน จ.กาญจนบุรี บ.อรุโณทัย ม.10 ต.เมืองนะ อ.เชียงดาว
พื้นที่ของเมียนมา ด่านทิกิ พื้นที่ของเมียนมา เมืองสาด รัฐฉาน
ผลใช้บังคับวันที่ 1 ก.ค. 56 เวลาเปิด-ปิด 06.00 – 18.00 น. ของทุกวัน
7. จังหวัดเชียงใหม่
จุดผ่อนปรน 14 แห่ง พืน้ ทีข่ องไทยช่องทางหลักแต่งมัน่ คง บ.เปียงหลวง
1. จังหวัดเชียงราย ต.เปียงหลวง อ.เวียงแหง
พื้ น ที่ ข องไทย ท่ า บ.ปางห้ า ต.เกาะช้ า ง พื้นที่ของเมียนมา เมืองเต๊าะ รัฐฉาน
อ.แม่สาย เวลาเปิด-ปิด 06.00 – 18.00 น. ของทุกวัน
พื้นที่ของเมียนมา เมืองท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน 8. จังหวัดแม่ฮ่องสอน
เวลาเปิด-ปิด 06.00 - 18.00 น. ของทุกวัน และ พื้นที่ของไทย ช่องทาง บ.ห้วยต้นนุ่น ม.4 ต.แม่เงา
ประกาศจังหวัด ลว. 29 มิ.ย. 38 อ.ขุนยวม
2. จังหวัดเชียงราย พื้นที่ของเมียนมา อ.แม่แจ๊ะ จ.ดอยก่อ รัฐคะยา
พื้นที่ของไทย ท่า บ.สายลมจอย ต.เวียงพางคํา เวลาเปิด-ปิด 06.00 - 18.00 น. ทุกวัน และ
อ.แม่สาย ประกาศฯ ลว. 30 ธ.ค. 37 มีผลบังคับ 9 ม.ค. 38
พื้นที่ของเมียนมา เมืองท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน 9. จังหวัดแม่ฮ่องสอน
เวลาเปิด-ปิด 06.00 -18.00 น. ของทุกวัน และ พื้นที่ของไทย ช่องทาง บ.ห้วยผึ้ง ม.3 ต.ห้วยผา
ประกาศจังหวัด ลว 29 มิ.ย. 38 อ.เมืองแม่ฮ่องสอน
3. จังหวัดเชียงราย พื้นที่ของเมียนมา รัฐฉาน
พื้นที่ของไทย ท่า บ.เกาะทราย ต.แม่สาย เวลาเปิด-ปิด 06.00 -18.00 น. ของทุกวัน และ
อ.แม่สาย ประกาศฯ ลว. 1 ก.ค. 39 มีผลบังคับ 2 ก.ค. 39
พื้นที่ของเมียนมา เมืองท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน 10. จังหวัดแม่ฮ่องสอน
เวลาเปิด-ปิด 06.00 -18.00 น. ของทุกวัน และ พื้นที่ของไทย ช่องทาง บ.เสาหิน ม.1 ต.เสาหิน
ประกาศจังหวัด ลว. 29 มิ.ย. 38 อ.แม่สะเรียง

11
พื้นที่ของเมียนมา รัฐกอทูเเล พื้นที่ของเมียนมา อ.พญาตองซู จ.กอกาเล็ก
เวลาเปิด-ปิด 06.00 -18.00 น. ของทุกวัน และ รัฐกะเหรี่ยง ภาคตะนาวศรี
ประกาศฯ ลว.28 ก.ย. 48 มีผลบังคับ 28 ก.ย. 48 เวลาเปิด-ปิด 06.00 -18.00 น. ของทุกวัน และ
11. จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประกาศฯ ลว. 14 พ.ค. 36
พื้นที่ของไทย บ.แม่สายแลบ ม.1 ต.แม่สายแลบ 14. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
อ.สบเมย พื้นที่ของไทย บ.ไร่เครา ต.คลองวาฬ
พื้นที่ของเมียนมา ผาปูน จ.ดอยก่อ อ.เมืองประจวบฯ
เวลาเปิด-ปิด 06.00 – 18.00 น. ของทุกวัน และ พื้นที่ของเมียนมา บ.มุด่อง จ.มะริด
ประกาศฯ ลว.28 มี.ค. 49 มีผลบังคับ 28 มี.ค. 49 ภาคตะนาวศรี
12. จังหวัดแม่ฮ่องสอน เวลาเปิด-ปิด 08.00 - 18.00 น. ของทุกวัน และ
พื้นที่ของไทย บ.น�้ำเพียงดิน ม.3 ต.ผาบ่อง ประกาศฯ ลว. 5 ก.ย. 40, 5 ก.พ. 41 และ 16 มิ.ย. 41
อ.เมืองแม่ฮ่องสอน
พื้นที่ของเมียนมา จ.ดอยก่อ จุดผ่านแดนชั่วคราว
เวลาเปิด-ปิด 08.00 – 16.00 น. ของทุกวัน 1. จังหวัดกาญจนบุรี
ประกาศฯ ลว.11 ส.ค. 52 พื้นที่ของไทย ด่านพระเจดีย์สามองค์
13. จังหวัดกาญจนบุรี อ.สังขละบุรี
พื้นที่ของไทย ด่านพระเจดีย์สามองค์ พื้นที่ของเมียนมา อ.พญาตองซู จ.กอกาเล็ก
อ.สังขละบุรี รัฐกะเหรี่ยง ภาคตะนาวศรี
เวลาเปิด-ปิด 08.30 – 18.00 น. ของทุกวัน

เส้นทางการคมนาคมและจุดผ่านแดนที่ส�ำคัญ

12
13
14
บทที่

เศรษฐกิจการค้า 2
บทที่ 2
เศรษฐกิจการค้า
ภาวะเศรษฐกิจการค้า
ประเทศเมียนมา เป็นประเทศก�ำลังพัฒนาขัน้ ต�ำ่ การท�ำป่าไม้ มีการท�ำป่าไม้สักทางภาคเหนือ
หรือมีรายได้เฉลี่ยต่อคนอยู่ในเกณฑ์ต�่ำมาก ** ส่งออกขายและล่องมาตามแม่น�้ำอิรวดีเข้าสู่ย่างกุ้ง
ด้านเกษตรกรรมถือว่าเป็นอาชีพหลักของชาว ด้ า นอุ ต สาหกรรม ก� ำ ลั ง พั ฒ นา อยู ่ บ ริ เ วณ
เมียนมา เขตเกษตรกรรมคือ บริเวณดินดอนสามเหลี่ยม ตอนล่างของประเทศ เช่น ย่างกุ้ง
ปากแม่นำ�้ อิรวดี และแม่นำ�้ สะโตง ปลูกข้าวเจ้า ปอกระเจา
หมายเหตุ : ** จากตัวเลขที่เป็นทางการของ GDP
อ้อย และพืชเมืองร้อนอื่นๆ ต่อจ�ำนวนพลเมืองของประเทศ อย่างไรก็ตาม สภาพความเป็น
ด้านการท�ำเหมืองแร่ ภาคกลางตอนบนมีน�้ำมัน อยู่อาจมีความแตกต่างจากข้อมูลจากสถิติที่ได้ส�ำรวจ ทั้งนี้
ปิโตรเลียม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขุดแร่หิน สังกะสี เนื่ อ งจากอุ ป สรรคในการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ด้ า นเศรษฐกิ จ ของ
ประเทศเมียนมา
และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ท�ำเหมืองดีบุก

ตึกที่ท�ำการหอการค้าเมียนมา ณ กรุงย่างกุ้ง

16
เครื่องชี้วัดเศรษฐกิจสำ�คัญ
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ

Recent economic indicators 2554 2555 2556 2557 2558


GDP (US$bn) (current prices) 56.2 55.8 56.8 62.8 69.1
GDP PPP (US$bn) (c) 184.6 201.6 221.5 242.0 264.5
GDP per capita (US$) 1,121 1,103 1,113 1,221 1,334
GDP per capita PPP (US$) (c) 3,683 3,989 4,345 4,706 5,101
Real GDP growth (% change yoy) 5.9 7.3 8.3 7.7 8.3
Current account balance (US$bn) -1,091 -2,393 -2,888 -4,509 -4,832
Current account balance (% GDP) -1.9 -4.3 -5.1 -7.2 -7.0
Goods & service exports (% GDP) 15.1 17.0 19.9 Na Na
Inflation (% change yoy) 2.8 2.8 5.7 5.9 8.4
Remark: (a) All recent data subject to revision (b) IMF/EIU forecast

ปัจจุบันประเทศเมียนมา มีประชากรประมาณ รัฐบาลทหารเมียนมา พยายามส่งเสริมการเพิ่มผลิตผล


51.4 ล้านคน เศรษฐกิจมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทางการเกษตรให้ได้มากที่สุด ด้วยการสนับสนุนการ
โดยในปี 2557 ได้ มี อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทาง บุกเบิกและฟื้นฟูท่ีดินเพื่อการผลิต ส่งเสริมนักลงทุน
เศรษฐกิจ ร้อยละ 7.7 รายได้ต่อหัว 1,221 เหรียญ เอกชนปลูกยางพารา ส่งเสริมการส่งออกข้าว ส่งออก
สหรัฐ และคาดว่าใน ปี 2558 จะมีอัตราการเจริญ ไม้สัก เป็นต้น
เติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 8.3 รายได้ต่อหัว 1,334
เหรียญสหรัฐ ซึ่งในขณะนี้ เมียนมากําลังได้รับความ 2. ภาคอุตสาหกรรม
สนใจจากนั ก ลงทุ น จากทั่ ว โลกในฐานะเป้ า หมาย อุตสาหกรรมที่เป็นรายได้ส�ำคัญในขณะนี้ ได้แก่
ลงทุนแห่งใหม่ โดยเฉพาะหลังจากรัฐบาลเมียนมา อุตสาหกรรมประมง เฟอร์นิเจอร์หรือผลิตภัณฑ์ที่ท�ำ
มีนโยบายเปิดประเทศ ส่งเสริมการค้า/การลงทุนจากต่าง จากไม้ และเสื้ อ ผ้ า อี ก ทั้ ง จากการเปิ ด ประเทศ
ประเทศ ประกอบกับปัจจุบันก�ำลังจะมีการเลือกตั้งแบบ ด้วยการส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ และสนับสนุนภาค
เปิดครั้งแรกของเมียนมา ในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2558 เอกชนเข้าร่วมลงทุนในภาคเกษตร อุตสาหกรรมเบา และ
ซึ่งท�ำให้เป็นที่เชื่อมั่นของนักลงทุนจากนานาชาติมากขึ้น การคมนาคม ท�ำให้นักลงทุนภาคเอกชนมีความใกล้ชิด
และได้รับความไว้วางใจจากรัฐบาลเป็นอย่างดี ส�ำหรับ
โครงสร้างเศรษฐกิจหลักของเมียนมา ได้แก่ อุตสาหกรรมหนัก รัฐบาลอนุมัติ 3 โครงการลงทุนของ
1. ภาคเกษตรกรรม ต่างชาติในน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ เป็นจ�ำนวนเงิน 114
เมียนมาเป็นประเทศเกษตรกรรม ภาคเกษตร ล้านเหรียญสหรัฐ และ 1 โครงการลงทุนท�ำเหมือง
จึงมีสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หรือ GDP นอกจากนั้น จีนได้ท�ำสัญญาขอซื้อก๊าซธรรมชาติจาก
(Gross Domestic Product : GDP) รายภาคมากที่สุด เมียนมา โดยขนส่งผ่านท่อส่งก๊าซจากเมียนมาไปยูนนาน

17
การลงทุนสร้างท่อส่งก๊าซนี้เป็นรายได้ส�ำคัญให้แก่ และรัฐบาลทหารเมียนมา ความเสียหายของประเทศ
รัฐบาลทหารเมียนมา ภายหลังพายุนาร์กีสพัดผ่าน ความเข้มงวดในการออกวีซ่า
แม้กระนั้น สัดส่วน GDP ภาคอุตสาหกรรม และการคว�่ำบาตรทางการค้าและการท่องเที่ยวโดยกลุ่ม
ยังอยู่ระดับต�่ำมาก เนื่องจากการคว�่ำบาตรทางการค้า สนับสนุนประชาธิปไตยในเมียนมาทั้งจากภายในและ
ของนานาประเทศจากกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชน ได้แก่ ภายนอกประเทศ แต่หลังจากเมียนมาเปิดประเทศและ
ประเทศสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป โดยเฉพาะ มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองภายในประเทศ ท�ำให้
เสื้อผ้า อัญมณี และหยก รวมถึงปัญหาการขาดแคลน ปี 2555 เป็นต้นมา มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเยือน
กระแสไฟฟ้า และเส้นทางคมนาคมขนส่งถูกตัดขาด เมียนมากว่า 1 ล้านคน
เนื่องจากประสบภัยพายุนาร์กิส
ทั้งนี้ เมียนมาได้ยกเลิกการลงตราวีซ่าประชาชน
3. ภาคบริการ ชาวไทยที่ถือหนังสือเดินทางธรรมดาหรือพาสปอร์ต
ในช่วงปี 2552-2554 ปีที่ผ่านมา มีนักท่องเที่ยว ซึ่งเดินทางเข้าประเทศเมียนมา ผ่านทางท่าอากาศยาน
ต่างชาติเดินทางเข้าเมียนมาเฉลี่ย จ�ำนวนกว่า 2 แสนคน นานาชาติ 3 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานนานาชาติกรุง
ซึ่งเป็นจ�ำนวนน้อยมากเมื่อเทียบกับนักท่องเที่ยวใน เนปิดอว์ ย่างกุ้ง และมัณฑะเลย์ จะได้รับยกเว้นการตรวจ
ประเทศไทย ปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้การท่องเที่ยวในเมียนมา ลงตรา รวมถึงสามารถพ�ำนักอยู่ในเมียนมาได้เป็นเวลา
ยังไม่ประสบผลส�ำเร็จแม้ว่าจะมีทรัพยากรธรรมชาติที่ ไม่เกิน 14 วัน
สมบูรณ์ คือ ภาพลักษณ์ความรุนแรงของกลุ่มผู้ประท้วง

สภาพหน้าศูนย์ค้าส่งสินค้าของเมียนมา เปรียบได้กับประตูน�้ำของกรุงเทพฯ

18
นโยบายด้านเศรษฐกิจการค้า
ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจากอดีตมา แผนพัฒนาฉบับที่ 3 (2544-2548) อัตราการเติบโตของ
ถึงปัจจุบัน เมียนมาได้ใช้ระบบเศรษฐกิจหลายระบบ ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติหรือ GDP อยู่ที่ 10.5%
เริ่มจากระบบตลาดเสรี (Free market system) ระหว่างปี แผนพัฒนาฉบับที่ 4 (2549-2553) อัตราการเจริญเติบโต
2429-2491 ในยุคอาณานิคมของ สหราชอาณาจักร ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ อยู่ที่ 8%
มาเป็นระบบเศรษฐกิจแบบผสมผสาน โดยให้แรงขับเคลือ่ น
ทางการตลาดมีบทบาทส�ำคัญในกระบวนการพัฒนา รัฐบาลเมียนมาได้ด�ำเนินนโยบายระบบเศรษฐกิจ
ต่อมาระหว่างปี 2505 - 2531 เป็นระบบเศรษฐกิจแบบ เสรี โดยให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการผลิต การจัดการ
สังคมนิยม และในปี 2531 จนถึงปัจจุบันหลังจากการ รวมทั้ ง ได้ เ ปิ ด ประเทศให้ มี ก ารค้ า เพิ่ ม มากยิ่ ง ขึ้ น
เปลี่ยนแปลงทางการเมือง สภาสันติภาพและการพัฒนา โดยลักษณะของนโยบายด้านการค้าดังนี้คือ
แห่งรัฐ (State Peace and Development Council 1. ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
(SPDC) ได้ก�ำหนดให้ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบกลไกตลาด โดยการเพิม่ พืน้ ทีเ่ พาะปลูก (ไม่ใช่การเพิม่ ผลผลิตต่อพืน้ ที)่
SPDC ได้ปฏิรูปมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาสภาพ ท�ำให้ผลผลิตและการส่งออกของพืชเศรษฐกิจบางชนิด
เศรษฐกิจที่ตกต�่ำและสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของ เช่น ข้าว ธัญพืช ฝ้าย อ้อย งา ถั่ว และดอกทานตะวัน
ประเทศได้ เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม นโยบายดังกล่าว ยังไม่สามารถ
ก่อนที่เมียนมาจะก�ำหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ด�ำเนินการได้ผลเต็มที่ เนื่องจากรัฐบาลเมียนมาควบคุม
แห่งชาติอย่างชัดเจน ได้มีนโยบายเร่งพัฒนาโครงสร้าง ราคาพืชเศรษฐกิจหลัก เช่น ข้าว และอ้อย
สาธารณูปโภคพื้นฐานภายในประเทศเพื่อรองรับการ 2. ส่งเสริมการผลิตเพื่อทดแทนการน�ำเข้า
พัฒนาเศรษฐกิจและการลงทุนจากต่างประเทศ ตลอดจน เช่น น�้ำมัน (edible oil) และกระดาษ เพื่อลดการ
เน้นความร่วมมือกับประเทศเพือ่ นบ้านทีม่ ชี ายแดนติดต่อกัน ขาดดุลการค้าและรักษาปริมาณเงินทุนส�ำรองต่างประเทศ
ได้แก่ จีน ลาว และไทยไปพร้อมกัน เพื่อรองรับการ 3. ขยายภาคอุตสาหกรรมการผลิตให้หลากหลาย
เจริญเติบโตของภาคเกษตรกรรมและภาคบริการ (การ โดยรัฐบาลเมียนมาให้การส่งเสริมรัฐวิสาหกิจของ
ท่องเที่ยว) อย่างไรก็ตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจในอดีต เมียนมาในการผลิต เครื่องจักร ยานพาหนะและอุปกรณ์
จะมุง่ เน้นในการพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมเป็นหลัก โทรทัศน์ อุปกรณ์สื่อสาร สิ่งทอ เครื่องใช้ไฟฟ้า น�้ำตาล
ภายใต้การปกครองโดยสภาสันติภาพและการ ยาง ผลิตภัณฑ์สัตว์น�้ำ และผลิตภัณฑ์จากไม้ อย่างไรก็ดี
พัฒนาแห่งรัฐ (SPDC) สภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ รัฐบาลเมียนมาไม่ได้ให้การสนับสนุนในด้านนี้ต่อภาค
ได้ขยายตัวขึ้น กล่าวคือในปี 2532- 2534 เศรษฐกิจ เอกชน หรือนักลงทุนต่างชาติ
เริ่มกระเตื้องขึ้นเล็กน้อย หลังจากอัตราการเติบโตทาง
เศรษฐกิจก่อนหน้านี้ติดลบต่อเนื่องกัน 3 ปี และจาก กฎระเบียบทางการค้าที่ส�ำคัญ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ฉบับแรก (2535-2538) อัตรา มาตรการน�ำเข้า-ส่งออก
การเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติหรือ GDP ผู้ท�ำธุรกิจน�ำเข้า-ส่งออกสินค้า จะต้องยื่น
อยู่ที่ 7.5% และจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 2 จดทะเบียนเป็นผู้น�ำเข้า-ส่งออกที่ส�ำนักงานทะเบียน
(2539-2543) อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวม น�ำเข้า-ส่งออก (Export Import Registration Office)
ประชาชาติหรือ GDP โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 8.5% ส�ำหรับในช่วง กระทรวงพาณิชย์ของเมียนมา ค่าธรรมเนียมในการ

19
20
21
จดทะเบียนธุรกิจน�ำเข้า-ส่งออก เป็นเงิน 50,000 และ ที่ระบุว่าสามารถด�ำเนินการได้โดยหน่วยงาน
100,000 จ๊าต โดยมีระยะเวลาในการด�ำเนินธุรกิจ 1 และ รัฐวิสาหกิจแต่เพียงผู้เดียว
3 ปีตามล�ำดับ ผู้ที่จะท�ำธุรกิจน�ำเข้า-ส่งออกสินค้า - สามารถน� ำ เข้ า สิ น ค้ า ทุ ก ชนิ ด ตามเงื่ อ นไข
จะต้องยื่นขอจดทะเบียนเป็นผู้น�ำเข้า-ส่งออกที่ส�ำนักงาน ของกฎและระเบียบที่ระบุไว้ ยกเว้นสินค้า
ทะเบียนน�ำเข้า-ส่งออก (Export-Import Registration ที่เป็นสินค้าห้ามน�ำเข้า
Office) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ - สามารถจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ในตลาดภายใน
ประเทศได้
คุณสมบัติของผู้น�ำเข้าและส่งออก - สามารถยื่ น ขอหนั ง สื อ เดิ น ทางประเภท
- บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติเมียนมาหรือที่ ธุรกิจไปต่างประเทศได้
แปลงสัญชาติเป็นเมียนมา (Naturalized
Citixenship)
- ห้างหุ้นส่วน บริษัทที่จัดตั้งในเมียนมา
การค้าระหว่างประเทศ
- ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด บริษัทร่วมทุน ที่จัดตั้ง แม้ว่าประเทศเมียนมาจะถูกคว�่ำบาตรจาก
ขึ้นภายในกฎหมายการลงทุนต่างประเทศ องค์การสหประชาชาติ ห้ามไม่ให้มีการค้าขายสินค้า
ของเมียนมา กับต่างประเทศ แต่ในทางปฏิบัติมาตรการดังกล่าว
- สหกรณ์ ที่ จ ดทะเบี ย นภายใต้ ก ฎหมาย ถูกน�ำไปปฏิบัติกับประเทศที่เป็นผู้น�ำทางด้านระบอบ
สหกรณ์ของเมียนมาในปี 2533 การปกครองแบบประชาธิปไตย เช่น สหรัฐอเมริกา
ฝรั่งเศส และอังกฤษ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ในด้าน
สิทธิของผู้จดทะเบียน มนุษยชน บางประเทศสามารถค้าขายกับประเทศ
- สามารถส่งออกสินค้าทุกชนิด ยกเว้น ไม้สัก เมียนมาได้ตามความจ�ำเป็น เช่น ประเทศที่มีอาณาเขต
น�้ ำ มั น ปิ โ ตรเลี ย ม ก๊ า ชธรรมชาติ ไข่ มุ ก ติดต่อกับประเทศเมียนมา เป็นต้น
หยก อัญมณี แร่ธรรมชาติ และสินค้าอื่นๆ

22
ตารางแสดงมูลค่าการส่งออกและน�ำเข้าของเมียนมาในช่วงปีงบประมาณ 2547-2554
หน่วย : ล้านจ๊าต
ปี มูลค่าส่งออก มูลค่าน�ำเข้า มูลค่ารวม
2547-2548 16,697.3 11,338.5 28,035.8
2548-2549 20,646.6 11,514.2 32,160.8
2549-2550 30,026.1 16,835.0 46,861.1
2550-2551 35,296.8 18,418.9 53,715.7
2551-2552 38,668.7 28,355.4 67,024.6
2552-2553 41,289.1 22,837.4 64,126.5
2553-2554 49,106.8 35,508.4 84,615.2

ที่มา : ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงย่างกุ้ง


หมายเหตุ : 1. ค�ำนวณโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามประกาศของธนาคารกลางเมียนมา
2. ปีงบประมาณของเมียนมาอยู่ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2553 - 30 เมษายน 2554
3. Export include re-export (re-export คือ การพัฒนาสินค้าน�ำเข้าแล้วท�ำการส่งออก)

จากสถิ ติ ก ารค้ า ขายกั บ ต่ า งประเทศของเมี ย นมา พบว่ า มี มู ล ค่ า การค้ า เพิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งทุ ก ปี
โดยในปีงบประมาณ 2547-2548 มีมูลค่าการค้ารวมถึง 28,035.8 ล้านจ๊าต ในขณะที่ในปีงบประมาณ 2553-2554
มีมูลค่าสูงขึ้นถึง 3 เท่าของปีงบประมาณ 2547-2548 คือ มีมูลค่าสูงถึง 84,615.2 ล้านจ๊าต

ตารางแสดงประเทศที่เมียนมาส่งออกสินค้าหลัก เรียงล�ำดับตามมูลค่าส่งออกสูงสุด 10 ประเทศ


หน่วย:ล้านจ๊าต
อันดับ สินค้าน�ำเข้า 2547-2548 2548-2549 2549-2550 2550-2551 2551-2552 2552-2553 2553-2554
1 ไทย 7,219.17 7,868.64 13,533.7 15,530.0 14,340.6 17,431.0 16,065.2
2 อินเดีย 1,956.32 2,841.60 4,217.21 4,006.56 4,387.8 5,512.9 4,858.1
3 สาธารณรัฐประชาชนจีน 1,658.80 2,125.19 3,530.37 3,832.52 3,352.3 3,359.1 6,662.9
4 ฮ่องกง 656.05 1,488.10 2,316.59 3,573.00 3,610.9 5,162.9 10,530.6
5 สิงคโปร์ 807.28 1,532.69 1,047.87 2,210.10 4,638.4 3,690.9 2,499.9
6 ญี่ปุ่น 737.26 790.43 952.43 1,021.28 1,005.8 966.1 1,313.9
7 มาเลเซีย 620.54 540.41 507.56 652.60 1,716.1 832.3 2,445.9
8 อินโดนีเซีย 308.86 380.47 506.35 476.97 155.1 205.3 227.9
9 สหราชอาณาจักร 316.18 356.14 290.65 316.51 284.4 202.6 193.1
10 สาธารณรัฐเกาหลี 210.16 224.07 353.79 405.69 347.38 410.8 820.8
ที่มา : กรมศุลกากร กรมการค้าชายแดนสหภาพเมียนมา
หมายเหตุ : ค�ำนวณโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามประกาศของธนาคารกลางเมียนมา

23
ประเทศที่เมียนมาน�ำเข้าสินค้าหลัก
เรียงล�ำดับตามมูลค่าน�ำเข้าหลัก สูงสุด 10 ประเทศ ดังแสดงในตาราง

หน่วย : ล้านจ๊าต
อันดับ สินค้าน�ำเข้า 2547-2548 2548-2549 2549-2550 2550-2551 2551-2552 2552-2553 2553-2554
1 สิงคโปร์ 3,471.46 3,471.46 5,928.03 4,489.83 5,712.72 6,593.03 9,116.88
2 สาธารณรัฐประชาชนจีน 2,818.96 2,818.96 4,185.75 5,472.54 6,578.14 6,854.86 12,005.13
3 ไทย 1,054.21 1,054.21 1,749.40 2,110.66 2,150.73 2,069.56 3,938.59
4 ญี่ปุ่น 920.42 920.42 896.30 1,335.04 908.40 1,412.44 1,417.05
5 อินเดีย 480.08 480.08 916.51 954.70 796.81 1,058.49 1,079.87
6 มาเลเซีย 666.07 666.07 634.45 635.79 1,972.09 871.32 805.00
7 อินโดนีเซีย 288.72 288.72 539.77 1,139.86 1,139.46 760.41 1,526.10
8 สาธารณรัฐเกาหลี 514.60 498.62 486.85 590.78 1,027.27 1,221.54 1,683.41
9 สหรัฐอเมริกา 165.70 478.43 248.09 121.64 450.12 100.73 327.51
10 เยอรมนี 155.38 122.82 175.10 166.01 260.52 183.26 287.18
ที่มา : กรมศุลกากร กรมการค้าชายแดนสหภาพเมียนมา
หมายเหตุ : ค�ำนวณโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามประกาศของธนาคารกลางเมียนมา

จากตารางแสดงมูลค่าการค้าของประเทศเมียนมากับต่างประเทศ (รายประเทศ) พบว่า


ด้านการส่งออก ประเทศเมียนมาส่งออกมายังประเทศไทยในแต่ละปีสูงที่สุดเป็นอันดับ 1 ส่วนอินเดีย
และจีน เป็นอันดับ 2 และ 3 ตามล�ำดับ
ด้านการน�ำเข้า ประเทศเมียนมามีการน�ำเข้าสินค้า จากประเทศสิงคโปร์มากเป็นอันดับที่ 1 ส่วนจีน
และไทย มาเป็นอันดับ 2 และ 3 ตามล�ำดับ
มูลค่าการค้ารวม ด้านมูลค่าการค้ารวม พบว่าในปีงบประมาณ 2553-2554 ประเทศที่มีมูลค่าการค้า
กับประเทศเมียนมาสูงที่สุดคือประเทศไทย โดยมีมูลค่าสูงถึง 25,181.1 ล้านจ๊าต รองลงมาคือประเทศจีน
สิงคโปร์ และอินเดีย ตามล�ำดับ

24
ประเภทของสินค้าที่ท�ำการค้า
สินค้าส่งออกหลัก

ตารางแสดงสินค้าส่งออกหลัก 10 รายการ โดยแสดงตามปีงบประมาณ (1 พฤษภาคม 2553 - 30 เมษายน 2554)


หน่วย : ล้านจ๊าต
อันดับ สินค้าส่งออก 2547-2548 2548-2549 2549-2550 2550-2551 2551-2552 2552-2553 2553-2554
1 ก๊าซธรรมชาติ 5,812.2 6,234.7 11,676.2 13,937.9 12,995.7 15,853.8 13,946.8
2 ไม้สัก 1,515. 3 1,723.1 1,750.1 1,540.0 1,146.3 1,171.7 1,709.4
3 เสื้อผ้า 1,237.7 1,586.0 1,601.8 1,554.6 1,593.9 1,543.7 2,100.1
4 Matpe 527.6 846.1 1,747.6 1,511.8 1,430.0 2,513.1 2,513.7
5 ไม้เนื้อแข็ง 726.8 1,027.2 1.189.0 1,423.8 1,065.7 1,518.9 1,595.8
6 ปลา ผลิตภัณฑ์ 409.8 544.4 725.4 1,059.4 972.3 1,053.3 1,168.3
7 กุ้งสด กุ้งแห้ง 597.2 576.1 608.0 556.3 472.1 346.2 367.2
8 Pedesein 248.0 451.6 843.1 605.0 771.1 1,424.0 1,002.9
9 โลหะและแร่ธาตุ 547.5 646.2 637.8 474.7 176.5 182.7 240.9
10 Pesingon 297.2 352.0 468.8 754.0 1,330.6 779.5 677.7
ที่มา : กรมศุลกากร กรมการค้าชายแดนสหภาพเมียนมา
หมายเหตุ : ค�ำนวณโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามประกาศของธนาคารกลางเมียนมา

จากตารางพบว่า สินค้าส่งออกหลักของประเทศเมียนมา ได้แก่ สินค้าขั้นปฐมภูมิ และวัตถุดิบจากธรรมชาติ


เช่น ก๊าชธรรมชาติ ไม้สัก เสื้อผ้า ถั่ว Matepe ไม้เนื้อแข็ง และแร่ธาตุ เป็นต้น โดยพบว่าก๊าชธรรมชาติเป็นสัดส่วนที่
สูงมากของมูลค่าการส่งออก ทั้งนี้เนื่องจากประเทศเมียนมาอุดมสมบูรณ์ไปด้วยแหล่งพลังงานดังกล่าว ซึ่งเป็นที่
ต้องการของประเทศต่างๆ

25
สินค้าน�ำเข้าหลัก
ตารางแสดงสินค้าน�ำเข้าหลัก 10 รายการ โดยแสดงตามปีงบประมาณ (1 พฤษภาคม 2553 - 30 เมษายน 2554)

หน่วย : ล้านจ๊าต
อันดับ สินค้าน�ำเข้า 2547-2548 2548-2549 2549-2550 2550-2551 2551-2552 2552-2553 2553-2554
1 เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์
2,164.9 1,786.2 2,718.2 4,161.7 7,240.2 4,908.2 6,660.8
ขนส่งที่ไม่ใช้ไฟฟ้า
2 สิ่งทอ 1,043.6 1,138.8 1,283.4 1,387.8 1,185.9 1,145.5 1,639.9
- จากใยสังเคราะห์ 823.2 917.2 1,059.7 1,168.5 817.4 780.2 1,150.6
- พิเศษ 147.1 143.5 165.5 134.5 163.5 205.6 281.2
- จากฝ้าย 66.5 74.6 51.1 72.0 184.3 141.1 132.0
- เสื้อผ้าและลูกไม้ 6.8 3.5 7.2 12.8 20.7 18.6 76.1
3 ของเหลวจากการกลั่ น
นำ�้ มันปิโตรเลียม (refined 1,361.0 1,560.9 3,966.0 2,034.0 3,192.2 3,674.3 7,711.3
mineral oil)
4 ธาตุโลหะและผลิตภัณฑ์
899.3 1,164.0 1,183.0 1,206.2 1,818.3 1,992.9 3,065.8
โลหะ
5 เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์
874.4 645.8 707.6 861.1 948.6 977.1 1,928.4
ไฟฟ้า
6 น�้ำมันเพื่อการบริโภค 474.0 571.1 478.2 1,057.7 1,610.0 975.9 1,122.2
7 พลาสติก 457.4 574.3 719.7 857.0 908.8 859.2 1,371.5
8 ยารักษาโรค 314.8 362.1 554.9
9 กระดาษ กระดาษแข็ ง 635.6
314.6 295.8 302.8 391.7 318.1 389.9
และผลิตภัณฑ์กระดาษ 292.3
10 ผลิตภัณฑ์จากยาง 171.1 140.3 210.7 287.3 258.2 350.9 338.1

ที่มา : กรมศุลกากร กรมการค้าชายแดนสหภาพเมียนมา


หมายเหตุ : ค�ำนวณโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนตามประกาศของธนาคารกลางเมียนมา

จากตารางแสดงสินค้าน�ำเข้าของประเทศเมียนมา ซึ่งพบว่าสินค้าน�ำเข้าส่วนใหญ่ จะเป็นสินค้าทุติยภูมิ เช่น


เครื่องจักรและอุปกรณ์ขนส่งที่ไม่ใช้ไฟฟ้า น�้ำมันปิโตรเลียม เครื่องจักรและอุปกรณ์ไฟฟ้า ยารักษาโรค เป็นต้น
ทั้งนี้เนื่องจากเมียนมายังไม่สามารถผลิตสินค้าดังกล่าวเพื่อใช้ในประเทศตนเองได้ โดยสินค้าดังกล่าว สามารถน�ำไปใช้ใน
การพัฒนาประเทศและขยายระบบสาธารณูปโภคภายในประเทศ

26
การค้าระหว่างไทย – สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา
ทางด้านเศรษฐกิจการค้าโดยทั่วไปของเมียนมานั้น ปัจจุบันเมียนมาก�ำลังปรับเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจแบบ
สังคมนิยมให้เข้ามาสูร่ ะบบตลาดมากยิง่ ขึน้ เพือ่ เป็นการตอบรับกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชีย โดยเฉพาะ
การค้าของเมียนมาซึ่งจะท�ำการค้าขายกับประเทศในแถบเอเชียเป็นหลัก

มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราขยายตัว (%) สัดส่วน (%)


รายการ 2558 2558 2558
2556 2557 (ม.ค.-ก.ย.) 2556 2557 (ม.ค.-ก.ย.) 2556 2557 (ม.ค.-ก.ย.)
มูลค่าการค้า 7,821.39 8,155.83 5,942.07 15.00 4.28 0.72 1.63 1.79 1.88
การส่งออก 3,788.47 4,239.11 3,077.44 21.15 11.90 -3.10 1.66 1.86 1.90
การน�ำเข้า 4,032.93 3,916.72 2,864.63 9.77 -2.88 5.18 1.61 1.72 1.86
ดุลการค้า -244.46 322.39 212.81

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ฯ

การค้าระหว่างไทย-เมียนมา เฉลี่ย 5 ปีย้อนหลัง มีมูลค่าการค้ารวมปีละประมาณ 6,799.36 ล้านเหรียญสหรัฐ


โดยไทยส่งออกเฉลี่ยมูลค่าปีละประมาณ 3,214.70 ล้านเหรียญสหรัฐ และไทยน�ำเข้าเฉลี่ยมูลค่าปีละประมาณ
3,584.60 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งไทยเป็นฝ่ายขาดดุลมาโดยตลอด แต่ในปี 2557 ไทยเป็นฝ่ายได้ดุลการค้า 322.39
ล้านเหรียญสหรัฐ
ในปี 2558 (ม.ค.-ก.ย.) การค้าระหว่างไทย-เมียนมา เป็นคู่ค้าอันดับที่ 8 ของไทยในภูมิภาคอาเซียน
(10 ประเทศ) โดยมีมูลค่าการค้ารวม 5,942.07 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 0.72 โดยไทยส่งออกสินค้าไปเมียนมา
มูลค่า 3,077.44 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 3.10 และไทยน�ำเข้าจากเมียนมา มูลค่า 2,864.63 ล้านเหรียญสหรัฐ
ขยายตัวร้อยละ 5.18 โดยไทยได้ดุลการค้า 212.81 ล้านเหรียญสหรัฐ

27
ตารางแสดงสินค้าไทยส่งออกไปตลาดเมียนมา ปี 2557-2558

มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราขยายตัว (%)


ชื่อสินค้า 2558 2558
2557 2557 (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.)
เครื่องดื่ม 397.1 302.4 285.5 -5.58
น�้ำมันส�ำเร็จรูป 517.2 386.0 278.7 -27.79
ปูนซีเมนต์ 233.3 171.0 196.2 14.77
น�้ำตาลทราย 62.0 41.6 165.8 298.42
เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 173.0 127.6 139.0 8.89
เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง 337.2 286.1 134.1 -53.15
ผ้าผืน 147.1 108.9 112.5 3.32
เคมีภัณฑ์ 158.9 114.7 112.1 -2.26
เครือ่ งโทรสาร โทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 128.6 87.4 111.9 28.03
เครื่องส�ำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว 145.0 107.7 106.4 -1.20
การส่งออกรวมทั้งสิ้น 4,239.1 3,176.0 3,077.4 -3.10

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ฯ

สินค้าที่ไทยส่งออกไปเมียนมาที่ส�ำคัญ ได้แก่ เครื่องดื่ม น�้ำมันส�ำเร็จรูป ปูนซีเมนต์ น�้ำตาลทราย เหล็ก


เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง ผ้าผืน เคมีภัณฑ์ เครื่องโทรสาร โทรศัพท์ อุปกรณ์
และส่วนประกอบ เครื่องส�ำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว เป็นต้น

สินค้าน�ำเข้าจากประเทศไทยพบได้ทั่วไปในประเทศเมียนมา

28
ตารางแสดงสินค้าที่ไทยน�ำเข้าจากเมียนมาปี 2557-2558

อัตรขยายตัว
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ
(%)
ชื่อสินค้า
2557 2558 2558 2558
(ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.)
ก๊าซธรรมชาติ 3,539.9 2,423.7 2,623.5 8.25
สัตว์มีชีวิตไม่ได้ท�ำพันธ์ุ 65.6 44.9 52.8 17.62
สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ 36.9 29.5 34.3 16.51
ผัก ผลไม้ และของปรุงแต่งที่ท�ำจากผัก ผลไม้ 36.3 30.2 27.8 -7.86
น�้ำมันดิบ 43.2 43.2 25.6 -40.75
ไม้ซุง ไม้แปรรูปและผลิตภัณฑ์ 79.4 72.4 17.0 -76.48
เคมีภัณฑ์ 15.8 11.3 10.9 -3.03
พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 21.2 16.5 10.9 -34.11
เนื้อสัตว์ส�ำหรับการบริโภค 19.9 19.9 9.7 -37.31
กล้อง เลนส์ และอุปกรณ์การถ่ายรูป 2.3 2.3 9.0 730.29
การส่งออกรวมทั้งสิ้น 3,916.7 3,916.7 2,864.6 5.18

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ฯ

สินค้าที่ไทยน�ำเข้าจากเมียนมาที่ส�ำคัญ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตไม่ได้ท�ำพันธ์ุ สินแร่โลหะ


อื่นๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ ผัก ผลไม้ และของปรุงแต่งที่ท�ำจากผัก ผลไม้ น�้ำมันดิบ ไม้ซุง ไม้แปรรูปและผลิตภัณฑ์
เคมีภัณฑ์ พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช เนื้อสัตว์ส�ำหรับการบริโภค กล้อง เลนส์ และอุปกรณ์การถ่ายรูป เป็นต้น

29
การค้าชายแดน แม่สาย) เชียงใหม่ (ด่านศุลกากร เชียงดาว) ตาก (ด่าน
การค้าชายแดนไทยกับเมียนมา ศุลกากรแม่สอด) กาญจนบุรี (ด่านศุลกากรสังขละบุรี)
ไทยมีแนวชายแดนติดต่อกันเป็นระยะทางยาว ประจวบคีรีขันธ์ (ด่านศุลกากรบ้านสิงขร) และระนอง
ประมาณ 1,800 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 10 จังหวัด (ด่านศุลกากรระนอง) ส่วนจังหวัดที่ไม่มีการค้าชายแดน
ได้แก่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ ตาก กาญจนบุรี ได้แก่ ราชบุรี เพชรบุรี และชุมพร เนื่องจากพรมแดนที่
ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และระนอง การค้า ติ ด ต่ อ กั น กั บ เมี ย นมาเป็ น พื้ น ที่ ป ่ า และไม่ มี ชุ ม ชน
หรือการท�ำธุรกรรมทางการค้าบริเวณชายแดนของ อาศัยอยู่ โดยมีช่องทางการค้าชายแดน
ทั้งสองประเทศ มีรูปแบบการค้าตั้งแต่การค้าที่มีมูลค่า ทั้งนี้ หน่วยงานรับผิดชอบการค้าชายแดนของ
ไม่สูงมาก เช่น การซื้อขายสินค้าเพื่อการอุปโภคบริโภค เมียนมา คือ กรมการค้าชายแดน (Department of
ของประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณชายแดนจนไปถึง Border Trade: DOBT) ซึง่ ปัจจุบนั ได้มกี ารจัดตัง้ จุดบริการ
การค้าที่มีมูลค่าสูงระหว่างหน่วยงานรัฐของทั้งสอง One-Stop-Services ขึ้น เพื่ออ�ำนวยความสะดวกต่อ
ประเทศ การค้าประเภทน�ำเข้า-ส่งออกชายแดนระหว่างประเทศ
จังหวัดที่มีศักยภาพทางด้านการค้าชายแดน
ระหว่างไทยกับเมียนมามี 7 จังหวัด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน ที่ ม า : http://www.boi.go.th/thai/clmv/Back_
(ด่านศุลกากรบ้านห้วยผึ้ง) เชียงราย (ด่านศุลกากร up/2010_myanmar/2010_myanmar_8_1.html

30
31
32
จุดผ่านแดนถาวร
1. บริเวณข้ามแม่น�้ำสาย อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ตรงข้ามเมืองท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน
2. บริเวณบ้านริมเมย หมู่ 2 ต�ำบลท่าสายลวด จังหวัดตาก ตรงข้ามเมืองเมียวดี
3. บริเวณด่านตรวจคนเข้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดระนอง ตรงข้ามเมืองเกาะสอง
3.1 บริเวณท่าเทียบเรือสะพานปลา ต�ำบลบางริ้น อ�ำเภอเมืองระนอง
3.2 บริเวณปากน�้ำระนอง ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองระนอง
3.3 บริเวณท่าเทียบเรือของบริษัท อันดามันคลับ จ�ำกัด ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองระนอง

จุดผ่านแดนชั่วคราว
1. ด่านเจดีย์สามองค์ อ�ำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

จุดผ่อนปรน
1. ท่าบ้านเหมืองแดง ต�ำบลแม่สาย อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
2. ท่าบ้านปางห้า ต�ำบลเกาะช้าง อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
3. ท่าบ้านสายลมจอย ต�ำบลเวียงค�ำ อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
4. ท่าบ้านเกาะทราย ต�ำบลแม่สาย อ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
ล�ำดับที่ 1-4 อยู่ตรงข้ามเมืองท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน
5. ด่านเจดีย์สามองค์ อ�ำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี-อ�ำเภอพญาตองซู จังหวัดผาอัน
รัฐกะเหรี่ยง
6. ช่องทางบ้านห้วยต้นนุ่น หมู่ 4 ต�ำบลแม่งา อ�ำเภอขุมยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน-อ�ำเภอแม่เจ๊ะ
จังหวัดดอยก่อย รัฐฉาน
7. ช่องทางบ้านห้วยผึง้ หมู่ 4 ต�ำบลห้วยผา อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน-บ้านหัวเมือง รัฐฉาน
8. ช่องทางกิ่วผาวอก บ้านอรุโณทัย หมู่ 10 ต�ำบลเมืองนะ อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่-
เมืองสาด รัฐฉาน
9. ช่องทางหลักแต่ง บ้านเปียงหลวง ต�ำบลเปียงหลวง อ�ำเภอเวียงแห จังหวัดเชียงใหม่-
เมืองเต๊าะ รัฐฉาน
10. บ้านสบรวก ต�ำบลคลองวาฬ อ�ำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ – บ้านมอด่อง จังหวัดมะริด
เขตตะนาวศรี

มูลค่าการค้าชายแดนรวมไทย-เมียนมา
ส�ำหรับการค้าชายแดนระหว่างประเทศไทย-เมียนมา แม้ว่าจะมีด่านซึ่งอยู่ในพื้นที่ 7 จังหวัดของไทย
แต่ด่านที่มีศักยภาพและมีมูลค่าการค้าขายสูง มีจ�ำนวน 3 ด่าน คือ ด่านศุลกากรแม่สอด ตั้งอยู่จังหวัดตาก-เมียวดี
ด่านศุลกากรแม่สาย ตั้งอยู่จังหวัดเชียงราย-ท่าขี้เหล็ก และด่านศุลกากรระนอง ตั้งอยู่จังหวัดระนอง-เกาะสอง ส่วนด่าน
อื่นๆ นอกจากนี้ มีการค้าขายบ้าง แต่ยังมีปริมาณไม่มาก ทั้งนี้เนื่องจากความไม่สะดวกด้านการคมนาคมขนส่ง

33
ตารางแสดงมูลค่าการค้าขายในบริเวณพื้นที่ชายแดน ไทย - เมียนมา
หน่วย : ล้านบาท
2557 2558 %∆
ประเภท 2556 2557
มกราคม-สิงหาคม 2556/2557
มูลค่ารวม 196,861.58 214,387.23 123,107.40 144,297.88 17.21
ส่งออก 79,447.20 94,006.67 61,007.66 64,084.68 5.04
น�ำเข้า 117,414.38 120,380.56 62,099.74 80,213.20 29.17
ดุลการค้า -37,967.18 -26,373.89 -1,092.08 -16,128.52 --
ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ

ตารางแสดงมูลค่าการค้าชายแดนในแต่ละด่านด่านศุลกากรที่ส�ำคัญ
หน่วย : ล้านบาท
ปี ประเภท 2556 2557 2557 %∆
ด่าน (ม.ค.-ส.ค.) 2556/2557
สังขละบุรี มูลค่ารวม 114,647.29 116,553.77 79,287.42 -27.00
กาญจนบุรี
ส่งออก 1,658.01 1,431.44 818.82 35.11
น�ำเข้า 112,989.28 115,122.33 78,468.60
ดุลการค้า -111,331.28 -113,690.89 -77,649.78
เชียงแสน มูลค่ารวม 2,164.39 2,793.74 2,545.29 41.17
เชียงราย
ส่งออก 2,164.01 2,793.57 2,545.29 n/a
น�ำเข้า 0.38 0.17 0.00
ดุลการค้า 2,163.64 2,793.39 2,545.29
แม่สาย มูลค่ารวม 11,276.30 11,453.66 6,196.01 -23.10
เชียงราย
ส่งออก 11,071.08 10,921.74 6,086.48 -78.38
น�ำเข้า 205.22 531.92 109.53
ดุลการค้า 10,865.86 10,389.82 5,976.95
แม่สอด มูลค่ารวม 46,308.94 62,522.04 42,320.50 10.97
ตาก
ส่งออก 43,667.56 59,839.24 42,290.46 -98.66
น�ำเข้า 2,641.38 2,682.80 30.04
ดุลการค้า 41,026.18 57,156.44 42,260.42
ระนอง มูลค่ารวม 21,953.47 19,998.80 12,766.86 -0.64
ระนอง
ส่งออก 20,618.34 18,495.48 11,665.64 15.99
น�ำเข้า 1,335.13 1,503.33 1,101.22
ดุลการค้า 19,283.21 16,992.15 10,564.42
ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ

34
ด่านอ�ำเภอแม่สอด จ.ตาก ถือว่าเป็นด่านที่มี เมียนมา ทั้งนี้ ผู้น�ำเข้าต้องซื้อเงินตราต่างประเทศที่
มูลค่าการส่งออกไปประเทศเมียนมามากที่สุด รองลงมา ได้จากการส่งออก (Export Earning) ในอัตราที่สูงกว่า
คือ ด่านระนองในจังหวัดระนอง และแม่สายในจังหวัด อัตราตลาดเล็กน้อย
เชียงราย ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม ด่านที่มีมูลค่าการน�ำเข้า 3. ผู้น�ำเข้าจะต้องเปิดบัญชีเงินฝากสกุลเงิน
จากเมียนมามากที่สุด คือ ด่านสังขละบุรีในจังหวัด ตราต่างประเทศที่ Myanmar-Investment and
กาญจนบุรี รองลงมา คือ ด่านระนองในจังหวัดระนอง Commercial-Bank (MICB) หรือ Myanmar Foreign
ตามล�ำดับ Trade Bank (MFTB) เพื่อยื่นใบอนุญาตน�ำเข้าสินค้า
จากกระทรวงพาณิชย์ แนบสัญญาขาย (Sale Contact)
กฎระเบียบการนำ�เข้าสินค้า และ Proforma Invoice ซึ่งมีรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับ
สินค้าบรรจุภัณฑ์ และระยะเวลาการส่งมอบ
กฎและมาตรการทางการค้าที่ควรทราบ 4. การน�ำเข้าสินค้าหรือเครื่องจักรอุปกรณ์จาก
มาตรการน�ำเข้า ต่างประเทศ ผู้ประกอบการในเมียนมาสามารถเปิด L/C
1. ปัจจุบันได้มีการยกเลิกการห้ามน�ำเข้าสินค้า ได้กับ 2 ธนาคาร คือ MICB และ MFTB โดยต้องใช้
จ�ำนวน 14 ชนิด ในการค้ารูปแบบปกติผ่านทางทะเล เงินสด ค�้ำประกันเต็มมูลค่า L/C เสมือนการซื้อสินค้า
(Overseas Trade) ได้แก่ ผงชูรส น�้ำหวาน และเครื่องดื่ม ด้วยเงินสด ทั้งนี้ ในการน�ำเข้าต้องเสียภาษีศุลกากร
(Soft Drink) ขนมปังกรอบทุกชนิด หมากฝรั่ง ขนม (Customs Duty) และภาษีการค้า (Commercial Tax)
เค้ก ขนมเวเฟอร์ ช็อกโกแลต อาหารกระป๋อง (เนื้อสัตว์ 5. ในกรณีที่ซื้อเป็นราคา FOB ผู้น�ำเข้าจะต้อง
และผลไม้) เส้นหมี่ทุกชนิด เหล้า เบียร์ บุหรี่ ผลไม้สด ประกันภัยสินค้ากับ Myanmar Insurance Company
ทุกชนิด และใช้บริษัท Myanmar Five Star Line เป็นผู้ขนส่ง
2. การน�ำเข้าสินค้าต้องใช้เงินที่ได้จากการส่งออก สินค้าเท่านั้น
เท่านั้น (Export First, Import Later System) ดังนั้น หมายเหตุ :
ผู้น�ำเข้าในเมียนมาที่ไม่มีรายได้เงินตราต่างประเทศ 1. โดยปกติการน�ำเข้าและส่งออก นิยมใช้รปู แบบการ
ขนส่ ง เพี ย ง 2 ประเภท คือ ทางเรือกับทางบก (ชายแดน)
จากการส่งออก จึงต้องซื้อบัญชีเงินเหรียญสหรัฐจาก 2. การค้าผ่านระบบหมายถึงการท�ำการค้าที่ผ่าน
ผู้ส่งออกที่มีรายได้เงินตราต่างประเทศ เพื่อเป็นหลักฐาน ระบบการตรวจสอบและอนุญาตของทางการอย่างถูกต้อง
ส�ำหรับใช้ประกอบการขอใบอนุญาตน�ำเข้าจากรัฐบาล

ค่ า ธรรมเนี ย มในการอนุ ญ าตน� ำ เข้ า สิ น ค้ า กระทรวงพาณิ ช ย์ จ ะคิ ด ในอั ต ราส่ ว นของราคาน� ำ เข้ า
โดยก�ำหนดไว้ ดังนี้
มูลค่าสินค้าที่น�ำเข้า (จ๊าต) ค่าธรรมเนียมน�ำเข้า (จ๊าต)
ไม่เกิน 10,000 250
10,001 - 25,000 625
25,001 - 50,000 1,250
50,001 - 100,000 2,500
100,001 - 200,000 5,000
200,001 - 400,000 10,000
400,001 - 1,000,000 20,000
1,000,001 ขึ้นไป 50,000

35
มาตรการส่งออก - ถั่วลิสง น�้ำมันจากถั่วลิสง
ผู้ที่จะส่งออกได้ คือ รัฐบาลเมียนมาและตัวแทน - งา น�้ำมันงา
หรือองค์กรของรัฐบาลเมียนมาเท่านั้น - เมล็ด Niger และน�้ำมัน
1. สินค้าที่ห้ามเอกชนส่งออกภายใต้ระบบการค้า - เมล็ดมัสตาร์ด และน�้ำมัน
ปกติผ่านทางทะเลมี 6 ประเภท 31 รายการ เช่น กระบือ - เมล็ดทานตะวันและน�้ำมัน
อัญมณี ข้าว น�้ำตาลทราย และถั่วลิสง เป็นต้น - กากพืชน�้ำมันทุกชนิด
2. สินค้าที่ห้ามเอกชนส่งออกภายใต้ระบบการค้า - ฝ้ายและผลิตภัณฑ์ฝ้าย
ปกติผ่านทางชายแดน (Border Trade) มี 32 รายการ 2. สัตว์ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์
โดยเพิ่มจากกลุ่มแรก 1 รายการ คือ ไม้สัก - งาช้าง
3. การค้าชายแดน (ในช่องทางที่ถูกต้อง) ต้อง - โค กระบือ ช้าง ม้า สัตว์หายาก
ผ่านระบบธนาคารพาณิชย์ โดยรัฐบาลเมียนมาอนุญาต - หนังสัตว์
ให้ใช้เงินบาท เงินจ๊าต และเงินเหรียญสหรัฐ ส�ำหรับ 3. สัตว์น�้ำ
การค้าชายแดนได้ เพื่อให้การค้าชายแดนมีความคล่องตัว - เปลือกกุ้งป่น
มากยิ่งขึ้น แต่ทั้งนี้ในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้น ผู้ประกอบการ 4. ผลิตภัณฑ์จากป่า
ชาวเมียนมาจะนิยมท�ำการค้าแบบชายแดนที่ไม่ผ่าน - ยางพารา
ระบบ 5. แร่ธาตุ ผลิตภัณฑ์โลหะ
4. ทางการเมียนมาจะเก็บค่าธรรมเนียมการ - น�้ำมันปิโตรเลียม
ส่งออกเพิ่ม 7% จากค่าธรรมเนียมปกติ ส�ำหรับสินค้าที่ - อัญมณี
ส่งออกผ่านทางชายแดน โดยทางการเมียนมาจะหักค่า - ทองค�ำ
ธรรมเนียมดังกล่าวนี้จากบัญชีเงินตราต่างประเทศของ - หยก
ผู้ส่งออก เมื่อได้รับการโอนเงินช�ำระค่าสินค้า - ไข่มุก
5. การส่งออกต้องมีใบอนุญาตส่งออก (กระทรวง - เพชร
พาณิชย์เป็นผู้ออกใบอนุญาตส่งออก ซึ่งมีอายุ 6 เดือน) - ตะกั่ว
โดยผู้ซื้อในต่างประเทศจะต้องเปิด L/C มาที่ The - ดีบุก
Myanmar Investment and Commercial Bank (MICB) - วุลแฟรม
หรือ The Myanmar Foreign Trade Bank (MFTB) - ส่วนผสมดีบุกและซีไลท์
ทั้งนี้ ทางการเมียนมาจะตรวจสอบสินค้าก่อนการ - เงิน
ส่งออกด้วย - ทองแดง
- สังกะสี
- ถ่านหิน
สินค้าห้ามส่งออกในรูปการค้าปกติทางทะเล - แร่โลหะอื่นๆ
31 รายการ 6. อื่นๆ
1. สินค้าเกษตร - วัตถุโบราณ
- ข้าว ปลายข้าว ร�ำข้าว - อาวุธและเครื่องกระสุน
- น�้ำตาลทรายขาว น�้ำตาลทรายแดง
น�้ำตาลดิบ ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ มี.ค. 2551

36
37
- สามารถจ�ำหน่ายสินค้าในตลาดภายในประเทศได้
- สามารถยื่นขอหนังสือเดินทางประกอบธุรกิจไป
ต่างประเทศได้
4. การส่งออก
- ผู้ส่งออกที่จดทะเบียนก่อนที่จะส่งออกจะต้อง
ได้รับใบอนุญาตส่งออกจากกระทรวงพาณิชย์
มีระยะเวลา 6 เดือน
- ผู้ซื้อในต่างประเทศจะต้องเปิด L/C ที่ Myanmar
Investment and Commercial Bank (MICB)
สภาพร้านค้าและการจับจ่ายใช้สอยของประชาชน หรือ Myanmar Foreign Trade Bank (MFTB)
ผ่านทางธนาคารในต่างประเทศ ซึ่งเป็นที่ยอมรับ
ขั้นตอนการน�ำเข้า-ส่งออก และขนส่งสินค้า และจะต้องแจ้งต่อเรือที่ขนส่งด้วย
1. ผู้ท�ำธุรกิจน�ำเข้าและส่งออกสินค้าจะต้องขอยื่น - ในกรณีที่ตรวจสินค้าก่อนขนส่ง The Inspection
จดทะเบี ย นเป็ น ผู ้ น� ำ เข้ า -ส่ ง ออกที่ ส� ำ นั ก ทะเบี ย น and Agency Service Department
น� ำ เข้ า -ส่ ง ออก (Export-Import Registration จะต้องด�ำเนินการตรวจสอบเกี่ยวกับคุณลักษณะ
Office) กรมการค้าพาณิชย์ ซึ่งมีอัตราค่าธรรมเนียมการ น�้ำหนัก คุณภาพ และการบรรจุภัณฑ์ของสินค้า
จดทะเบียน 5,000 จ๊าต ส�ำหรับระยะเวลา 1 ปี และ ที่จะขนส่งทางเรือ
10,000 จ๊าต ส�ำหรับรวมระยะเวลา 3 ปี 5. การน�ำเข้าสินค้า
2. คุณสมบัติของผู้ที่สามารถยื่นขอจดทะเบียนเป็น - ผู้น�ำเข้าจะต้องเปิดบัญชีเงินฝากสกุลเงินตราต่าง
ผู้น�ำเข้า-ส่งออก มีดังนี้ ประเทศที่ Myanmar Investment and
- บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติเมียนมาหรือแปลง Commercial Bank (MICB) หรือ Myanmar
สัญชาติเป็นเมียนมา Foreign Trade Bank (MFTB) เพื่อยื่นขอ
- ห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทที่จัดตั้งขึ้นในสหภาพ ใบอนุญาตน�ำเข้าสินค้าจากกระทรวงพาณิชย์
เมียนมา - แนบสัญญาขาย (Sale Contract) และ Performa
- ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด บริษัทร่วมทุนที่จัดตั้งภายใต้ Invoice ซึ่งมีรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับสินค้า
กฎหมายการลงทุนต่างประเทศของสหภาพเมียนมา บรรจุภัณฑ์ และระยะเวลาการส่งมอบ
- สหกรณ์ที่จดทะเบียนภายใต้กฎหมายสหกรณ์ - ในกรณีซื้อเป็นราคา FOB ผู้น�ำเข้าจะต้องท�ำ
ปี 2533 ของเมียนมา ประกั น สิ น ค้ า กั บ Myanmar Insurance
3. สิทธิของผู้จดทะเบียนน�ำเข้า-ส่งออก Company และใช้บริษัท Myanmar Five Star
- สามารถส่งออกสินค้าได้ทุกชนิด ยกเว้น ไม้สัก Line เป็นผู้ขนส่งสินค้าเท่านั้น ค่าธรรมเนียม
น�้ำมันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ไข่มุก หยก ในการอนุญาตน�ำเข้าสินค้า กระทรวงพาณิชย์
อัญมณี และสินค้าอืน่ ๆ ทีร่ ะบุวา่ สามารถด�ำเนินการ จะคิดในอัตราส่วนของราคาน�ำเข้าโดยก�ำหนดไว้
ได้โดยหน่วยงานของรัฐวิสาหกิจแต่เพียงผู้เดียว ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
- สามารถน�ำเข้าสินค้าได้ทุกชนิดตามเงื่อนไขของ
กฎระเบียบที่ระบุไว้ ยกเว้น สินค้าที่เป็นสินค้า
ห้ามน�ำเข้า

38
6. ค่าธรรมเนียมในการน�ำเข้าสินค้าของเมียนมา (ราคา C.I.F)

ราคาน�ำเข้า C.I.F. ท่าเรือย่างกุ้ง (จ๊าต) ค่าธรรมเนียมน�ำเข้า (จ๊าต)


10,000 แรก 250
10,000 - 25,000 625
25,001 - 50,000 1,250
50,001 - 100,000 2,500
100,001 - 200,000 5,000
200,001 - 1,000,000 10,000
400,001 - 1,000,000 20,000
มากกว่า 1,000,000 50,000

หมายเหตุ : 1. ผู้น�ำเข้าสินค้าจะต้องจ่ายค่าธรรมเนียมการน�ำเข้าภายใน 21 วัน นับจากวันตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาตน�ำเข้า


2. ราคา C.I.F (Cost, Insurance and Freight) หมายถึง ราคาส่งมอบซึ่งได้คิดต้นทุนสินค้าบวกค่าประกันสินค้า
ขณะขนส่ง และค่าขนส่งสินค้าจนถึงมือผู้ซื้อ

ระบบโลจิสติกส์และการขนส่ง

ที่มา : http://www.boi.go.th/thai/clmv/Back_up/2010_myanmar/2010_myanmar_8_1.html

การท�ำการค้ากับประเทศเมียนมามี 2 ช่องทาง คือ การค้าปกติผา่ นทะเล และการค้าปกติผา่ นชายแดน


ส�ำหรับการค้าผ่านชายแดนไทย-เมียนมา นิยมใช้เงินบาท

39
1. ทางบก กลยุทธ์การส่งเสริมสินค้า
เส้นทางการขนส่งสินค้าจากประเทศไทยไปยัง ไทยสู่ประเทศเมียนมา
ประเทศเมียนมาประกอบไปด้วยเส้นทางซึง่ สามารถผ่าน
จุดผ่านแดนต่างๆ ซึ่งมีอยู่ใน 7 จังหวัด คือ เชียงราย เพื่อให้สินค้าไทยสามารถรักษาส่วนแบ่งตลาดใน
แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เมียนมา พร้อมทั้งขยายฐานการตลาดในเมียนมาให้มาก
และระนอง อย่างไรก็ตาม เส้นทางสายหลักที่เป็นความ ขึ้น ดังนั้น กลยุทธ์การตลาดที่ผู้ส่งออกไทยควรพิจารณา
ร่วมมือระหว่างไทย - เมียนมา ประกอบด้วย น�ำมาใช้ในการศึกษาและขยายตลาดในเมียนมา มีดังนี้
1.1 เส้นทางแม่สอด/เมียวดี-ย่างกุง้ ประกอบด้วย
เส้นทางย่อยดังนี้ 1. กลยุทธ์ด้านลักษณะสินค้าและบริการ
ช่วงที่ 1 สะพานข้ามแม่น�้ำเมย - เชิงเขา 1.1 กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภคควรรักษาระดับ
ตะนาวศรี ประมาณ 60 กิโลเมตร คุณภาพและมาตรฐานสินค้าของไทยให้ดี เพื่อให้สามารถ
ช่วงที่ 2 เส้นทางช่วงเขาตะนาวศรี - กอกะเร็ก รักษาตลาดในเมียนมาไว้ได้
- ท่าตอน ประมาณ 210 กิโลเมตร 1.2 กลุ่มสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า ควรมีการพัฒนา
รูปแบบให้มีขนาดและลักษณะเหมาะแก่การใช้งาน
ช่ ว งที่ 3 เส้ น ทางช่ ว งท่ า ตอน - ย่ า งกุ ้ ง
ประมาณ 244 กิโลเมตร เนื่องจากสินค้าในกลุ่มนี้เมียนมาได้น�ำเข้าจากจีนเป็น
รวมระยะทางจาก อ.แม่สอด - ย่างกุ้ง ประมาณ จ�ำนวนมาก และมีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งสินค้าไทยใน
420 กิโลเมตร กลุ่มนี้ควรก�ำหนดรูปแบบของสินค้าให้สามารถขายใน
1.2 เส้นทาง พุน�้ำร้อน -ท่าเรือทวาย ประมาณ ราคาที่แข่งกับจีนได้
160 กิโลเมตร 1.3 กลุ่มสินค้าผ้าผืน ไม่ควรเปลี่ยนแปลงการ
1.3 เส้นทาง แม่สาย (เชียงราย) - ท่าขี้เหล็ก ออกแบบและสีสันไปจากเดิมมากนัก เนื่องจากตลาด
- เชียงตุง (R3W) เมียนมาค่อนข้างจะอนุรักษ์นิยมและใช้ผ้าจากไทยมาก
1.4 เส้นทาง จ.ระนอง - เกาะสอง ถ้าหากมีการเปลี่ยนสีหรือแบบจะท�ำให้คิดว่าเป็นสินค้า
1.5 เส้นทางเจดีย์สามองค์ - พญาตองอู จากประเทศอื่น
1.4 กลุ่มสินค้าวัตถุดิบทางอุตสาหกรรม เช่น
2. ทางเรือ ยางพารา เหล็ก เหล็กกล้า พลาสติก และเส้นใยประดิษฐ์
การขนส่งสินค้าทางเรือระหว่างไทย-เมียนมาใน ควรรักษาส่วนแบ่งตลาดและขยายตลาด โดยติดต่อ
ปัจจุบนั มีการขนส่งสินค้าผ่านทางเส้นทาง ท่าเรือจังหวัด โดยตรงกับโรงงานต่างๆ ในเมียนมาให้มากขึ้น เนื่องจาก
ตรัง-ท่าเรือย่างกุ้ง โดยท่าเรือย่างกุ้งสามารถรองรับเรือ เมียนมามีการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการน�ำเข้า
บรรทุกสินค้าได้ไม่เกิน 4,000 ตัน และความยาวไม่เกิน สินค้าส�ำเร็จรูปมาก
167 เมตร ระดับน�ำ้ ลึกประมาณ 9 เมตร ซึง่ ท่าเรือย่างกุง้ 1.5 เน้นการขนส่งสินค้าของไทยเข้าสู่เมียนมา
เป็นท่าเรือทีม่ กี ารขนส่งมากทีส่ ดุ ราวร้อยละ 90 ของการ ทางด้านชายแดนให้มากขึ้น เพื่อลดต้นทุนในการกระจาย
ขนส่ ง ทางเรื อ ทั้ ง หมด อย่ า งไรก็ ต าม ทางเมี ย นมามี สินค้าและประหยัดเวลาในการขนส่ง โดยมีจุดการขนส่งที่
โครงการสร้างท่าเรือน�้ำลึกทวาย เพื่อรองรับการเจริญ ส�ำคัญ 2 จุด คือ ด่านแม่สอด จังหวัดตาก และด่าน
เติบโตทางเศรษฐกิจในอนาคต โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จ แม่สาย จังหวัดเชียงราย
ประมาณปี 2560

40
2. กลยุทธ์ด้านราคา 4. กลยุทธ์ด้านการโฆษณาประชาสัมพันธ์
สินค้าระดับกลางถึงระดับสูง ควรตั้งราคาให้ 4.1 การโฆษณาผ่านสื่อต่างๆ ได้แก่ การติด
ใกล้เคียงกับสินค้าจากสิงคโปร์และมาเลเซีย ส่วนสินค้าที่ โปสเตอร์ การลงโฆษณาในสมุดหน้าเหลืองของเมียนมา
มีคุณภาพต�่ำควรตั้งราคาให้ต�่ำ เพราะหมู่บ้านในแถบ การโฆษณาทางโทรทัศน์/วิทยุ ซึ่งชาวเมียนมาที่อาศัย
ชายแดนเมียนมาส่วนใหญ่ยังมีก�ำลังซื้อน้อย และไม่ อยู่ทางด้านชายแดนที่ติดกับประเทศไทยสามารถรับสื่อ
ควรมีการกระจายสินค้าคุณภาพต�่ำเหล่านี้เข้าไปในเมือง เหล่านี้ได้
ใหญ่ เนื่องจากจะไม่สามารถแข่งขันด้านราคากับสินค้า 4.2 การท�ำการส่งเสริมการขายร่วมกับตัวแทน
จากจีนได้ จ�ำหน่ายในเมียนมา โดยผู้ส่งออกไทยให้ความช่วยเหลือ
ในด้านต่างๆ เช่น แจกตัวอย่างสินค้าให้กับลูกค้า
3. กลยุทธ์ด้านการจัดจ�ำหน่ายและการกระจายตัวของ ทดลองใช้ก่อน รับแลกสินค้าจากผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าเป็น
สินค้า ประจ�ำ หรือซื้อสินค้าจากไทยในปริมาณมาก การให้ค่า
3.1 ผู้ส่งออกของไทยจะต้องเข้าไปร่วมท�ำการค้า คอมมิชชั่นกับผู้น�ำเข้าเมียนมาที่สามารถท�ำยอดขายได้
กับผู้น�ำเข้ารายใหญ่ๆ ของเมียนมา โดยคัดเลือกบริษัทที่ ตรงตามเป้าหมาย
มีเครือข่ายในการกระจายสินค้าได้มากๆ 4.3 การติดต่อผ่านส�ำนักงานพาณิชย์ในต่าง
3.2 เน้นการค้าตามแนวชายแดนไทย-เมียนมา ประเทศ ณ กรุงย่างกุ้ง เพื่อเป็นผู้ประสานงานในการ
เนื่องจากไทยและเมียนมามีชายแดนติดต่อกันเป็นแนว ประชาสัมพันธ์สินค้าไทยและผู้ส่งออกไทยให้กับผู้น�ำเข้า
ยาว ประกอบกับการคมนาคมขนส่งของเมียนมาที่ออก เมียนมาที่สนใจสินค้าไทย
ไปยังจังหวัดต่างๆ ยังไม่สะดวก ดังนั้น ชาวเมียนมาจะ 4.4 การเข้าร่วมงานแสดงสินค้าประจ�ำปีของ
อาศัยซื้อสินค้าจากชายแดนไทยเป็นหลัก เมียนมา เช่น งาน Myanmar Building
3.3 จากการที่เมียนมามีชายแดนติดประเทศ
เพื่อนบ้าน คือ จีน อินเดีย และบังกลาเทศ ดังนั้นควรใช้
ผู้น�ำเข้า-ส่งออกของเมียนมา เป็นผู้กระจายสินค้าไทยไป
โอกาสทางการค้าและปัญหา
สู่ประเทศจีน อินเดีย และบังกลาเทศ อุปสรรค
3.4 ผู้ส่งออกและผู้ผลิตของไทย ควรมีการตั้ง
ส�ำนักงานตัวแทน หรือตัวแทนจ�ำหน่ายตามแนวชายแดน จุดแข็ง
ไทย-เมียนมา เพื่อบริการการขายที่รวดเร็วให้กับพ่อค้า เมียนมาเป็นตลาดขนาดใหญ่ มีประชากรหนาแน่น
ชายแดนของเมียนมา และเพื่อการจัดแสดงสินค้าให้กับ ประมาณ 51 ล้านคน มีอาณาเขตติดกับจีน อินเดีย
ผู้น�ำเข้าเมียนมาได้เข้ามาดูตัวอย่างสินค้าใหม่ๆ ของไทย บังกลาเทศ ลาว และไทย ท�ำให้เมียนมาเป็นประเทศ
ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางเข้ามายังโรงงานผลิตใน ที่อยู่ท่ามกลางของกลุ่มประเทศอาเซียน และเอเชียใต้
กรุงเทพฯ ท�ำให้มีความได้เปรียบในการติดต่อท�ำการค้า การ
3.5 ผู้ส่งออกที่จะเข้าไปท�ำการค้า หรือลงทุนใน ส่งออกและน�ำเข้า รวมทั้งการส่งสินค้าผ่านแดนไปยัง
ธุรกิจขนาดใหญ่ควรเข้าไปสร้างความสัมพันธ์กับรัฐบาล ประเทศต่างๆ นอกจากนี้ เมียนมายังอุดมสมบูรณ์ไปด้วย
ทหารเมียนมา เพราะเป็นผู้มีอ�ำนาจในการอนุมัติในการ ทรัพยากรธรรมชาติ เหมาะแก่การเป็นฐานการผลิตด้าน
ด�ำเนินโครงการต่างๆ อุตสาหกรรม

41
42
โอกาส จุดอ่อน
การพัฒนาตลาดของเมียนมาในอนาคตอาจจะ แรงงานของเมียนมาส่วนใหญ่เป็นแรงงานไร้ฝีมือ
พัฒนามากขึ้นจากการเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน และขนาด รวมทั้งเมียนมาขาดผู้ที่มีความรู้ในด้านการท�ำธุรกิจต่าง
ตลาดเมียนมามีขนาดใหญ่ใกล้เคียงกับตลาดของไทย ประเทศ ขาดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐาน ประกอบ
ซึ่งไทยสามารถใช้เมียนมาเป็นประตูระบายสินค้าของไทย กับกฎระเบียบทางการค้าที่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย
สู่ประเทศที่สาม รวมทั้งใช้เมียนมาเป็นฐานในการผลิต ราชการมีการคอรัปชั่นสูง และเมียนมายังมีอัตราเงินเฟ้อ
สินค้าเพื่อการส่งออกในอนาคตซึ่งสามารถสรุปถึงโอกาส ภายในประเทศสูง
ต่างๆ ได้ดังนี้
1. การช�ำระค่าสินค้าระหว่างไทยและเมียนมา อุปสรรค
จะเป็นการให้เครดิตซึ่งกันและกัน ซึ่งผู้ส่งออกของไทยมัก จากที่ ไ ด้ มี ก ารติ ด ตามศึ ก ษาข้ อ มู ล พบว่ า
จะให้เครดิตแก่นักธุรกิจชาวเมียนมานานกว่าประเทศ นักธุรกิจไทย และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ได้รบั ข้อมูลทีไ่ ม่ตรง
คูแ่ ข่งอืน่ ๆ รวมทัง้ การซือ้ ขายสินค้าระหว่างไทยกับเมียนมา กับความเป็นจริง ทั้งนี้ข้อมูลที่ได้รับทราบกลายเป็นข้อมูล
จะท�ำกันแบบง่ายๆ โดยใช้สกุลเงินบาทและเงินจ๊าต ด้านลบ ที่ส่งผลให้เกิดความเข้าใจผิด ข้อมูลต่างๆ ที่ได้
2. สินค้าที่น�ำเข้าจากชายแดนไทยมีราคาต�่ำกว่า รับมาจากแหล่งต่างๆ เป็นข้อมูลเชิงด้านการเมือง ซึ่งไม่
คู่แข่งและสินค้าไม่ได้รับความเสียหายในขณะขนส่ง สามารถน�ำมาใช้ในภาคธุรกิจอย่างสิ้นเชิง จึงส่งผลให้เกิด
3. คุณภาพของสินค้าอุปโภคบริโภคของไทยเป็น ความผิดพลาดในการวางแผน การประสานงานระหว่างกัน
ที่นิยมของชาวเมียนมา เนื่องจากได้รับอิทธิพลของการค้า รวมทั้งสิ่งที่ส�ำคัญคือ ข้อมูลต่างๆ ของทางการเมียนมา
ชายแดนที่มีมาเป็นเวลานาน ท�ำให้ชาวเมียนมาแถบ จะไม่เผยแพร่ให้แก่สาธารณชนได้รับรู้
ชายแดนนิยมบริโภคสินค้าไทยมากกว่าของประเทศคู่แข่ง ปัญหาในเรื่องความไม่เข้าใจแนวทาง หรือ
4. การบริการขนส่งสินค้าไทย สามารถจัดส่งได้ พฤติกรรมด้านการค้าของตลาดเมียนมา ก็เป็นปัญหาที่
รวดเร็วและสามารถระบุสถานที่รับสินค้าได้ ส�ำคัญอีกอย่างหนึ่ง ที่เป็นอุปสรรคการค้าระหว่างไทย
5. ไทยสามารถค้าขายตามแนวชายแดนไทย- กับเมียนมา คือ ผู้ประกอบการไทย มีความต้องการที่
เมียนมาท�ำให้การกระจายสินค้าเข้าสูเ่ มืองต่างๆ ของเมียนมา จะรองรับระบบการค้าของตลาดเมียนมาทั้งหมด แต่ไม่
เข้าไปได้ทั่วถึงทุกพื้นที่ในแถบชายแดนไทย-เมียนมา สามารถหาข้อมูลดังกล่าวได้ จึงท�ำให้เกิดปัญหาความ
6. ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ให้ความช่วยเหลือ ไม่แน่ใจในการท�ำการค้า ทั้งนี้แนวทางในการปฏิบัติที่
เกี่ยวกับการพัฒนาระบบธนาคาร และฝึกอบรมด้านการ ถูกต้อง ซึ่งนักธุรกิจไทย ไม่จ�ำเป็นที่จะต้องรู้ว่า การส่ง
จัดระบบเอกสารให้แก่เมียนมา เพื่ออ�ำนวยความสะดวก สินค้าไปยังตลาดเมียนมา เขาต้องท�ำอย่างไร หรือต้องท�ำ
ให้กับผู้ส่งออกของไทยในเรื่องการเปิด L/C โดยใคร (เนื่องจากข้อมูลบางอย่าง ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความ
7. ประเทศไทยมี ค วามได้ เ ปรี ย บในแง่ ข อง ประสงค์ต้องการปกปิด) ทั้งนี้ การค้ากับตลาดเมียนมา
ยุทธศาสตร์ทางด้านเศรษฐกิจของเมียนมามากกว่า ควรวางแนวทางเหมื อ นกั บ การค้ า กั บ ต่ า งจั ง หวั ด
ประเทศคู่แข่งอื่น เช่น จีน บังกลาเทศ และอินเดีย การตกลงการค้าสามารถท�ำเป็นเงินบาทได้ ผูซ้ อื้ จะโอนเงิน
ซึ่งนอกจากการติดต่อค้าขายระหว่างกันแล้วชาวเมียนมา ค่าสินค้าเข้าสู่บัญชีในประเทศไทยได้โดยตรง ไม่จ�ำเป็น
ยังเข้าท�ำงานในฐานะแรงงานในประเทศไทยเป็นจ�ำนวน ที่จะต้องใช้ระบบการค้าสากล เหมือนกับที่ต้องท�ำการ
มาก ท�ำให้เกิดความคุ้นเคยและยอมรับในสินค้าไทยทั้ง ค้ากับประเทศอื่นๆ ปัญหาในการท�ำการค้ากับสาธารณรัฐ
คุณภาพและราคา แห่งสหภาพเมียนมาที่อาจเกิดขึ้น เช่น

43
- ค่าขนส่งจากชายแดนไทยสูง เพราะมีการเรียกเก็บค่าคุ้มครอง ท�ำให้มีเงื่อนไขต้องไปเรียกเก็บกับ
ผู้ประกอบการ แต่สินค้าจากจีนขนส่งเข้ามาในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาได้สะดวกกว่า ท�ำให้สินค้า
ไทยมีต้นทุนเพิ่มขึ้น
- เส้นทางขนส่งสินค้าไทย ที่เป็นเส้นทางหลัก คือ ด่านแม่สอด มีระยะทางจากแม่สอด - ย่างกุ้ง ประมาณ 420
กิโลเมตร แต่ต้องใช้เวลาประมาณ 3-7 วัน เนื่องจากความไม่สะดวกในเส้นทาง และโดยเฉพาะการขนส่ง
หน้าฝน จะท�ำให้เกิดความล่าช้า และความเสียหาแก่สินค้าได้ หากไม่ป้องกัน
- ตลาดมีศักยภาพแต่ระบบยังไม่เอื้ออ�ำนวยเพื่อการค้าเท่าที่ควร ทั้งเรื่องความชัดเจนในข้อมูล ด้านขนส่ง
เป็นต้น

44
บทที่

รายงานภาวะอุตสหกรรม 3
บทที่ 3
รายงานภาวะอุตสาหกรรม
การคาดการณ์เศรษฐกิจเมียนมาในปัจจุบัน ชาวเมียนมาได้เข้าถึงสินค้าอุปโภคบริโภคทั้งในและ
มีแนวโน้มจะขยายตัวมากขึ้น โดยปัจจัยส�ำคัญ คือ ต่างประเทศได้หลากหลายมากยิ่งขึ้น
การปฏิรูปการเมือง ซึ่งได้รับการยอมรับจากต่างประเทศ
มากขึ้นกว่าในอดีต และตั้งแต่ปลายปี 2552 รัฐบาล อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบนั แม้วา่ ตลาดการค้าภายใน
เมียนมาได้ด�ำเนินการโดยการแปรรูปวิสาหกิจและ ประเทศเมียนมาจะยังเปิดได้ไม่มากนักแต่มูลค่าการค้า
กิจการของรัฐบาลจ�ำนวนมากให้แก่ภาคเอกชน รวมทั้ง ภายในประเทศมีมูลค่าที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี
การแสวงหาพันธมิตรทางเศรษฐกิจนอกภูมิภาคอย่าง จึงเป็นสิ่งที่มีความน่าสนใจในส่วนของประเภทของสินค้า
ต่อเนื่อง โดยเฉพาะประเทศในตะวันออกกลาง ซึ่งสนใจ ในปัจจุบันที่ก�ำลังได้รับความนิยมในเมียนมา ซึ่งสามารถ
ลงทุนในภาคการเกษตรของเมียนมา ประเทศในแอฟริกา บ่งบอกถึงโอกาสในการส่งสินค้าจากผู้ส่งออกไทยเข้าไป
สนใจผลผลิตทางการเกษตรของเมียนมาที่มีราคาถูกและ ค้าขายในประเทศเมียนมาในล�ำดับต่อไป
คุณภาพพอใช้ นอกจากนี้ รัฐบาลเมียนมายังได้เร่งด�ำเนิน
โครงการพัฒนาเศรษฐกิจขนาดใหญ่ เพื่อกระตุ้นการ ผลิตภัณฑ์จากสิ่งทอ
พัฒนาและการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างเป็นระบบ ซึ่งสิ่งทอนั้นครอบคลุมถึงสิ่งทอที่มีการขึ้นรูป
โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างท่อส่งก๊าซและน�้ำมันจาก ตามปกติจากเส้นใยเป็นเส้นด้าย ไปจนถึงการถักทอขึ้นรูป
เมืองเจ้าผิว ในรัฐยะไข่ของเมียนมาไปยังมณฑลยูนนาน เป็นผืนผ้า ลักษณะของผลิตภัณฑ์ขึ้นอยู่กับการน�ำไปใช้
ของจีนที่เริ่มตั้งแต่ตุลาคม 2552 (ก�ำหนดแล้วเสร็จในปี เช่น เชือก ซึ่งเกิดจากการขึ้นรูปจากเส้นใย ผลิตภัณฑ์
2555) เมียนมายังจะเร่งด�ำเนินโครงการพัฒนาท่าเรือน�ำ้ ลึก ส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปของเสื้อผ้า เป็นต้น โดยประเภท
ส�ำคัญอีก 2 แห่ง คือ ท่าเรือน�้ำลึกทวายในเขตตะนาวศรี ของสิ่งทอที่มีการน�ำเข้ามากในปัจจุบัน ได้แก่ สิ่งทอจาก
ซึ่งด�ำเนินการร่วมกับบริษัทเอกชนของไทย (ลงนามกรอบ ใยสังเคราะห์ สิ่งทอจากฝ้าย เป็นต้น โดยพบว่าภาวะ
ข้อตกลงกับไทยเมื่อพฤศจิกายน 2553) และท่าเรือ ความต้องการสินค้าประเภทดังกล่าวมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น
น�้ำลึกสิตต่วยในรัฐยะไข่ ซึ่งด�ำเนินการร่วมกับอินเดีย อย่างต่อเนื่องทุกปี
(มีพิธีเปิดโครงการเมื่อธันวาคม 2553) นอกจากนี้
เมียนมา-อินเดีย อีกทั้งยังเร่งปรับปรุงการคมนาคมบริเวณ เครื่องจักรและอุปกรณ์ขนส่ง
ชายแดนและเส้นทางขนส่งทางน�้ำในแม่น�้ำกาลาดานเพื่อ เป็นสินค้าที่ได้รับการตอบสนองเป็นอย่างมากใน
ส่งเสริมการค้าทวิภาคี การตื่นตัวของเมียนมาดังกล่าว ตลาดเมียนมา ทั้งนี้เนื่องจากประเทศเมียนมาก�ำลังเปิด
ข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความสนใจที่จะขยายปริมาณ ประเทศ และต้องการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้มีความ
การค้าภายในประเทศและต่างประเทศให้เพิ่มปริมาณ ก้าวหน้าโดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมและระบบการ
มากขึ้ น อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น การเปิ ด โอกาสให้ ผู ้ บ ริ โ ภค คมนาคม อีกทั้งความต้องการสินค้าบางประเภทที่จ�ำเป็น

46
รถยนต์ที่ผลิตในเมียนมา โดยน�ำเครื่องยนต์มือสองที่น�ำเข้าจากไทยประกอบเป็นรถยนต์

ต้องผลิตในประเทศมีจ�ำนวนมาก ซึ่งท�ำให้มีความจ�ำเป็น โดยเฉพาะผู้ประกอบการและบริษัทห้างร้านต่างๆ


ที่ต้องน�ำเข้าเครื่องจักรและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ เข้าไป มีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น อันส่งผลต่อความต้องการที่เพิ่มสูง
เพื่อใช้ในการผลิตอุตสาหกรรมบางประเภทเพิ่มมากขึ้น ขึ้น โดยคาดว่าอนาคตของสินค้าดังกล่าวนี้จะยังมีความ
โดยตลาดที่มีความส�ำคัญกับการน�ำเข้าเครื่องจักรและ น่าสนใจในระยะเวลาอย่างน้อย 10 ปี
อุปกรณ์ขนส่งดังกล่าว เช่น กรุงย่างกุ้ง เขตมัณฑะเลย์
เป็นต้น น�้ำมันเพื่อการบริโภค
น�้ ำ มั น เพื่ อ ใช้ ใ นการบริ โ ภคถื อ ว่ า เป็ น อี ก
อุปกรณ์ไฟฟ้า สินค้าหนึ่งที่มีความโดดเด่นส�ำหรับหมวดการน�ำเข้า
ตลาดอุปกรณ์ไฟฟ้าในเมียนมานั้นมีความน่า สินค้าของประเทศเมียนมา โดยเฉพาะจากสถิติการ
สนใจเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจากอุปกรณ์ไฟฟ้าเป็น น�ำเข้าน�้ำมันเพื่อบริโภค พบว่ามีมูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น
สินค้าที่ต้องอาศัยเทคโนโยลีการผลิตที่ค่อนข้างสูงโดย 2 เท่า ในปี 2551 และ 2552 โดยมีมูลค่าน�ำเข้า
เฉพาะคุณภาพและรูปลักษณ์ที่เหมาะสมต่อการน�ำไป ในปี 2550 อยู่ที่ 478.2 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยในปี
ใช้งาน แต่ความสามารถในการผลิตอุปกรณ์ดังกล่าวของ ต่อมาคือ 2551 มีมูลค่าการน�ำเข้าที่ 1,057.7 ล้าน
เมียนมายังอยู่ในระดับต�่ำ และในขณะตรงข้ามความ เหรียญสหรัฐ ตามล�ำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงแนวโน้ม
ต้องการบริโภคสินค้าประเภทนี้กลับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การบริโภคสินค้าดังกล่าวอย่างต่อเนื่องของชาวเมียนมา
เนื่องจากความจ�ำเป็นต่อการใช้งานด้านการส่องสว่าง

47
ยารักษาโรค เครื่องส�ำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว
ภาวะตลาดของสินค้าประเภทยารักษาโรค เป็นอีกกลุ่มสินค้าที่ก�ำลังเป็นที่นิยมของชาว
มีความส�ำคัญต่อภาวะสุขอนามัยของประชาชนในประเทศ เมียนมา โดยเฉพาะกลุ่มสตรีและวัยรุ่น โดยกลุ่มคนเหล่านี้
เมียนมาเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เมื่อประเทศเริ่มมีการเปิด ก�ำลังเริ่มปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านความงาม
ประเทศ ประชาชนเริ่มมีความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น ท�ำให้ อีกทั้งในปัจจุบันการน�ำเสนอรูปแบบการด�ำเนินชีวิตสมัย
ประชาชนเริ่มหันมาดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น ใหม่ของสถานีโทรทัศน์ต่างๆ ในเมียนมา รวมถึงเข้าถึง
ในขณะที่สินค้าประเภทยารักษาโรค ประเทศเมียนมาไม่ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยขึ้น เช่น Internet
สามารถผลิตเองได้ในประเทศ อีกทั้งไม่สามารถน�ำเข้ายา สามารถท�ำให้เปิดโลกทัศน์ของผู้บริโภคในกลุ่มดังกล่าว
ที่ ทั น สมั ย จากประเทศในแถบยุ โ รปและอเมริ ก า ส่งผลท�ำให้ผู้คนเริ่มหันมาให้ความสนใจในการหาสินค้า
ด้วยสาเหตุของการถูกคว�ำ่ บาตร หรือในบางกรณีอาจสามารถ ดังกล่าวเพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองมากขึ้น
น�ำเข้าได้แต่มีราคาที่สูงมาก ท�ำให้เมียนมานิยมน�ำ
เข้ายารักษาโรคในแถบภูมิภาคเอเชียซึ่งเป็นประเทศที่
มีศักยภาพในการผลิตยาที่มีคุณภาพสูงแต่ราคาไม่แพง

ผลิตภัณฑ์ด้านสุขอนามัย ก�ำลังเป็นที่นิยมของตลาดในเมียนมา

48
บทที่

การลงทุนในเมียนมา 4
บทที่ 4
การลงทุนในเมียนมา
ต้นทุนการทำ�ธุรกิจ
ต้นทุนในการท�ำธุรกิจในเมียนมา ที่นักธุรกิจควรรู้มีดังนี้
1. ต้นทุนเกี่ยวกับค่าเช่าที่ดิน สิ่งก่อสร้าง และอสังหาริมทรัพย์
1.1 ราคา/ค่าเช่าที่ดิน
ที่ดิน อัตราค่าเช่า (เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./เดือน)
ราคาซื้อที่ดินในนิคมอุตสาหกรรม ไม่อนุญาตให้ชาวต่างชาติและบริษัทต่างชาติซื้อ
ที่ดิน
ราคาเช่าที่ดินในนิคมอุตสาหกรรม
- เขตอุตสาหกรรมท้องถิ่น (กระทรวงแรงงาน) 0.46 - 0.5
- เขตอุตสาหกรรม Mingaladon (ร่วมทุนระหว่าง 0.21
บริษัทญี่ปุ่นและกระทรวงแรงงาน)
ที่มา: Jetro, 2013.

1.2 ราคาค่าเช่าโรงงงาน
พื้นที่ ค่าเช่าโรงงาน ค่าที่ดิน
(เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./เดือน) (เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./เดือน)
Hlaing Tharya 7.50 103.00
South Dagon 4.90 165.00
Shwe Pyi Thar 2.40 87.00
ที่มา: Tractus Research, 2556.
หมายเหตุ : 1) โรงงานก่อสร้างด้วยโครงเหล็กชั้นเดียว

50
1.3 ค่าก่อสร้างโรงงาน
การก่อสร้างโรงงานด้วยโครงสร้างเหล็ก และมีการเดินสายไฟ (ไม่รวมค่าที่ดิน ค่าคนงาน และการติดตั้ง
เครื่องปรับอากาศ) เฉลี่ยตารางเมตรละ 154 เหรียญสหรัฐ (เทียบกับประเทศไทย 271 เหรียญสหรัฐ)

ค่าก่อสร้างโรงงาน เมียนมา ไทย

เหรียญสหรัฐต่อตารางเมตร 154.09 271.22


ที่มา: Tractus Research, 2556.

1.4 ค่าเช่าส�ำนักงาน
บริเวณที่ตั้งส�ำนักงาน ค่าเช่าเฉลี่ย (เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./เดือน)
Prime Areas หรือ Central Business District (CBD) 87.50
Class A
Sakura Tower 95.00
Secondary Area: Class B 22.96
ที่มา: Jetro, 2013.

1.5 ราคาค่าเช่าร้าน/โชว์รูมในย่านการค้า
ที่ตั้ง ค่าเช่าเฉลี่ย (เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./เดือน)
Taw Win Center 19.00 – 28.00
Junction 8 Center 15.00
ที่มา: Jetro, 2013.

1.6 ราคา/ค่าเช่าที่อยู่อาศัย Service Apartment


ราคา (เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./เดือน) จ�ำนวนห้องนอน
ที่ตั้ง
1 ห้องนอน 2 ห้องนอน
Bogyoke Aung San 77.58 47.00
Inya Lake 75.00 55.00
ที่มา: Tractus Research, 2556.
หมายเหตุ : เปรียบเทียบกับย่านสุขมุ วิท = 39.34 เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./เดือน และย่านสาทร 32.87 เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./เดือน

51
ในการสอบถามราคาที่พัก หน่วยพื้นที่ที่ใช้ในเมียนมา คือ ตารางฟุต และค่าเช่าใช้ในหน่วยนับที่เรียกว่า
Lakhs ตัวอย่างที่พักในเขตต่างๆ

ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่ ตารางฟุต ราค่าเช่าเฉลี่ย


(ตารางเมตร) ต่อเดือน (USD)
คอนโดมิเนียม
Prime Area 2 ห้องนอน /1 ห้องน�้ำ 600 (55.74) 6 Lakhs (6,000)
Pabedan Township (downtown)
MayangoneTownship 3 ห้องนอน / 2 ห้องน�้ำ 1,500 (139.35) 12 Lakhs (12,000)
BahanTownship (ใกล้เจดีย์ชเวดากอง) 3 ห้องนอน / 2 ห้องน�้ำ 1,350 (125.42) 15 Lakhs (15,000)
อพาร์ตเมนต์
South OkkalapaTownship 3 ห้องนอน / 2 ห้องน�้ำ 1,100 (102.19) 3.5 Lakhs (3,500)
HlaingTownship 2 ห้องนอน / 1 ห้องน�้ำ 1,000 (92.90) 2.5 Lakhs (2,500)

ที่มา : ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ข้อมูล ณ 10 พ.ย. 2557.


หมายเหตุ : 1) 1 Lk มีค่าเท่ากับ 1,000,000 Kyat (จ๊าต)
1 USD = 1,000 Kyat หรือคิดคร่าวๆ ว่า 1 Lk = 1,000 USD
2) 1 ตารางเมตร= 3.2808399^2 = 10.7639104 ตารางฟุต
3) บรรทัดที่ 2 ในวงเล็บ ได้มีการแปลงเป็นหน่วย ตร.ม. และสกุลเงินเหรียญสหรัฐ
4) ตรวจสอบราคาค่าเช่า คอนโดมีเนียมหรืออพาร์ตเมนต์ในย่างกุ้ง ได้ที่ http://en.house.com.mm

2. ต้นทุนด้านสาธารณูปโภค
2.1 ค่าน�้ำประปา อัตราส�ำหรับชาวต่างชาติ
ประเภท อัตราค่าน�้ำ/cu.m. หน่วยงานรับผิดชอบ
ใช้ในธุรกิจ 0.88 USD per cu.m. Yangon City Deveaopment Committee (YCDC)
ใช้ทั่วไป 0.44 USD per cu.m. Yangon City Development Committee (YCDC)
ที่มา: Yangon City Development Committee, พ.ย. 2557.

2.2 ค่าไฟฟ้า อัตราส�ำหรับชาวต่างชาติ


ประเภท อัตราค่าไฟ/kWh หน่วยงานรับผิดชอบ
ใช้ในธุรกิจ 0.12 USD per kWh Ministry of Electric Power
ใช้ทั่วไป 0.12 USD per kWh Ministry of Electric Power
ที่มา: ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, พ.ย. 2557.

52
2.3 อัตราค่าไฟฟ้าของเมียนมา
บริษทั ท้องถิน่ มีอตั ราค่าใช้ไฟฟ้า ระหว่าง 0.038 – 0.083 USD ต่อกิโลวัตต์ ส�ำหรับอัตราค่าไฟฟ้า
ขึ้นกับปริมาณการใช้ โดยเฉลี่ยบ้านพักอาศัยร้อยละ 60 ใช้ไฟฟ้าต่อเดือนต�่ำกว่า 100 ยูนิต ส�ำหรับภาคธุรกิจ
ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 60 ใช้ไฟฟ้าต่อเดือนต�่ำกว่า 500 ยูนิต
อัตราค่าไฟฟ้าใหม่ แยกตามหมวดที่พักอาศัย ส�ำนักงาน และโรงงานอุตสาหกรรม มีผลบังคับใช้
ณ 1 เมษายน 2557 ดังรายละเอียดตามตาราง

ประเภท ปริมาณการใช้ (kWH) อัตราค่าไฟฟ้า


1-100 35 Ks
ที่พักอาศัย 101-200 40 Ks
201 ขึ้นไป 50 Ks
1-500 75 Ks
501-1,000 100 Ks
1,001-5,000 125 Ks
ส�ำนักงาน โรงงานอุตสาหกรรม
5,001-200,000 150 Ks
200,001-300,000 125 Ks
300,001 and above 100 Ks
ที่มา: Ministry of Electric Power, 2557.

สิ่งที่นักธุรกิจต้องคิดเป็นต้นทุนประกอบธุรกิจ คือ การซื้อเครื่องปั่นไฟฟ้า ซึ่งมีราคาดังนี้


ประเภท ขนาด ราคา (USD)
ใช้ในบ้านและร้านขนาดเล็ก 20 kVA 3,529
(Made in Myanmar)
บริษัทขนาดใหญ่ 30 kVA 14,000
ที่มา: ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ข้อมูล ณ 10 พ.ย. 2557.

53
2.4 ค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่
ในเครือข่าย นอกเครือข่าย
ผู้ให้ ระหว่าง
ชั่วโมงเร่งด่วน ชั่วโมงไม่เร่งด่วน ชั่วโมงเร่งด่วน ชั่วโมงไม่เร่งด่วน ประเทศ SMS Internet
บริการ
(7am-11pm) (11pm-7 am) (7am-11pm) (11pm-7 am)
MPT 50 Ks/ นาที 25 Ks/นาที 50 Ks/นาที 50 Ks/นาที ขึ้นกับประเทศ 25 Ks/sms 2Ks/นาที
Telenor 25 Ks/นาที 25 Ks/นาที 25 Ks/นาที 25 Ks/นาที ขึ้นกับประเทศ 15 Ks/sms 6 Ks/Mb
Ooredoo 25 Ks/นาที 25 Ks/นาที 35 Ks/นาที 35 Ks/นาที ขึ้นกับประเทศ 15 Ks/sms 10 Ks/Mb
ที่มา : ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ข้อมูล ณ 10 พ.ย. 2557.

2.5 ค่าบริการอินเทอร์เน็ต ประเภท ADSL


ค่าธรรมเนียมราย
ความเร็ว ค่าติดตั้ง ค่าธรรมเนียมรายปี จ�ำนวนบัญชี อีเมล (ฟรี)
เดือน
ผู้ให้บริการ MPT
512 kbps 50,000 Ks 50,000 Ks 17,000 Ks 1
1 Mbps 50,000 Ks 50,000 Ks 34,000 Ks 4
1.5 Mbps 50,000 Ks 50,000 Ks 50,000 Ks 8
2 Mbps 50,000 Ks 50,000 Ks 65,000 Ks 10
2.5 Mbps 50,000 Ks 50,000 Ks 80,000 Ks 15
ที่มา : ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ข้อมูล ณ พ.ย. 2557.

2.6 บริการเสริมส�ำหรับโทรศัพท์และอีเมล
บริการ เงื่อนไข ค่าบริการเริ่มต้น ค่าธรรมเนียมรายปี
Static IP Address - 50,000 Ks -
Change Phone Number Same Exchange 50,000 Ks -
Change Phone Number Different Exchange 100,000 Ks -
Additional E-Mail Account up to 10 accounts - 12,000 Ks
Additional E-Mail Account up to 20 accounts - 10,000 Ks
Additional E-Mail Account up to 30 accounts - 9,000 Ks
ที่มา : ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ข้อมูล ณ พ.ย. 2557.

3. ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ อัตราค่าขนส่ง
ต้นทุนการขนส่งในการส่งสินค้าออก–น�ำเข้า จากไทยไปเมียนมา บริษัทขนส่งจะด�ำเนินการประเมินค่าบริการ
ที่เป็นต้นทุนการจัดส่งเป็นรายสินค้า เพราะต้องพิจารณาเรื่องเส้นทาง พาหนะที่ใช้ในการขนส่ง ฤดูกาล เงื่อนไขในการ

54
ส่งต่างๆ เช่น FOB หรือ CIF จึงไม่สามารถระบุต้นทุนเฉลี่ยได้ การน�ำเข้าส่วนใหญ่หากเป็นเส้นทางบก ติดต่อกับบริษัท
ขนส่งที่ อ.แม่สอด จ.ตาก หรือมีทั้งการส่งออกและน�ำเข้า สามารถติดต่อผ่านเอเย่นต์ที่ได้ขึ้นทะเบียนกับกระทรวง
พาณิชย์เมียนมา เอเย่นต์คิดค่าด�ำเนินการต่อครั้งประมาณ 100 -300 เหรียฐสหรัฐ

สถานที่ส่งออก เส้นทาง ระยะเวลา


ทางบก
อ.แม่สอด จ.ตาก แม่สอด-เมียวดี-ย่างกุ้ง 3-7 วัน
อ.แม่สาย จ. เชียงราย แม่สาย-ท่าขี้เหล็ก-เชียงตุง 2-3 วัน
ทางเรือ
ท่าเรือแหลมฉบัง/ลาดกระบัง แหลมฉบัง-สิงคโปร์/มาเลเซีย/ย่างกุ้ง 14-21 วัน
ท่าเรือระนอง จ.ระนอง ระนอง-ย่างกุ้ง 14 วัน
ทางอากาศ
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กรุงเทพฯ-ย่างกุ้ง 1-2 วัน
ที่มา : ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พ.ย. 2557.
หมายเหตุ : กรณีส่งทางเรือ Container 40ft แหลมฉบัง – ย่างกุ้ง 900 USD

4. ต้นทุนบุคลากร แรงงาน
อัตราค่าตอบแทนมีความแตกต่างกันมาก ขึน้ กับประสบการณ์ ความสามารถทางภาษา ต�ำแหน่งงาน ขนาดบริษัท
และบริษัทข้ามชาติหรือบริษัทท้องถิ่น
ต�ำแหน่ง อัตราเงินเดือน (USD)
ผู้จัดการ-ต่างชาติ 1,500 – 5,000
ผู้จัดการ – เมียนมา (ประสบการณ์ 20 ปีขึ้นไป) 2,000 – 3,000
ผู้จัดการระดับกลาง หัวหน้างานในโรงงานหรือบริษัท 1,300 – 1,700
ผู้จัดการระดับต้น-เมียนมา (ประสบการณ์ต�่ำกว่า 10 ปี) 400 – 1,000
วิศวกร (ท้องถิ่น) 300 - 700
พนักงานจบปริญญาตรี ด้านบริหารธุรกิจ 150 - 200
พนักงานจบปริญญาตรีไม่ใช่ด้านบริหารธุรกิจ (ภาษาอังกฤษดี) 200 - 300
พนักงานขายของตามร้านหรือท�ำงานร้านอาหาร 110 - 130
แรงงานมีทักษะ 180 – 240
แรงงานไร้ฝีมือ 60 - 80
ที่มา : ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พ.ย. 2557.
หมายเหตุ : 1) ในการจ้างงาน นายจ้างต้องวางแผนงบประมาณส�ำหรับค่าใช้จ่าย Bonus 1 – 1.5 เดือน
2) อัตราค่าตอบแทนต่างๆ โดยเฉพาะในเขตนิคมอุตสาหกรรม ในช่วงปี 2555 – 2556
มีอัตราเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี

55
5. ภาษี
กิจการในเมียนมา ต้องช�ำระภาษี ส�ำหรับปีงบประมาณภาษี คือ 1 เมษายน 2555 - 31 มีนาคม 2556 ภาษีที่
เกี่ยวข้องกับกิจการและอัตราภาษี มีดังนี้
5.1 ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล ส�ำหรับบริษัทต่างชาติที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายการลงทุนต่างประเทศ (MFIL) ถือว่า
เป็นผู้มีถิ่นพ�ำนักในเมียนมา ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรา 25% สาขาจดทะเบียนของหน่วยงานต่างประเทศ
ที่ไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ที่อยู่ภายใต้กฎหมายการลงทุนต่างประเทศจะต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตรา 35%

ประเภท อัตราภาษี
บริษทั ต่างชาติทลี่ งทุนภายใต้กฎหมายการส่งเสริมการลงทุน 25%
บริษทั ต่างชาติทไี่ ม่ได้รบั สิทธิประโยชน์การส่งเสริมการลงทุน 35%

5.2 ภาษีการค้า (Commercial Tax)


ภาษีการค้าเป็นภาษีที่เก็บจากสินค้าที่มีการน�ำเข้าหรือผลิตในเมียนมา ต้องเสียภาษีในอัตรา 3% ถึง
100% ขึ้นกับประเทศของสินค้า โดยเฉลี่ยเสียภาษีในอัตรา 5% ส�ำหรับประเภทสินค้าต่างๆ มีรายละเอียดอัตรา
ภาษี ดังนี้

ที่ ประเภท อัตราภาษี %


1 บุหรี่ 100
2 บุหรี่ยา Vargenia ซิการ์ขลุ่ย ยาสูบ Muskies, เครื่องดื่ม เบียร์ ไวน์ ซุงไม้สัก และไม้ 50
สักแปรรูป
3 ไม้เนื้อแข็งและไม้แปรรูป 30
4 หยก และหินอัญมณี
5 รถตู้รถเก๋ง รถซีดาน รถบรรทุกเล็ก, รถ Light Wagon รถ Coupe 25
6 แก๊สโซลีน ดีเซล น�้ำมันเครื่องบิน 10
7 ก๊าซธรรมชาติ 8
8 สินค้าอื่นๆ 5
9 สินค้าที่ผลิตในเขตอุตสาหกรรม 3
10 บริการ (ยอดขายรวม) 5
11 ผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นผลิตผลทางการเกษตรส่วนใหญ่ ยกเว้นจากภาษีการค้า
ที่มา : ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พ.ย. 2557.

56
57
5.3 ภาษีการค้าที่เก็บจากการส่งออก
การส่งออกทั้งหมดได้รับการยกเว้นภาษีการค้า ยกเว้นสินค้าพิเศษต่อไปนี้:
ที่ ประเภท อัตราภาษี %
1 น�้ำมันดิบ 5
2 ก๊าซธรรมชาติ 8
3 ไม้สักไม้เนื้อแข็งและไม้แปรรูป 50
4 หยกและอัญมณีที่มีค่า 30
5 เครื่องประดับที่ท�ำจากหยกและหิน อัญมณี 10
ที่มา : ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พ.ย. 2557.

5.4 ภาษีรายได้ส่วนบุคคลส�ำหรับชาวต่างชาติ (Personal Income Tax)


ภาษีรายได้ส่วนบุคคลส�ำหรับชาวต่างชาติ หมายถึง ภาษีที่เก็บจากพลเมืองและชาวต่างชาติที่มีถิ่นพ�ำนัก
ในเมียนมาหรือผู้ที่พ�ำนักในเมียนมาตั้งแต่ 183 วันขึ้นไป รัฐบาลเมียนมาได้ปรับปรุงอัตราภาษีรายได้ส่วนบุคคลส�ำหรับ
ชาวต่างชาติใหม่ และประกาศใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2557 จากเดิมที่เก็บในอัตราก้าวหน้าเริ่มต้นที่ 1% ถึงอัตรา
สูงสุด 20% เปลี่ยนเป็นเริ่มต้นที่ 0% และเพิ่มขึ้นเป็นอัตราสูงสุด 25% ดังรายละเอียดต่อไปนี1้

ระดับรายได้สุทธิต่อปี (จ๊าต) อัตราภาษี (%)


1-2,000,000 0
2,000,001-5,000,000 5
5,000,001-10,000,000 10
10,000,001-20,000,000 15
20,000,001-30,000,000 20
มากกว่า 30,000,000 25
ที่มา : ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พ.ย. 2557.

กรณีชาวต่างชาติที่ไม่ได้มีถิ่นพ�ำนักในเมียนมา หรือผู้ที่พ�ำนักในเมียนมาน้อยกว่า 183 วัน จะต้องเสีย


ภาษีรายได้ส่วนบุคคล 35%

1
: Tax Alert, Deloitte. เข้าถึงจาก http://www.deloitte.com/assets/Dcom-Thailand/Local%20Assets/Documents/Tax%20
Alerts/FINAL_Tax%20Alert_April_2014_Myanmar.pdf ณ 17 พฤศจิกายน 2557.

58
5.5 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax)2
ชาวต่างชาติทมี่ ถี นิ่ พ�ำนักในเมียนมาและไม่มถี นิ่ พ�ำนักในเมียนมาจะถูกเรียกเก็บในอัตราแตกต่างกัน ดังนี้

ประเภทของรายได้ ชาวต่างชาติที่มีถิ่นพ�ำนักในเมียนมา ชาวต่างชาติที่ไม่มีถิ่นพ�ำนักในเมียนมา


(Type of Income) (Resident Rates) (Non-resident Rates)
(ร้อยละ) (ร้อยละ)
ดอกเบี้ย 0 15
ค่าภาคหลวง (Royalty) 15 20
การซื้อสินค้าและบริการ บริการรวมถึง 2 3.5
Contractor

ที่มา: ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พ.ย. 2557.

5.6 ข้อตกลงการเก็บภาษีซ้อน (Double Tax Treaty: DTA)


เมียนมาได้ลงนามในข้อตกลงการเก็บภาษีซ้อนกับประเทศไทย และประเทศอื่นๆ คือ สหราชอาณาจักร
มาเลเซีย สิงคโปร์ อินเดีย เกาหลีใต้ เวียดนาม อินโดนีเซีย บังกลาเทศ และ สปป. ลาว
รายละเอียดเกี่ยวกับข้อตกลงภาษีซ้อนสามารถศึกษาข้อมูลได้ที่
http://www.thaiembassy.org/yangon/contents/files/business-20130715-140426-918587.pdf

2
: ระบบภาษี…เรื่องต้องรู้เมื่อคิดลงทุนในพม่า, ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย. เข้าถึงจาก http://www.
exim.go.th/doc/newsCenter/44613.pdf ณ 17 พฤศจิกายน 2557.

59
60
การจัดตั้งบริษัท
1. รูปแบบองค์กรธุรกิจ
การจัดตั้งธุรกิจของนักลงทุนต่างชาติสามารถจัดตั้งเป็นนิติบุคคลได้หลายรูปแบบ ได้แก่ ห้างหุ้นส่วน บริษัท
จ�ำกัด สาขาและส�ำนักงานตัวแทนบริษัทต่างชาติ หรือองค์กรไม่ค้าก�ำไร รูปแบบองค์กรที่นักลงทุนต่างชาตินิยม ได้แก่

1.1 บริษัทจ�ำกัด
เป็นองค์กรธุรกิจที่ก�ำหนดให้ผู้ถือหุ้นมีความรับผิดชอบในกิจการของบริษัทเท่ากับจ�ำนวนหุ้นที่ตนถืออยู่
เท่านั้น ตามกฎหมายบริษัทจ�ำกัดจ�ำแนกเป็น 2 ประเภท คือ
1.1.1 บริษัทเอกชนจ�ำกัด (Private Limited Liability Company) คือ บริษัทที่กฎหมายมีการห้ามการโอน
หุ้น และต้องมีผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 2 ราย และไม่เกิน 50 ราย
1.1.2 บริษัทมหาชนจ�ำกัด (Public Limited Liability Company) ต้องมีจ�ำนวนผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 7 ราย
โดยสามารถเสนอขายหุ้นแก่สาธารณชนได้

1.2 สาขาของบริษัทต่างชาติ
นักลงทุนต่างชาติสามารถขออนุญาตจัดตัง้ สาขาบริษทั ภายใต้กฎหมายว่าด้วยบริษทั ของเมียนมา (Myanmar
Company Act: CA) เท่านั้น ท�ำให้ไม่สามารถขอรับสิทธิพิเศษทางการลงทุนภายใต้กฎหมายการลงทุนต่างชาติได้

1.3. ส�ำนักงานตัวแทนของบริษัทต่างชาติ
บริษัทต่างชาติสามารถขออนุญาตตั้งส�ำนักงานตัวแทนในเมียนมาได้ ส่วนใหญ่จะเห็นได้ในกรณีของ
ธนาคารต่างๆ จัดตั้งส�ำนักงานตัวแทนในเมียนมา ส�ำนักงานตัวแทนมีขอบเขตด�ำเนินการได้เพียงประสานงานกับ
ส�ำนักงานใหญ่ ไม่สามารถประกอบกิจกรรมที่เกี่ยวกับการค้า หรือกิจกรรมที่ท�ำให้เกิดรายได้

Myanmar Company Act ก�ำหนดให้บริษัทต่างชาติ ไม่ว่าจะเป็นของต่างชาติ 100% หรือร่วมทุนหรือ


สาขา/ส�ำนักงานตัวแทนหลังจากที่มีการจดทะเบียนบริษัทแล้ว จะต้องมีการขอรับใบรับรองการประกอบธุรกิจ
(Certificate of Commencement of Business) เพื่อที่จะเริ่มด�ำเนินกิจการ ยกเว้นกรณีการร่วมทุนกับรัฐภายใต้
The Special Company Act 1950 ไม่จ�ำเป็นต้องมีใบรับรองการประกอบธุรกิจ (Certificate of Commencement
of Business)

61
2. ตารางค่าใช้จ่ายขั้นต้น ขั้นตอนในการจัดตั้งบริษัท การขอใบอนุญาตก่อสร้าง และการขอไฟฟ้า

ขั้นตอนการจัดตั้งบริษัท มี 11 ขั้นตอน ระยะเวลา และค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งบริษัท มีดังนี้

ล�ำดับที่ ขั้นตอน ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย/ค่าธรรมเนียม


1 ขอรับหนังสือที่อ้างจากหัวหน้าหมู่บ้าน 2 วัน ไม่มี
ย่างกุ้งแบ่งออกเป็น 4 อ�ำเภอ (District) และ 33 เมือง (Township)
แต่ละเมืองแบ่งเป็นหมูบ่ า้ น (Ward) หรือบล็อก (Block) หมูบ่ า้ นเป็นหน่วย
การปกครองที่เล็กที่สุดในการบริหารท้องถิ่น
หน่วยงาน : หัวหน้าหมู่บ้าน
2 ขอรับประวัติอาชญากรรมจากสถานีต�ำรวจในเขตเมือง 1 วัน ไม่มี
หลังจากได้รับหนังสือที่อ้างถึงจากหัวหน้าหมู่บ้าน จะต้องไปขอรับ
ประวัติอาชญากรรมของท่านจากสถานีต�ำรวจในเขตเมือง สถานีต�ำรวจ
เมืองเล็กๆ ที่เกี่ยวข้องลงนามในจดหมายที่มีประวัติอาชญากรรมของ
ท่าน
หน่วยงาน : สถานีต�ำรวจเมือง
3 ด�ำเนินการตรวจสอบชื่อที่ส�ำนักงานทะเบียนบริษัท (CRO) คณะ 1 วัน จ่ายเป็นส่วนหนึ่งของ
กรรมการด้านการลงทุนและการบริหารบริษัท (DICA) ค่าธรรมเนียมจดทะเบียนจัดตั้ง
หลังจากทีไ่ ด้รบั เอกสารจากหัวหน้าหมูบ่ า้ นและสถานีต�ำรวจแล้ว ชือ่ บริษัท
บริษัทจะต้องไม่ซ�้ำกันโดยท�ำการตรวจสอบที่ส�ำนักงานทะเบียนบริษัท
(CRO) คณะกรรมการด้านการลงทุนและการบริหารบริษัท (DICA) ซึ่ง
ปัจจุบันเป็นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ท�ำให้ง่ายและรวดเร็ว
หน่วยงาน : ส�ำนักงานทะเบียนบริษัท (CRO) คณะกรรมการด้านการ
ลงทุนและการบริหารบริษัท (DICA)
4 *ขอใบรับรองจัดตั้งบริษัทชั่วคราว 1 วัน พร้อมกันกับขั้นตอนก่อนหน้า
เมื่อตรวจสอบชื่อเสร็จสมบูรณ์ ในล�ำดับต่อไปท่านจะต้องรวบรวม 1,000 จ๊าต (ค่าสมัคร)
และตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารดังต่อไปนี้ยื่นพร้อมใบสมัคร
- แบบฟอร์มใบสมัคร (ชือ่ บริษทั รายชือ่ กรรมการทีม่ ี No. ID และ
ที่อยู่ เงินทุนเริ่มต้น ที่ตั้งบริษัท)
- หนังสือบริคณห์สนธิของบริษัท (ส�ำหรับบริษัท ท้องถิ่น เป็น
ภาษาเมียนมา โดยฉบับภาษาอังกฤษเป็นมาตรฐานที่สามารถ
ใช้ได้)
- แผนธุรกิจของกิจกรรม
- ส�ำเนาใบรับรองครอบครัวส�ำหรับกรรมการแต่ละคน (รวมทั้ง
วัน เดือน ปีเกิด สถานะ อาชีพ ID เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา)
- หนังสือรับรองจากกรรมการ
- หนังสือที่อ้างอิงจากหัวหน้าหมู่บ้าน
- จดหมายประวัติอาชญากรรมจากสถานีต�ำรวจในเขตเมือง
- ผู้สมัครตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่รวบรวม และยื่น
เอกสารดังกล่าวที่ ส�ำนักงานทะเบียนบริษัท (CRO) คณะ
กรรมการด้านการลงทุนและการบริหารบริษัท (DICA) เพื่อให้ผู้
อ�ำนวยการ คณะกรรมการด้านการลงทุนและการบริหารบริษทั
(DICA) ลงนามในหนังสือบริคณห์สนธิและข้อบังคับของบริษัท
หน่วยงาน : คณะกรรมการด้านการลงทุนและการบริหารบริษัท (DICA)

62
ล�ำดับที่ ขั้นตอน ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย/ค่าธรรมเนียม
5 การลงนามของกรรมการ 1 วัน 40,000 จ๊าต
ต่อหน้าทนายความหรือผู้สอบบัญชี การเป็นพยานการลงนาม
รับหนังสือบริคณห์สนธิและข้อบังคับของบริษทั ได้รบั การลงนามต่อ ของกรรมการบริษัท
หน้าทนายความหรือผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต ค่าใช้จ่ายในการเป็น ในหนังสือบริคณห์สนธิและข้อ
พยานการลงนามในบันทึกข้อตกลงและข้อบังคับของ บริษัท มีประมาณ บังคับ
40,000 จ๊าต ของบริษัท
หน่วยงาน : ส�ำนักงานกฎหมายหรือบริษัท การบัญชี
6 การช�ำระค่าลงทะเบียน 1 วัน 1,000,000 จ๊าต (ค่าลงทะเบียน)
ช�ำระค่าลงทะเบียนที่แผนกบัญชีในอาคาร DICA +15,000 จ๊าต (ค่าธรรมเนียม
หน่วยงาน : คณะกรรมการด้านการลงทุนและการบริหารบริษัท (DICA) การบริหาร)+1,000 จ๊าต
(อากรแสตมป์)
7 ได้รับใบรับรองบริษัทชั่วคราว 3 วัน จ่ายเป็นส่วนหนึ่งของ
หลังจากการช�ำระเงิน น�ำใบสมัครกลับไปที่ ส�ำนักงานทะเบียนบริษทั ค่าธรรมเนียมจดทะเบียน
(CRO) เพื่อที่จะได้รับใบรับรองชั่วคราว จะต้องมีการตรวจสอบและลง จัดตั้งบริษัท
นามโดยผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานทะเบียนบริษัท (CRO) ซึ่งสามารถ จ่ายเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท
ท�ำได้ใน 1 วัน (ถ้าเอกสารและผู้มีอ�ำนาจลงนามพร้อม) แต่โดยปกติจะ ค่าธรรมเนียมจดทะเบียน
ใช้เวลา 2-3 วัน ใบรับรองนีจ้ ะช่วยให้ผปู้ ระกอบการทีจ่ ะเริม่ ต้นการด�ำเนิน จัดตั้งบริษัท
ธุรกิจได้ทันทีในขณะที่รอส�ำหรับใบรับรองถาวรและใบรับรองชั่วคราว
มีอายุ 6 เดือน
หน่วยงาน : คณะกรรมการด้านการลงทุนและการบริหารบริษัท (DICA)
8 ขอรับใบรับรองบริษัทถาวร 2 เดือน พร้อมกันกับขั้นตอนก่อนหน้า
ส�ำนักงานทะเบียนบริษทั (CRO) จะด�ำเนินการตรวจสอบภายในเพือ่ 200,000 จ๊าต
ที่จะออกใบรับรองบริษัทถาวร แฟ้มเอกสารจะถูกส่งไปยังกระทรวง
มหาดไทย ซึ่งจะมีการตรวจสอบโดยส�ำนักงานสอบสวนคดีพิเศษ (BSI)
และต�ำรวจ
คณะกรรมการด้านการลงทุนและการบริหารบริษทั (DICA) จะแจ้งไป
ยังท่านเมือ่ ใบรับรองการจัดตัง้ บริษทั ถาวรได้รบั การอนุมตั
ิ ในระหว่างรอ
การอนุมตั ทิ า่ นสามารถโทรศัพท์สอบถามเกีย่ วกับสถานะของการขอใบรับ
รองบริษัทถาวรได้ใบรับรองบริษัทถาวร มีอายุ 5 ปี
หน่วยงาน : คณะกรรมการด้านการลงทุนและการบริหารบริษัท (DICA)
9 *จ่ายอากรแสตมป์ส�ำหรับใบรับรองบริษัทถาวร 1 วัน พร้อมกันกับขั้นตอนก่อนหน้า
จ่ายอากรแสตมป์ที่ปิดบนหนังสือบริคณห์สนธิและข้อบังคับของ 200,000 จ๊าต
บริษัท ซึ่งจะต้องน�ำมาแสดงเพื่อขอรับใบรับรองบริษัทถาวร
หน่วยงาน : ส�ำนักงานสาขา กรมสรรพากร

63
ล�ำดับที่ ขั้นตอน ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย/ค่าธรรมเนียม
10 ท�ำตราประทับหรือตรายาง 1 วัน 2,000 จ๊าต
ตามกฎหมาย ตราประทับของบริษทั เป็นสิง่ จ�ำเป็นส�ำหรับบริษทั โดย
ตรายางทีใ่ ช้กนั ทัว่ ไปและได้รบั การยอมรับ สามารถท�ำได้ในร้านค้าในย่าน
ใจกลางเมืองย่างกุ้ง มีค่าใช้จ่ายประมาณ 2,000 จ๊าต
หน่วยงาน : ร้านท�ำตราประทับ
11 ลงทะเบียนส�ำหรับการลงทะเบียนภาษีการค้า 1 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
ภาษีการค้า (คล้ายกับภาษีมูลค่าเพิ่ม) บริษัทจะต้องลงทะเบียนกับ
เจ้าหน้าที่ภาษีก่อนที่จะเริ่มต้นของธุรกิจ 1 เดือน นอกจากนี้ DICA จะ
รวบรวมรายชือ่ ของบริษทั จดทะเบียนใหม่ในแต่ละเดือน และจะส่งข้อมูล
นี้ไปยังส�ำนักงานสรรพากรเขตการปกครองภายในของเมืองที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงาน : ส�ำนักงานสรรพากร เขตการปกครองภายใน
ที่มา: Doing Business 2015 going beyond efficiency - Myanmar (English)., The World Bank.
หมายเหตุ : *สามารถด�ำเนินการพร้อมกันกับขั้นตอนอื่น

การขอใบอนุญาตก่อสร้างในเมียนมา
การขอใบอนุญาตก่อสร้างในเมียนมา มี 13 ขัน้ ตอน เวลา และค่าใช้จา่ ยในการขอใบอนุญาตก่อสร้างในเมียนมา

ล�ำดับที่ ขั้นตอน ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย/ค่าธรรมเนียม


1 ขอรับใบรับรองโฉนดที่ดินและแผนที่ที่ดินที่คณะกรรมการพัฒนา 30 วัน 40,000 จ๊าต
เมืองย่างกุ้ง (YCDC) กรมที่ดิน
เดินทางไปทีค่ ณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุง้ (YCDC) กรมทีด่ นิ เพือ่
ขอใบรับรองโฉนดทีด่ นิ ซึง่ จะเป็นการพิสจู น์ความเป็นเจ้าของทีด่ นิ ทีท่ จี่ ะ
พัฒนา และแผนที่ที่ดินซึ่งจะแสดงให้เห็นขนาดของที่ดิน
หน่วยงาน : คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง (YCDC) กรมที่ดิน
2 ขอรับการอนุมตั เิ บือ้ งต้น (หรือการอนุมตั กิ ารออกแบบ) ทีแ่ ผนกการ 7 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
ออกแบบ คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง (YCDC)
YCDC จะตรวจสอบว่าการออกแบบซึง่ จะต้องจัดท�ำขึน้ โดยวิศวกรที่
ได้รบั อนุญาตมีความสอดคล้องกับวิถชี วี ติ และมาตรฐานและกฎระเบียบ
หน่วยงาน : แผนกออกแบบ คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง (YCDC)
3 การได้รับการตรวจสอบจากช่างของ คณะกรรมการพัฒนาเมือง 1 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
ย่างกุ้ง (YCDC)
ช่าง YCDC จะไปทีพ่ นื้ ทีก่ อ่ สร้าง เพือ่ ตรวจสอบทีด่ นิ ในพืน้ ทีก่ อ่ สร้างตรง
กับโฉนดทีด่ นิ และการก่อสร้างเป็นไปตามแบบทีข่ ออนุมตั ิ และตรวจสอบ
การเชื่อมต่อน�้ำและไฟฟ้า นอกจากนี้ยังตรวจสอบกับเพื่อนบ้านเพื่อให้
แน่ใจว่าจะไม่มีข้อพิพาทที่ดินหรือปัญหาอื่นๆ ผู้ตรวจสอบจะรายงานไป
ยัง YCDC และจะแจ้งให้ผู้ขออนุญาตด�ำเนินการขั้นต่อไปได้
ส�ำหรับอาคาร 3 ชั้น หรือสูงกว่า หรือโรงงานขนาดใหญ่ จะต้องท�ำการ
ทดสอบดินตามกฎหมาย ค่าใช้จ่าย 150,000 จ๊าต จะใช้เวลาประมาณ 2
สัปดาห์ ในท�ำนองเดียวกันการตรวจสอบแผ่นดินไหวและสิ่งแวดล้อมไม่
จ�ำเป็นส�ำหรับคลังสินค้าขนาดเล็ก
หน่วยงาน : แผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง
(YCDC)

64
ล�ำดับที่ ขั้นตอน ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย/ค่าธรรมเนียม
4 *ขอจดหมายหรือใบรับรองจากหัวหน้าหมู่บ้าน 1 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
หัวหน้าหมูบ่ า้ นจะออกหนังสือรับรองทีอ่ ยูข่ องผูข้ ออนุญาตก่อสร้าง
การด�ำเนินการนี้มักจะมอบให้ตัวแทนด�ำเนินการให้
5 ขอรับความยินยอมจากเพื่อนบ้าน 1 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
รับแบบฟอร์มความยินยอมจากเพือ่ นบ้านได้ที่ YCDC น�ำไปให้เพือ่ น
บ้านบริเวณพืน้ ทีก่ อ่ สร้างทัง้ หมด กรอกแสดงความยินยอม การด�ำเนินการ
นี้มักจะมอบให้ตัวแทนด�ำเนินการให้
6 สมัครและขอรับใบอนุญาตก่อสร้างทีแ่ ผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะ 60 วัน 1,000,000 จ๊าต
กรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง (YCDC)
ผู้สร้างหรือผู้แทนจะต้องส่งเอกสารต่อไปนี้ เพื่อที่จะเริ่มต้นขั้นตอน
การสมัครขอใบอนุญาตก่อสร้าง:
- ID เจ้าของ
- ใบรับรองและครอบครัว
- แบบฟอร์มใบสมัคร
- ใบรับรองโฉนดที่ดินจากแผนกที่ดิน YCDC
- แผนที่เกี่ยวกับที่ดินจากแผนกที่ดิน YCDC
- ใบยินยอมเพื่อนบ้าน
- ภาพวาดและการออกแบบโครงสร้าง - 3 ชุด
- Bills of quantity (BQ) - 3 ชุด
- จดหมายแนะน�ำจากหัวหน้าหมู่บ้าน
เมือ่ ใบสมัครได้ผา่ นขัน้ ตอนภายในของ YCDC ผูข้ ออนุญาตจะได้รบั
เอกสาร ให้ช�ำระเงินค่าใช้จ่าย ตามใบแจ้งหนี้ โดยอาจจะจ่ายแผนก
วิศวกร (อาคาร) YCDC โดยตรง หรือจ่ายช�ำระที่ธนาคารก็ได้ และมา
รับใบอนุญาตก่อสร้างได้ประมาณ 1 สัปดาห์หลังจากการช�ำระเงิน
หน่วยงาน : แผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง
(YCDC)
7 ขอและรับการตรวจสอบรากฐาน 1 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
เมื่อแผนกตรวจสอบ คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง (YCDC) ได้
รับแผนทั้งหมดของผู้ขออนุญาตก่อสร้าง แผนกตรวจสอบพร้อมที่จะ
ด�ำเนินการตรวจสอบในระหว่างการก่อสร้าง ผู้ขออนุญาตก่อสร้างควร
จะแจ้ง คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุง้ (YCDC) เมือ่ เริม่ ต้นของขัน้ ตอน
ฐานราก รากฐาน พื้นและหลังคา
หน่วยงาน : แผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง
(YCDC)
8 ขอและได้รับการตรวจสอบพื้น ไม่มีค่าใช้จ่าย
เมื่อแผนกตรวจสอบ คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง (YCDC) ได้
รับแผนทั้งหมดของผู้ขออนุญาตก่อสร้าง แผนกตรวจสอบพร้อมที่จะ
ด�ำเนินการตรวจสอบในระหว่างการก่อสร้าง ผู้ขออนุญาตก่อสร้างควร
จะแจ้ง คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุง้ (YCDC) เมือ่ เริม่ ต้นของขัน้ ตอน
ฐานราก รากฐาน พื้นและหลังคา
หน่วยงาน : แผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง
(YCDC)

65
ล�ำดับที่ ขั้นตอน ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย/ค่าธรรมเนียม
9 ขอและได้รับการตรวจสอบหลังคา 1 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
เมื่อแผนกตรวจสอบ คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง (YCDC) ได้
รับแผนทั้งหมดของผู้ขออนุญาตก่อสร้าง แผนกตรวจสอบพร้อมที่จะ
ด�ำเนินการตรวจสอบในระหว่างการก่อสร้าง ผู้ขออนุญาตก่อสร้างควร
จะแจ้ง คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุง้ (YCDC) เมือ่ เริม่ ต้นของขัน้ ตอน
ฐานราก รากฐาน พื้นและหลังคา
หน่วยงาน : แผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง
(YCDC)
10 ขอใบรับรองการสร้างเสร็จสมบูรณ์ จาก YCDC 1 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
หลังจากที่ท�ำงานก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ ผู้ก่อสร้างต้องขอใบรับรอง
การสร้างอาคาร ที่แผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมือง
ย่างกุ้ง (YCDC)
หน่วยงาน : แผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง
(YCDC)
11 ขอรับการตรวจสอบขั้นสุดท้าย เพื่อรับใบรับรองการก่อสร้างเสร็จ 3 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
สมบูรณ์ จากแผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมือง
ย่างกุ้ง (YCDC)
แผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง (YCDC)
จะไปตรวจสอบอาคารว่าสร้างตามแบบที่ได้ขออนุมัติ หลังจากการยื่น
ขอรับการตรวจสอบขั้นสุดท้าย 2 – 3 วัน
หน่วยงาน : แผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง
(YCDC)
12 ได้รับ ใบรั บ รองการก่ อสร้ า งเสร็ จ สมบู รณ์ จากแผนกวิ ศ วกรรม 21 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
(อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง (YCDC)
รับใบรับรองการก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์หลังจากวิศวกร จากแผนก
วิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุง้ (YCDC) ตรวจสอบ
อาคารว่าสร้างตามแบบที่ได้ขออนุมัติ
หน่วยงาน : แผนกวิศวกรรม (อาคาร) คณะกรรมการพัฒนาเมืองย่างกุ้ง
(YCDC)
13 *เจาะบ่อส�ำหรับน�้ำประปาชั่วคราว 7 วัน 2,500,000 จ๊าต
ที่มา : Doing Business 2015 going beyond efficiency - Myanmar (English)., The World Bank.
หมายเหตุ : *สามารถด�ำเนินการพร้อมกับขั้นตอนอื่น

66
ขั้นตอน เวลา และค่าใช้จ่ายในการขอไฟฟ้าในเมียนมา มีดังนี้

ล�ำดับที่ ขั้นตอน ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย/ค่าธรรมเนียม


1 ร้องขอการเชื่อมต่อไฟฟ้าใหม่ที่ส�ำนักงานเขตการปกครอง 49 วันตาม 4,5051,000 จ๊าต
ในขัน้ ตอนนีแ้ จ้งปริมาณไฟฟ้าทีต่ อ้ งการใช้ และประเภทของอุปกรณ์ ปฏิทิน
(เครื่องปรับอากาศ, เครื่องจักร)
นอกจากนี้ยังจะต้องส่ง: ใบรับรองอาคารเสร็จสมบูรณ์ ใบอนุญาต
ธุรกิจหรือใบทะเบียนรับรองบริษัท ใบรับรอง ID ใบรับรองครอบครัว
หนังสือรับรองจากหัวหน้าหมูบ่ า้ น (ทีไ่ ด้รบั ในช่วงขอใบอนุญาตก่อสร้าง)
การออกแบบไฟฟ้า รายชื่อของอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า Capacity load
คาดว่าต้องใช้
หลังจากที่หน่วยงานของหมู่บ้านมาตรวจดูอาคารที่ขอใช้ไฟฟ้าแล้ว
ใบสมัครขอใช้ไฟฟ้าจะถูกส่งไปยังหน่วยงานภายในต่างๆ ตามล�ำดับ เมือ่
มีการอนุมัติขั้นสุดท้าย ผู้ขอใช้ไฟฟ้าจะได้รับแจ้งให้ไปรับใบแจ้งหนี้ค่า
ธรรมเนียม ที่ส�ำนักงานเมือง โดยจ่ายได้ที่ธนาคารของรัฐที่ระบุไว้
หน่วยงาน : เขตการปกครองเมือง/หมู่บ้าน/การไฟฟ้าย่างกุ้ง/กระทรวง
พลังงานไฟฟ้า
2 *ช่างจากเขตปกครองเมือง ตรวจสอบอาคารที่ขอใช้ไฟฟ้า 1 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
ช่างในเขตเมืองจะตรวจสอบเพือ่ ดูระยะทางจากอาคารทีข่ อใช้ไฟฟ้า ตามปฏิทิน
กับสายส่งหลักเสาหลัก ฯลฯ และจัดท�ำแผนที่ของการเชื่อมต่อที่จ�ำเป็น
หน่วยงาน : เขตการปกครองเมือง
3 ช่างไฟฟ้าทีไ่ ด้รบั การว่าจ้างจากเจ้าของอาคารด�ำเนินงานการเชือ่ มต่อ 21 วัน 17,028.975 จ๊าต
ช่างไฟฟ้าที่ได้รับว่าจ้างจากเจ้าของอาคารด�ำเนินงานการเชื่อมต่อ ตามปฏิทิน
หม้อแปลงไฟฟ้า (ของเจ้าของอาคาร) ซึง่ เป็นสิง่ จ�ำเป็นส�ำหรับการใช้งาน
กรณีที่ใช้ไฟฟ้าเกิน 30 KVA
หน่วยงาน : ผู้รับเหมาเอกชน
4 วิศวกรจากเขตปกครองเมืองตรวจสอบความสมบูรณ์ของการเชื่อม 21 วัน 1,550,000 จ๊าต
ต่อไฟฟ้าและติดตั้งมิเตอร์ไฟฟ้า ตามปฏิทิน
เมื่อการเชื่อมต่อไฟฟ้าเสร็จสิ้น ผู้ขอใช้ไฟฟ้าแจ้งเขตปกครองเมือง
เพื่อให้มาตรวจสอบขั้นสุดท้าย วิศวกรเขตการปกครองเมืองด�ำเนินการ
ตรวจสอบผลงานและติดตั้งมิเตอร์ไฟฟ้า
หน่วยงาน : เขตการปกครองเมือง
5 *วิศวกรจากกระทรวงอุตสาหกรรม ตรวจสอบการท�ำงานการเชื่อม 1 วัน ไม่มีค่าใช้จ่าย
ต่อและการเดินสายไฟภายใน
วิศวกรจากส�ำนักงานการตรวจสอบของกระทรวงอุตสาหกรรมซึ่งได้
รับแจ้งจากเขตปกครองเมืองมาตรวจสอบงานการเชื่อมต่อและการเดิน
สายไฟภายใน ส่วนใหญ่เป็นการปฏิบตั ติ ามหลักมาตรฐานความปลอดภัย
หน่วยงาน : กระทรวงอุตสาหกรรม
ที่มา : Doing Business 2015 going beyond efficiency - Myanmar (English)., The World Bank.
หมายเหตุ : *สามารถด�ำเนินการพร้อมกับขั้นตอนอื่น

67
สมมติว่า บริษัทของคนไทยต้องการที่จะเปิดส�ำนักงานที่ย่างกุ้ง จะมีค่าใช้จ่ายและเงินลงทุนทั้งหมดเท่าใด
กรณีมีพนักงาน 5 คน
ต้นทุนค่าพนักงานที่ต้องจ่ายต่อเดือน (กรณีมีพนักงาน 5 คน) ดังนี้

ต�ำแหน่ง อัตราเงินเดือน (เหรียญสหรัฐ)


ผู้จัดการ 1,500
หัวหน้างาน 600
พนักงานบัญชี การเงิน 400
พนักงานทั่วไป (ธุรการ) 300
พนักงานท�ำความสะอาด 200
รวม 3,000

ตารางค่าใช้จ่ายขั้นต้นในการตั้งบริษัท
สมมติฐาน
1. ท�ำเลที่ตั้งในย่างกุ้ง
2. ส�ำนักงานมีพนักงาน 5 คน (คนไทย 1 คน ล่ามและเลขานุการ 1 คน พนักงาน 1 คน พนักงานขับรถ
1 คน)

รายการ จ�ำนวน (ครั้ง) ราคา (เดือน/ครั้ง) รวม (เหรียญสหรัฐ) หมายเหตุ


จดทะเบียนและค่าด�ำเนินการอื่นๆ
ยื่นจดทะเบียนบริษัท 1 1,259 1,259
ค่าธรรมเนียมตราประทับ 1 200 200
ค่าทนายความด�ำเนินการ 1 1,200 1,200
ยื่นขอวีซ่า 1 180 180
ยื่นขอขยายวีซ่าและใบอนุญาตท�ำงาน 1 330 330
3,169
ค่าตั้งส�ำนักงานและค่าดูแล
เงินมัดจ�ำการเช่าส�ำนักงาน 12 763 9,156
ค่าเช่าส�ำนักงาน 1 763 763
ค่าโต๊ะ เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ 1 4,000 4,000
ค่า PC Printer เครื่องถ่ายเอกสาร 1 1,200 1,200
ชุดรับแขก ภาชนะอาหาร 1 1,500 1,500

68
รายการ จ�ำนวน (ครั้ง) ราคา (เดือน/ครั้ง) รวม (เหรียญสหรัฐ) หมายเหตุ
ค่าเครื่องเขียน อุปกรณ์ 1 500 500
ค่าสาธารณูปโภค 12 200 2,400
19,519
ค่าแรง
ผู้จัดการคนไทย 12 1,500 18,000
หัวหน้างานชาวเมียนมา 12 600 7,200
พนักงานบัญชี การเงิน 12 400 4,800
พนักงานทั่วไป (ธุรการ ล่าม) 12 300 3,600
พนักงานขับรถ 12 200 2,400
36,000
ค่าเดินทาง
รถมือสอง 1 1,500 1,500
ค่าน�้ำมัน 12 400 4,800
6,300
ค่าสวัสดิการสังคม 12 42 504 นายจ้างจ่ายสมทบ
3% สูงสุดไม่เกิน 15
USD ต่อคน
504
รวมทั้งสิ้น 65,492
Myanmar currency explanation:
LKs: Lakh Kyats, 1 LKs = 100,000 Ks 1 USD 1000 Ks

69
3. ระบบบัญชี (Accounting System)
ตามกฎหมายเมียนมาก�ำหนดให้บริษทั ต้องมีการแต่งตัง้ ผูต้ รวจสอบบัญชี เป็นผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต (Practicing
Accounting: PA) จากสภาการบัญชีแห่งเมียนมา (The Myanmar Accountancy Council: MAC) ผู้ตรวจสอบ
บัญชีจะถูกเสนอชื่อและแต่งตั้งในการประชุมสามัญประจ�ำปี ท�ำหน้าที่ในการตรวจสอบงบการเงินบริษัท ซึ่งงบ
การเงินนี้ต้องใช้ประกอบการเสียภาษี และใช้ในการน�ำเสนอต่อที่ประชุมประจ�ำปีของผู้ถือหุ้น

ส�ำหรับการประชุมประจ�ำปีของผู้ถือหุ้นมีการด�ำเนินงาน ดังนี้
- การประชุมสามัญประจ�ำปีแรกจะต้องจัดภายใน 18 เดือน นับจากวันที่เริ่มด�ำเนินกิจการ
- การประชุมปีต่อไปต้องจัดภายในรอบระยะเวลาไม่เกิน 15 เดือน
- ในการประชุมสามัญประจ�ำปีจะมีการเลือกตั้งผู้อ�ำนวยการบริษัทแต่งตั้งผู้ตรวจสอบงบการเงิน และการ
ตรวจสอบทางการเงิน
- งบการเงินและรายงานของผู้อ�ำนวยการต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นภายใน 21 วัน นับจากวันประชุม
สามัญประจ�ำปี
- ต้องมีการยื่นรายงานประจ�ำปีไปยัง ส�ำนักงานทะเบียนบริษัท (Company Registration Office: CRO)
ที่ย่างกุ้ง หรือเนปิดอว์ ในรายงานต้องมีข้อมูล วันที่ประชุม ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถือหุ้น รายชื่อกรรมการ โครงสร้างเงินทุน
ของบริษัท

ข้อควรรู้เกี่ยวกับสภาการบัญชีและมาตรฐานการบัญชีเมียนมา
สภาการบัญชี แห่งเมียนมา (The Myanmar Accountancy Council: MAC) เป็นหน่วยงานที่ออกใบอนุญาต
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (Practicing Accounting: PA) โดยสถาบันผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (Myanmar Institute of
Certified Public Accountants: MICPA) ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของ MAC ท�ำหน้าที่ดูแลผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
ผู้ที่จะเป็นผู้สอบบัญชีอนุญาตจ�ำกัดให้เฉพาะชาวเมียนมาเท่านั้น ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตสามารถลงนามรับรองใน
รายงานประจ�ำปี
เมียนมาใช้มาตรฐานการบัญชีเมียนมา (Myanmar Accounting Standards: MAS) และมาตรฐานรายงาน
ทางการเงินเมียนมา (Myanmar Financial Reporting Standards: MFRS) ที่อ้างอิงจากมาตรฐานรายงานทางการเงิน
ระหว่างประเทศ (international Financial Reporting Standards IFRS) ฉบับปี 2010 ยกเว้นมาตรฐานต่อไปนี้:
• IFRS 9: เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instruments)
• IFRS 10: กาจัดท�ำงบการเงินรวม (Consolidated Financial Statements)
• IFRS 11: Joint Arrangements Myanmar Business Guide 23
• IFRS 12 เปิดเผยผลประโยชน์ในหน่วยงานอื่นๆ
• IFRS 13: การวัดมูลค่ายุติธรรม (Fair Value Measurement)

นอกจากนี้ ยังมีการยอมรับและการน�ำมาปฏิบัติในการตีความมาตรฐานการบัญชี (The Standing Interpre


tations Committee: SICs) และการตีความตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ตาม IFRIC (International
Financial Reporting Interpretations Committee: IFRI

70
71
ข้อมูลการลงทุน
เมียนมามีการประกาศบังคับใช้กฎหมาย (Law) 6. พัฒนาการผลิตโดยเทคโนโลยีชั้นสูง
พระราชบัญญัติ (Act) กฎเกณฑ์ (Rule) ระเบียบ 7. สนับสนุนการผลิตและการให้บริการที่จ�ำเป็น
ปฏิบัติ (Regulation) และข้อตกลง (Agreement) ต้องใช้เงินลงทุนจ�ำนวนมาก
จ� ำ นวนมากที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การลงทุ น ของต่ า งชาติ 8. การพัฒนาอุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานต�่ำ
การลงทุนในแต่ละธุรกิจก็จะเกี่ยวข้องกับกฎหมาย 9. การพัฒนาท้องถิ่น
หรือกฎระเบียบที่แตกต่างกัน นักธุรกิจไทยที่จะไป 10. การหาแหล่งพลังงานใหม่และการใช้พลังงาน
ลงทุ น ในเมี ย นมาจะต้ อ งศึ ก ษาในรายละเอี ย ดเป็ น ที่สามารถน�ำกลับมาใช้
รายกรณี แต่กฎหมายพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับนักลงทุน 11. พัฒนาอุตสาหกรรมสมัยใหม่
ต่างชาติ คือ กฎหมายการลงทุนต่างชาติ ปี 2555 (My- 12. การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
anmar Foreign Investment Law 2012: MFIL) 13. แบ่งปันข้อมูลและเทคโนโลยี
14. สร้างความมั่นใจในความมั่นคงและการรักษา
1. กฎหมาย กฎระเบียบการลงทุน ความปลอดภัยของประเทศและประชาชน
ตามกฎหมายการลงทุนต่างชาติ 2012 จะบังคับ 15. พัฒนาความรู้และทักษะของประชาชน
ใช้กับธุรกิจตามประกาศของคณะกรรมการลงทุน (My- 16. การพัฒนาธนาคารและบริการทางการเงิน
anmar Investment Commission: MIC) โดยคณะ อื่นตามบรรทัดฐานระหว่างประเทศ
กรรมการลงทุน (MIC) เป็นองค์กรบริหารการลงทุนจาก 17. การสร้างบริการที่จ�ำเป็นเพื่อประชาชน
ต่างประเทศ ที่จัดตั้งภายใต้กฎหมายการลงทุนต่างชาติ 18. ให้ความมั่นใจในความเพียงพอของพลังงาน
มีอ�ำนาจในการตรวจสอบข้อเสนอโครงการ พิจารณา และทรัพยากรของประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว
อนุมัติโครงการ ให้สิทธิพิเศษ อนุมัติขยายโครงการ
ปรับปรุงโครงการ และเพิกถอนโครงการ 1.2 ธุรกิจที่ถูกจ�ำกัด และธุรกิจต้องห้าม (restricted
กฎหมายการลงทุนต่างชาติ 2012 ได้จ�ำแนก business or barred business) ได้แก่
ธุรกิจออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริม 1. ธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ วั ฒ นธรรมและ
การลงทุน และ 2. ธุรกิจที่ถูกจ�ำกัด และธุรกิจต้องห้าม ประเพณีของประเทศ
ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 2. ธุรกิจที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน
3. ธุรกิจที่เป็นอันตรายต่อสภาพแวดล้อมและ
1.1 ธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ระบบนิเวศ
ธุรกิจที่จะได้รับการพิจารณาอนุมัติ ต้องเป็นธุรกิจ 4. อุตสาหกรรมที่เป็นอันตรายหรือเป็นพิษต่อ
ที่เป็นไปตามหลักการต่อไปนี้ ชุมชน
1. การให้การสนับสนุนทางการเงินและเทคโนโลยี 5. การใช้หรืออุตสาหกรรมการผลิตสารเคมีที่เป็น
เพื่อตอบสนองเป้าหมายของโครงการพัฒนาแห่งชาติ อันตรายตามบรรทัดฐานระหว่างประเทศ
2. การสร้างโอกาสในการท�ำงานให้กบั ชาวเมียนมา 6. ธุรกิจที่สงวนไว้ส�ำหรับธุรกิจของชาวเมียนมา
3. พัฒนาอุตสาหกรรมส่งออก ตามกฎหมาย
4. การผลิตผลิตภัณฑ์ขั้นพื้นฐานเพื่อลดการ 7. อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยียาหรืออุปกรณ์
น�ำเข้า ที่อยู่ในขั้นตอนการทดสอบ ยังไม่ได้รับการรับรองความ
5. การผลิตสินค้าที่จ�ำเป็นต้องใช้เงินลงทุน ปลอดภัย
จ�ำนวนมาก 8. การเพาะปลูกพืช สัตว์ และการประมงน�้ำเค็ม
ที่กฎหมายสงวนไว้เฉพาะส�ำหรับชาวเมียนมา

72
9. การลงทุนในโครงการใดๆ ภายใน 10 ไมล์ ก�ำหนดสัดส่วนขั้นต�่ำของเงินร่วมลงทุนระหว่างนักลงทุน
จากชายแดนของประเทศ ยกเว้นจากโซนธุรกิจที่ได้รับ ต่างชาติกับนักลงทุนเมียนมา
อนุญาตจากรัฐบาล 3. กิจการที่ด�ำเนินกิจกรรมทางธุรกิจโดยมีข้อ
ธุรกิจที่กล่าวมาจะได้รับอนุญาตให้ลงทุนได้ ตกลงร่วมกันทั้งสองฝ่ายต้องท�ำระบบร่วมกันรวมถึง
เฉพาะในกรณีที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐบาล เนื่องจาก ระบบต่างๆ เช่น Build, Operate and Transfer (BOT)
เห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อประเทศและประชาชน Build-Transfer-Operate (BTO) หรือระบบอื่นๆ
ส่ ว นธุ ร กิ จ ที่ ก ารลงทุ น มี ผ ลต่ อ ความมั่ น คง
เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอย่างมาก จะต้องยื่น รูปแบบองค์กรธุรกิจ
ขออนุมัติรัฐสภาผ่านรัฐบาล การจัดตั้งธุรกิจของนักลงทุนต่างชาติสามารถจัด
เป็นนิติบุคคลได้หลายรูปแบบ ได้แก่ ห้างหุ้นส่วน บริษัท
นอกจากนี้ MIC ได้ออกประกาศอีก 3 ฉบับ คือ จ�ำกัด สาขาและส�ำนักงานตัวแทนบริษัทต่างชาติ หรือ
1. การจ�ำแนกประเภทของกิจกรรมเศรษฐกิจ องค์กรไม่ค้าก�ำไร รูปแบบองค์กรที่นักลงทุนต่างชาตินิยม
ตามประกาศที่ 49/2014 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2554 ได้แก่
โดยจ� ำ แนกประเภทของกิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ 4 1. บริษัทจ�ำกัด
ประเภท คือ เป็นองค์กรธุรกิจที่ก�ำหนดให้ผู้ถือหุ้นต้องมี
1.1 กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ถูกจ�ำกัดหรือ ความรับผิดชอบในกิจการของบริษทั เท่ากับจ�ำนวนหุน้ ทีต่ น
ต้องห้าม ถืออยู่เท่านั้น ตากกฎหมายบริษัทจ�ำกัดจ�ำแนกเป็น
1.2 กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ร่วมทุนกับชาว 2 ประเภท คือ
เมียนมา 1. บริษัทเอกชนจ�ำกัด (private limited
1.3 กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต้องได้รับอนุญาต liability company) คือ บริษัทที่กฎหมายมีการห้าม
ตามเงื่อนไขที่ก�ำหนด การโอนหุ้นและต้องมีผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 2 ราย และ
1.4 กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต้องขออนุญาต ไม่เกิน 50 ราย
ภายใต้ เ งื่ อ นไขอื่ น ๆ ที่ จ� ำ เป็ น และต้ อ งเป็ น กิ จ การ 2. บริษัทมหาชนจ�ำกัด (public limited liabiity
ร่วมลงทุน company) ต้องมีจ�ำนวนผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 7 ราย
2. ก�ำหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต้องวิเคราะห์ โดยสามารถเสนอขายหุ้นแก่สาธารณชนได้
ผลกระทบของสิ่งแวดล้อม ตามประกาศ 50/2014 เมื่อ 2. สาขาของบริษัทต่างชาติ
วันที่ 14 สิงหาคม 2554 นักลงทุนต่างชาติสามารถขออนุญาตจัดตั้ง
3. ก�ำหนดประเภทของกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่ได้ สาขาบริษัทภายใต้กฎหมายว่าด้วยบริษัทของเมียนมา
มีสิทธิ์ได้รับการยกเว้นภาษีการค้า ภาษีศุลกากรประกาศ (Myanmar Company Act : CA) เท่านั้น ท�ำให้
51/2014 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2554 ไม่สามารถขอรับสิทธิพิเศษทางการลงทุนภายใต้กฎหมาย
การลงทุนต่างชาติได้
(ดูรายละเอียดได้ในภาคผนวก ประกาศ 49/2014 3. ส�ำนักงานตัวแทนของบริษัทต่างชาติ
ประกาศ 50/2014 และประกาศ 51/2014 เมื่อ วันที่ 14
สิงหาคม 2554) บริษัทต่างชาติสามารถขออนุญาตตั้งส�ำนักงาน
ตัวแทนในเมียนมาได้ ส่วนใหญ่จะเห็นได้ในกรณีของ
รูปแบบของการลงทุนมี 3 รูปแบบ คือ ธนาคารต่างๆ จัดตั้งส�ำนักงานตัวแทนในเมียนมา
1. กิจการที่ลงทุนโดยต่างชาติถือหุ้น 100% ส�ำนักงานตัวแทนมีขอบเขตด�ำเนินการได้เพียงประสานงาน
2. กิจการที่ร่วมทุนกับเอกชนเมียนมา (Joint กับส�ำนักงานใหญ่ไม่สามารถประกอบกิจกรรมที่เกี่ยวกับ
Venture) หน่วยงานราชการ หรือองค์การต่างๆ ไม่มีการ การค้า หรือกิจกรรมที่ท�ำให้เกิดรายได้

73
ตาม Myanmar Company Act ก�ำหนดให้ รับใบอนุญาตจาก MIC แล้ว นักลงทุนจะจัดตั้งธุรกิจได้
บริษัทต่างชาติ ไม่ว่าจะเป็นของต่างชาติ 100% หรือ หลังจากด�ำเนินการติดต่อกับหน่วยงานอื่นของรัฐตาม
ร่วมทุนหรือสาขา/ส�ำนักงานตัวแทนหลังจากที่มีการ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับเรียบร้อย
จดทะเบียนบริษัทแล้ว จะต้องมีการขอรับใบรับรอง
การประกอบธุรกิจ (Certificate of Commencement เกณฑ์การประเมินข้อเสนอการลงทุน
of Business) เพื่อที่จะเริ่มด�ำเนินกิจการยกเว้นกรณีการ MIC ประเมินข้อเสนอการลงทุนโดยใช้เกณฑ์การ
ร่วมทุนกับรัฐภายใต้ The Special Company Act ประเมินดังนี้
1950 ไม่จ�ำเป็นต้องมีใบรับรองการประกอบธุรกิจ 1. เป็นกิจการที่สอดคล้องกับนโยบายที่ก�ำหนด
(Certificate of Commencement of Business) ไว้ในกฎหมายการลงทุนต่างประเทศ
2. มีความน่าเชื่อถือทางการเงิน
เงินลงทุนขั้นต�่ำ 3. เป็นกิจการที่มีความมั่นคง และสอดคล้องกับ
ภายใต้กฎหมายการลงทุนต่างชาติ (MFIL) กฎหมายที่มีอยู่
ไม่ได้ก�ำหนดเงินลงทุนขั้นต�่ำไว้ชัดเจน มีเพียงการกล่าวว่า
จ�ำนวนเงินลงทุนขั้นต�่ำจะแตกต่างกันไปตามลักษณะของ การท�ำประกัน
แต่ละอุตสาหกรรมที่ลงทุนโดยคณะกรรมการ MIC อาจ นักลงทุนสามารถท�ำการประกันภัยชนิดต่างๆ
จะก�ำหนดเงินลงทุนขั้นต�่ำโดยความเห็นชอบของรัฐบาล ตามที่กฎหมายก�ำหนดกับบริษัทประกันภัยใดก็ได้ที่
แม้ว่ากฎหมายการลงทุนต่างประเทศ (MFIL) ได้รับอนุญาตจากรัฐบาล
จะไม่ได้มีการก�ำหนดเงินลงทุนขั้นต�่ำไว้ชัดเจน แต่ใน
กฎหมายบริษัทของเมียนมา (Myanmar Company การจ้างงาน
ACT: CA) มีการก�ำหนดเงินลงทุนขั้นต�ำ่ ส�ำหรับบริษัท ตามกฎหมายการลงทุนต่างชาติ ปี 2555 งาน
ต่างประเทศและสาขาบริษัทต่างประเทศ ดังต่อไปนี้: ระดั บ ที่ ใ ช้ แ รงงานฝี มื อ (Skill Labor) พนั ก งาน
• กิจการที่ด�ำเนินการด้านอุตสาหกรรมโรงแรม ช่างเทคนิค ก�ำหนดให้จ้างชาวเมียนมาอย่างน้อย 25%
และการก่อสร้าง เงินทุนขั้นต�่ำ 150,000 เหรียญสหรัฐ ในช่วง 2 ปีแรก เพิ่มเป็น 50% ในปีที่ 3-4 และ 75%
• กิจการที่ด�ำเนินการด้านบริการการเดินทางและ ในปีที่ 5-6 ส่วนงานที่ใช้แรงงานทั่วไปต้องจ้างแรงงานชาย
ท่องเที่ยว ส�ำนักงานตัวแทนธนาคารและการประกันภัย ชาวเมียนมาเท่านั้น
เงินลงทุนขั้นต�่ำ 50,000 เหรียญสหรัฐ
สิทธิประโยชน์
สัดส่วนการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติ ภายใต้กฎหมายการลงทุนต่างประเทศ ซึ่งมีจุด
ในกรณีที่เป็นการร่วมลงทุน สัดส่วนการลงทุน ประสงค์ในการส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ กิจการ
ของนักลงทุนต่างชาติกับชาวเมียนมาเป็นไปตามข้อตกลง ที่ได้รับใบอนุญาตจาก MIC ได้ยกเว้นหรือลดหย่อนภาษี
ของทั้งสองฝ่าย ดังนี้
1. กิจการที่ผลิตสินค้าและบริการ จะได้รับการ
การอนุมัติลงทุน ยกเว้นภาษีรายได้เป็นเวลา 5 ปีติดต่อกัน เริ่มจากปีที่
นักลงทุนยื่นข้อเสนอโครงการลงทุนและเอกสาร จัดตั้งกิจการ ในกรณี MIC พิจารณาว่าเป็นกิจการที่เป็น
อื่นๆ ตามข้อก�ำหนด MIC จะพิจารณาตรวจสอบเอกสาร ประโยชน์ต่อประเทศ อาจจะขยายเวลาการยกเว้นภาษี
และแจ้งการรับหรือปฏิเสธเอกสารภายใน 15 วัน รายได้ต่อไปตามความเหมาะสม
ในกรณีที่รับข้อเสนอโครงการลงทุน MIC จะด�ำเนินการ 2. ให้ยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีรายได้จากการได้
พิจารณาข้อเสนอโครงการลงทุน ภายใน 90 วัน เมื่อได้ ก�ำไรมาลงทุนใหม่เป็นเวลา 1 ปี

74
3. ให้สิทธิที่จะเร่งตัดค่าเสื่อมราคาของเครื่องจักร การรับประกันการลงทุน
อุปกรณ์อาคาร หรือทรัพย์สินเงินทุนอื่นๆ ที่ใช้ในการ 1. รัฐบาลรับประกันว่าจะไม่มีการยึดธุรกิจที่ได้
ด�ำเนินธุรกิจ รับอนุญาตให้ด�ำเนินกิจการเป็นของรัฐ
4. กิจการที่ผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก จะได้รับ 2. รัฐบาลรับประกันว่าจะไม่มีการบังคับให้ธุรกิจ
ลดหย่อนภาษีรายได้สูงสุดร้อยละ 50 ของผลก�ำไรจาก ที่ได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินกิจการต้องปิดกิจการ
การส่งออก 3. รัฐบาลรับประกันว่านักลงทุนต่างชาติสามารถ
5. พนักงานชาวต่างชาติมีสิทธิที่จะเสียภาษี ถอนเงินลงทุนที่เป็นสกุลเดียวที่น�ำมาลงทุนกลับประเทศ
รายได้ในอัตราเดียวกับชาวเมียนมา ตนเองได้ เมื่อครบก�ำหนดอายุสัญญาการลงทุน
6. สิทธิที่จะหักค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนา
ที่เกิดขึ้นในเมียนมาและเกี่ยวข้องกับองค์กรจากเงินได้ สิทธิการใช้ที่ดิน
พึงประเมิน ตามกฎหมายการลงทุนต่างชาติ ก�ำหนดให้นัก
7. สิทธิที่จะยกยอดผลประกอบการที่ขาดทุนไป ลงทุนต่างชาติสามารถเช่าที่ดินได้เป็นเวลาสูงสุด 50 ปี
รวมกับผลประกอบการในปีต่อๆ ไปได้ไม่เกิน 3 ปี และสามารถเช่าต่อได้อีก 2 ครั้ง ครั้งละ 10 ปี
นับจากปีที่ขาดทุน
8. ได้รับการยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีศุลกากร สิทธิในการโอนเงินตราต่างประเทศ
หรือภาษีอื่นๆ จากการน�ำเข้าเครื่องจักร อุปกรณ์เครื่องมือ เงิ น ตราต่ า งประเทศที่ นั ก ลงทุ น น� ำ เข้ า มา
ชิ้นส่วนเครื่องจักรอะไหล่และวัสดุที่ใช้ในช่วงด�ำเนินการ ลงทุ น จะมี ก ารลงทะเบี ย นในนามของนั ก ลงทุ น ใน
ก่อสร้าง ช่วงที่ธุรกิจสิ้นสุดลง นักลงทุนสามารถถอนเงินดัง
9. การได้รับการยกเว้นหรือลดหย่อนภาษี กล่าวและส่งกลับประเทศตนได้ภายในเวลาที่ก�ำหนด
ศุลกากรหรือภาษีอื่นๆ จากวัตถุดิบน�ำเข้าเพื่อการผลิต นอกจากนี้ ยังมีสิทธิส่งก�ำไรสุทธิ (หลังจากหักค่าใช้
เชิงพาณิชย์ในช่วง 3 ปีแรก จ่าย ภาษี และเงินส�ำรองต่างๆ) รายได้จากการท�ำงาน
10. กรณีที่มีการเพิ่มขนาดการลงทุนตามที่ได้รับ (ค่าใช้จ่ายในการด�ำรงชีพของนักลงทุนและครอบครัว
อนุมัติจาก MIC อุปกรณ์เครื่องจักร ชิ้นส่วนเครื่องจักร แล้ว) ของนักลงทุนและพนักงานต่างชาติกลับประเทศ
อะไหล่และวัสดุ ที่จะต้องใช้จากการเพิ่มขนาดการลงทุน ตนได้
ดังกล่าว จะได้รับการยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีศุลกากร
และภาษีอื่นๆ บทลงโทษ
11. การผลิตสินค้าเพื่อการส่งออกจะได้รับการ กรณีที่นักลงทุนต่างชาติกระท�ำการผิดหรือ
ยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีการค้า ขัดต่อกฎหมายนี้ กฎหมายอื่นๆ ระเบียบหรือค�ำสั่ง
จะถูกลงโทษตามระดับความผิด ได้แก่
นอกจากการลงทุนภายใต้กฎหมายการลงทุน - การตักเตือน
ต่างชาติ (MFIL) เมียนมายังให้สทิ ธิประโยชน์ดา้ นการลงทุน - ระงับสิทธิพิเศษชั่วคราว
ภายใต้กฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ1/2014 (Myanmar - เพิกถอนใบอนุญาตลงทุน และ
Special Economic Zone Law, Law No. 1/2014) - บัญชีด�ำนักลงทุนรายนั้น
ซึ่งบังคับใช้กับพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษในเมียนมา (โดย
ยกเลิกกฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ 8/2011 (Myanmar การจดทะเบียนและขั้นตอนการอนุมัติลงทุน
Special Economic Zone Law, Law No. 8/2011) การลงทุนในเมียนมาภายใต้กฎหมายการลงทุน
และกฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (Dawei Special ต่างชาติ (MFIL) นักลงทุนต่างชาติจะต้องขออนุมัติการ
Economic Zone Law: DSEZ, 2011)) ลงทุนและจดทะเบียนธุรกิจ โดยมีขั้นตอนดังนี้

75
• ขอใบอนุญาตลงทุนจากคณะกรรมการการลงทุน 14.) ปริมาณและมูลค่าสินค้าที่จะขายในประเทศ
(MIC Permit) และขอใบอนุญาตทางธุรกิจ (Trade Permit) และต่างประเทศต่อปี
จากคณะกรรมการด้ า นการลงทุ น และการบริ ห าร 15.) ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการ
บริษัท (Directorate Registration Office: DICA) 16.) แผนการป้องกันและอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมตาม
• ขอขึ้นทะเบียนธุรกิจกับส�ำนักงานทะเบียน กฎหมายปัจจุบัน
บริษัท (Companies Registration Office: CRO) 17.) รูปแบบขององค์กรที่ตั้งใจจัดตั้งในสหภาพ
ส�ำหรับการลงทุนดังกล่าว
ขั้นตอนการจดทะเบียนและขั้นตอนการอนุมัติลงทุน 18.) ในกรณีของห้างหุ้นส่วน ร่างข้อตกลง
1. นักลงทุนเตรียมเอกสารเพื่อยื่นขออนุมัติการ ห้างหุ้นส่วน อัตราส่วนและจ�ำนวนเงินลงทุน
ลงทุนต่อคณะกรรมการลงทุน (MIC) ได้แก่ ใน Proposal โดยแต่ละหุ้นส่วนอัตราส่วนการแบ่งก�ำไร
Form (1) และสัญญาเช่าที่ดิน ข้อมูลที่จะต้องกรอกใน และสิทธิและความรับผิดชอบของหุ้นส่วน
Proposal Form (1) ประกอบด้วย 19.) ในกรณีของบริษัทจ�ำกัด ร่างสัญญาร่าง
1.) ชื่อผู้ก่อตั้งหรือผู้ลงทุน หลักฐานการถือ หนังสือบริคณฑ์สนธิและข้อบังคับ บริษัททุน
สัญชาติ ทีอ่ ยูส่ ถานทีป่ ระกอบการค้า ทีต่ งั้ จดทะเบียน ชนิดของหุ้น และจ�ำนวนหุ้นที่จะ
ส�ำนักงานใหญ่ สถานที่จดทะเบียนบริษัท จัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้น
ประเภท 20.) ชื่อสัญชาติ ที่อยู่ และต�ำแหน่งของผู้บริหาร
2.) หากการลงทุนอยู่ในรูปแบบการร่วมทุนต้อง องค์กรส�ำหรับการลงทุนดังกล่าว
มีรายละเอียดของผู้ร่วมทุนตามข้อ 1 ด้วย 21.) เงินทุนทั้งหมดขององค์กรส�ำหรับการลงทุน
3.) หลักฐานสนับสนุน ตามข้อ 1 และ ข้อ 2 นั้นอัตราส่วนเงินลงทุนในประเทศและ
4.) หลักฐานทางการค้าและการเงินของผู้ก่อตั้ง ต่างประเทศ จ�ำนวนเงินลงทุนต่างชาติที่
หรือผู้ร่วมลงทุน จะน�ำเข้ามาในสหภาพทั้งหมด มูลค่าของ
5.) รายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมการผลิตและ เงินลงทุนต่างชาติประเภทต่างๆ และระยะ
บริการของการลงทุนนั้น เวลาที่จะน�ำเงินทุนจากต่างประเทศเข้ามา
6.) ระยะเวลาในการลงทุน เวลาที่ใช้ในการ
ก่อสร้าง 2. ยื่นเสนอขออนุมัติการลงทุนต่อ Myanmar
7.) สถานที่ที่ตั้งใจท�ำการลงทุน Investment Commission (MIC) หากเป็นการลงทุน
8.) เทคนิคและระบบที่จะใช้ในการผลิตและ ที่เสนอใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลักและเกี่ยวข้อง
การขาย กับกฎหมาย State-owned Enterprises Law ค�ำขอ
9.) ชนิดและหน่วยของพลังงานที่ใช้ อนุญาตต้องถูกยื่นต่อคณะกรรมการผ่านกระทรวงที่
10.) ปริ ม าณและมู ล ค่ า ของเครื่ อ งจั ก รหลั ก เกี่ยวข้อง
อุปกรณ์วัตถุดิบและวัสดุใกล้เคียงที่จ�ำเป็น 3. กรณีได้รับการอนุมัตินำ� ใบอนุมัติการลงทุน
ต้องใช้ในช่วงก่อสร้าง (MIC Permit) ไปขอใบอนุญาตทาการค้า (Permit to
11.) ประเภทและพื้นที่ของที่ดินที่ต้องการ trade) จากคณะกรรมการด้านการลงทุนและการบริหาร
12.) ปริมาณและมูลค่าของการผลิตและการ บริษัท (Directorate Registration Office: DICA)
บริการต่อปี เพื่อใช้ในการจดทะเบียนบริษัท
13.) ความต้องการเงินตราต่างประเทศต่อปีเพื่อ 4. น�ำใบอนุญาตทางการค้าไปจดทะเบียนจัดตั้ง
ด�ำเนินธุรกิจและประมาณการรายได้ในรูป บริษัทกับ Companies Registration Office (CRO)
ของเงินตราต่างประเทศต่อปี

76
สัญญาเช่าที่ดิน
กรณีที่เป็นที่ดินของรัฐ
ตรวจสอบ โดยส�ำนักงาน
อัยการของเมียนมา
เตรียมเอกสารเพื่อ
ยื่นขออนุมัติการลงทุน กระทรวงที่เกี่ยวข้อง
Proposal Form (1) (เฉพาะการลงทุนที่เสนอใช้
รายงานการประเมิน ทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเกี่ยวข้องกับกฎหมาย
และสังคม เฉพาะกรณี State-owned )
การลงทุนขนาดใหญ่ Enterprises Law)
ยื่นเสนอขออนุมัติ
การลงทุนต่อ
Myanmar Investment
Commission (MIC)
ข้อเสนอแนะ
จากกระทรวง/หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง**

พิจารณาข้อเสนอ
**กรณี ที่ เ ป็ น กิ จ กรรม และเอกสาร
ทางเศรษฐกิจทีม่ เี งือ่ นไขให้ได้รบั
ข้ อ เสนอแนะจากกระทรวง/
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ใบอนุญาตทางธุรกิจ
ออกใบอนุญาตลงทุน (Trade Permit) จากคณะ
(MIC Permit) กรรมการด้านการลงทุนและ
การบริหารบริษัท (DICA)

ขอจดทะเบียนบริษัท
กับ ส�ำนักงานทะเบียนบริษัท
(CRO)

สิทธิประโยชน์การคุ้มครองการลงทุนระบบภาษี

77
2. ที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ พนักงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดเตรียมเอกสารบันทึก
ที่ดิน : นักลงทุนต่างชาติ : เช่าได้แต่ซื้อไม่ได้ หมู่บ้าน หรือ
ตามรัฐธรรมนูญของเมียนมา ปี 2551 ก�ำหนดว่า 4. เอกสารซึ่งเป็นหลักฐานการโอนที่ดิน หรือส่วน
ที่ดินเป็นทรัพย์สินของรัฐบาล ชาวเมียนมามีกรรมสิทธิ์ ได้เสียในที่ดินในนามของรัฐบาล
ในการถือครองที่ดิน ตามพระราชบัญญัติที่ดินเพื่อ
การเกษตร ให้สิทธิชาวเมียนมาในการใช้ท่ีดิน ขาย โอน 3. นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
เปลี่ยนมือ และเช่าที่ดินได้ นโยบายการจัดการสิ่งแวดล้อมในเมียนมาส่วน
นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ไ ม่ ส ามารถซื้ อ ที่ ดิ น และ ใหญ่เป็นการด�ำเนินการตามกฎหมาย กฎระเบียบของ
อสังหาริมทรัพย์ได้ แต่มีกฎหมาย “Transfer of Im- กระทรวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะ
movable Property Restriction Law (1987)” อย่างยิ่ง กระทรวงป่าไม้ ในปัจจุบันมีกฎหมายจ�ำนวน
อนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติ สามารถเช่าที่ดินจากเอกชน หลายฉบับที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่เน้นเรื่อง
หรือชาวเมียนมาได้ ไม่เกินคราวละ 1 ปี กรณีที่นักลงทุน การป้องกันมากกว่าการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เมื่อเดือน
ต่างชาติลงทุนภายใต้กฎหมายการลงทุนต่างชาติ (MFFI กุมภาพันธ์ 2533 รัฐบาลเมียนมามอบหมายให้คณะ
2012) สามารถเช่าที่ดินเป็นระยะเวลา 50 ปี และสามารถ กรรมการฝ่ายสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (The National
ต่อสัญญาได้ 2 ครั้ง ครั้งละ 10 ปี ขึ้นอยู่กับการพิจารณา Committee for Environment Affairs : NCEA)
ของ MIC และรัฐบาล รับผิดชอบการจัดการทรัพยากรน�้ำและสิ่งแวดล้อม
อสังหาริมทรัพย์ : นักลงทุนต่างชาติเช่าได้ และประสานงานกิจการด้านสิ่งแวดล้อมกับหน่วยงาน
และกระทรวงต่างๆ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน
การจดทะเบียนสัญญาการเช่า กฎหมายที่จัดการด้านสิ่งแวดล้อมของเมียนมา
การเช่าอสังหาริมทรัพย์ในเมียนมา ก�ำหนดให้เช่า เป็นกฎหมายที่กว้างเกินไป ยังไม่มีกฎหมายเฉพาะใน
อสังหาริมทรัพย์แบบปีต่อปี หรือมีระยะเวลารวมกันเกิน การควบคุมมลพิษทางอากาศและน�้ำ เช่น กฎหมายป่าไม้
1 ปี จะต้องมีการน�ำสัญญาเช่า หรือสัญญาจองเช่าไปจด กฎหมายการอนุรักษ์สัตว์ป่าและพื้นที่อนุรักษ์ กฎหมาย
ทะเบียนที่ Office of the Registration of Deeeds เหมืองแร่ ท�ำให้ไม่สามารถจะจัดการกับปัญหาการจัดการ
ภายใน 4 เดือน นับจากวันที่สัญญามีผลบังคับใช้ หากเลย ด้านสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อนได้ แต่อย่างไรก็ตาม ปัจจุบัน
ก�ำหนด นายทะเบียนอาจบังคับให้มีการจดทะเบียนโดยมี เมียนมามีมาตรการเกีย่ วกับสภาพแวดล้อมด้านสุขอนามัย
ค่าปรับไม่เกิน 10 เท่าของค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน เช่น การก�ำจัดขยะ การใช้น�้ำส�ำหรับดื่มและใช้ใน
ยกเว้น ในกรณีการจดทะเบียนเอกสารหรือ วัตถุประสงค์อื่นๆ ที่ด�ำเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข
แผนที่ ดังต่อไปนี้ ส�ำหรับการลงทุนจากต่างชาติ กฎหมายการ
1. เอกสารซึ่งออก ได้รับ หรือรับรอง โดยเจ้า ลงทุนต่างชาติ (MFIL) ระบุไว้ในรายการที่ห้ามไม่ให้
พนักงานที่เกี่ยวข้องในการช�ำระหรือทบทวนการช�ำระ ต่างชาติเข้ามาลงทุน (Negative List) ซึ่งครอบคลุมธุรกิจที่
รายได้จากที่ดิน ซึ่งได้มีการลงบันทึก มีผลกระทบต่อวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี
2. เอกสารและแผนที่ซึ่งออก ได้รับ หรือรับรอง ของชาวเมียนมา และสาธารณสุข ธุรกิจที่เป็นการท�ำลาย
โดยเจ้าพนักงานที่เกี่ยวข้องในการท�ำหรือทบทวนการ สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศพิเศษ การน�ำเข้าเศษวัสดุ
ส�ำรวจที่ดิน ซึ่งได้มีการลงบันทึกไว้ ที่เป็นพิษ การผลิต/ใช้เคมีภัณฑ์ที่เป็นพิษ และการน�ำ
3. เอกสารซึ่งตามกฎหมายต้องถูกจัดเก็บเป็น เข้าเทคโนโลยี ยา และเครื่องมือที่ไม่ได้รับการรับรอง
ระยะเวลาตามก�ำหนด ในส�ำนักงานรายได้โดยเจ้า ในการใช้

78
ภาคผนวก
ประกาศ 49/2014 (Notification 49/2014) เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2554
MIC ได้การจ�ำแนกประเภทของกิจกรรมเศรษฐกิจตามประกาศ 49/2014 เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2554
โดยจ�ำแนกประเภทของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 4 ประเภท คือ
1. กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ถูกจ�ำกัดหรือต้องห้าม
2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ร่วมลงทุนกับชาวเมียนมา
3. กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต้องได้รับอนุญาตตามเงื่อนไขที่ก�ำหนด
4. กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต้องขออนุญาตภายใต้เงื่อนไขอื่นๆ ที่จ�ำเป็นและต้องเป็นกิจการร่วมลงทุน

มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ถูกจ�ำกัดหรือต้องห้าม ได้แก่
1. การผลิตสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้องของอาวุธและกระสุนส�ำหรับการป้องกันประเทศ
2. การจัดการป่าธรรมชาติ
3. การส�ำรวจและผลิตหยก อัญมณี
4. การผลิตแร่ธาตุขนาดกลางและขนาดเล็ก
5. การควบคุมก�ำกับของระบบพลังงานไฟฟ้า
6. การตรวจสอบการท�ำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า
7. ให้บริการการน�ำร่องของการเดินอากาศ
8. การส�ำรวจแร่ธาตุทองในแม่น�้ำและทางน�้ำ
9. การน�ำร่อง
10. การเป็นเจ้าของไขว้กันระหว่างสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อบริการกระจายเสียง โดยไม่ได้รับอนุมัติจากรัฐบาล
11. วารสารในภาษาของเมียนมาภาษาของชนเผ่าต่างๆ ในเมียนมา

2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต้องร่วมลงทุนกับชาวเมียนมา ได้แก่
1. การผลิตและการจัดจ�ำหน่ายเมล็ดพันธ์ุลูกผสม
2. การผลิตและการขยายพันธุ์ของเมล็ดพันธุ์ให้ผลตอบแทนสูงและเมล็ดพืชในท้องถิ่น
3. การผลิตและการตลาดในประเทศการจัดจ�ำหน่ายและการขายผลิตภัณฑ์จากธัญพืช เช่น บิสกิต เวเฟอร์
ก๋วยเตี๋ยวทุกชนิด วุ้นเส้น และธัญพืช ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับอาหารอื่นๆ
4. การผลิตและการตลาดในประเทศของขนมทุกชนิด รวมทั้งขนมโกโก้และช็อกโกแลต
5. การถนอมอาหาร การผลิตอาหารกระป๋องและการตลาดในประเทศของผลิตภัณฑ์อาหารอื่นๆ ยกเว้นนม
และผลิตภัณฑ์นม
6. การผลิตและการตลาดของมอลต์ สุรา และผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่น�้ำอัดลม
7. กลั่น การผสม การบรรจุขวด และการตลาดของสุรา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ทุกชนิดเครื่องดื่ม
และเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์
8. การผลิตและการตลาดของน�้ำแข็งทุกชนิด
9. การผลิตน�้ำดื่มบริสุทธิ์

79
80
10. การผลิตและการตลาดของเชือกทุกชนิด
11. การผลิตและการตลาดในประเทศ กะละมัง มีด เครื่องถ้วยชามทุกชนิด
12. การผลิตและการตลาดในประเทศของเครื่องพลาสติก
13. การผลิตยางและผลิตภัณฑ์ยาง
14. บรรจุภัณฑ์
15. การฟอก ย้อม หนังสัตว์ และหนังทุกชนิด ไม่รวมหนังสังเคราะห์และการผลิตและการตลาดในประเทศ
รวมถึงรองเท้า กระเป๋า ฯลฯ
16. การผลิตและการตลาดของกระดาษทุกชนิด วัตถุดิบส�ำหรับผลิตกระดาษ ผลิตภัณฑ์จากกระดาษ รวมทั้ง
กระดาษคาร์บอน กระดาษแว็กซ์ กระดาษช�ำระ ฯลฯ
17. การผลิตและการตลาดของสารเคมีที่มาจากทรัพยากรทางธรรมชาติของประเทศ (ไม่รวมผลิตภัณฑ์
ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ)
18. การผลิตและการตลาดของของแข็ง ของเหลว เชื้อเพลิงก๊าซและละออง (Acetylene น�้ำมันเบนซินโพรเพน
สเปรย์ฉดี ผม น�ำ้ หอม ผลิตภัณฑ์ระงับกลิน่ กาย สเปรย์ฉดี แมลง) (ไม่รวมผลิตภัณฑ์ของปิโตรเลียมและก๊าซ)
19. การผลิตและการตลาดของ Oxidants (ออกซิเจน ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์) การบีบอัด (อะซีโตน อาร์กอน
ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และ Acetylene) (ไม่รวมผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ)
20. การผลิตและการตลาดของสารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกร่อน (ซัลฟูริก กรดไนตริกแอซิด)
21. การผลิตและการตลาดของอุตสาหกรรมก๊าซเคมี รวมทั้งการบีบอัดของเหลวและรูปแบบที่เป็นของแข็ง
22. การผลิตวัตถุดิบยา
23. การผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดเล็กและขนาดกลาง
24. การพัฒนาสนามกอล์ฟและรีสอร์ตตามมาตรฐานสากล
25. การพัฒนา การขาย และการเช่าอพาร์ตเมนต์ที่อยู่อาศัย/คอนโดมิเนียม
26. การพัฒนาและการขาย ของส�ำนักงาน/อาคารพาณิชย์
27. การพัฒนา การขาย และให้เช่าอพาร์ตเมนต์ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับเขตอุตสาหกรรม
28. การพัฒนาที่อยู่อาศัยที่ราคาไม่แพง (affordable housing)
29. การบริการขนส่งทางอากาศในประเทศ
30. การบริการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ

3. กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต้องได้รับอนุญาตตามเงื่อนไขที่ก�ำหนด ได้แก่
1. รายชื่อของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ได้รับอนุญาตโดยค�ำแนะน�ำของกระทรวงที่เกี่ยวข้องและต้องเป็นกิจการ
ที่ร่วมทุนกับชาวเมียนมา
1.1 กรณีที่ต้องได้รับอนุญาตกับค�ำแนะน�ำของกระทรวงปศุสัตว์ การประมง และพัฒนาชนบท
1. ผลผลิตผึ้งและผลิตภัณฑ์ผึ้ง
2. การผลิตประมงที่ใช้แหอวน
3. การก่อสร้างท่าเทียบเรือประมงและตลาดประมูลปลา
4. การวิจัยเพื่อการปศุสัตว์และการประมง (กรมประมง) งานวิจัยเกี่ยวกับการเพาะพันธุ์สัตว์และ
การประมง

81
5. กิจกรรมประมงในทะเล
6. การผลิตของผลิตภัณฑ์ประมง
7. การส่งออกและน�ำเข้าของสัตว์และผลิตภัณฑ์จากการประมงรวมทั้งปลาสด
8. การเพาะเลี้ยงปลาทะเลและกุ้ง
1.2 กรณีที่ต้องได้รับอนุญาตและค�ำแนะน�ำของกระทรวงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการป่าไม้
1. อุทยานแห่งชาติ
2. การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
3. ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการลดการปล่อยคาร์บอน
4. การปลูกป่า (รักษาและปกป้องป่าไม้และป่าสาธารณะ) ที่มีสัญญาเช่าระยะยาว
5. การน�ำเข้า การขยาย และการขายสิ่งมีชีวิตที่มีการดัดแปลงทางพันธุกรรม
6. การวิจัยทางเทคนิคและธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเพาะพันธุ์ การเพาะเลี้ยง และเพาะปลูกเมล็ดพันธุ์
เนื้อเยื่ออื่นๆ ของพืชที่มีคุณค่าและหายาก
7. การพัฒนาเทคโนโลยีชั้นสูง การวิจัยและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของภาคป่าไม้
8. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นดินของป่าไม้ที่มีจ�ำกัด
9. น�ำเข้า-ส่งออก การปรับปรุงพันธุ์ และการผลิตของพืชป่าและสัตว์ป่าเพื่อการพาณิชย์
1.3 กรณีที่ต้องได้รับอนุญาตกับค�ำแนะน�ำของกระทรวงอุตสาหกรรม
1. การผลิตและการตลาดของเครื่องดื่มประเภทที่ไม่มีแอลกอฮอล์ผสมน�้ำอัดลมและไม่เติมอากาศ
2. การผลิตผงปรุงรส
3. การผลิตยาโดยใช้สารเคมีที่ถูกควบคุม
1.4 กรณีที่ต้องได้รับอนุญาตกับค�ำแนะน�ำของกระทรวงคมนาคม
1. ขนส่งผู้โดยสารและสินค้าโดยเรือ
2. การสร้างโรงเรียน การเดินเรือ และการฝึกอบรม
3. บริการอู่เรือ
4. บริการที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งทางน�้ำ
1.5 กรณีที่ต้องได้รับอนุญาตกับค�ำแนะน�ำของกระทรวงการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. บริการไปรษณีย์ในประเทศและต่างประเทศ
1.6 กรณีที่ต้องได้รับอนุญาตกับค�ำแนะน�ำของกระทรวงสาธารณสุข
1. โรงพยาบาลเอกชน
2. บริการคลินิกเอกชน
3. บริการตรวจวินิจฉัย
4. การผลิตยาและอุปกรณ์ทางการแพทย์
5. งานวิจัยเกี่ยวกับวัคซีนและการผลิตชุดทดสอบวินิจฉัย
6. สถาบันเอกชนทางการแพทย์และสุขภาพสถาบันและโรงเรียนการฝึกอบรม
7. การค้า สมุนไพร วัตถุดิบในการผลิตยาแผนโบราณ
8. การเพาะปลูกและการผลิตสมุนไพร
9. การวิจัยและห้องปฏิบัติการการแพทย์แผนโบราณ
10. การผลิตยาแผนโบราณ

82
11. โรงพยาบาล
1.7 กรณีที่ต้องได้รับอนุญาตกับค�ำแนะน�ำของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์หรือหนังสือพิมพ์เผยแพร่ในภาษาต่างประเทศ
2. รายการวิทยุ FM
3. ธุรกิจในอุตสาหกรรมการกระจายเสียงระบบตรงไปยังบ้าน (DTH)
4. ธุรกิจในอุตสาหกรรมการกระจายเสียงที่ใช้ระบบ DVB-T2
5. ธุรกิจในอุตสาหกรรมการกระจายเสียงที่ใช้ระบบเคเบิ้ลทีวี
6. ธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตภาพยนตร์
7. ธุรกิจการแสดงภาพยนตร์

83
4. รายชื่อของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต้องขออนุญาตภายใต้เงื่อนไขอื่นๆ ที่จ�ำเป็นและต้องเป็นกิจการร่วมลงทุน

ล�ำดับ ประเภทกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เงื่อนไข


1 การก่อสร้างและการด�ำเนินการเกี่ยวกับถังเก็บท่าเรือ ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไขกระทรวงพลังงานและ
ท่อ เครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง อุปกรณ์และการก่อสร้างอาคาร ร่วมลงทุนกับกระทรวงพลังงานเท่านั้น
การน�ำเข้า การขนส่ง การจัดเก็บ และการกระจายขายนำ�้ มัน
ก๊าซธรรมชาติและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
2 การน�ำเข้า การผลิต การก่อสร้างและติดตั้งอุปกรณ์ ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไขกระทรวงพลังงานและ
อุปกรณ์เสริมและเป็นส่วนหนึ่งของการติดตั้ง ส�ำหรับการ ร่วมลงทุนกับกระทรวงพลังงานเท่านั้น
ส�ำรวจน�้ำมันและก๊าซโดยวิธีทาง Energy geologically
geophysically and geochemically
3 การน�ำเข้า การผลิต การก่อสร้างและติดตั้งอุปกรณ์ ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไขกระทรวงพลังงานและ
อุปกรณ์เสริมและเป็นส่วนหนึ่งของการติดตั้งส�ำหรับการใช้ ร่วมลงทุนกับกระทรวงพลังงานเท่านั้น
ประโยชน์จากการผลิตและการวิจัยน�้ำมันและก๊าซ
4 การน�ำเข้า การผลิต การก่อสร้างและติดตั้งอุปกรณ์ ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไขกระทรวงพลังงานและ
อุปกรณ์เสริมและเป็นส่วนหนึ่งของการติดตั้ง ส�ำหรับโครง ร่วมลงทุนกับกระทรวงพลังงานเท่านั้น
ข่ายการขนส่งและการก่อสร้างท่อน�้ำมันและก๊าซ
5 การน�ำเข้า การผลิต การก่อสร้างและติดตั้งอุปกรณ์ ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไขกระทรวงพลังงานและ
อุปกรณ์เสริมและเป็นส่วนหนึ่งของการติดตั้ง ส�ำหรับการ ร่วมลงทุนกับกระทรวงพลังงานเท่านั้น
ก่อสร้างประเภทต่างๆ ของการขุดเจาะนอกฝั่ง
6 การก่อสร้างชนิดต่างๆ ของโรงกลัน่ การบ�ำรุงรักษาการ ได้รับอนุญาตภายใต้เงื่อนไขกระทรวงพลังงานและ
ด�ำเนินการและการอัพเกรดโรงกลั่นเก่า ร่วมลงทุนกับกระทรวงพลังงานเท่านั้น
7 การผลิตบุหรี่ ใน 3 ปีแรกจะต้องใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น 50% หรือ
อย่างน้อย 50% ของวัตถุดิบที่ซื้อมาจากรายได้การ
ส่งออก ใบยาสูบของประเทศจะต้องถูกใช้ในการผลิต
การส่งออกควรจะเป็น 90% ก�ำหนดให้ตอ้ งแนบรายการ
วัตถุดบิ ทีใ่ ช้และแผนการส่งออกมากับข้อเสนอการลงทุน
และต้องได้รับค�ำแนะน�ำของกระทรวงอุตสาหกรรม
8 การผลิตและการตลาดสารเคมีท�ำระเบิด (TNT ไนโตร- ได้ รั บ อนุ ญ าตภายใต้ เ งื่ อ นไขร่ ว มทุ น กั บ รั ฐ บาล
กลีเซอรีน แอมโมเนียมไนไตรท์) ท้องถิ่น
9 การผลิตและการตลาด ของเหลวไวไฟและของแข็ง. ได้รับอนุญาตภายใต้เงื่อนไขร่วมลงทุนกับรัฐบาล
(ไทเทเนียมผง) สารปฏิกริ ยิ าในตัวเอง (โพแทสเซียมซัลไฟด์) ท้องถิ่น
ซึ่งเป็นสารที่หดตัวกับน�้ำปล่อยก๊าซไวไฟ (แคลเซียม Phos-
phide)
10 การจัดจ�ำหน่ายในตลาดในประเทศและส่งออกพืชที่มี ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไขการผลิตผลิตภัณฑ์ทมี่ ี
ความจ�ำเป็นต้องใช้วัสดุน�ำเข้าในการเพาะปลูก มูลค่าเพิ่ม อนุญาตให้ชาวต่างชาติถือหุ้นได้ถึงร้อยละ
49 อนุญาตให้ขายในท้องถิ่น/การส่งออกขึ้นอยู่กับการ
ผลิตของบริษัทร่วมลงทุนดังกล่าว ห้ามส่งออกข้าว
เปลือกทางทะเลหรือผ่านการค้าชายแดน

84
ล�ำดับ ประเภทกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เงื่อนไข
11 E-Lottery ได้รับอนุญาตภายใต้เงื่อนไขร่วมลงทุนกับรัฐบาล
และต้องได้รับข้อเสนอแนะของกระทรวงการคลัง
12 การพัฒนาเมืองบริวารใหม่ ได้รับอนุญาตภายใต้เงื่อนไขร่วมลงทุนกับรัฐบาล
และต้องได้รับข้อเสนอแนะของกระทรวงการก่อสร้าง
13 การพัฒนาชนบท ได้รับอนุญาตภายใต้เงื่อนไขร่วมลงทุนกับรัฐบาล
และต้องได้รับข้อเสนอแนะของกระทรวงการก่อสร้าง
14 การก่อสร้างทางรถไฟสายใหม่สถานีใหม่และอาคาร ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไข ได้รบั การอนุญาตจาก
ใหม่ รัฐบาลร่วมลงทุนกับวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง จ�ำเป็นต้องมี
ข้อเสนอแนะของกระทรวงการขนส่งทางรถไฟ
15 กิจการรถไฟและการบ�ำรุงรักษา ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไข ได้รบั การอนุญาตจาก
รัฐบาลร่วมลงทุนกับวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง จ�ำเป็นต้องมี
ข้อเสนอแนะของกระทรวงการขนส่งทางรถไฟ
16 การผลิตและการบ�ำรุงรักษาของรถจักร รถม้าเกวียน ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไข ได้รบั การอนุญาตจาก
และชิ้นส่วนอะไหล่ รัฐบาลร่วมลงทุนกับวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง จ�ำเป็นต้องมี
ข้อเสนอแนะของ กระทรวงการขนส่งทางรถไฟ
17 วางสายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง ก่อสร้างห้องเครื่องบน ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไข ได้รบั การอนุญาตจาก
ที่ดินของกระทรวงขนส่งทางรถไฟ รัฐบาลร่วมลงทุนกับวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง จ�ำเป็นต้องมี
ข้อเสนอแนะของกระทรวงการขนส่งทางรถไฟ
18 การใช้ทดี่ นิ และอาคารของกระทรวงการขนส่งทางรถไฟ ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไข ได้รบั การอนุญาตจาก
เพื่อการค้า รัฐบาลร่วมลงทุนกับวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง จ�ำเป็นต้องมี
ข้อเสนอแนะของกระทรวงการขนส่งทางรถไฟ
19 บริการรถยนต์ส�ำหรับผู้โดยสารและการขนส่งสินค้าใน ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไข ได้รบั การอนุญาตจาก
การด�ำเนินงานภายใต้การอนุญาตของกระทรวงการขนส่ง รัฐบาล ร่วมขนส่งกับองค์กร/แผนก/องค์กร (รัฐและภาค
ทางรถไฟ เอกชน) ที่เกี่ยวข้อง จ�ำเป็นต้องมีข้อเสนอแนะของ
กระทรวงการขนส่งทางรถไฟ
20 ตรวจสอบยานพาหนะศูนย์ฝึกอบรม การขับรถการฝึก ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไข ได้รบั การอนุญาตจาก
อบรม การซ่อมแซมและการบ�ำรุงรักษา รัฐบาล ร่วมขนส่งลงทุนกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง/แผนก/
องค์กร (รัฐและภาคเอกชน) จ�ำเป็นต้องมีข้อเสนอแนะ
ของกระทรวงการขนส่งทางรถไฟ
21 การสร้างพลังงานไฟฟ้าเพื่อใช้ในการรถไฟการท�ำงาน ได้รบั อนุญาตภายใต้เงือ่ นไข ได้รบั การอนุญาตจาก
รัฐบาลร่วมลงทุนกับแผนก/วิสาหกิจที่เกี่ยวข้องจ�ำเป็น
ต้องมีข้อเสนอแนะของกระทรวงการขนส่งทางรถไฟ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่อยู่นอกเหนือจากรายการที่ประกาศนี้ (49/2014) สามารถด�ำเนินการได้ โดยนักลงทุนต่างชาติ 100%

85
ประกาศ ที่ 50/2014 (Notification 50/2014) ในวันที่ 14 สิงหาคม 2557
MIC ได้ก�ำหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ต้องวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามประกาศ ที่ 50/2014
ในวันที่ 14 สิงหาคม 2557 ดังนี้
1. กิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวกับการท�ำเหมืองแร่และสกัดแร่ธาตุ
2. ส�ำรวจและผลิตน�้ำมันและก๊าซโรงกลั่นน�้ำมันหรือปิโตรเคมี
3. การก่อสร้างระบบชลประทานขนาดใหญ่ เขื่อนสูง และเขื่อนโครงการไฟฟ้าพลังน�้ำและอื่นๆ ที่ผลิตไฟฟ้า
สายส่ง
4. การก่อสร้างของโครงการท่อส่งน�้ำมันและก๊าซ
5. การก่อสร้างสะพานขนาดใหญ่ข้ามแม่น�้ำทางหลวงรถไฟใต้ดิน ท่าเรืออู่ต่อเรือสนามบินและ Runway
ระบบระบายน�้ำขนาดใหญ่
6. การผลิตและการประกอบอุตสาหกรรมยานยนต์ขนาดใหญ่
7. การผลิตยา สารเคมี และยาฆ่าแมลง
8. การผลิตแบตเตอรี่
9. การผลิตเยื่อกระดาษขนาดใหญ่ และการผลิตกระดาษขนาดใหญ่
10. อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มขนาดใหญ่
11. การผลิตเหล็กและแร่ธาตุ
12. ผลิตปูนซีเมนต์
13. การผลิตสุรา เบียร์
14. การผลิตปิโตรเคมี เช่น ปิโตรเลียม น�้ำมันเครื่องยนต์ ปุ๋ย แว็กซ์และเคลือบเงา
15. อุตสาหกรรมอาหารขนาดใหญ่ รวมทั้งโรงงานน�้ำตาล
16. การผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องหนังและยาง
17. การประมงขนาดใหญ่
18. อุตสาหกรรมไม้ขนาดใหญ่
19. โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่และเขตอุตสาหกรรม
20. การก่อสร้างโรงแรมขนาดใหญ่ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจและรีสอร์ต
21. ด�ำเนินการเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรม สถานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์และโดดเด่นทางภูมิศาสตร์
22. ด�ำเนินการในพื้นที่ชุ่มน�้ำ
23. ด�ำเนินการในพื้นที่ที่เปราะบางของระบบนิเวศ
24. ด�ำเนินการในสวนสาธารณะเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและพื้นที่คุ้มครอง
25. การด�ำเนินการในพื้นที่ป่าที่มีสัตว์ป่าหรือพืช สายพันธุ์ที่หายากหรือใกล้สูญพันธุ์
26. การด�ำเนินการในพื้นที่ที่มีแนวโน้มที่จะเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น รัฐยะไข่ อิรวดี เดลต้า

86
27. ด�ำเนินการในบริเวณแหล่งน�้ำสาธารณะหลักส�ำหรับการบริโภคน�้ำทะเลสาบและอ่างเก็บน�้ำ
28. ด�ำเนินการในพื้นที่รีสอร์ตและพื้นที่ใกล้กับพื้นที่ประมง หอยนางรม และฟาร์มมุก
29. การเพาะปลูกและการผลิตพืชที่มีขนาดใหญ่
30. ป่าขนาดใหญ่และสวนพืชอุตสาหกรรม

ประกาศ 51/2014 (Notification 51/2014) เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2554


MIC ได้ก�ำหนดประเภทของกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่ได้มีสิทธิ์ได้รับการยกเว้นภาษีการค้าภาษีศุลกากร
ตามประกาศ ที่ 51/201419 สิงหาคม 2014 ดังนี้

ธุรกิจการลงทุนกิจกรรมที่ไม่จ�ำเป็นที่จะให้ได้รับการยกเว้นและการบรรเทาจากภาษี
1. การผลิตสุรา เบียร์ บุหรี่ ผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกัน และบริการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
2. การขายและจ�ำหน่าย เบนซิน ดีเซล เครื่องยนต์น�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ
3. การซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาของยานพาหนะและบริการที่คล้ายกัน
4. อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีไม่สูงและเงินลงทุนขั้นต�่ำ ซึ่งชาวเมียนมาสามารถที่จะด�ำเนินการได้ (ไม่รวม
อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น)
5. การผลิตไม้ ซุง สัญญาเช่าระยะยาวในพื้นที่ป่าไม้
6. สกัด ขุดค้น ทรัพยากรธรรมชาติ (ไม่รวมการส�ำรวจและผลิตน�้ำมันและแก๊ส)
7. การก่อสร้างและการขายอาคาร
8. ให้เช่าบริการ ยานพาหนะเครื่องจักรและอุปกรณ์
9. ร้านอาหาร อาหารและเครื่องดื่ม

ส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหารที่เกี่ยวข้องกับนมและผลิตภัณฑ์นม จะไม่ได้รับการยกเว้นหรือลดหย่อนภาษี
การค้า แต่จะได้รับการยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีศุลกากร

87
88
การเลือกท�ำเลที่ตั้งในการประกอบธุรกิจ/นิคมอุตสาหกรรม
เมียนมาได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรม (MIDC) ตั้งแต่ปี 2538 เพื่อให้มีการพัฒนาของ
อุตสาหกรรม โดยใช้การเกษตรเป็นฐานการเพิ่มประสิทธิภาพของปริมาณและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม
การผลิตเครื่องจักรและอุปกรณ์ชนิดใหม่ที่เพิ่มขึ้น การผลิตเครื่องจักรและอุปกรณ์ส�ำหรับใช้ในอุตสาหกรรมและสร้าง
เงื่อนไขที่เหมาะสมในการเปลี่ยนผ่านไปเป็นประเทศอุตสาหกรรม

1. รายชื่อเขตอุตสาหกรรม เขตเศรษฐกิจพิเศษที่ส�ำคัญ
คณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรม (MIDC) ได้ก�ำหนดเขตอุตสาหกรรมตั้งแต่ในปี 2538 เพื่อเป็นการจัด
ระเบียบโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งก่อนหน้านี้โรงงานอุตสาหกรรมของภาคเอกชนตั้งอยู่ในเมืองสร้างมลพิษก่อให้เกิด
การขาดแคลนไฟฟ้าในพื้นที่ใกล้เคียงและปัญหาอื่นๆ เช่น อันตรายจากไฟไหม้ในปัจจุบันมีเขตอุตสาหกรรมทั้งสิ้น
จ�ำนวน 19 แห่ง ดังนี้

เขตอุตสาหกรรมในเมียนมา

Sr. No. MIDC State/Division Name of Zone Year of Area (acre) No. of
Industrial Zone Establishment Industries
1 Yangon Yangon Division (a) South Dagon Indus- 1992 475.354 128
East District trial Zone-1
(b) South Dagon Indus- 1992 203.784 525
trial Zone-2
(c) South Dagon Indus- 1995 35.280 371
trial Zone-3
(d) North Okkalapa 1999 109.789 115
(e) South Okkalapaa 1999 25.000 98
(f) ShwePaukkan 1992 94.640 72
(g) Thakayta 1999 200.000 82
(h) Dagon Seikkan 2000 1208.695 24
2 Yangon West Yangon Division Yangon West District N.A. N.A. N.A.
District Industrial Zone
3 Yangon North Yangon Division (a) HlaingThayar 1995 986.540 219
District (b) ShwePyithar 1990 306.976 101
4 Yangon South Yangon Division Yangon South District N.A. N.A. 1075
District Industrial Zone
5 Mandalay Mandalay Division (a) Industrial Zone-1a 1990 809.510 661
(b) Industrial Zone-2 1997 137.000 333

89
Sr. No. MIDC State/Division Name of Zone Year of Area (acre) No. of
Industrial Zone Establishment Industries
6 Myingyan Mandalay Division Myingyan Industrial N.A. 163.590 306
Zone
7 Meiktila Mandalay Division Meiktila Industrial Zone 1997 385.450 81
8 Monywa Sagaing Division Monywa Industrial 1992 296.700 490
Zone
9 Kalay Sagaing Division KalayIndustrial Zone N.A. N.A. N.A.
10 Shwebo Sagaing Division Shwebo N.A. N.A. N.A.
11 Yenangyaung Magwe Division Yenangyaung 1998 98.810 137
Industrial Zone
12 Pakokku Magwe Division Pakokku Industrial N.A. 321.000 448
Zone
13 Pyay Bago Division Pyay Industrial Zone N.A. N.A. 124
14 Pathein Pathein Division Pathein Industrial Zone 1993 N.A. 326
15 Myaungmya Pathein Division Myaungmya Industrial N.A. 101.650 58
Zone
16 Hinthada Pathein Division Hinthada Industrial N.A. N.A. 482
Zone
17 Myeik Myeik Industrial Zone N.A. N.A. 153
18 Taunggyi Southern AyeTharyar Industrial 1999 287.000 342
Shan State Zone
19 Mawlamyine Mawlamyine Industrial N.A. 162.400 326
Zone
ที่มา: Industrial Zone จาก http://myanmargeneva.org/e-com/MOI-2/MOI-2/myanmar.com/Ministry/moi2/zone.htm ณ
26 พฤศจิกายน 2557.

รัฐบาลเมียนมาได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อจูงใจให้นักลงทุนต่างชาติมาท�ำการผลิต
สินค้า เพื่อสร้างงานและมีการถ่ายทอดเทคโนโลยี รวมทั้งเพื่อกระตุ้นการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ

90
รายชื่อเขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zones: SEZ) ที่ส�ำคัญ

ปัจจุบัน เขตเศรษฐกิจพิเศษ ในเมียนมา


ที่ส�ำคัญมีทั้งหมด 3 แห่ง คือ
- KyaukPhyu SEZ
- Thilawa SEZ
- Dawei SEZ

เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa Special Economic Zone: TSEZ)

ที่ตั้ง : อยู่ทางทิศตะวันตกของกรุงย่างกุ้ง ระยะทาง 25 ไมล์ TSEZ มีกฎหมาย Thilawa Special Economics


Zone Law แบ่งออกเป็น 2 เขต คือ เขตอุตสาหกรรมพิเศษติลาวา และเขตท่าเรือน�้ำลึกติลาวา ซึ่งอยู่ภายใต้การบริหารงาน
ของ บริษัท Hutchison Port Holdings และการท่าเรือแห่งเมียนมา (Myanmar Port Authority)
ขนาดพื้นที่ : 2,400 เฮคตาร์
อุตสาหกรรมเป้าหมาย :
ระยะแรกเน้นจูงใจอุตสาหกรรมเบา เน้นการผลิต
เพือ่ เพิม่ การส่งออก เช่น สิง่ ทอ เครือ่ งนุง่ ห่ม เครือ่ งประดับ
ระยะยาวเน้นดึงดูดอุตสาหกรรมหนัก เช่น
ยานยนต์ และเครื่องจักร ไบโอเทคและยา อาหาร และ
เครื่องดื่ม ไม้ ไฟฟ้า เครื่องจักร และอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อม
สถานะปัจจุบัน :
ปัจจุบันก่อสร้างโซน A พื้นที่ 400 เฮคตาร์

91
2. เขตเศรษฐกิจพิเศษจ๊อกผิว (Kyaukphyu Special Economic Zone: KSEZ)

ที่ตั้ง : เมือง Kyaukphyu ห่างจากเมืองซิตเหว่ เมืองหลวงของรัฐยะไข่ ไปทางทิศใต้ 100 กิโลเมตร


พื้นที่ครอบคลุม ท่าเรือน�้ำลึก Kyaukphyu และเขตเศรษฐกิจพิเศษจ๊อกผิว (Kyaukphyu Special Economic
Zone: KSEZ)
KSEZ เป็นความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยีระหว่างเมียนมากับจีน มีการลงนามสัญญาความร่วมมือ
“Myanmar Aid Thilawa Special Industrail Zone Planning Contract” เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2548 สัดส่วน
การลงทุน เมียนมา : จีน = 40 : 60
จุดเด่น :
- แหล่งผลิตพลังงานและสาธารณูปโภคพื้นฐานในด้านการขนส่ง
- มีทางออกทะเลสู่มหาสมุทรอินเดีย
อุตสาหกรรมเป้าหมาย :
- ปิโตรเลียมและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง

3. เขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย
ขนาดพื้นที่ : 204.5 ตารางกิโลเมตร
จุดเด่น :
- แหล่งผลิตพลังงานและสาธารณูปโภคพื้นฐานในด้านการขนส่ง
- มีทางออกทะเลสู่มหาสมุทรอินเดีย
อุตสาหกรรมเป้าหมาย :
- ปิโตรเลียมและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง

92
หากเปรียบเทียบข้อมูลของ Thilawa SEZ และ Dawei SEZ มีดังนี้

ปัจจัย Thilawa SEZ Dawei SEZ


ขนาด 24 ตารางกิโลเมตร 204.5 ตารางกิโลเมตร
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก - ท่าเรือแม่น�้ำย่างกุ้ง - ท่าเรือน�้ำลึก
- IE ส�ำหรับ Medium - ถนนเชื่อมโยงไทย
- Light Industry - IE ส�ำหรับ Heavy - Medium-Light
Industry
- ตัวเมืองมีแหล่งท่องเที่ยวและพักผ่อน
ความจุท่าเรือ ท่าเรือติลาวา (Thilawa Port) ท่าเรือน�้ำลึกทวาย
- 9 เมตร draft 25-40 เมตร draft
- 20,000 DWT 300 DWT
280 ล้านตันต่อปี
ตลาด ผลิตเพื่อทดแทนการน�ำเข้าและ เน้นการส่งออก
ขยายการส่งออก
เมืองใกล้เคียง ย่างกุ้ง (25 ไมล์) ทวาย กรุงเทพฯ
Eeastern Seaboard
ศักยภาพ - ได้รับการพัฒนาในทิศทาง - เป็นจุดเชื่อมโยงโลจิสติกส์ที่ส�ำคัญ
ที่ชัดเจน ระหว่างเอเซียตะวันออกเฉียงใต้กับ
- เป็นการร่วมลงทุนระหว่าง เอเซียใต้
บริษัทยักษ์ใหญ่ของญี่ปุ่นและ - ระยะยาวเป็นระเบียงเศรษฐกิจส�ำคัญ
เมียนมา เชื่อมโยงทวายกับ Eastern Seaboard
- อยู่ใกล้กรุงย่างกุ้ง ของไทย

93
จุดเด่นของการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ
การท�ำการค้า การลงทุน ตามกฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษฉบับใหม่ (Special Economic Zone Law)
มีสิ่งจูงใจให้กับนักธุรกิจที่สนใจ ประกอบการพิจารณา ดังนี้

ด้าน Free Trade Zone Business Promotion Zone Businesses


1. การยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคล 1-7 ปีแรก ยกเว้นภาษี ปีที่ 1–5 ยกเว้นภาษี 100%
(Income Tax Exemption) ปีที่ 6-10 ยกเว้นภาษี 50%
ปีที่ 11–15 ยกเว้นภาษี 50% หากน�ำเงิน
ได้จากการส่งออกกลับมาลงทุน

2. การยกเว้นภาษีศุลกากร 1. วัตถุดิบน�ำเข้าเพื่อการผลิต 1. เครือ่ งจักรและอะไหล่ทใี่ ช้ในการผลิต


(Custom Duty Exemption) 2. เครื่องจักรและอะไหล่ 2. อุปกรณ์ก่อสร้าง
3. อุปกรณ์ก่อสร้าง 3. ยานพาหนะเพื่อใช้ในธุรกิจ
4. ยานพาหนะเพื่อใช้ในธุรกิจ ปีที่ 1 - 5 ยกเว้นภาษี 100%
ปีที่ 6 -10 ยกเว้นภาษี 50%
3. ภาษีการค้า และภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้รับการยกเว้น ได้ รั บ การยกเว้ น ในเงื่ อ นไขเดี ย วกั บ
การยกเว้นภาษีศุลกากร
4. การจ้างงาน ปีที่ 1 – 2 ต้องจ้างงานคนท้องถิ่น ร้อยละ 25 ของคนงานทั้งหมด
ปีที่ 3 - 4 ต้องจ้างงานคนท้องถิ่น ร้อยละ 50 ของคนงานทั้งหมด
ปีที่ 5 - 6 ต้องจ้างงานคนท้องถิ่น ร้อยละ 75 ของคนงานทั้งหมด
5. การใช้ที่ดิน เช่าที่ดินได้ครั้งแรกสูงสุด 50 ปี และขยายเวลาได้อีกสูงสุด 25 ปี รวม 75 ปี

6. อื่นๆ ได้รบั การยกเว้นภาษีกรณีมคี า่ ใช้จา่ ยด้านวิจยั และพัฒนา และการฝึกอบรมพนักงาน

ที่มา : AEC Strategy Center มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 2557 แปลและเรียบเรียงจาก Special Economic Zone Law, 2014.

94
ราคาและข้อมูลเกี่ยวกับนิคมอุตสาหกรรมส�ำคัญ
นิคมอุตสาหกรรมไม่สามารถซื้อที่ดินได้ ชาวต่างชาติมีสิทธิ์เฉพาะการเช่าที่ดิน ค่าใช้จ่าย มีนิคมอุตสาหกรรม
ที่เหมาะสมกับการลงทุน และมีค่าใช้จ่ายเบื้องต้น ดังนี้
Hlaing Tharya Industrial Zone

ที่มา : Myanmar Times Archive, 2014.

รายการ ค่าใช้จ่าย
ค่าเช่า 5.5-6 เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./ปี
ค่า Maintenance 20 เหรียญสหรัฐ/เอเคอร์/เดือน
สรุป ค่าเช่าเฉลี่ยต่อเดือน 0.48–0.5 เหรียญสหรัฐ/เดือน
ที่มา : Japan External Trade Organization (JETRO) The 23rd Survey of Investment Related Costs in Asia and Oceania,
May 2013.
หมายเหตุ : 1 เอเคอร์ เท่ากับ 2.5293 ไร่

2. Mingalardon Industrail Park


รายการ ค่าใช้จ่าย
ค่าเช่า 58 เหรียญสหรัฐ/ตร.ม. (เช่าได้ถึง 2048)
ค่า Maintenance 0.48 เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./ปี
ค่าภาษี Housing Bureau’s Tax 0.3 เหรียญสหรัฐ/ตร.ม./ปี
ที่มา : Japan External Trade Organization (JETRO) The 23rd Survey of Investment Related Costs in Asia and Oceania,
May 2013.

95
การเปรียบเทียบสถานที่เป้าหมายที่จะลงทุน
ในการเปรียบเทียบสถานที่จะลงทุน นอกเหนือจากต้นทุนในการก่อสร้างโรงงานหรือค่าเช่าโรงงานแล้ว
ควรศึกษาปัจจัยต่างๆ โดยเฉพาะโครงสร้างพืน้ ฐานทีจ่ ะเอือ้ อ�ำนวยต่อกระบวนการด้านโลจิสติกส์ ทีใ่ ช้ในการขนส่งวัตถุดบิ
แหล่งวัตถุดิบ หรือสินค้าส�ำเร็จรูปจากโรงงานและคลังสินค้าไปยังท่าเรือ
ถนนมีบทบาทส�ำคัญต่อระยะเวลาในการขนส่ง สภาพถนน ระยะทางจากพื้นที่ไปยังท่าเรือ สนามบิน จึงควร
เป็นเกณฑ์หนึ่งในการพิจารณาเลือกท�ำเลที่ตั้ง
การเลือกลงทุนตั้งโรงงานในเขตนิคมอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในเขตย่างกุ้ง เป็นท�ำเลที่ตั้งที่เหมาะสมกว่าที่อื่น
เนื่องจากมีระยะทางห่างจากท่าเรือย่างกุ้งประมาณ 10-30 กิโลเมตร แต่หากตั้งที่นิคมอุตสาหกรรม Hlegu, Mawbe,
Bago จะมีระยะทางห่างกันถึง 48 กิโลเมตร 50 กิโลเมตร และ 78 กิโลเมตร ตามล�ำดับ ส�ำหรับระยะห่างระหว่าง
นิคมอุตสาหกรรมกับสนามบินย่างกุ้ง โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 20 กิโลเมตร

ที่ นิคมอุตสาหกรรม ระยะทาง (กิโลเมตร)


(Industrial Zone) Yangon Int’l Botahtaung Asia World Thilawa port
Airport Terminal (MITT)
1 Downtown 16 5 5 10
2 Hlaing Tha Ya 15 16 16 20
3 Shwe Pyi Tha 15 16 16 20
4 Mingaladon/Pyinma pin 10 25 25 30
5 South Dagon 25 25 25 30
6 Shwe Put Kan 25 25 25 30
7 Thaketa 32 10 10 15
8 Hlegu 25 48 48 52
9 Mawbe 25 50 50 55
10 Bago 60 78 78 82
ที่มา: Kyaw, Moe “Investment Climate and Business Cost of Major Cities in Myanmar” IDE-JETRO, Bangkok, 2010.

96
นอกจากนี้ สิ่งที่ควรน�ำมาพิจารณาประกอบการเลือกท�ำเลที่ตั้ง คือ ข้อมูลด้านพื้นที่การลงทุน คือ สิ่งจูงใจ
ทั้งนี้ตัวแปรที่ควรพิจารณาในการเลือกลงทุนในนิคมอุตสาหกรรม มี 12 ตัวแปร และได้มีการสรุปข้อมูลเป็นตัวอย่าง
ดังตาราง

ตัวอย่าง
ที่ สิ่งจูงใจที่ควรพิจารณา
Hlaingtharyar Industrial zone
1 Corporate income tax/tax exemption 3 years + extension

2 Exemption of import duty on imported machinery 3 years

3 Export Tax 10%

4 Right to withdraw net profit to abroad Allowed by Foreign Investment Law 26

5 Right of foreign ownership 100%

6 Period of lease to foreign company 30 years

7 Annual land rental 3 USD/square meter

8 Initial Capital (Capital Investment) Industrail 500,000 USD, Service 300,000 USD

9 Monthly electricity charges 0.8 USD/kilowatt

10 Monthly water charges 0.88 USD/cubit meter

11 Industrial development cost Kyat 1.5 million/acre

12 Monthly maintenance fee 20 USD/acre

97
แรงงานและการจ้างงาน
เมี ย นมาเป็ น ประเทศที่ มี ก� ำ ลั ง แรงงานมาก 1. การประกาศหาแรงงานผ่านส�ำนักงานแรงงาน
แต่บุคลากรหรือแรงงานที่มีทักษะมีจ�ำนวนจ�ำกัด ปัจจุบัน ระดับเมือง
กิจการต่างๆ ประสบความท้าทายในด้านการสรรหา 2. การติดต่อผ่านเอเย่นต์จัดหางาน
คัดเลือก และรักษาแรงงานไม่ให้เปลี่ยนงาน 3. การประกาศโฆษณาผ่านหนังสือพิมพ์หรือ
สิ่งพิมพ์
จ�ำนวนแรงงาน (Labor Force) 4. การใช้การบอกต่อผ่านทางคนรู้จักหรือญาติ
จ� ำ นวนแรงงานในเมี ยนมาพบว่า สถิติ จาก
หน่วยงานภาครัฐของเมียนมา ณ ปี 2552 ประชากรที่ วิธีการ ที่ได้รับความนิยม โดยเฉพาะกับบริษัท
ถูกจ้างงานมีทั้งหมดประมาณ 15.8 ล้านคน ร้อยละ 56.4 ท้องถิ่นเมียนมา คือ การบอกต่อผ่านคนรู้จัก เป็นการใช้
ท�ำงานในภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 12.49 อยู่ใน สายสั ม พั น ธ์ ส ่ ว นบุ ค คล หรื อ เครื อ ข่ า ยทางธุ ร กิ จ
ภาคอุตสาหกรรม (เหมืองแร่ โรงงานอุตสาหกรรมและไฟฟ้า มีความเชื่อว่า มีความน่าเชื่อถือ ไว้วางใจได้ เพราะมีคนรู้จัก
ก๊าซและน�้ำ) ร้อยละ 2.64 อยู่ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง อ้างอิง
ที่เหลือร้อยละ 28.4 ท�ำงานในภาคบริการ เช่น โลจิสติกส์ ส�ำหรับบริษัทจากต่างประเทศ หรือกิจการธุรกิจ
สถาบั น การเงิ น การค้ า โรงแรม ภั ต ตาคาร และ ที่ไม่มีเครือข่ายคนรู้จัก วิธีการที่นิยมคือ การติดต่อผ่าน
งานบริการทางสังคมอื่นๆ เอเย่นต์จัดหางาน (ดังตัวอย่างรายชื่อบริษัทและเว็บไซต์
ด้านล่าง) ทั้งนี้ทางบริษัทจะต้องเตรียมข้อมูล เกี่ยวกับ
1. การหาแรงงาน ประวัติบริษัท สถานที่ท�ำงาน กฎ ระเบียบของทางบริษัท
ช่ อ งทางในการสรรหาพนั ก งานในเมี ย นมา เงื่อนไขในการจ้างงาน ภาระงาน เป็นต้น ส่งให้กับบริษัท
มีวิธีการหลัก 4 วิธี คือ เอเย่นต์ ซึ่งบริษัทเอเย่นต์มีการเรียกค่าตอบแทนใน
การจัดหาคนที่แตกต่างกันไป

รายชื่อบริษัทตัวแทนที่จัดหาพนักงาน

ชื่อหน่วยงาน Website
Career Development Consultancy http://www.jobsinmyanmar.com
Executive Search http://esearchmyanmar.com
Tusker Manpower http://myanmarmanpower.org
Myanmar Global Manpower Link http://www.myanmarmanpowerlink.com
Myanmar Manpower Solutions http://myanmar-manpower.com
The Recruitment Company http://trc-mm.com
ที่มา : AEC Strategy Center มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ข้อมูล ณ พ.ย. 2557.

98
99
2. สัญญาจ้างงาน 1. นักลงทุนจะต้องแจ้งจ�ำนวนของผู้เชี่ยวชาญ
บริษัทต่างชาติเมื่อจ้างพนักงานท้องถิ่น ต้องท�ำ และช่างเทคนิคจากต่างประเทศที่จะจ้างในแบบฟอร์ม
สัญญาจ้างงานและต้องได้รับการอนุมัติจาก กระทรวง ใบสมัครที่ขออนุญาตลงทุนต่อ MIC
แรงงาน (Ministry of Labour) หน่วยงานที่ดูแลคือ 2. หลังจากได้รับใบอนุญาตลงทุนจาก MIC
New Employment & Labour Exchange Office กิจการจะต้องท�ำการขออนุญาตแต่งตั้งพนักงานต่างชาติ
และหากต้องการคู่มือ และขอตัวอย่างสัญญาจ้างงาน และพักอาศัยในเมียนมา
สามารถติดต่อได้ที่ Department of Labour โดยทั่วไป 3. ภายใต้การรับรองของ MIC บริษัท จะต้อง
สัญญาจ้างจะประกอบด้วย ข้อมูลต่อไปนี้ ขอใบอนุญาตท�ำงานที่กระทรวงแรงงาน วีซ่าและ
- ขอบข่ายภาระงาน (Scope of Work) ใบอนุญาตพ�ำนักในเมียนมาจากแผนกทะเบียนและตรวจ
- สถานที่ท�ำงาน (Location of Work) คนเข้าเมืองของกระทรวงตรวจคนเข้าเมืองและประชากร
- เงินเดือน (Salary)
- การท�ำงานล่วงเวลา (Overtime) 4. อัตราค่าตอบแทน
- ระยะเวลาในการจ้างงาน (Employment อัตราค่าแรงงานขั้นต�่ำ
Period) การจ่ายค่าแรงงาน ต้องเป็นไปตาม The Minimum
- ชั่วโมงการท�ำงาน (Working Hours) Wage Law 2013 ก�ำหนดกรอบค่าแรงงานขั้นต�่ำ
- วันหยุด (Holidays) ตามประเภทของอุตสาหกรรม เดิมอัตราค่าแรงงานขั้นต�่ำ
- การลา (Leave) และ 15 เหรียญสหรัฐต่อเดือน ปัจจุบัน (2557) ค่าแรงงาน
- การสิ้นสุดสัญญาจ้าง (Termination) ในอัตราตลาด (market rate) อยู่ที่ 70-80 เหรียญสหรัฐ
ต่อเดือน
3. กฎระเบียบแรงงานส�ำหรับกิจการของต่างชาติ ภายใต้กฎหมายนี้ จะมีคณะกรรมการไตรภาคี
เมี ย นมามี ก ารปรั บ ปรุ ง กฎหมายแรงงาน จากตัวแทนภาครัฐ นายจ้าง และองค์กรแรงงานต่างๆ
ฉบับใหม่ โดยความช่วยเหลือในการร่างกฎหมายจากองค์การ ก�ำหนดค่าแรงงานขั้นต�่ำร่วมกัน เพื่อให้สอดคล้องกับ
แรงงานระหว่างประเทศ (International Labour ระดับค่าครองชีพ และมีการปรับทุก 2 ปี
Organization : ILO)1 ท�ำให้บทบัญญัตกิ ฎหมายแรงงานใหม่ อัตราค่าจ้างแรงงานขั้นต�่ำจะมีความแตกต่างกัน
ตรงตามมาตรฐานสากล ซึ่งการให้สิทธิเสรีภาพแก่ผู้ใช้ ขึ้นกับภาคธุรกิจ โดยในปี 2557 ก�ำหนดค่าแรงงานขั้นต�่ำ
แรงงานเมียนมา ตามมาตรฐานสากล จะช่วยส่งเสริม ของแรงงานไร้ฝีมือไว้ที่ 60–70 เหรียญสหรัฐ
ให้การปฏิรูปทางการเมืองและเศรษฐกิจของเมียนมา ที่ส�ำคัญ ห้ามไม่ให้แบ่งแยกค่าแรงงานระหว่าง
ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น เพศชายและเพศหญิง หมายถึง ค่าแรงงานที่จ่ายให้
แรงงานชายและแรงงานหญิง ต้องจ่ายในอัตราเท่ากัน
การน�ำพนักงานจากประเทศแม่เข้าท�ำงานในเมียนมา
การจ้ า งพนั ก งานที่ เ ป็ น ผู ้ เ ชี่ ย วชาญและ อัตราเงินเดือน
ช่างเทคนิคของกิจการที่ได้รับใบอนุญาตจากส�ำนักงาน เงินเดือนส�ำหรับพนักงานเมียนมา มีความแตกต่าง
คณะกรรมการการลงทุน (MIC) ต้องเป็นตามข้อก�ำหนดต่อ กันหลายปัจจัย ปัจจัยหลักคือ ประเภทบริษทั (บริษทั ท้องถิน่
ไปนี้ กั บ บริ ษั ท ต่ า งชาติ หรื อ องค์ ก รระหว่ า งประเทศ)

1
: รัฐบาลเมียนมาได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับ ILO ในโครงการความร่วมมือแก้ไขปัญหาการใช้แรงงานทาส และ
ยกระดับมาตรฐานแรงงานในเมียนมา อนุญาตให้ ILO ตั้งส�ำนักงานในกรุงย่างกุ้ง เพื่อรับเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้ใช้แรงงาน
เมียนมา

100
และปัจจัยรองลงมา คือ อุตสาหกรรม (อุตสาหกรรมก่อสร้าง อุตสาหกรรมท่องเที่ยว โรงแรม เป็นต้น)
ตามที่รัฐบาลเมียนมามีนโยบายส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ ท�ำให้บริษัทข้ามชาติขนาดใหญ่เข้ามาลงทุน
ท�ำธุรกิจมากขึ้น เกิดสภาวะการซื้อตัวพนักงานที่มีความรู้ ความสามารถ ท�ำให้อัตราค่าจ้างแรงงานมีความผันผวน
พนักงานที่ท�ำงานในต�ำแหน่งเดียวกันในบริษัทท้องถิ่น แต่เมื่อท�ำงานในบริษัทข้ามชาติ ค่าจ้าง ค่าตอบแทนที่ได้รับ
มีอัตราสูงกว่า 50-200%

ตารางประมาณการอัตราค่าจ้างนี้
น�ำเสนอเป็นช่วง (range) อัตราค่าจ้างบริษัทท้องถิ่น และบริษัทจากต่างประเทศ

ต�ำแหน่ง อัตราค่าจ้าง (เงินเดือนเฉลี่ยต่อเดือน)


แรงงานไร้ฝีมือ (ไม่มีประสบการณ์) 60-120 USD
แรงงานไร้ฝีมือ (มีประสบการณ์) 120-320 USD
พนักงานทั่วไป (ไม่มีประสบการณ์) 120-320 USD
พนักงานทั่วไป (มีประสบการณ์) 200-500 USD
พนักงานวุฒิปริญญาตรีจบใหม่ 300–500 USD
มีความรู้คอมพิวเตอร์และภาษาอังกฤษ
หัวหน้างานชั้นต้นหรือหัวหน้าทีม (Team Leader) 200-600 USD
พนักงานสายอาชีพ (เช่น พนักงานบัญชี) 250-600 USD
พนักงานอาวุโสสายอาชีพ (เช่น หัวหน้างานบัญชี) 600-1,200 USD
ผู้จัดการ (MBA) (ขึ้นกับประสบการณ์ท�ำงาน) 580–1,250 USD
ผู้บริหารระดับกลาง (ประสบการณ์ 5-10 ปี) 300-1,500 USD
ผู้บริหารระดับอาวุโส (ประสบการณ์มากกว่า 10 ปี) 800–2,500 USD
ที่ปรึกษาบริษัท (จ้างเป็นจ�ำนวนชั่วโมงต่อเดือน) 1,200–1,500 USD

ที่มา : AEC Strategy Center มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ข้อมูล ณ พ.ย. 2557.

วิธีการจ่ายค่าตอบแทน
การจ่ายค่าตอบแทนที่นิยมท�ำมี 3 วิธี คือ
1. จ่ายเงินสด รายวัน รายสัปดาห์ หรือรายเดือน
2. กิจการจ่ายค่าภาษีเงินได้ให้ลูกจ้าง ก่อนจ่ายเงินเดือน เป็นวิธีที่นิยมใช้ทั่วไป
3. กิจการแสดงอัตราเงินเดือนที่สูงกว่าการรับจริง เมื่อรวมการช�ำระภาษีแล้ว

101
5. การประกันสังคม (Social Security)
เมียนมาได้ออกกฎหมายประกันสังคมฉบับใหม่ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2555 โดยมีบทบัญญัติเกี่ยวกับกองทุน
ประกันสังคมและการจ้างงาน การจัดตั้งกองทุนผลประโยชน์เมื่อบาดเจ็บ การส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคม
การก�ำหนดผลประโยชน์แก่ผู้ประกันตนในกรณีว่างงาน ยามชรา ตามมาตรฐานสากล
บทบัญญัติประกันสังคม ให้ผลประโยชน์กับพนักงาน ดังต่อไปนี้
1. การดูแลสุขภาพทั่วไป
2. การชดเชยส�ำหรับการบาดเจ็บที่เกี่ยวข้องกับการท�ำงานและการเจ็บป่วย
3. ผลประโยชน์คลอดบุตร
การดูแลสุขภาพทั่วไปและการรักษาการบาดเจ็บที่เกี่ยวข้องกับการท�ำงาน ลูกจ้างหรือพนักงานสามารถ
รับบริการได้ที่ โรงพยาบาลและคลินิกประกันสังคมที่ระบุไว้
กิจการที่มีพนักงาน 5 คน หรือมากกว่า ต้องท�ำเรื่องกองทุนประกันสังคม ซึ่งเป็นหน้าที่ของนายจ้างที่จะต้อง
ท�ำการหักเงินสมทบประกันสังคม

เงินสมทบประกันสังคม
ผู้จ่าย (Payer) การจ่ายสมทบ (Contribution)
นายจ้าง 3%
ลูกจ้าง 2%
ที่มา : AEC Strategy Center มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ข้อมูล ณ พ.ย. 2557.

ผลตอบแทนที่จะได้รับ เช่น ค่ารักษาพยาบาลฟรี การคลอดบุตรฟรี เบิกค่ารักษาพยาบาลกรณีเจ็บป่วย


ค่างานศพ ผลประโยชน์ตอบแทนจากการบาดเจ็บ ทุพพลภาพจากการท�ำงาน
การจ่ายเงินสมทบ ต้องจ่ายเงินสมทบประกันสังคมเป็นจ�ำนวนเงิน 5% ของเงินเดือนสุทธิ โดยนายจ้างจ่าย
สมทบ 3% และลูกจ้างหรือพนักงาน จ่ายสบทบ 2% จ่ายในสกุลเงินจ๊าต

6. เวลาการท�ำงาน
เวลาท�ำงาน
เวลาท�ำงานของหน่วยงานต่างๆ ในเมียนมา มีความหลากหลายแตกต่างจากเวลาท�ำงานของชาวตะวันตกที่
ท�ำงานระหว่าง 09.00–17.00 น. ธุรกิจสามารถก�ำหนดเวลาท�ำงานได้ตามความเหมาะสม

หน่วยงาน วัน เวลา


หน่วยงานราชการ จันทร์ – ศุกร์ 09:30 – 16:30 น.
หน่วยงานธุรกิจ จันทร์ – ศุกร์ หรือ จันทร์ – เสาร์ 08.30 - 17.30 น. 09.30 – 17.30 น.
งานบริการ (โรงแรม ร้านอาหาร) ตกลงกันระหว่างนายจ้าง ลูกจ้าง
งานโครงการก่อสร้าง ตกลงกันระหว่างนายจ้าง ลูกจ้าง
ที่มา : AEC Strategy Center มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ข้อมูล ณ พ.ย. 2557.

102
สังคมของเมียนมา อาจกล่าวได้ว่าเป็นสังคมของ “Early Bird” บางธุรกิจอาจเริ่มท�ำงานตั้งแต่ 05.00 น. และ
เลิกงาน 15.00 น.

ชั่วโมงท�ำงาน
ชั่วโมงการท�ำงาน ก�ำหนดไว้สูงสุดต่อวันไม่เกิน 8 ชั่วโมง ตาม Factory Act (1951) และ Shops and
Establishments Act (1951) ก�ำหนดไว้ดังนี้

จ�ำนวนชั่วโมงสูงสุด
ช่วงเวลาพักต�่ำ การท�ำงานล่วงเวลา
อุตสาหกรรม ชั่วโมง ชั่วโมง วัน สุด สูงสุดต่อสัปดาห์
ต่อวัน ต่อสัปดาห์ ต่อสัปดาห์
โรงงานและการท�ำงาน 8 44 6 30 นาที ห ลั ง จาก 12
ในภาคอุตสาหกรรม ท�ำงานแล้ว 5 ชม.
งานในส�ำนักงานและร้านค้า 8 48 6 30 นาที ห ลั ง จาก 16
ท�ำงานแล้ว 5 ชม.
ที่มา : AEC Strategy Center มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ข้อมูล ณ พ.ย. 2557.
หมายเหตุ : การท�ำงานเกินเวลาก�ำหนด จะต้องจ่ายค่าล่วงเวลา (overtime) ในจ�ำนวน 2 เท่า

วันหยุด
วันหยุดที่พนักงานยังคงได้รับค่าจ้างตาม Leave and Holidays Act (1951) มีดังนี้
การหยุดงานที่ได้รับค่าตอบแทน จ�ำนวนวันหยุดต่อปี
วันหยุดตามประเพณีท้องถิ่น (Public Holidays) 21 วัน (โดยเฉลี่ย)
ลาพักร้อน (Casual Leave) 6 วัน
ลากิจ (Earned Leave) 10 วัน
ลาป่วย (Medical Leave) 30 วัน
ลาคลอด ก่อนคลอดลาพักได้ 45 วัน
หลังคลอดลาพักได้ 45 วัน
หมายเหตุ : บางหน่วยงานมีการก�ำหนดวันลาพักร้อน เป็นสวัสดิการให้กับผู้บริหารต่อปี ดังนี้
ผู้บริหารระดับสูง ลาพักร้อนได้ 30 วัน ผู้บริหารระดับกลาง ลาพักร้อนได้ 20 วัน และ
ผู้บริหารระดับต้น ลาพักร้อนได้ 10 วัน

7. การท�ำวีซ่า/ใบอนุญาตท�ำงาน
การท�ำวีซ่า
ประเภทของวีซ่า
วีซ่าของเมียนมา มี 2 ประเภท คือ
1. วีซ่าท่องเที่ยว พ�ำนักอยู่ในเมียนมาได้ 4 สัปดาห์
2. วีซ่าธุรกิจ พ�ำนักอยู่ในเมียนมาได้ 10 สัปดาห์

103
ในการขอวีซ่าเข้าเมียนมาสามารถท�ำได้ 2 วิธี คือ ขอวีซ่าก่อนการเดินทาง และการขอ Visa on Arrival

การขอวีซ่าก่อนการเดินทาง โดยหลักฐานประกอบการขอวีซ่า มีดังนี้


• พาสปอร์ตปัจจุบันที่มีอายุไม่ต�่ำกว่า 6 เดือน ก่อนการเดินทาง
• ส�ำเนาพาสปอร์ตจ�ำนวน 1 ฉบับ
• รูปถ่ายสีขนาดเดียวกันและแบบเดียวกันจ�ำนวน 2 รูป พื้นภาพสีขาว
• ค่าธรรมเนียมในการขอวีซ่า 810 บาท (ส�ำหรับนักท่องเที่ยว) และ 1,440 บาท (ส�ำหรับนักธุรกิจ)
• ระยะเวลาในการพิจารณาเอกสาร 3-4 วันท�ำการ

สถานที่ยื่นขอวีซ่า ยื่นที่แผนกวีซ่า สถานทูตเมียนมา เลขที่ 132 ถ.สาธรเหนือ ซอย 71 กรุงเทพฯ 10500


หรือเข้าถึงจาก website เพื่อศึกษาข้อมูลก่อน

การขอ Visa on Arrival คือ วีซ่าที่ท�ำการออก ณ สนามบินย่างกุ้ง และสนามบินมัณฑะเลย์ ออกให้แก่


ผู้ที่มีหนังสือพาสปอร์ตเท่านั้น โดย

ประเภท VISA ระยะเวลาการพ�ำนักในเมียนมา ค่าธรรมเนียม


วีซ่าท่องเที่ยว 4 สัปดาห์ 40 เหรียญสหรัฐ
วีซ่าธุรกิจ 10 สัปดาห์ 50 เหรียญสหรัฐ

การขอใบอนุญาตท�ำงาน
กฎหมายตรวจคนเข้าเมืองส�ำหรับแรงงานต่างชาติ
ในการเข้าไปพ�ำนักและท�ำงานในเมียนมา จะต้องท�ำวีซ่าประเภท วีซ่าธุรกิจ (Business Visa) ซึ่งแบ่งออก
เป็น 3 ชนิด คือ
1. วีซ่ารายการเดียว (Single Visa) 70 วัน สามารถพ�ำนักในเมียนมา 70 วัน
2. วีซ่าหลายรายการ (Multiple Visa) 6 เดือน สามารถพ�ำนักในเมียนมา 6 เดือน
3. วีซ่าหลายรายการ (Multiple Visa) 1 ปี สามารถพ�ำนักในเมียนมา 1 ปี

โดยทั่วไปการจะขอวีซ่าหลายรายการ (Multiple Visa) ได้ ต้องเคยเดินทางเข้าเมียนมามาแล้ว 3 ครั้ง


ชาวต่างชาติที่ถือวีซ่าหลายรายการทั้งแบบ 6 เดือน และ 1 ปี จะต้องมีการเข้าและออกจากเมียนมาทุก
70 วัน ถ้าพ�ำนักในเมียนมาติดต่อกันเกิน 70 วัน จ�ำนวนวันที่เกิน จะถูกปรับวันละ 3 เหรียญสหรัฐ และถ้าเกิน 90 วัน
จะถูกปรับวันละ 5 เหรียญสหรัฐ

104
ใบอนุญาตพ�ำนักและใบอนุญาตท�ำงานในเมียนมา
กฎหมายการลงทุนต่างประเทศ (MFIL) 2012 และกฎระเบียบการลงทุนต่างชาติ (Foreign Investment
Rule : FIR) 2013 ของ MIC ได้มีการก�ำหนดให้พนักงานและคนงานชาวต่างชาติที่ท�ำงานในบริษัทต่างชาติที่ลงทุน
ภายใต้กฎหมายการลงทุนต่างชาติ (MFIL) ต้องมีใบอนุญาตพ�ำนักและใบอนุญาตท�ำงานในเมียนมา

ประเภทของพนักงานต่างชาติ ต้องมีใบอนุญาตท�ำงานหรือไม่
พนักงานชาวต่างชาติ ที่ท�ำงานกับบริษัทแบบ non-FIL N/A (อาจมีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต)
พนักงานชาวต่างชาติที่ท�ำงานกับบริษัท FIL มี
หมายเหตุ : FIL หมายถึง บริษัทต่างชาติที่ลงทุนภายใต้กฎหมายการลงทุนต่างชาติ

กระบวนการออกใบอนุญาตพ�ำนักและใบอนุญาตท�ำงานให้ด�ำเนินการตามกฎหมายแรงงานต่างชาติ ที่จะตรา
ออกมาภายหลัง แต่จนปัจจุบัน เมียนมายังไม่ด�ำเนินการออกกฎหมายแรงงานต่างชาติเกี่ยวกับใบอนุญาตพ�ำนักและ
ใบอนุญาตท�ำงานในเมียนมา
แม้จะยังไม่มีกฎหมายแรงงานต่างชาติที่เกี่ยวกับการออกใบอนุญาตพ�ำนักในเมียนมา แต่ในปัจจุบัน ได้มี
การออกใบอนุญาตพ�ำนักในเมียนมาให้ชาวต่างชาติ โดยมีข้อก�ำหนดให้ต้องมีการเข้าและออกประเทศทุก 70 วัน
การขอรับใบอนุญาตพ�ำนักในเมียนมา ชาวต่างชาติจะต้องได้รับการว่าจ้างโดยบริษัทที่ลงทุนภายใต้กฎหมาย
การลงทุนต่างชาติ (MFIL) มีวีซ่าธุรกิจ (Business Visa) ที่ถูกต้อง และมีจดหมายรับรองจาก MIC กรณีที่ชาวต่างชาติ
ได้รับการว่าจ้างโดยบริษัทที่ไม่ได้ลงทุนภายใต้กฎหมายการลงทุนต่างชาติ (MFIL) ให้ใช้ใบรับรองจากส�ำนักงาน
ทะเบียนบริษัท (The Companies Registration Office: CRO)

8. สหภาพแรงงาน
กฎหมายแรงงานฉบับใหม่ Labour Organization Law (2012) มีผลบังคับใช้ เมื่อ 9 มีนาคม 2012 มี
บทบัญญัติให้ผู้ใช้แรงงานจัดตั้งสหภาพแรงงาน (Trade Union) ได้ (กฎหมายเดิม ห้ามการจัดตั้งสหภาพแรงงาน)
และสามารถผละงานประท้วงได้ ในกรณีพิพาทที่เกิดขึ้น โดยการผละงานประท้วง จะต้องแจ้งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ล่วงหน้า 3 วัน ส�ำหรับการประท้วงในภาคเอกชน และแจ้งล่วงหน้า 14 วัน ส�ำหรับคนงานที่ท�ำงานกับภาครัฐ ผล
การศึกษาของ Wilson (2013)2 น�ำเสนอว่า ณ ปี 2013 มีการจัดตั้งสหภาพแรงงานกว่า 670 สหภาพ และมีจ�ำนวน
แรงงานที่ขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานรวมกันทั่วประเทศกว่า 200,000 คน
อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติที่ผ่านมา หากมีความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง เช่น พนักงาน
โรงงานสิ่งทอเรียกร้องค่าแรงงานเพิ่ม ทางฝ่ายลูกจ้างมักใช้วิธีการเลือกตัวแทนพนักงาน เข้าเจรจากับนายจ้างโดยตรง
โดยไม่ได้ผ่านสหภาพแรงงาน

1
: Wilson, Ross. 2013. The new union movement in Myanmar.Global Labor Column. Available at: http://column.
global-labour-university.org/2013/09/the-new-union-movement-in-myanmar.htm

105
9. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงานที่นักธุรกิจควรรู้
มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องส�ำหรับผู้ประกอบการที่ใช้แรงงาน หรือลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ นักธุรกิจชาวต่างชาติ
ควรรู้เพื่อใช้ในการสรรหา คัดเลือก น�ำพนักงานชาวต่างประเทศเข้ามา หรือการด�ำเนินเรื่องขอใบอนุญาต และ
สัดส่วนการมีพนักงานท้องถิ่นกับพนักงานชาวต่างชาติ เป็นต้น กฎหมายที่ควรศึกษาเพิ่มเติม มีดังนี้
Myanmar Special Economic Zone Law (2011)
Dawei Special Economic Zone Law (2011)
นอกจากนี้ มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแรงงานสรุปได้ ดังนี้
Employment Restriction Act (1959)
Employment Statistics Act (1948)
Employment and Skill Development Law (30 Aug 2013 แทน Employment and
Training Act (1950))
Factories Act (1951)
Labour Organization Law (11 Oct 2011 แทน Trade Union Act)
Law on Minimum Wage (March 2013 แทน Minimum Wages Act (1949))
Leave and Holidays Act (1951)
Labour Dispute Setlement Law (28 Mar 2012 แทน กฎหมายปี 1929)
Oilfields Labour and Welfare Act (1951)
Payment of Wages Act (1936)
Shops and Establishments Act (1951)
Social Security Act (1954)
Trade Disputes Act (1929)
Workmen’s Compensation Act (1923)

บริษัทที่ด�ำเนินการลงทุนในเมียนมา ควรที่จะต้องให้ความสนใจและระมัดระวังเรื่องการจ้างงาน และ


การใช้แรงงาน เช่น การสิ้นสุดการจ้างงาน การท�ำงานในวันสุดสัปดาห์ การท�ำงานในวันหยุดประจ�ำปี การท�ำงานช่วง
กลางคืน การให้การดูแลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล การเจ็บป่วย เป็นต้น เพื่อจะได้วางแผนในการจ่ายค่าตอบแทน
ให้เหมาะสม ป้องกันและหลีกเลี่ยงข้อพิพาท หรือข้อร้องเรียนเกี่ยวกับความไม่เป็นธรรมในการจ้างงาน ซึ่งอาจมี
ผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจ

106
107
ใบอนุญาตและหน่วยงาน
เกี่ยวกับกิจการขนส่ง
การด�ำเนินธุรกิจในเมียนมา กิจการอาจต้องมี 1. ยานพาหนะที่ไม่ได้จดทะเบียนหรือทะเบียน
การซือ้ หรือเช่ายานพาหนะเพือ่ ใช้ในส�ำนักงาน โรงงาน สิง่ ที่ หมดอายุ จ ะไม่ อ นุ ญ าตให้ น� ำ มาขั บ ขี่ ใ น
ควรเรียนรู้ในเบื้องต้น คือ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ที่สาธารณะ
การขออนุญาตมียานพาหนะการจดทะเบียนการตรวจสอบ 2. ใบรับรองการจดทะเบียนยานพาหนะจะต้อง
สภาพยานพาหนะ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง วางไว้บริเวณด้านหน้าของยานพาหนะเพื่อให้
เจ้าหน้าที่สามารถมองเห็นได้โดยง่าย
1. หน่วยงานที่รับผิดชอบ 3. เจ้าของยานพาหนะมีหน้าที่ในการขับขี่
หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการขนส่งทาง ยานพาหนะด้วยความปลอดภัย
ถนนในประเทศเมียนมา1 คือ กรมการจัดการการขนส่ง 4. หากเจ้าของยานพาหนะไม่ได้ต่อทะเบียน
ทางถนน (Road Transport Administration Depart- ยานพาหนะเป็นระยะเวลาต่อเนื่อง 5 ปี
ment หรือ RTAD) กระทรวงการขนส่งทางราง (www. การจดทะเบียนยานพาหนะคันดังกล่าวจะถูก
ministryofrailtransportation.com) หน้าที่หลัก มีดังนี้ ยกเลิกโดยอัตโนมัติ
1. การตรวจสอบยานพาหนะและการ 5. ยานพาหนะที่ไม่ได้ช�ำระเบี้ยประกันภัยบุคคล
จดทะเบียนการใช้งานของยานพาหนะ ที่สามจะไม่ได้รับอนุญาตให้ขับขี่ยานพาหนะ
2. การออกใบอนุญาตขับขี่ ดังกล่าวในที่สาธารณะ
3. การออกกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อควบคุม 6. ยานพาหนะทุกคันจะต้องติดตั้งแตรเพื่อเป็น
การใช้รถใช้ถนน สัญญาณเตือน
4. การจัดเก็บภาษีและรายได้ที่เกี่ยวข้อง 7. หน่วยงานจดทะเบียนยานพาหนะมีสิทธิ์ใน
การระงับการจดทะเบียนหรือระงับการจด
นอกจากนี้ มีหน้าที่ท�ำให้ถนนมีความปลอดภัย ทะเบียนชั่วคราวแก่ยานพาหนะที่ปล่อยไอเสีย
และให้ค�ำแนะน�ำในการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัยโดย เกินค่ามาตรฐานที่ก�ำหนด
มีหน่วยงานมากกว่า 20 สาขา กระจายไปตามรัฐและ 8. หากเจ้าของยานพาหนะปล่อยให้น�้ำมันเครื่อง
ภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศเมียนมา หยดลงบนพื้นถนน ซึ่งอาจก่อความสกปรก
ให้กับพื้นผิวถนน หน่วยงานจดทะเบียนยาน
2. การขออนุญาตยานพาหนะ 2
พาหนะมีสิทธิ์ในการระงับการจดทะเบียนหรือ
การจดทะเบียนยานพาหนะ ระงับการจดทะเบียนชั่วคราวแก่ยานพาหนะ
ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการจดทะเบียนและหน้าที่ ดังกล่าว
ของเจ้าของยานพาหนะ

1
: คูม่ อื “เตรียมความพร้อมผูป้ ระกอบการขนส่งไทยสูอ่ าเซียน” (สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา) กรมการขนส่งทางบก กระทรวง
คมนาคม, เข้าถึงจาก http://www.thaitruckcenter.com/qmark/UploadFile%5CKnowledgeSource%5C1102477839.pdf
ณ 20 พฤศจิกายน 2557.
2
: คูม่ อื “เตรียมความพร้อมผูป้ ระกอบการขนส่งไทยสูอ่ าเซียน” (สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา) กรมการขนส่งทางบก กระทรวง
คมนาคม, เข้าถึงจาก http://www.thaitruckcenter.com/qmark/UploadFile%5CKnowledgeSource%5C1102477839.pdf
ณ 20 พฤศจิกายน 2557.

108
9. ยานพาหนะที่มีการเปลี่ยนผู้ครอบครองและ ดังกล่าวจะต้องแจ้งต่อหน่วยงานที่ท�ำเรื่อง
สภาพของยานพาหนะไม่สามารถอยูใ่ นสภาพที่ การจดทะเบี ย นยานพาหนะเพื่ อ ยกเลิ ก
เหมาะสมในการต่อทะเบียนเจ้าของยานพาหนะ การจดทะเบียนแก่ยานพาหนะดังกล่าว

ประเภทของยานพาหนะที่ต้องมีการจดทะเบียนยานพาหนะ

1. รถโดยสาร

2. รถบรรทุกเล็ก

3. รถบรรทุกหนัก

4. รถบัส

5. รถ 2 ล้อ

6. รถ 3 ล้อ

7. Trawlergi

8. เครื่องจักร

109
ลักษณะของป้ายทะเบียน

ลักษณะป้ายทะเบียน ประเภทยานพาหนะ

รถยนต์ส่วนบุคคล

รถเช่า

รถจักรยานยนต์

รถของทูต
หรือองค์กรระหว่างประเทศ

รถของทูต
หรือองค์กรระหว่างประเทศ

ทะเบียนรถของสงฆ์ หรือราชวงศ์

รถแท็กซี่

รถทัวร์ท่องเที่ยว

รถบรรทุกศพ

อายุทะเบียนของยานพาหนะแต่ละประเภท
ประเภทของยานพาหนะ อายุของทะเบียน
รถยนต์ รถบรรทุก 1 ปี
รถจักรยานยนต์ 2 ปี
รถที่ใช้ในการเกษตร 1 ปี หรือ 2 ปี ขึ้นอยู่กับเจ้าของยานพาหนะ
เครื่องจักร 1 ปี

110
เอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียนยานพาหนะ
ประเภทของยานพาหนะ เอกสารที่ใช้
ยานพาหนะที่ขายในศูนย์การขายรถยนต์ 1. เอกสารขอจดทะเบียน
2. เอกสารรับรองการซื้อยานพาหนะ
3. เอกสารการจดทะเบียนชั่วคราว
4. เอกสารแสดงการน�ำเข้า
5. หนังสือยืนยันจากศุลกากร
6. De-registration Certificate
7. บัตรประจ�ำตัว (National Registration Card) และรูปถ่าย
8. หมายเลขตัวถังยานพาหนะ
ยานพาหนะที่น�ำเข้าโดยบุคคลทั่วไป 1. เอกสารอนุญาตการน�ำเข้า
2. เอกสารการจดทะเบียนชั่วคราว
3. เอกสารแสดงการน�ำเข้า
4. หนังสือยืนยันจากศุลกากร
5. บัตรประจ�ำตัว (National Registration Card) และรูปถ่าย
6. De-registration Certificate

ขั้นตอนการจดทะเบียนยานพาหนะ
1. ตรวจสอบหมายเลขตัวถังยานพาหนะ
2. ตรวจสอบสภาพรถ
- ตรวจสอบเอกสารและข้อมูลต่างๆ
- ทดสอบสภาพรถและระบบต่างๆ ของรถ
3. การเสียภาษีค่าธรรมเนียมต่างๆ
- ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนและการตรวจสอบสภาพรถ
- ค่าปรับ (หากมี)
- ค่าเบี้ยประกันบุคคลที่สาม
- ภาษีเทศบาลเกี่ยวกับรถ (Municipal Wheel Tax)
- ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนยานพาหนะที่น�ำเข้า
4. การบันทึกข้อมูลยานพาหนะ
- บันทึกข้อมูลต่างๆ ของยานพาหนะ
- บันทึกหนังสือการจดทะเบียนรถ (Kama-3) ใบรับรองการจดทะเบียนรถ (Wheel-Disc) บัตรบันทึกการ
จดทะเบียนยานพาหนะ (Kama-2)
- ส่งข้อมูลบัตรบันทึกการจดทะเบียนยานพาหนะ (Kama-2) และข้อมูลยานพาหนะไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5. ออกหนังสือการจดทะเบียนยานพาหนะและบัตรการจดทะเบียนยานพาหนะ

111
112
3. การตรวจสภาพยานพาหนะ3
วัตถุประสงค์
จุดมุง่ หมายของการตรวจสอบยานพาหนะทีจ่ ะท�ำให้การตรวจสอบไม่วา่ จะเป็นรถทีไ่ ด้รบั การจดทะเบียนหรือไม่
เพื่อให้แน่ใจว่ายานพาหนะมีสภาพที่ดีเหมาะสมและมีความปลอดภัยในการใช้งาน

แผนกตรวจสอบยานพาหนะหน้าที่หลัก 3 ประการ คือ


1. การตรวจสอบข้อมูลยานพาหนะ
2. การตรวจสอบสภาพความพร้อมขับขี่และความปลอดภัยของรถ
3. การตรวจสอบกฎระเบียบด้านความปลอดภัยของยานพาหนะ

ตรวจสอบยานพาหนะ
(ก) การตรวจสอบเบื้องต้น
(ข) การต่ออายุการตรวจสอบ
(ค) ตรวจสอบการโอน
(ง) การตรวจสอบการประมูลยานพาหนะ
(จ) การตรวจสอบตามความจ�ำเป็น

วิธีการตรวจสอบยานพาหนะ
การตรวจสอบ แนวทางการตรวจสอบ
(ก) การตรวจสอบสภาพ 1. การตรวจสอบเกี่ยวกับรูปแบบประเภทของยานพาหนะ
เครื่องยนต์ กรอบรูป ขนาด อุปกรณ์และข้อมูลการลงทะเบียน
2. การตรวจสอบระบบต่างๆ ของยานพาหนะ ได้แก่ ระบบ
แสงสว่าง ระบบเบรก ระบบบังคับเลี้ยว ระบบไอเสีย และ
ทั่วไป
(ข) การตรวจสอบตามหลักทฤษฎี การค�ำนวณการกระจายน�้ำหนัก ระบบก�ำลังส่งเครื่องยนต์
ระยะวงเลี้ยว น�้ำหนักลงเพลา Frame section modulus และ
Weight to power ratio เป็นต้น
(ค) ตรวจสอบด้วยเครื่อง ชั่งน�้ำหนักรถ การทดสอบการปล่อยไอเสีย ระบบหน้าปัด
ระบบเบรก ระบบไฟส่องสว่าง การทดสอบ Side Slip ระดับ
ความดังของเครื่องยนต์ เป็นต้น

3
: กรมการจัดการการขนส่งทางถนน (Road Transport Administration Department หรือ RTAD) กระทรวงการขนส่งทางราง
เมียนมา เข้าถึงจาก http://www.myanmarrtad.com/?q=en/article/87 ณ 20 พฤศจิกายน 2557.

113
การออกใบรับรองการตรวจสอบรถ (Vehicle Inspection Certificate: VIC)
เมียนมาเป็นสมาชิกของอาเซียนและได้ลงนามในข้อตกลง การออกใบรับรองการตรวจสอบยานพาหนะ
ส�ำหรับรถขนส่งสินค้าและรถบริการเชิงพาณิชย์ที่ออกโดยประเทศสมาชิกอาเซียน ดังนั้นยานพาหนะที่ขนส่งสินค้า
และผู้โดยสารเชิงพาณิชย์ของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งผ่านการตรวจสอบรถตามมาตรฐานที่ใกล้เคียงกัน จะสามารถ
ผ่านเข้าออกประเทศสมาชิกด้วยความปลอดภัย ส�ำหรับเมียนมา ขณะนี้ได้ออกใบรับรองการตรวจสอบยานพาหนะ
(VIC) แก่ รถบรรทุกตั้งแต่ 2 ตันขึ้นไป และรถโดยสารตั้งแต่ 25 ที่นั่งขึ้นไป

4. กฎหมายเกี่ยวข้องกับการใช้ยานพาหนะ
กฎหมาย พระราชบัญญัติ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งและการปฏิบัติการทางถนนของเมียนมา เป็น
กฎหมาย กฎระเบียบที่ถือได้ว่าค่อนข้างเก่าเกือบ 100 ปี กฎหมายที่มีการบังคับใช้ในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนิน
ธุรกิจในส่วนของการใช้ยานพาหนะ มีพระราชบัญญัติ ข้อบังคับ ที่ส�ำคัญ 7 ฉบับ ดังนี้
1. พระราชบัญญัติรถยนต์อินเดีย 2457 (India Motor Vehicle Act 1914)
2. ข้อบังคับรถยนต์เมียนมา 2458 (Myanmar Motor Vehicle Rules 1915)
3. ข้อบังคับการเช่ารถยนต์เมียนมา 2478 (Myanmar Hired Vehicle Rules 1935)
4. กฎหมายขนส่งทางถนนและน�้ำภายในประเทศ 2506 (Road and Inland Water Transport
Law 1963)
5. กฎหมายยานยนต์ 2507 (Motor Vehicle Law 1964 (The Chairman of Revolutionary
Council enacted it by law No.17 in 1964))
6. กฎหมายยานยนต์ 2532 (Motor Vehicle Law 1989 (The Ministry of Transport and
Communications made this rule by Notification No. 1/89))
7. ขั้นตอนการลงทะเบียนของยานพาหนะและการออกใบอนุญาตขับรถ 2537 (Procedures for
registration of vehicles and issuing of driving license 1994)

114
115
การเงินการธนาคาร
หลังจากเมียนมามีการจัดตั้งรัฐบาลพลเรือนเมื่อเดือนเมษายน 2554 ได้มีการด�ำเนินการปฏิรูประบบการเงิน
การธนาคารของประเทศอย่างต่อเนื่อง มีการจัดท�ำแผนพัฒนาสถาบันการเงิน ด�ำเนินการแก้ไข/ยกเลิกกฎหมาย
ด้านการเงินการธนาคารหลายฉบับ เพื่อรองรับระบบเศรษฐกิจที่เปิดรับการลงทุนจากต่างประเทศ ตัวธนาคารกลางของ
เมียนมามีความเป็นอิสระมากขึ้นจากเดิมที่ต้องอยู่ภายใต้การก�ำกับของกระทรวงการคลัง

1. สถาบันการเงิน
ระบบสถาบันการเงินของเมียนมาประกอบด้วยธนาคารกลาง (CentralBankofMyanmar:CBM) ธนาคารของรัฐ
ธนาคารพาณิ ช ย์ เ อกชน (Privately-Owned Bank) ส� ำ นั ก งานตั ว แทนสาขาจากธนาคารต่ า งประเทศ
(Representative Offices of Foreign Banks) และสาขาธนาคารต่างประเทศ (Branch Office)

ระบบธนาคารของเมียนมา

ธนาคารกลาง

ธนาคารของรัฐ ธนาคารพาณิชย์เอกชน ส�ำนักงานตัวแทนสาขา สาขาธนาคาร


จากธนาคารต่างประเทศ ต่างประเทศ
4 แห่ง 23 แห่ง 43 แห่ง 9 แห่ง

ที่มา: ศูนย์ AEC Strategy Center มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, พ.ย. 2557.

ธนาคารกลาง (Central Bank of Myanmar : CBM)


ตามกฎหมายธนาคารกลางเมียนมาฉบับใหม่ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2556 ก�ำหนดให้ธนาคารกลางของเมียนมา
สามารถด�ำเนินการได้โดยอิสระ โดยประธานาธิบดีเมียนมาจะเป็นผู้เสนอชื่อผู้ว่าการและคณะกรรมการบริหาร
(Board of Directors) ให้รัฐสภาเป็นผู้เห็นชอบ
ธนาคารกลางมีหน้าที่ ดังนี้
- ก�ำหนดนโยบายการเงิน
- รักษาเสถียรภาพระบบการเงิน
- ควบคุมอัตราเงินเฟ้อ
- บริหารจัดการตลาดเงิน
- เงินส�ำรองระหว่างประเทศ ระบบการช�ำระเงินและบัญชี
- การพิมพ์ธนบัตร

116
ธนาคารกลางเมียนมา เป็นผู้ออกใบอนุญาต ที่ประกอบกิจการด้านเกษตรและปศุสัตว์
และก�ำกับดูแล วางระเบียบ สถาบันการเงินของเมียนมา 4. ธนาคารพาณิชย์เอกชน (Privately- Owned
ได้แก่ ธนาคารของรัฐ และเอกชน สาขาธนาคาร Bank) มี 23 แห่ง เป็นธนาคารที่ได้รับอนุญาตให้
ต่างประเทศ (Branch Office) และส�ำนักงานตัวแทน ท�ำธุรกรรมทางการเงินเฉพาะภายในประเทศเท่านั้น
(Representative Office) ของธนาคารต่างประเทศ ไม่สามารถให้บริการด้านต่างประเทศได้ ยกเว้น ธนาคาร
Kanbawza Bank, Co-operative Bank, Ayeyarwady
ธนาคารของรัฐ (State-Owned Bank) เป็นธนาคาร Bank, United Amara Bank, Asia Green Development
เฉพาะด้าน มี 4 แห่ง คือ Bank ที่สามารถให้บริการทางการเงินเพื่อการส่งออก
1. Myanmar Foreign Trade Bank เป็น และน�ำเข้าได้
ธนาคารที่ให้บริการแก่ธุรกิจที่ท�ำการค้าระหว่างประเทศ ทั้งนี้ ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2556 เป็นต้นมา
เช่น บริการการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ บริการ ธนาคารเอกชนของเมียนมา 4 แห่ง คือ ธนาคาร
การเงินเพื่อการส่งออกและน�ำเข้า Cooperatives Bank ธนาคาร Kanbawza Bank
2. Myanmar Investment and Commercial ธนาคาร Asia Green Development Bank และ
Bank ให้บริการด้านสินเชื่อแก่นักธุรกิจต่างชาติที่ลงทุน ธนาคาร Ayeyarwady Bank ยังได้รับอนุญาตให้จัดการ
ในเมียนมา และชาวเมียนมาให้บริการทางการเงิน การโอนเงินกลับประเทศจากแรงงานชาวเมียนมา
ระหว่างประเทศ รับฝากเงิน ให้กู้ยืมเงินทั้งระยะสั้นและ ที่ท�ำงานอยู่ในประเทศสิงคโปร์ ไทย และมาเลเซีย
ระยะยาว ปั จ จุ บั น ชาวเมี ย นมาได้ เ ข้ า ถึ ง บริ ก ารจาก
3. Myanmar Economic Bank ท�ำหน้าที่ ธนาคารทั้งของรัฐและเอกชนน้อยมาก จากสถิติพบว่า
ให้ค�ำปรึกษา รับฝากเงิน ให้บริการทางการเงินระหว่าง ณ กันยายน 2556 จ�ำนวนสาขาของธนาคารมีทั้งสิ้น
ประเทศ ให้สินเชื่อแก่ภาครัฐและเอกชนในเมียนมา 863 สาขา เป็นของธนาคารของรัฐ 319 สาขา และของ
Myanmar Agriculture and Development Bank ธนาคารพาณิชย์เอกชน 544
ให้บริการรับฝาก ให้สินเชื่อ แก่กสิกรเมียนมา สหกรณ์

รายชื่อธนาคารพาณิชย์เอกชน
ล�ำดับ รายชื่อ ล�ำดับ รายชื่อ
1 Myanmar Citizens Bank 13 Rual Development Bank
2 First Private Bank 14 Innwa Bank
3 Co-operative Bank* 15 Asia Green Development Bank*
4 Yadanabon Bank 16 Ayeyarwady Bank*
5 Myawaddy Bank 17 United Amara Bank*
6 Yangon City Bank 18 Myanma Apex Bank*
7 Yoma Bank 19 Naypyitaw Sibin Bank
8 Myanmar Oriental Bank* 20 Myanmar Microfinance Bank
9 Asia Yangon Bank 21 Construction and Housing Development Bank
10 Tun Foundation Bank 22 Shwe Rural and Urban Development Bank
11 Small & Medium Industrial Development Bank 23 Kanbawza Bank*
12 Global Treasure Bank
ที่มา: Central Bank of Myanmar, 2557.
* หมายถึง ธนาคารเอกชนที่ให้บริการเกี่ยวกับ L/C และการท�ำธุรกรรมด้านการค้าระหว่างประเทศ

117
118
ส�ำนักงานตัวแทนสาขาจากธนาคารต่างประเทศ (Representative Offices of Foreign Banks)
ธนาคารต่างประเทศได้รับอนุญาตให้เปิดเป็นส�ำนักงานตัวแทน (Representative Office) จะด�ำเนินธุรกิจได้
เพียงการเป็นส�ำนักงานติดต่อประสานงาน (Liaison) ในปัจจุบันส�ำนักงานผู้แทนของธนาคารต่างชาติที่ได้รับอนุญาต
ให้เปิดส�ำนักงานและด�ำเนินการแล้ว มีส�ำนักงานตัวแทนของธนาคารต่างประเทศจ�ำนวน 45 แห่ง ในจ�ำนวนนี้ มี
ธนาคาร 9 แห่ง ที่ธนาคารกลางเมียนมาได้ออกใบอนุญาตให้ด�ำเนินกิจการในรูปสาขาธนาคารต่างประเทศ (Branch
Office) เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2557

รายชื่อส�ำนักงานตัวแทนของธนาคารต่างประเทศ
ล�ำดับ รายชื่อ ล�ำดับ รายชื่อ
1. DBS Bank Limited 23. Vietin Bank
2. United Overseas Bank Limited** 24. Korea Development Bank
3. Oversea-Chinese Banking Corporation Limited** 25. First Commercial Bank (New Licence for Change of
Management Office)
4. Malayan Banking Berhad (MAYBANK), Malaysia** 26. E.SUN Commercial Bank, Singapore Branch
5. Bangkok Bank Public Company Limited** 27. Industrial Bank of Korea
6. National Bank Limited 28. Standard Chartered Bank
7. Brunei Investment Bank (BIB) 29. Shinhan Bank
8. First Overseas Bank Limited 30. Bank of India (BOI)
9. CIMB Bank Berhad (New Licence for Name of 31. Mizuho Corporate Bank Limited (New Licence for
Change) Merger) **
10. Sumitomo Mitsui Banking Corporation (New Licence 32. Export-Import Bank of India
for Merger) **
11. The Bank of Tokyo -Mitsubishi UFJ, Limited ** 33. Kookmin Bank
12. Bank for Investment and Development of Vietnam 34. The Export-Import Bank of Korea
13. Arab Bangladesh (AB)Bank Limited 35. Eastern Bank Limited
14. Industrial and Commercial Bank of China Limited** 36. Australia and Newzealand Banking Group Limited
(ANZ Bank) **
15. Siam Commercial Bank Public Company Limited 37. RHB Bank Berhad
16. Maruhan Japan Bank PLC 38. Commercial Bank of Ceylon PLC
17. Krung Thai Bank Public Company Limited 39. State Bank of India
18. United Bank of India 40. Cathay United Bank
19. Kasikornbank Public Company Limited 41. State Bank of Mauritius
20. Hana Bank 42. BRED BanquePopulaire
21. Woori Bank 43. AEON Credit Service Company
22. Bank of Ayudhya Public Company Limited
ที่มา : Central Bank of Myanmar, 2557.
หมายเหตุ : **ธนาคารที่ได้รับใบอนุญาตให้ด�ำเนินกิจการในรูปสาขาธนาคารต่างประเทศ (Branch Office)
เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2557

119
สาขาธนาคารต่างประเทศ (Branch Office)
ตามกรอบการพัฒนาตลาดทุนส่วนของการเปิดเสรีภาคธนาคาร ที่กระทรวงการคลัง ธนาคารกลางของเมียนมา
และสถาบันวิจัย Daiwa Research Institution ก�ำหนดไว้ว่าในระยะที่ 3 จะอนุญาตธนาคารต่างชาติเปิดสาขาใน
เมียนมาได้ ล่าสุดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ธนาคารกลางเมียนมาได้ให้ใบอนุญาต ธนาคารต่างชาติเปิดสาขาในเมียนมา
จ�ำนวนทั้งสิ้น 9 ธนาคาร คือ ธนาคารจากประเทศญี่ปุ่น 3 ธนาคาร ประเทศสิงคโปร์ 2 ธนาคาร และธนาคารจาก
ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ จีน มาเลเซีย และประเทศไทย อย่างละ 1 ธนาคาร ดังนี้

รายชื่อธนาคารต่างประเทศที่ได้รับอนุมัติให้เปิดสาขาในเมียนมา
ประเทศ ชื่อธนาคาร
ญี่ปุ่น Bank of Tokyo-Mitsubishi UFJ (BTMU)
Mizuho Bank (MB)
Sumitomo Mitsui Banking Corporation (SMBC)
สิงคโปร์ Oversea-Chinese Banking Corporation (OCBC)
United Overseas Bank (UB)

ไทย Bangkok Bank


จีน Industrial and Commercial Bank of China (ICBC)
มาเลเซีย Malayan Banking Berhad (Maybank)
ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ Australia and New Zealand Banking Group Limited (ANZ)
ที่มา : ศูนย์ AEC Strategy Center มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, พ.ย. 2557.

ธนาคารทั้ง 9 แห่งนี้ มีสิทธิ์เปิดสาขาได้เพียง 1 สาขาเท่านั้น การด�ำเนินธุรกรรมแก่บริษัทต่างชาติ ด�ำเนินการ


ได้เฉพาะเงินตราต่างประเทศ ส่วนธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับเงินจ๊าตซึ่งเป็นสกุลเงินของเมียนมาให้ด�ำเนินการผ่าน
พันธมิตรที่เป็นธนาคารท้องถิ่น

สถาบันการเงินขนาดเล็ก (Micro Financial Institutions: MFI)


เป็นแหล่งเงินทุนส�ำหรับผู้ประกอบการรายย่อยและคนยากจน ที่อาจไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนหลักๆ
เช่น ธนาคารพาณิชย์ได้ ในการปฏิรูประบบการเงินของเมียนมา ได้มีการออกกฎหมาย Microfinance Law 2011
มีการจัดตั้ง Myanmar Microfinance Supervisory Bureau เป็นหน่วยงาน ด�ำเนินการ บริหารจัดการ ก�ำหนด
ข้อบังคับเกี่ยวกับสถาบันการเงินขนาดเล็ก
ตามกฎหมาย สถาบันการเงินขนาดเล็ก สามารถให้บริการได้ ดังนี้
(ก) การขยายสินเชื่อขนาดเล็ก
(ข) การรับเงินฝาก
(ค) ด�ำเนินการโอนเงิน
(ง) การด�ำเนินธุรกิจประกัน
(จ) กู้ยืมเงินจากในประเทศและต่างประเทศ
(ฉ) การด�ำเนินกิจกรรมทางการเงินอื่นๆ

120
จากข้อมูล ณ กุมภาพันธ์ 25561 มีสถาบันการเงินขนาดเล็กในเมียนมา 142 ราย เช่น Myanmar Agriculture
and Development, Myanmar Microfinance Bank, ACLEDA MFI Myanmar Co.Ltd., AEON Microfinance
(Myanmar) Co.Ltd. เป็นต้น

2. ระบบการเงิน
สกุลเงิน
สกุลเงินของเมียนมา คือ เงินจ๊าต (Kyat)

ภาพ ธนบัตรเมียนมามูลค่า 10,000 จ๊าต และการซื้อสินค้าหรือน�ำเงินฝาก ถอนธนาคาร

สกุลเงินที่รัฐบาลเมียนมาอนุญาตให้ใช้ในการช�ำระเงินระหว่างประเทศกับเมียนมาได้ คือ เหรียญสหรัฐ ยูโร


และเหรียญสิงคโปร์ ส่วนกรณีการค้าชายแดน นิยมใช้สกุลเงินของประเทศคู่ค้า ได้แก่ หยวน บาท รูปี ในการช�ำระ
ค่าสินค้าและบริการระหว่างกัน

1
: The Banking&Financial Services Sector in Myanmar, KPMG,2013

121
นโยบายอัตราแลกเปลี่ยน
เมียนมาเปลี่ยนแปลงนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ต่อมาได้ยกเลิกระบบอัตราแลกเปลี่ยน
แบบคงที่ (Pegged Exchange rate) ไปสู่การใช้อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวที่มีการบริหารจัดการ (Managed
Floating Rate) ตั้งแต่เมื่อ 2 ปีที่ผ่านมา (1 เมษายน 2555) ตามแผนการปฏิรูประบบการเงินของประเทศ
นักธุรกิจสามารถที่จะแลกเงินตามเคาน์เตอร์ธนาคาร มีธนาคารกว่า 18 แห่ง จ�ำนวน Counters กว่า 129 แห่ง
ที่ให้บริการ ดังต่อไปนี้

Money Changer Banks with 129 Money Changer Conters (end of April, 2013)
Sr.No. Banks Counters
1 Co-operative Bank 30
2 Myawaddy Bank 4
3 Myanma Oriental Bank 7
4 Kanbawza Bank 31
5 Small and Medium Industries Development Bank 7
6 Innwa Bank 4
7 Myanmar Citizens Bank 3
8 First Private Bank 3
9 Tun Foundation Bank 12
10 Asia Green Development Bank 3
11 Ayeyarwady Bank 3
12 Rural Development Bank 8
13 United Amara Bank 3
14 Asia Yangon Bank 4
15 Myanma Apex Bank 1
16 Yoma Bank 2
17 Myanma Livestock and Fisheries Development BAnk 1
18 Yangon City Bank
ทีม่ า : U Bharat Singh, Deputy Director General, Governor Office, Financial Sector Development in Myanmar, 21 May,
2013.

ด้านระบบการช�ำระเงิน
การท�ำการค้าระหว่างไทยกับเมียนมา วิธีการช�ำระเงินค่าสินค้าและบริการที่นิยมมี 2 วิธี คือ
1. การช�ำระเงินล่วงหน้า (Advance Payment) เป็นการตกลงระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขายชาวไทยกับเมียนมา
โดยผู้ซื้อจะโอนเงินค่าสินค้าไปให้ผู้ขายล่วงหน้า ผู้ขายจึงจะจัดท�ำเอกสารการส่งออกและส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อ ธนาคาร
เป็นตัวกลางในการช�ำระเงิน (Money Transfer)
2. การช�ำระเงินโดยเปิดบัญชีขายเชื่อ (Open Account) การซื้อขายแบบ “เปิดบัญชี” เป็นการตกลง
ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขายชาวไทยกับเมียนมา โดยที่ผู้ขายยินยอมให้ผู้ซื้อช�ำระเงินค่าสินค้าภายหลังจากได้รับสินค้าภายใน
ระยะเวลาที่ก�ำหนด ผู้ขายจะจัดการส่งสินค้าและเอกสารที่เกี่ยวข้องไปให้ผู้ซื้อโดยตรงธนาคารเป็นตัวกลางใน
การช�ำระเงิน (Money Transfer)

122
3. การเปิด Letter of Credit การช�ำระเงิน และถอนได้ไม่เกิน 50,000 เหรียญสหรัฐ ไม่เกิน 5 ครั้ง
วิธีนี้เป็นวิธีการช�ำระเงินที่เป็นมาตรฐานสากล ผูกมัด ผู้ซื้อ ใน 1 สัปดาห์ (จากเดิมที่ก�ำหนดให้ถอนได้ 2 ครั้ง หรือ
และผู้ขาย ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ใน L/C ซึ่งแล้วแต่จะ ไม่เกิน 20,000 เหรียญสหรัฐต่อ 1 สัปดาห์)
ตกลงกัน โดยมีธนาคารเป็นสื่อกลาง
ส�ำหรับธนาคารของเมียนมาที่ให้บริการ โอนเงิน การโอนเงินรายได้กลับประเทศ
(Money Transfer) และการเปิด L/C ต้องเป็นธนาคาร ตามกฎหมายการลงทุนจากกต่างประเทศ (Foreign
ที่ได้รับอนุญาตให้ท�ำธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ Investment Law 2012) ของเมียนมา อนุญาตให้
(Authorized Dealer License) จากธนาคารกลางเมียนมา นักลงทุนต่างประเทศโอนเงินตราต่างประเทศเข้า - ออก
ได้แก่ ธนาคารของรัฐ 3 แห่ง คือ Myanmar Foreign ได้ และอนุญาตให้ชาวต่างชาติที่ท�ำงานในเมียนมาโอน
Trade Bank, Myanmar Investment and Commercial เงินตราต่างประเทศ ซึ่งเป็นรายได้สุทธิ หลังหักภาษีเงิน
Bank และ Myanmar Economic Bank และธนาคาร ได้และค่าใช้จ่ายอื่นได้
เอกชน 5 แห่ง คือ Kanbawza Bank, Co-operative
Bank, Ayeyarwady Bank, United Amara Bank,
Asia Green และ Development Bank

3. การโอนเงินตราออกนอกประเทศ
นโยบายด้านการควบคุมเงินตราต่างประเทศ
ธนาคารกลางเมียนมาเป็นผู้ก�ำกับและควบคุม
เงินตราต่างประเทศของเมียนมา ปัจจุบนั ได้มกี ารผ่อนคลาย
กฎระเบียบของการโอนเงินตราต่างประเทศ จากเดิม
ที่ก�ำหนดให้ชาวต่างชาติหรือนิติบุคคลในเมียนมาต้อง
ขออนุมัติจากธนาคารกลางเมียนมาก่อนส่งเงินตราต่าง
ประเทศออกนอกประเทศ และต้องเป็นจ�ำนวนเงินตาม
ที่ธนาคารกลาง (CBM) อนุญาต โดยจะต้องท�ำธุรกรรม
กับผู้ค้าที่ได้รับอนุญาต (Authorized Dealer) เท่านั้น
มาเป็นอนุญาตให้ธนาคารของรัฐ 3 แห่ง คือ Myanmar
Economic Bank, Myanmar Investment and Com-
mercial Bank, Myanmar Foreign Trade Bank และ
ธนาคารเอกชน 14 แห่ง ให้บริการเปิดบัญชีเงินตรา
ต่างประเทศได้ ส่งผลให้ภาคเอกชนสามารถซือ้ หรือขายเงิน
ตราต่างประเทศ โอนเงินผ่านบัญชีเงินตราต่างประเทศ
ได้ทุกวัน ตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันศุกร์ นอกจากนี้ ยังอนุญาต
ให้ ช าวต่ า งชาติ ส ามารถถอนเงิ น จากบั ญ ชี เ งิ น ตรา
ต่างประเทศได้ทกุ วันท�ำการ โดยถอนได้จากทัง้ ธนาคารของ
รัฐและธนาคารเอกชน (จากเดิมที่ก�ำหนดให้ถอนได้เพียง
2 วันใน 1 สัปดาห์ และถอนได้จากธนาคารรัฐเท่านั้น)
แต่ยังจ�ำกัดวงเงินถอนไว้ที่ 10,000 เหรียญสหรัฐต่อครั้ง

123
การปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา
ผู้ประกอบการไทยที่ไปค้าขายหรือลงทุนใน กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาหลัก: ตราขึ้นโดยสภา
เมียนมา ควรที่จะต้องด�ำเนินการคุ้มครองสินค้าภายใต้ นิติบัญญัติ
ตราสินค้าของตน ไม่ให้ถูกละเมิดลิขสิทธิ์ หรือถูก o Patents and Designs (Emergency
ปลอมแปลงตราสินค้าในตลาดเมียนมาได้ การด�ำเนินการ Provisions) Act of 1946 (1946)
สามารถมอบอ� ำ นาจให้ ส� ำ นั ก งานทนายความของ o The Copyright Act of 1911 (1911)
ต่างชาติ หรือบริษัทที่ด�ำเนินการโดยส�ำนักงานกฎหมาย o Merchandise Marks Act 1889 (1889)
และทนายความชาวเมียนมาด�ำเนินการจดทะเบียน
เครื่องหมายการค้า หรืออาจใช้บริการของหน่วยงาน กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้อง: ตราขึ้น
ในประเทศไทยเพื่อประสานงานส่งต่อการท�ำงานไปที่ โดยสภานิติบัญญัติ
ส�ำนักงานทนายความเมียนมาได้เช่นกัน o Sea Customs Act No. 8 of 1878 (as
ความรูท้ คี่ วรศึกษา คือ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ขัน้ ตอน
amended up to Act 1962) (1962)
ในการจดทะเบียน ค่าใช้จ่าย หน่วยงานที่ให้บริการ o The Antiquities Act 1957 (1957)
o The Specific Relief Act 1877 (as last
1. กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา amended up to Act No. 3 of 1954) (1954)
ปั จ จุ บั น เมี ย นมายั ง ไม่ มี ร ะบบการให้ ค วาม o Registration Act No. 16 of 1908 (1908)
คุ้มครอง และกระบวนการปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา o The Code of Criminal Procedure (1898)
อย่างสมบูรณ์ แม้จะมีการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า o Myanmar Penal Code of 1860 (India
หรือบันทึกข้อมูลสิทธิ์ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ให้ความ Act XLV) (1860)
คุ้มครองเฉพาะลิขสิทธิ์ในประเทศเท่านั้น ไม่ขยายความ
คุ้มครองลิขสิทธิ์ระหว่างประเทศ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้อง: ตราขึ้น
แม้ว่าเมียนมาเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งข้อตกลง โดยฝ่ายบริหาร
ทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (GATT) และ o Electronic Transactions Law (2004)
องค์การการค้าโลก (WTO) และเข้าร่วมเป็นสมาชิกภาคี o Control of Money Laundering Law
องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (World Intellectual (2002)
Property Organization : WIPO) ตั้งแต่ปี 2554 เมียนมา o Protection and Preservation of Cultural
ตกลงที่จะร่างกรอบกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา Heritage Regions Law (1998)
ให้สอดคล้องกับข้อตกลงการค้าที่เกี่ยวข้องกับสิทธิใน o National Food Law (1997)
ทรัพย์สินทางปัญญา (TRIPS Agreement) ภายในวันที่ 1 o Computer Science Development Law
กรกฎาคม 2013 แต่น่าเสียดายที่เมียนมาไม่ได้ด�ำเนินการ (1996)
ให้เสร็จสิ้นตามก�ำหนด การด�ำเนินการปกป้องทรัพย์สิน o Motion Picture Law (1996)
ทางปัญญา จึงเป็นการด�ำเนินการภายใต้กฎหมายเก่าที่มี o Traditional Drug Law (1996)
ผลบังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน คือ กฎหมายดังต่อไปนี้ o Television and Video Law (1996)
o Science and Technology Development
Law (1994)

124
o Myanmar Citizens Investment Law (1994)
o National Drug Law (1992)

2. ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และการออกแบบลิขสิทธิ์


จากการที่เมียนมาเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก (WTO) การด�ำเนินการปกป้องคุ้มครองลิขสิทธิ์ ตามหลักการ
จึงอยู่ภายใต้ข้อตกลงว่าด้วยส่วนของสิทธิทางทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า รวมทั้งการค้าสินค้าปลอม
(พ.ศ. 2537) (Agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights, Including Trade
In Counterfeit Goods) ในส่วนของกฎหมายที่ให้ความคุ้มครอง ลิขสิทธิ์ ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติและ
กฎหมาย 2 ฉบับ คือ

กฎหมาย ผลบังคับใช้
The Myanmar Copyright Act (1914)1 24 กุมภาพันธ์ 2457
Television and Video Law (1996) 29 กรกฎาคม 2539

ในปัจจุบันเมียนมายังไม่มีระบบการให้ความคุ้มครอง และกระบวนการในการจดทะเบียนลิขสิทธิ์ หรือบันทึก


ข้อมูลลิขสิทธิ์ นอกจากนี้ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ให้ความคุ้มครองเฉพาะลิขสิทธิ์ในประเทศเท่านั้น ไม่ขยายความ
คุ้มครองลิขสิทธิ์ระหว่างประเทศ
สิทธิที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ตาม The Myanmar Copyright Act (1914) กล่าวถึง ลิขสิทธิ์
ส�ำหรับต้นฉบับวรรณกรรม งานละคร ดนตรีหรือศิลปะ ซึ่งถูกตีพิมพ์ครั้งแรกในเมียนมา หรือหากไม่ได้ตีพิมพ์ งานนั้น
จะต้องถูกสร้างขึ้นในเวลาที่ผู้เขียนเป็นพลเมืองหรือเป็นผู้ที่มีถิ่นพ�ำนักในเมียนมา โดยก�ำหนดว่า “ลิขสิทธิ์” หมายถึง
สิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวในการท�ำ หรือท�ำซ�้ำงาน หรือส่วนใดส่วนหนึ่งที่เป็นสาระส�ำคัญของงานไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบใด
หรือการแสดง หรือในกรณีของการแสดงปาฐกถา เผยแพร่ต่อสาธารณชน รวมถึงสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในกรณีดังต่อไปนี้
1. ท�ำ ท�ำซ�้ำ แสดง หรือเผยแพร่งานแปลใดๆ
2. ในกรณีของงานนาฏกรรม ได้แก่ การดัดแปลงงานจากเดิมเป็นนวนิยาย หรืองานประเภทอื่นที่ไม่ใช่งาน
นาฏกรรม
3. ในกรณีของนวนิยาย หรืองานประเภทอื่นที่ไม่ใช่งานนาฏกรรม หรืองานศิลปกรรม ได้แก่ การดัดแปลง
งานจากเดิมเป็นงานนาฏกรรมโดยเผยแพร่ต่อสาธารณชน หรือโดยประการอื่น
4. ในกรณีของงานวรรณกรรม งานนาฏกรรม หรืองานดนตรีกรรม ได้แก่ การบันทึกใดๆ การบันทึกบนเครื่อง
บันทึกเสียงแบบเจาะรู ภาพยนตร์ หรือเครื่องที่ประดิษฐ์ขึ้น ซึ่งงานสามารถน�ำมาเล่นซ�้ำได้โดยใช้เครื่องมือ
ที่จ�ำเป็น

1
: The Myanmar Copyright Act (1914) เป็นพระราชบัญญัติที่ตราขึ้นโดยเนื้อหาส่วนใหญ่อิงตามThe Copyrigh t Act (1911)

125
126
งานที่ได้รับความคุ้มครองภายใต้กฎหมายลิขสิทธิ์ อื่นใช้สิทธิซึ่งงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
มีดังต่อไปนี้ ในกรณี ที่ ง านภาพพิ ม พ์ หรื อ งานภาพถ่ า ย
1. งานวรรณกรรม รวมถึง แผนที่ แผนภูมิ ที่ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ขึ้น โดยการรับจ้าง ให้ผู้ว่าจ้าง
แบบแปลน ตาราง และการรวบรวมงาน ดังกล่าว เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในงานนั้น เว้นเสียแต่ว่า จะก�ำหนด
2. งานนาฏกรรม รวมถึงส่วนใดส่วนหนึ่งของการ เป็นลายลักษณ์อักษรไว้เป็นอย่างอื่น ส่วนงานอื่นที่ได้
ปาฐกถา การเต้นร�ำหรือการแสดงโดยวิธีใบ้ การละคร สร้างสรรค์ในฐานะพนักงานหรือลูกจ้าง ให้ลิขสิทธิ์เป็น
หรือรูปแบบการแสดงที่เป็นลายลักษณ์อักษรหรือโดย ของผู้สร้างสรรค์ เว้นแต่จะได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่นเป็น
ประการอื่น และการท�ำภาพยนตร์ซึ่งรูปแบบการจัดการ ลายลักษณ์อักษร
หรือการแสดง หรือการรวบรวมเหตุการณ์ที่แสดงถึงงาน
ดั้งเดิม อายุความคุ้มครอง
3. งานดนตรีกรรม รวมถึงการรวบรวมท�ำนอง ระยะเวลาของความคุ้มครองลิขสิทธิ์ คือ ตลอด
และค�ำร้อง หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ในรูปแบบที่เป็น อายุของผู้สร้างสรรค์และมีอยู่ต่อไปอีก 50 ปี นับแต่
ลายลักษณ์อักษร ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่กรรม อย่างไรก็ตาม ในกรณีดังต่อไปนี้
4. งานศิ ล ปกรรม รวมถึ ง งานจิ ต รกรรม จะไม่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ภายหลังจากระยะ
งานประติมากรรม งาน Artistic Craftsmanship เวลา 25 ปี ของลิขสิทธิ์ หรือภายหลังจากระยะเวลา 30
งานสถาปัตยกรรม งานภาพพิมพ์ และงานภาพถ่าย ปี นับจากวันที่ผู้สร้างสรรค์งานลิขสิทธิ์ที่ได้โฆษณาแล้ว
5. งานภาพยนตร์ รวมถึงงานใดๆ ซึ่งท�ำขึ้นโดย ถึงแก่กรรม มีการท�ำซ�้ำงานของผู้สร้างสรรค์ดังกล่าวโดย
กระบวนการถ่ายท�ำภาพยนตร์ พิสูจน์ได้ว่า ผู้ท�ำซ�้ำได้แจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรถึงเจตนา
6. งานประติมากรรม รวมถึงงานหล่อ และรูปแบบ ในการท�ำซ�้ำงาน และได้ช�ำระค่าสิทธิแก่เจ้าของลิขสิทธิ์
จ�ำลอง ในอัตราร้อยละ 10 ของงานที่จ�ำหน่ายได้ หรือตามแต่
7. งานสถาปั ต ยกรรม หมายถึ ง งานด้ า น ที่คณะกรรมการทางการค้าจะก�ำหนด ระยะเวลาความ
ออกแบบอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างที่มีคุณค่าทางศิลป์ คุ้มครองลิขสิทธิ์ในงานภาพถ่ายมีอายุ 50 ปี นับตั้งแต่วัน
ในงานจะบอกลักษณะ แบบ การสร้างสรรค์หุ่นจ�ำลอง ที่ผู้สร้างสรรค์ได้จัดท�ำภาพถ่ายที่ยังไม่ผ่านกระบวนการ
ของอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างนั้น ทั้งนี้ งานดังกล่าว ในกรณีลิขสิทธิ์ค�ำแปล ผู้สร้างสรรค์มีสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียว
จะต้องมีคุณค่าทางศิลป์ แต่จะไม่คุ้มครองถึงกระบวนการ ในการท�ำ ท�ำซ�้ำ แสดง หรือเผยแพร่ค่าแปลของงานอัน
และวิธีการก่อสร้าง มีลิขสิทธิ์ ภายในระยะเวลา 10 ปี นับจากวันที่โฆษณา
8. งานภาพพิมพ์ ให้รวมถึงแม่พิมพ์ การพิมพ์ งานครั้งแรก
ภาพ การแกะสลัก การพิมพ์และงานอื่นที่คล้ายคลึงกัน
ที่ไม่ใช่งานภาพถ่าย หน่วยงานรับผิดชอบ
9. งานภาพถ่าย ให้รวมถึงงานภาพถ่าย และงาน ในประเทศเมียนมา ไม่มีส�ำนักงานลิขสิทธิ์ดูแล
อื่นใดที่ผลิตด้วยกระบวนการที่ใช้โดยการถ่ายภาพ เรื่องการให้ความคุ้มครองลิขสิทธิ์โดยตรง อย่างไรก็ตาม
ส�ำนักงานจดทะเบียนและตรวจสอบข่าว (Press Security
สิทธิของผู้ทรงสิทธิ์ and Registration Division) ท�ำหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับ
เจ้าของลิขสิทธิ์ย่อมมีสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวในการ การจดทะเบียนหนังสือ ทีจ่ ะจัดพิมพ์ขนึ้ ในประเทศเมียนมา
ท�ำ ท�ำซ�้ำ หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน อนุญาตให้บุคคล

127
การละเมิด
การด�ำเนินกระบวนการทางอาญา เกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์นั้น ผู้เสียหายสามารถยื่นค�ำร้องต่อศาลสูง
(Magistrate of the First) ได้โดยตรง การด�ำเนินกระบวนการทางแพ่ง เกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์นั้น ผู้เสียหาย
สามารถยื่นค�ำฟ้องได้ที่ศาลสูง (High Court) หรือต่อศาลแขวง (District Court) ได้ ในกรณีการน�ำเข้าสินค้าละเมิด
ลิขสิทธิ์ เจ้าพนักงานศุลกากรเป็นผู้มีอ�ำนาจในการจับกุม และยึดสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ที่น�ำเข้ามาในประเทศเมียนมา

ส�ำนักงานตัวแทน2
U. Kyi Win No. 53-55 Mahabandoola Garden Street
P.O. Box (26) Yangon, Myanmar
Tel: 95-1-372416 Fax: 95-1-376031
E-mail: edkyiwin@mptmail.net.mm
U Kyi Win & Associates 53-55, Maha Bandoola Garden Street
P.O. Box No. 26
Yangon, Myanmar
Tel: 95-1 372 416
Fax: 95-1 376 031
E-mail: edkyiwin@mptmail.net.mm
U Myint Lwin Law Office 162, 1st Floor 35th Street
Kyauktada Township
Yangon, Myanmar
Tel: 95-1 371 990
Fax: 95-1 371-990 Or 296-848
E-mail: myint.advocate@mptamil.net.mm
Russin & Vecchi, Ltd. 8 (c), Bogyoke Museum Rd.
Bahan Township
Yangon, Myanmar
Tel: 95-1 540995, 557896
Fax: 95-1 548835
E-mail: burmalaw@mptmail.net.mm
Myint Lwin & Khine U Room 205, Asia World Bld
Thirimingalar Housing,
Strand Road, Ahlone Township
Yangon, P.O. Box 1126 Myanmar
Tel: 95 01 212911
Fax: 95 01 212461, 296848 95 01 289960, 289961
E-mail: mlwinku@mptmail.net.mm
Website: www.mlwinku.com

2
: กฎหมายลิขสิทธิ์-สหภาพเมียนมา. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เข้าถึงจาก http://onestopservice.ditp.
go.th/download/file/131dip.pdf ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557

128
สิทธิบัตรและการออกแบบอุตสาหกรรม
เนื่องจากไม่มีกฎหมายที่ครอบคลุมเรื่องสิทธิบัตรและการออกแบบอุตสาหกรรม กฎหมายปัจจุบันที่บังคับใช้
คือ The India Patents and Design Law of 1911 ซึ่งไม่มีข้อก�ำหนดและกระบวนการที่ระบุเรื่องการจดทะเบียน
สิทธิบัตรและการออกแบบ ดังนั้น The Myanmar Office of Registration of Deeds จึงไม่อนุญาตให้มีการจด
ทะเบียนสิทธิบัตรและการออกแบบ
ในกรณีนี้ อาจด�ำเนินการจดสิทธิบัตรตามมาตรา 18 (f) แห่งพระราชบัญญัติ Registration Act โดยเจ้าของ
สิทธิบัตรท�ำการประกาศแถลงข้อเท็จจริงในสิ่งประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์อย่างเป็นทางการ และเป็น
ทางการประกาศเตือนให้ผู้อื่นละเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น

3. เครื่องหมายการค้า
เมียนมาไม่มีกฎหมายที่คุ้มครองในเรื่องเครื่องหมายการค้าโดยตรง สิทธิในเครื่องหมายการค้าจึงอาศัยหลัก
ทั่วไปของกฎหมายพาณิชย์ นอกจากนี้ ยังมีกฎหมายกฎหมายอาญา Code 6 ที่กล่าวถึง เครื่องหมายการค้าไว้ว่า
เครื่องหมายการค้า เป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการแสดงถึงว่าสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้านี้ผลิตโดยบุคคลหรือกิจการ
ผู้เป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้า

การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
ในการด�ำเนินการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า สถานที่ในการจดทะเบียน คือ Office of the Registration
of Deeds and Assurances ตามที่อยู่

The Office of the Registration of Deeds and Assurances


Ministry of Science and Technology
No. (6) Kaba Aye Pagoda Road, Yangon
Tel.: (951) 65 01 91 / 66 57 01
Fax: (951) 66 76 39 / 66 60 19
E-mail: most@mptmail.net.mm

จากการที่ไม่มีกฎหมายคุ้มครองเครื่องหมายการค้าโดยตรง การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าในเมียนมา
เป็นการด�ำเนินการตามมาตรา 18 (f) แห่งพระราชบัญญัติ Registration Ac ท�ำให้การจดทะเบียนการค้านี้ เป็นเพียง
การสร้างหลักฐานพยานตามกฎหมายจารีตประเพณี

129
เอกสารที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า3

เอกสารที่ต้องเตรียมการและอากรแสตมป์ที่ต้องช�ำระเงิน มีดังนี้

เอกสาร ค่าอากรแสตมป์
1. หนังสือมอบอ�ำนาจจากเจ้าของเครือ่ งหมายการค้าให้แก่ตวั แทน รับรองลายมือชือ่ ผ่าน 40 จ๊าต
การรับรองเอกสารโดยสถานทูตหรือสถานกงสุลในประเทศของเจ้าของเครื่องหมายการค้า
หนังสือมอบอ�ำนาจต้องระบุชอื่ เจ้าของประเทศต้นก�ำเนิดเครือ่ งหมายการค้า ทีอ่ ยูข่ องเจ้าของ
ลายมือชื่อของเจ้าของผู้มอบอ�ำนาจ

2. ค�ำแถลงแสดงความเป็นเจ้าของ ซึ่งต้องรับรองลายมือชื่อโดยกรมการกงสุลในประเทศ 25 จ๊าต


ของเจ้าของ ค�ำแถลงดังกล่าวต้องลงลายมือชื่อโดยบุคคลที่ลงนามในหนังสือมอบอ�ำนาจ และ
ต้องระบุชอื่ เต็มของผูข้ อ ทีอ่ ยูจ่ ดทะเบียน วันทีแ่ ละสถานทีจ่ ดทะเบียนบริษทั และอาจรวมราย
ละเอียดสินค้า และ/หรือบริการที่เครื่องหมายการค้าครอบคลุมด้วย
ต้องแยกค�ำแถลงแสดงความเป็นเจ้าของ ส�ำหรับแต่ละเครื่องหมายการค้าที่ต้องการจด
ทะเบียน ในวิธีปฏิบัติปัจจุบัน ค�ำแถลงแสดงความเป็นเจ้าของส�ำหรับเครื่องหมายการค้าหนึ่ง
อาจใช้ได้กับหลายหมวดสินค้า

3. รูปเครื่องหมายการค้า (ตัวอย่าง) 5 ใบ ขนาด 1.5 X 1.5 นิ้ว พร้อมกับแบบฟอร์มขอ 300 จ๊าตต่อหนึ่งค�ำขอ


อนุญาตจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมเจ้าของเครื่องหมายการค้า จดทะเบียน 6 จ๊าตต่อ
ต่างชาติต้องยื่นใบค�ำขอจดทะเบียนผ่านตัวแทนรับอนุญาตหรือทนายความ และต้องใช้ หนึ่งเครื่องหมายการค้า
เอกสารทัง้ หมดเป็นภาษาอังกฤษ และต้องมีใบรับรองการแปลเป็นภาษาอังกฤษด้วย ในกรณีที่ ที่ต้องการจดทะเบียน
เอกสารดังกล่าวไม่ได้ใช้ในภาษาอังกฤษ

ที่มา : รวบรวมโดย ศูนย์ AEC Strategy Center มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พ.ย. 2557.


หมายเหตุ : สิ่งที่ต้องระมัดระวัง คือ ผู้ด�ำเนินการจดทะเบียน ต้องมีเอกสารถูกต้อง ครบถ้วน และท�ำการติดอากรแสตมป์ ให้
ถูกต้องและครบถ้วนภายในระยะเวลาที่กฎหมายก�ำหนด

3
: คู่มือการลงทุนในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา. ศูนย์ส่งเสริมการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ (Overseas Trade &
Investment Center)., 2556

130
ระยะเวลาด�ำเนินการ
ระยะเวลาในการด�ำเนินการขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ากรณีกิจการท้องถิ่น อย่างน้อย 3 สัปดาห์
นับตั้งแต่วันยื่นเอกสาร กรณีที่ด�ำเนินการผ่านหน่วยงานในประเทศไทย หรือผ่านส�ำนักงานตัวแทน ควรต้องเตรียมระยะ
เวลาไว้ประมาณ 3-5 เดือน

การลงประกาศโฆษณาความเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้า
เมื่อจดทะเบียนแล้ว ให้ทนายความรับอนุญาต ประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นรายวัน และ
หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ เพื่อประกาศแสดงความเป็นเจ้าของ และหากมีการลอกเลียนแบบ ทนายความรับอนุญาต
จะท�ำหน้าที่ในการฟ้องการละเมิดเครื่องหมายการค้าต่อไป

รายละเอียดของข้อความที่ประกาศในหนังสือพิมพ์ ประกอบด้วย
1. ชื่อบริษัท ระบุการจดทะเบียนตามกฎหมายของประเทศต้นทาง
2. แจ้งลักษณะเฉพาะหรือลักษณะพิเศษของเครื่องหมายการค้า พร้อมภาพหรือเครื่องหมายการค้า
3. ระบุเลขที่จดทะเบียนก�ำกับ และ
4. ลงท้ายด้วยประโยคว่า “Any fraudulent imitation or unauthorized use of the said Trade Marks
will be dealt with according to law.”
5. ตามด้วยชื่อ ที่อยู่ ส�ำนักงานกฎหมายที่รับผิดชอบจดทะเบียนว่ารับด�ำเนินการในนามบริษัทใด
6. ลงวันที่ที่เริ่มลงโฆษณา

ภาพแสดงข้อความโฆษณา ของบริษัทไทยที่ด�ำเนินการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่เมียนมา
ในหน้าหนังสือพิมพ์ Myanmar Business Today ฉบับลงวันที่ October 23 – 29, 2014.

131
อายุความคุ้มครอง (Duration and Renewal)
กฎหมายไม่มีการก�ำหนดอายุความคุ้มครองเครื่องหมายการค้า แนวปฏิบัติที่ใช้ปฏิบัติกันทุกๆ 3 ปี
คือ วิธีการ ดังนี้
1. ยื่นค�ำแถลงแสดงความเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าในแบบฟอร์มประกาศความเป็นเจ้าของ (ดูตัวอย่าง
หน้าสุดท้าย)
2. ประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นรายวันหรือหนังสือพิมพ์ นิตยสารทางธุรกิจรายสัปดาห์
3. ด�ำเนินการพร้อมกันทั้งข้อ 1 และ ข้อ 2

การบังคับใช้สิทธิ์4
1. การกระท�ำที่ถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิในเครื่องหมาย
หลักเกณฑ์ที่จะพิจารณาว่าการกระท�ำใดถือเป็นการก่อให้เกิดการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น
ให้ดูว่าการกระท�ำนั้นๆ ท�ำให้สาธารณชนสับสนหลงผิดในเรื่องความเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้านั้นหรือไม่
2. มาตรการในการเยียวยา
เมื่อปรากฏว่ามีการละเมิดสิทธิในเครื่องหมายการค้า เจ้าของเครื่องหมายการค้า จดทะเบียนสามารถใช้
มาตรการเยียวยาทางแพ่งและทางอาญา ดังต่อไปนี้
(ก) มาตรการเยียวยาทางแพ่ง เจ้าของเครื่องหมายการค้าสามารถใช้มาตรการเยียวยาการคุ้มครองชั่วคราว
(Injunctive Relief) หลังจากยื่นค�ำร้องต่อศาล หลังจากนั้น ศาลสั่งให้ผู้ละเมิดระงับการกระท�ำที่เป็น
การละเมิดสิทธิดังกล่าว
(ข) มาตรการเยียวยาทางอาญา การด�ำเนินการต่อผู้กระท�ำการละเมิดในทางอาญา 2 วิธี กล่าวคือ แจ้งข้อมูล
เป็นลายลักษณ์อักษรไปยังสถานีต�ำรวจหรือยื่นค�ำร้องโดยตรงต่อศาล

โทษทางอาญา ถ้าผู้กระท�ำละเมิดมีความผิดอาจถูกพิพากษาให้จ�ำคุกหรือปรับ หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ


- ความผิดที่เกิดจากการใช้เครื่องหมายการค้านั้นมีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับ หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
- บทลงโทษส�ำหรับการลอกเลียนเครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นในลักษณะปลอมแปลงมีโทษจ�ำคุก 2 ปี
หรือปรับ หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
- บทลงโทษส�ำหรับการครอบครองเครื่องมือหรืออุปกรณ์ใดๆ เพื่อส�ำหรับปลอมแปลงเครื่องหมายการค้า
มีโทษจ�ำคุก 3 ปี หรือปรับ หรือทั้งจาทั้งปรับ
- บทลงโทษส�ำหรับการจ�ำหน่ายสินค้าภายใต้เครื่องหมายการค้าที่ปลอมแปลงนั้น มีโทษจ�ำคุก 1 ปี หรือปรับ
หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

ในแต่ละกรณีดังกล่าวข้างต้น ศาลสามารถมีค�ำสั่งริบทรัพย์ที่มีความเกี่ยวข้องกับการปลอมแปลง
เครื่องหมายการค้าอย่างถาวร ในกรณีนี้เป็นดุลยพินิจของศาล

4
: กฎหมายเครื่องหมายการค้า – สหภาพเมียนมา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เข้าถึงจาก http://onestop
service.ditp.go.th/download/file/135dip.pdfณ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557

132
133
ตารางค่าใช้จ่ายในการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
รายการ ค่าธรรมเนียม (เหรียญสหรัฐ) ค่าบริการวิชาชีพ (เหรียญสหรัฐ)*
1. การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า - 150**

2. การตรวจค้นเครื่องหมายการค้า - 25

3. การลงประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์ 80*** (ต่อคอลัมน์นิ้ว) 75****

ที่มา: กฎหมายเครื่องหมายการค้า – สหภาพเมียนมา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เข้าถึงจาก


http://onestopservice.ditp.go.th/download/file/135dip.pdf ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557
หมายเหตุ :
*ค่าใช้จ่ายของตัวแทน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาดังกล่าวได้รวมค่าธรรมเนียมของทางราชการแล้ว
** ค่าบริการดังกล่าวไม่รวมถึงค่าบริการในการลงประกาศโฆษณาเครื่องหมายการค้าในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น
*** ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความยาวของรายละเอียดที่จะตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์
**** ค่าบริการดังกล่าวเป็นค่าบริการกรณีทผี่ ขู้ อประสงค์จะลงประกาศโฆษณาเครือ่ งหมายการค้าในหนังสือพิมพ์ทอ้ งถิน่ เท่านัน้
ไม่รวมถึงค่าบริการในการต่ออายุ

ส�ำนักงานตัวแทนรับบริการจดทะเบียน
เมียนมา
ในย่างกุ้ง มีส�ำนักงานตัวแทนที่รับบริการจดทะเบียน เช่น

ส�ำนักงานตัวแทน

U. Kyi Win No. 53-55 Mahabandoola Garden Street


P.O. Box (26) Yangon, Myanmar
Tel: 95-1-372416
Fax: 95-1-376031
E-mail: edkyiwin@mptmail.net.mm
Russin & Vecchi, Ltd. 8 (c), Bogyoke Museum Rd.
Bahan Township
Win Mu Tin Yangon, Myanmar
Tel: 95-1 540995, 557896
Tin Ohmar Tun Fax: 95-1 548835
E-mail: burmalaw@mptmail.net.mm

134
Myint Lwin & Khine U Room 205, Asia World Bld
Thirimingalar Housing,
Strand Road, Ahlone Township
Yangon, P.O. Box 1126
Myanmar
Tel: 95 01 212911
Fax: 95 01 212461, 296848
95 01 289960, 289961
E-mail: mlwinku@mptmail.net.mm
Website: www.mlwinku.com
Win Mu Tin No. 53-55 Mahabandoola Garden Street
P.O. Box (60) Yangon, Myanmar
Tin Ohmar Tun P.O. Box (109) Yangon, Myanmar
Tel: 95-1-248108
ที่มา : คู่มือการลงทุนในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา.
ศูนย์ส่งเสริมการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ (Overseas Trade & Investment Center)., 2556

ประเทศไทย
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ให้บริการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าในเมียนมา
สถานที่ติดต่อ

หน่วยงานจับคู่ธุรกิจ ฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุน
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
โซน ซี ชั้น 4 เลขที่ 60 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่
แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
โทรศัพท์: 02-345-1118 ,02-345-1132 มือถือ 086-413-2270
โทรสาร: 02-345-1119, 02-345-1281-3
E-mail: kanitthas@off.fti.or.th,Kanittha.fti@gmail.com,udomt@off.fti.or.th,
bmatchingfti@gmail.com,inv@off.fti.or.th

135
ตัวอย่างเอกสาร
DECLARATION OF ASSIGNMENT OF TRADEMARK

We, (the Assignee) , a company incorporated


under the laws of , and having its principal place of business at
, do solemnly and sincerely declare as follows: -
1. That the Trademark particulars of which appears below was a subject matter of Declaration of
Ownership registered in the Office of the Sub-Register of Deeds, Yangon on the name of
, locates at

Trademark Reg.No.

2. That with effect from , the said Trademark together with the goodwill
of the business in connection therewith was assigned to . The Company above
named.

3. That the Declaration is made to bring on record of the said Assignment of Trademark in the
Republic of the Union of Myanmar.

4. That “ The Company” claims the right of exclusive use of the said Trade Mark in the Union of
Myanmar.
Signed on this Day of 201_.

Signature Signature
Name Name
Designation Designation

( The Assignor ) ( The Assignee )

ที่มา: http://www.iphall.com/

136
วัฒนธรรมและมารยาททางธุรกิจ
1. วัฒนธรรม
เมียนมามีวัฒนธรรมร่วมที่เหมือนกับไทย คือ การนับถือพุทธศาสนา อาจกล่าวได้ว่า หากจะท�ำธุรกิจกับชาว
เมียนมา ควรที่จะต้องมีการเรียนรู้ และให้ความส�ำคัญกับการปฏิบัติตนทางพุทธศาสนา พฤติกรรมที่เห็นได้โดยทั่วไป
ส�ำหรับผู้ที่ใกล้ชิดกับนักธุรกิจเมียนมา คือ การเข้าวัดเพื่อท�ำบุญ การบริจาคสิ่งของ การนั่งสมาธิ ทั้งที่ศาสนาสถาน
เจดีย์ หรือที่บ้าน ถือเป็นการปฏิบัติตนที่ชาวเมียนมาปฏิบัติเป็นปกติในชีวิตประจ�ำวัน
สังคมของเมียนมา มีลักษณะค่านิยมเช่นเดียวกับสังคมชาวเอเชีย คือการให้ความส�ำคัญกับระบบอาวุโส ระบบ
เครือญาติ และมีลักษณะคล้ายกับคนไทยคือมีค�ำว่า “เกรงใจ” และ “การรักษาหน้า”
ดังนั้น การให้ความเคารพในผู้ที่มีสถานะสูงกว่า เช่น พระสงฆ์ บิดา มารดา ครู และผู้อาวุโสกว่า ซึ่งกิริยาที่
แสดงออกที่มีความสุภาพ อ่อนน้อม ถือเป็นเรื่องที่ควรกระท�ำตลอดเวลา
อย่างไรก็ตาม การเปิดประเทศเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ท�ำให้ชาวเมียนมาสมัยใหม่มีการพัฒนา หรือปรับปรุง
ตนเองเพื่อรองรับกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ แต่ก็ยังคงเอกลักษณ์ ค่านิยม ที่นักธุรกิจไทยควรเรียนรู้ โดยเฉพาะมารยาท
ทางธุรกิจ

ภาพชาวเมียนมานั่งราบกับพื้นกราบไหว้เจดีย์ ไหว้พระภิกษุ เห็นได้โดยทั่วไปเป็นการแสดงความเคารพสูงสุด


และก่อนเข้าเขตวัดทุกแห่งในเมียนมา จ�ำไว้เสมอว่า ต้องถอดรองเท้า ถุงเท้า และถุงน่อง

137
138
2. มารยาททางธุรกิจ
1. การแต่งกาย การแต่งกายเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงให้เห็นถึงสถานะที่ประสบความส�ำเร็จในการท�ำงาน
ของชาวเมียนมา นักธุรกิจ หรือผู้มีชื่อเสียงในเมียนมา จะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่มีคุณภาพ มีสภาพใหม่ มีตรายี่ห้อ
ดังนั้น หากการพบปะในการท�ำธุรกิจ ควรให้ความพิถีพิถันกับการแต่งกาย เช่น ผู้ชายใส่เสื้อผ้าสีขาวหรือสีสุภาพ
ไม่จ�ำเป็นต้องใส่สูท ผูกไท แต่เสื้อผ้าที่ใส่ให้แสดงถึงคุณภาพและสไตล์ สุภาพสตรี ควรนุ่งกระโปรงยาวคลุมข้อเท้า หรือ
ใส่กางเกง ชุดสูท
2. การทักทาย ใช้วิธีการก้มหัวหรือการจับมือ ทางเมียนมาไม่มีการทักทายด้วยวิธีไหว้ หรือรับไหว้ แต่อาจ
พบได้กับนักธุรกิจที่คุ้นเคยกับธรรมเนียมไทย อาจมีการไหว้ หรือรับไหว้ได้
3. การส่งหรือรับของ เช่น การส่งมอบนามบัตร หรือส่งเอกสาร วิธีการที่สุภาพ คือ การยื่นของด้วยมือขวา
หงายมือขึ้น และมือซ้ายจับรองที่ข้อศอกขวา พร้อมกับยื่นให้กับผู้รับที่มือด้วยกิริยาสุภาพ และเวลารับของ ใช้วิธีการ
เช่นเดียวกัน
4. นามบัตร ในการแนะน�ำตัวทางธุรกิจ นักธุรกิจควรเตรียมนามบัตรเป็นภาษาอังกฤษ ในนามบัตรควร
ประกอบด้วย ชื่อ ต�ำแหน่ง วุฒิการศึกษา เนื่องจากชาวเมียนมาให้ความส�ำคัญกับคนที่จบการศึกษาในระดับปริญญา
ตัวอย่าง
Surachai Niyomsoom (BBA Accounting) General Manager
ไม่แนะน�ำให้ท�ำนามบัตรสองหน้า และหากไม่รู้ภาษาเมียนมา
ไม่ควรใช้นามบัตรเป็นภาษาเมียนมา ให้ใช้เฉพาะภาษาอังกฤษเท่านั้น

การยื่นและรับนามบัตร ท�ำด้วยวิธีที่กล่าวมาข้างต้นเกี่ยวกับการส่งหรือรับของ ทั้งนี้ เมื่อรับนามบัตรมาแล้ว


วิธีการที่สุภาพ คือ การอ่านนามบัตร และสามารถวางไว้ที่โต๊ะสนทนาได้ การวางนามบัตรที่รับมา และน�ำเอกสาร
หรือวัตถุใดทับซ้อนบนนามบัตรถือว่าไม่สุภาพ
5. การเจรจาธุรกิจ ให้เริ่มพูดคุยในเชิงมิตรภาพ ทักทาย คุยข่าวทั่วๆ ไปก่อน และให้สังเกตน�้ำเสียง
หากเป็นการเจรจาจริงจังทางธุรกิจ น�้ำเสียงจะจริงจังและเริ่มการเจรจาเป็นเรื่องราว ให้จ�ำไว้เสมอว่า การเจรจาต่างๆ
ทางธุรกิจกับนักธุรกิจเมียนมา จะใช้เวลาและมีกระบวนการที่ยาวนาน หลายครั้งวิธีการพูดจาแต่ละครั้ง ขอให้ค่อย
เป็นค่อยไป แสดงความนับถือคู่สนทนา หลีกเลี่ยงการท�ำให้สับสน หรือพูดจาไม่สุภาพ
6. การรับประทานอาหาร การรับประทานอาหารร่วมกัน อาจเป็นมื้อกลางวันหรือมื้อค�่ำ ถือเป็นโอกาสดี
ในการพูดคุยเพื่อสร้างความคุ้นเคยระหว่างกัน และในการสนทนาอาจมีการกล่าวถึงการเจรจาต่อรองเกี่ยวกับเงื่อนไข
ต่างๆ ที่พูดคุยในช่วงการประชุมต่อเนื่องได้บ้าง มารยาทที่ส�ำคัญในการรับประทานอาหาร คือ ให้ถือหลักอาวุโส
โดยการเชื้อเชิญให้ผู้มีอาวุโสสูงสุดเป็นผู้รับประทานอาหารก่อน ผู้ที่มีอาวุโสน้อย จะท�ำหน้าที่ในการตักอาหารให้กับ
ผู้อาวุโส
7. การมอบของขวัญ ของที่ระลึก การมอบของที่ระลึกเพื่อให้กับนักธุรกิจ เป็นธรรมเนียมปฏิบัติ ของขวัญที่
มอบให้ อาจเป็นของที่ระลึกจากบริษัท หรือเป็นของใช้ ของรับประทาน ควรมีการห่อกระดาษของขวัญให้สวยงาม
และทางเมียนมามักจะเตรียมของที่ระลึกมอบให้เช่นกัน (ในกรณีที่มีการหารืออย่างเป็นทางการ) หากคบหาสนิท
สนมเหมือนเป็นเพื่อน หรือญาติ ทุกครั้งที่เดินทางมาพบปะกัน อาจมีการสอบถามก่อนว่า ต้องการของฝากประเภท
ใดจากไทยบ้าง ซึ่งในทางกลับกัน นักธุรกิจชาวเมียนมาที่สนิทกัน จะมีการสอบถามล่วงหน้าว่า ต้องการให้ซื้อของฝาก
สิ่งใดมาให้ที่เมืองไทยบ้าง

139
สภาพแวดล้อมในการด�ำรงชีวิต
การด�ำรงชีวิตในย่างกุ้ง ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางธุรกิจของเมียนมา ถือเป็นความท้าทายส�ำหรับนักธุรกิจไทย ที่คุ้นชิน
กับความสะดวกต่างๆ ที่อยู่กรุงเทพฯ หรือในประเทศไทย การท�ำใจยอมรับในเรื่องค่าครองชีพที่สูง แต่มาตรฐาน
ของที่พัก อาหาร หรือสถานพยาบาลนั้น อาจมีความแตกต่างจากประเทศไทยมาก ถือว่าเป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวและ
ท�ำความคุ้นเคย
ในส่วนต่อไปนี้จะกล่าวถึง ที่พักอาศัย สถานพยาบาล ความปลอดภัย อาหารและน�้ำดื่ม และข้อควรรู้ก่อน
เดินทาง

1. ที่พักอาศัย
ที่พักอาศัยระยะยาวส�ำหรับนักธุรกิจชาวต่างประเทศ ควรพัก คอนโดมิเนียม หรืออพาร์ตเมนต์ ซึ่งมีให้เลือก
ทั้งห้องที่มีเฟอร์นิเจอร์ หรือไม่มีเฟอร์นิเจอร์ ราคาค่าเช่าขึ้นกับท�ำเลที่ตั้ง ชั้นของที่พัก และเฟอร์นิเจอร์ อายุของที่พัก
ราคาค่าเช่าห้องพักที่ย่างกุ้ง ดังตาราง

จ�ำนวนห้องนอน เฟอร์นิเจอร์ ราคาค่าเช่าต่อเดือน


1 ห้องนอน ไม่มี 250 เหรียญสหรัฐ
1 ห้องนอน มี 600 เหรียญสหรัฐ
3 ห้องนอน มี 1,200 – 3,600 เหรียญสหรัฐ
ที่มา: ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, พ.ย. 2557.

ที่พักบริเวณชานกรุงย่างกุ้ง
จ�ำนวนห้องนอน เฟอร์นิเจอร์ ราคาค่าเช่าต่อเดือน
1 ห้องนอน มี 400 – 800 เหรียญสหรัฐ
3 ห้องนอน มี 750 – 1,450 เหรียญสหรัฐ
ที่มา: ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, พ.ย. 2557.

คอนโดมิเนียม จะมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก เช่น สระว่ายน�้ำ ลิฟต์ และที่ส�ำคัญรับประกันการมีไฟฟ้าใช้ตลอด


24 ชั่วโมง

ตัวอย่างราคาค่าเช่าคอนโดมีเนียม บริเวณ Hlaing Township


จ�ำนวนห้องนอน สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ขนาด (ตารางเมตร) ราคาค่าเช่าต่อเดือน
3 ห้องนอน 2 ห้องน�้ำ แอร์ 2 เครื่อง 161 1,700 เหรียญสหรัฐ
ที่มา: ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, พ.ย. 2557.

140
ส�ำหรับนักธุรกิจที่มีงบประมาณจ�ำกัด อาจเลือกที่พักในลักษณะของอพาร์ตเมนต์ที่คนเมียนมาพัก มีห้องน�้ำและ
ฝักบัวอาบน�้ำ มีราคาค่าเช่าไม่แพงมาก ค่าเช่าห้องราคาอยู่ระหว่าง 80 – 400 เหรียญสหรัฐต่อเดือน ราคาห้องพักที่
อยู่ชั้นล่างสุด จะมีราคาค่าเช่าแพงที่สุด ชั้นบนสุด (ชั้น 4 – ชั้น 7) จะมีราคาถูก เพราะไม่มีลิฟต์ ต้องเดินขึ้นลงบันไดเอง
บ้านพักมีการเช่าบ้านพัก แบ่งเป็นห้องให้เช่า ค่าเช่าจะเริ่มที่ 1,000 เหรียญสหรัฐต่อเดือน (33,000 บาท)
บ้านพักบางหลังมีการออกแบบที่สวยงาม มีเฟอร์นิเจอร์อย่างดี ราคาค่าเช่าจะเริ่มที่ 10,000 เหรียญสหรัฐต่อเดือน
(330,000 บาท) กรณีบ้านเช่าที่ราคาถูก จะเป็นบ้านเก่าของคนเมียนมาที่ให้เช่า ราคาค่าเช่าประมาณ 400 – 600
เหรียญสหรัฐต่อเดือน (13,200 – 19,800 บาท)
ตัวอย่างเช่น Golden Valley เป็นสถานที่พักที่ชาวต่างชาตินิยมเช่าพัก ราคาค่าเช่าเริ่มต้นที่ 2,500 เหรียญสหรัฐ
ต่อเดือน (82,500 บาท)

2. สถานพยาบาล
สถานพยาบาลที่ควรใช้บริการ คือ โรงพยาบาลเอกชน ที่มีมาตรฐานในการให้บริการ และการรักษาพยาบาล
บางแห่งมีแพทย์ พยาบาลที่พูดภาษาต่างประเทศได้นอกเหนือจากภาษาอังกฤษ เช่น ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี
ปัจจุบันในย่างกุ้งมีโรงพยาบาลเอกชน 31 แห่ง ซึ่งมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกันไป

ตัวอย่าง รายชื่อโรงพยาบาลและท�ำเลที่ตั้ง ดังนี้


ชื่อสถานพยาบาลเอกชน ที่ตั้ง
Academy Private Hospital 335 Lower Kyee Myin Daing road
Australian Embassy Health Clinic 62 U Wisara road
Asia Royal hospital 14, Baho Street
Home Medicare Service Clinic 30 ShweTaung Tan road
International SOS 37 Kaba Aye Pagoda Road Dusit Inya Lake Resort
Pacific Medical Center 81 Kaba Aye Pagoda road
Pun Hlaing International Hospital Pun Hlaing Golf Estate avenue
Sakura Medical Center 23 Shwin Saw Pu road
Sia Royal Hospital 14 BahoStreet
Victoria Hospital No. 68, Taw Win Street
ที่มา: ศูนย์ AEC Strategy Center , มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, พ.ย. 2557.

การฉีดวัคซีน
การฉีดวัคซีนในขณะอยู่เมียนมา หรือก่อนเดินทางเป็นเรื่องที่แนะน�ำ วัคซีนที่ควรมีการฉีดป้องกันก่อนเดินทาง
เช่น โรคอหิวาตกโรค โรคไทฟอยด์ โรคไข้สมองอักเสบ โรคพิษสุนัขบ้า ในกรณีที่ต้องเดินทางไปต่างเมืองควร
พกยาทากันยุง หรือมียาป้องกันมาเลเรียด้วย

141
142
การตรวจสุขภาพฟันและท�ำฟัน
ควรมีการตรวจสุขภาพฟัน ขูดหินปูน อุดฟัน รักษารากฟันให้เรียบร้อยก่อนเดินทาง และหากต้องท�ำการอุดฟัน
หรือท�ำฟันที่ย่างกุ้ง ส่วนใหญ่กลุ่มพนักงานชาวต่างประเทศจะท�ำที่คลินิก ราคาท�ำฟัน เช่น อุดฟัน ประมาณ 120
เหรียญสหรัฐ

3. ความปลอดภัย
เมียนมานับเป็นประเทศที่มีความปลอดภัยสูง คนเมียนมาเป็นมิตรกับชาวต่างประเทศ และด้วยสังคมที่นับถือ
พุทธศาสนา ที่ยึดมั่นในค�ำสอนเกี่ยวกับการไม่ลักทรัพย์ ท�ำให้การก่ออาชญากรรมต่างๆ โดยเฉพาะกับชาวต่างชาติ
แทบไม่มีปรากฏ มีการกล่าวถึงความปลอดภัยเรื่องทรัพย์สินส�ำหรับคนท้องถิ่น เช่น แม่ค้า สามารถเดินออกจากร้าน
ที่ขายของเพื่อไปท�ำธุระ 10-15 นาที โดยที่ไม่ต้องระวังลิ้นชักใส่เงิน หรือบางครั้งนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ จะได้
รับการเอื้อเฟื้อจากคนท้องถิ่นว่าให้วางหรือฝากกระเป๋าไว้ได้ ไม่ต้องกลัวของหาย
อย่างไรก็ตาม การเจริญเติบโตอย่างก้าวกระโดดของเศรษฐกิจโดยเฉพาะในเมืองใหญ่อย่างกรุงย่างกุ้ง มีผู้คน
อพยพมาจากที่ต่างๆ เข้ามาพักอาศัย การระมัดระวัง ป้องกันเรื่องทรัพย์สิน เอกสาร ของมีค่า ควรกระท�ำ นอกจากนี้
บางพื้นที่นอกกรุงย่างกุ้งที่อาจมีความขัดแย้งระหว่างชนกลุ่มน้อย ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น รัฐยะไข่ บริเวณ
ชายแดนไทยที่เมืองเมียวดี (ตรงข้าม อ. แม่สอด จังหวัดตาก) การเดินทางควรมีการตรวจสอบข่าวสารกับทางสถานทูต
ไทย เพื่อระมัดระวังความปลอดภัยในการเดินทาง พักแรมในพื้นที่ช่วงเวลาดังกล่าว

หมายเลขโทรศัพท์ในกรณีฉุกเฉินของเมียนมา
Fire Emergency 191
Ambulance 192
Police Emergency 199
Airport 662811

4. อาหารและน�้ำดื่ม
อาหาร
อาหารที่มีวางขายตามข้างถนน มีราคาถูก รสชาติอร่อย และท�ำให้ได้เรียนรู้อาหารพื้นเมือง แต่มีข้อควรระวัง
เรื่องความสะอาด หากร่างกายมีภูมิต้านทานต�่ำ อาจติดเชื้อและต้องรักษาที่โรงพยาบาล แต่หากมีความจ�ำเป็น หรือ
มีความสนใจที่จะทดลองกินอาหารที่ขายตามท้องถนน มีหลักในการเลือกร้าน ดังนี้
- ปริมาณคนเข้ากินอาหารในร้าน หากมีลูกค้ามาก อาจแปลความได้ว่า ร้านนั้นปลอดภัยมากกว่า ร้านที่ไม่มี
คนเข้ามากิน
- ความสดของอาหาร เช่น ผัก เนื้อ ร้านขายอาหารประเภทบาร์บีคิว อาจใช้วิธีการดมกลิ่นประกอบ
- ผู้ขายมีการใช้มือหยิบจับ สัมผัสอาหาร หรือมีการใช้ภาชนะตัก บางร้านมีการหยิบรับเงิน ทอนเงิน ไปพร้อมกัน
อาจท�ำให้อาหารปนเปื้อนเชื้อโรค
- ภาชนะ จาน ช้อน ส้อม มีด สะอาด หรือมีกลิ่น มีคราบสกปรกปนเปื้อนหรือไม่ อาจขอน�้ำร้อน หรือน�้ำชา
ล้างก่อนการใช้งาน

143
น�้ำดื่ม
ควรบริโภคน�้ำดื่มบรรจุขวด น�้ำประปาสามารถใช้แปรงฟัน ล้างปากได้ ตัวอย่างยี่ห้อน�้ำดื่มที่ได้รับความนิยม
ส�ำหรับชาวต่างชาติ คือ Alpine และ Life

5. การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพให้แข็งแรง มีพลานามัยที่ดีด้วยการออกก�ำลังกาย หรือป้องกันสุขภาพเป็นเรื่องส�ำคัญ

ผิวไหม้
ลักษณะแสงแดดในเมียนมา เช่น ในกรุงย่างกุ้งหรือเมืองต่างๆ มีความร้อนแรง และสามารถท�ำลายสภาพ
ผิวหนังให้เกิดไหม้ได้ โดยเฉพาะกับชาวอเมริกันหรือยุโรป และถือว่ามีความร้อนแรงส�ำหรับผิวคนไทยเช่นกัน
การเดินทางกลางแจ้งในช่วงวันที่แดดร้อนจัด จะต้องมีการทาครีมป้องกันผิวไหม้ เช่น Aloe Vera หรือ Biafine ซึ่งมี
ขายตามร้านขายยา หรือซูเปอร์มาร์เก็ต นอกจากนี้ ควรป้องกันด้วยการถือร่ม สวมหมวก ใส่แว่นกันแดด ใส่เสื้อผ้า
แขนยาวคลุมแขนและขา

144
สถานที่ออกก�ำลังกาย
สถานที่ออกก�ำลังกาย สถานที่ยอดนิยมส�ำหรับชาวต่างชาติ มี 2 แห่ง ในย่าน Mingalardon และย่าน
ThridonKha-Yay-Pin Avenue ค่าบริการ 1 ครั้ง ประมาณ 1,000 Ks และมีแพ็กเกจ รายเดือน สปาสามารถใช้
บริการได้ตามโรงแรมระดับ 4–5 ดาว ที่มีการให้บริการนวดและสปาส�ำหรับชาวต่างชาติ สปาที่ได้รับความนิยม
ด้วยปัจจัยด้านความสะอาดและมีบริการที่ดี มีดังนี้
- Lotus
- Inya day and spa ให้บริการนวดสปาไทย ชั่วโมงละ 18,000 จ๊าต
- Thaya Day Spa a - Junction Square
- Genky massage ที่ Sakura Tower, 5th floor 10,000 kyats per hour มีผู้ให้บริการเป็นคนตาบอด
ส่วนใหญ่ควรมีการนัดเวลาล่วงหน้า เพื่อจะได้ไม่ต้องรอคิว

6. ข้อควรรู้ก่อนการเดินทางไปเมียนมา
สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงย่างกุ้ง ได้จัดท�ำข้อมูล ข้อควรระวังและการปฏิบัติตนเมื่อประสบปัญหาใน
ระหว่างพักในเมียนมาไว้ดังนี้

ข้อควรระวังในการพ�ำนักในเมียนมา
1. ไม่ควรพูดคุยเรื่องทางการเมืองของเมียนมากับบุคคลทั่วไปที่ไม่รู้จักมักคุ้น
2. ไม่ควรใส่กระโปรงสั้น หรือกางเกงขาสั้นในสถานที่สาธารณะ และในสถานที่ส�ำคัญทางศาสนา
3. ไม่ควรถ่ายรูปในบริเวณสนามบิน สถานีรถไฟ และสถานที่ราชการก่อนได้รับอนุญาต เมื่อจะถ่ายรูป
ชาวเมียนมาก็ควรขออนุญาตเช่นกัน
4. ควรมีความส�ำรวมในวัดและศาสนสถาน ไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น
5. ระมัดระวังการพูดเชิงลบเกี่ยวกับประเทศหรือชาวเมียนมาในที่สาธารณะ เพราะมีชาวเมียนมาจ�ำนวนมาก
ที่เข้าใจภาษาไทยได้ดี
6. เมียนมาได้เปลี่ยนชื่อประเทศแล้ว จึงไม่ควรใช้ชื่อเดิม (Burma) กับชาวเมียนมา
7. ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพควรจัดเตรียมยาประจ�ำตัวมาด้วย
8. ควรระมัดระวังเลือกรับประทานอาหารและน�้ำดื่มจากร้านที่สะอาดถูกสุขอนามัย โดยเฉพาะน�้ำดื่ม
ควรดื่มน�้ำที่บรรจุในขวดปิดผนึกเรียบร้อย
9. ทางการเมียนมาอาจห้ามชาวต่างชาติเดินทางไปยังบางเมืองหรือบางพื้นที่ หากประสงค์ที่จะเดินทางไป
เมืองที่ไม่ใช่แหล่งท่องเที่ยวของเมียนมา ควรตรวจสอบข้อมูลก่อน

การปฏิบัติตนเมื่อประสบปัญหา
ในกรณีที่ท่านเป็นบุคคลที่มีสัญชาติไทย หากท่านประสบเหตุในต่างประเทศ ท่านสามารถขอรับความช่วยเหลือ
จากสถานเอกอัครราชทูตฯ ได้ทันที

145
146
กรณีที่ถูกกล่าวหาว่ากระท�ำผิดกฎหมายของเมียนมา
ขอให้รีบติดต่อสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงย่างกุ้ง (Royal Thai Embassy)
ที่อยู่ No. 94, Pyay Road, Dagon Township, Yangon,
Republic of the Union of Myanmar
โทรศัพท์ (951) 226 721, 226 728, 226 824
โทรสาร 951) 221 713
E-mail: thaiembassyygn@gmail.com
หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อเจ้าหน้าที่สถานกงสุล 095090926

เตรียมแจ้งข้อมูล ดังต่อไปนี้กับเจ้าหน้าที่กงสุล
1. ชื่อ-นามสกุล หมายเลขหนังสือเดินทาง
2. วันที่เดินทางถึง และวัตถุประสงค์ในการเดินทางมาเมียนมา ชื่อและหมายเลขโทรศัพท์ของนายจ้าง (หากมี)
3. วัน เวลา และสถานที่ที่ถูกจับกุม โรงพักที่ท่านจะถูกน�ำตัวไปสอบสวน
4. ข้อหาและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนการถูกจับกุมโดยย่อ
5. ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของญาติในประเทศไทย
สถานเอกอัครราชทูตฯ จะส่งเจ้าหน้าที่กงสุล และล่ามเดินทางไปดูแลความเป็นอยู่ และให้ความช่วยเหลือ
ตามขอบเขตที่กฎหมายก�ำหนดในทันที

กรณีที่เป็นผู้เคราะห์ร้าย
ขอให้รีบขอรับความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่กงสุล โดยเดินทางมาด้วยตนเอง (หากสามารถท�ำได้) โดยน�ำ
หลักฐานที่เกี่ยวข้องมาแสดง เช่น หนังสือเดินทาง ใบแจ้งความจากสถานีต�ำรวจพร้อมค�ำแปลภาษาอังกฤษ และแจ้ง
ความประสงค์ในการขอรับความช่วยเหลือจากสถานเอกอัครราชทูต (เช่น ขอเดินทางกลับประเทศ ขอให้ติดต่อญาติ
ในประเทศไทย) ซึ่งเจ้าหน้าที่กงสุลจะตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับ เพื่อหาทางช่วยเหลือตามระเบียบต่อไป

กรณีอยู่เกินกว่าที่การตรวจลงตราก�ำหนดไว้
หากพ�ำนักอยู่ในเมียนมานานเกิดกว่าที่กฎหมายก�ำหนด จะถือว่าเป็นการท�ำผิดกฎหมายการเข้าเมืองของ
เมียนมา หากอยู่เกินก�ำหนดไม่เกิน 2 สัปดาห์ สามารถช�ำระค่าปรับในอัตราวันละ 3 เหรียญสหรัฐ ได้ที่ท่าอากาศยาน
กรุงย่างกุ้ง ก่อนเดินทางออกจากเมียนมา แต่หากอยู่เกินก�ำหนดมากกว่า 2 สัปดาห์ อาจจะต้องช�ำระค่าปรับที่
ส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองในกรุงย่างกุ้ง หรือในบางกรณีอาจถูกจับกุมได้
กรณีการตรวจลงตราหมดอายุ หรือเป็นผู้เข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย สามารถขอรับความช่วยเหลือจากสถาน
เอกอัครราชทูตฯ ได้ทันที และควรหมั่นตรวจสอบอายุการตรวจลงตรา เพราะหากการตรวจลงตราหมดอายุอาจถูก
ปรับ จ�ำคุก และ/หรือเนรเทศกลับประเทศไทยได้

147
บทลงโทษในความผิดบางประการของเมียนมา ที่ควรรู้

คดี ศาลพิพากษาจ�ำคุก (ปี)


คดียาเสพติด หากมีไว้เสพ 7-15 ปี
คดียาเสพติด หากมีไว้จ�ำหน่าย ประหารชีวิต หรือจ�ำคุกตลอดชีวิต
คดีประมง 7-10 ปี (ไต้กง๋ เรือจะถูกจ�ำคุกนานกว่าลูกเรือธรรมดา)
และเสียค่าปรับอีกจ�ำนวนหนึ่ง
คดีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย 1-3 ปี
คดีอาวุธปืน 2-12 ปี

148
149
บทที่

ข้อมูลอื่นๆ ที่จ�ำเป็นในการลงทุน 5
บทที่ 5
ข้อมูลอื่นๆ ที่จำ�เป็นในการลงทุน
ข้อควรค�ำนึงเมื่อมีการลงทุน
ในเมียนมา
1. การด�ำเนินการลงทุนในเมียนมา : แม้ว่า ต้องระมัดระวังในการละเว้นหรือขัดขืนการปฏิบัติตาม
ประเทศเมียนมาจะอนุญาตให้มีการลงทุนในประเทศ กฎเกณฑ์/ระเบียบปฏิบัติของทางการ เนื่องจากหาก
โดยชาวนักลงทุนชาวต่างชาติได้ก็ตาม แต่นักลงทุนพึง มีการฝ่าฝืนแล้วอาจได้รับโทษที่ร้ายแรง ตามกฎหมาย
ตระหนักว่า การปกครองในประเทศเมียนมายังคงอยู่ ของเมียนมา
ในระบบเผด็จการ (แม้ว่าทางการจะระบุว่ามีการ 5. การให้ความเคารพต่อขนบธรรมเนียม
เปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตยแล้ว ประเพณี : ขนบธรรมเนียมและประเพณีเป็นสิ่งที่
ก็ตาม ) ดังนั้น จึงควรให้ความส�ำคัญและตระหนักถึง ส�ำคัญที่ต้องให้ความเคารพ ไม่ควรแสดงการดูหมิ่นและ
อ�ำนาจบางอย่าง ซึ่งสามารถมีอิทธิพลเหนือกิจกรรมของ เหยียดหยามการปฏิบัติตัวของชาวเมียนมา โดยเฉพาะ
การลงทุนได้ ดังนั้น จะเป็นการดีอย่างยิ่งที่นักลงทุนควร แรงงานที่จ้างมาท�ำงาน นอกจากนี้ ควรศึกษาและเรียนรู้
จะร่วมทุนกับนักลงทุนชาวเมียนมาและ/หรือผู้มีอ�ำนาจ ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวเมียนมาอย่างละเอียด
ทางการเมือง ทั้งนี้เพื่อสร้างความมั่นใจด้านเสถียรภาพ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความกลมกลืนระหว่างชนชาติในขณะที่
ของการด�ำเนินธุรกิจในประเทศ เข้ามาท�ำการลงทุน
2. การจ้างงานและระบบสวัสดิการของแรงงาน :
ค่าจ้างแรงงานในประเทศเมียนมามีราคาถูก เมื่อเทียบกับ
ค่าจ้างในประเทศไทย นักลงทุนชาวไทยควรค�ำนึงถึง
ระบบการช�ำระเงิน
การให้ค่าจ้างในระดับที่เหมาะสมรวมทั้งการจัดสวัสดิการ ระบบการช�ำระเงินของประเทศเมียนมามีความ
ให้กับแรงงานท้องถิ่นเหล่านั้น ทั้งนี้ ควรหลีกเลี่ยงการ แตกต่างจากประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย
เปรียบเทียบการจ่ายค่าจ้างและสวัสดิการให้กับแรงงาน บ้างเล็กน้อย ทั้งนี้ระบบการช�ำระเงินสามารถอธิบายใน
ของโรงงานที่มีเจ้าของเป็นชาวเมียนมา รายละเอียดได้ 2 แบบ คือ
3. มาตรฐานของระบบสาธารณูปโภค : ระบบ 1. รูปแบบการเปิด Letter of Credit : รูปแบบนี้
สาธารณูปโภคของประเทศเมียนมา ยังไม่ได้มาตรฐานดัง เป็นระบบการช�ำระเงินที่เป็นที่นิยมในระหว่างผู้ประกอบ
เช่นประเทศที่ก�ำลังพัฒนาหรือประเทศที่พัฒนาแล้วอื่นๆ ธุรกิจต่างชาติกับนักธุรกิจชาวเมียนมา กล่าวคือการเปิด
นักลงทุนควรตระหนักถึงอุปสรรคดังกล่าว ซึ่งอาจส่งผล Letter of Credit จากธนาคารในประเทศเมียนมา
ต่อการวางแผนในการผลิต การขนส่ง รวมทั้งการจัด และจากธนาคารในประเทศผู้ท�ำธุรกิจ อย่างไรก็ตาม
จ�ำหน่าย เป็นต้น การเปิด L/C ดังกล่าว ทางรัฐบาลประเทศเมียนมามี
4. การให้ความส�ำคัญกับระเบียบและกฏเกณฑ์ การจ�ำกัดให้มีการเปิดได้เฉพาะธนาคารที่รัฐบาลเมียนมา
ต่างๆ : นักลงทุนควรตระหนักถึงกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ต้อง เป็นผู้ก�ำหนดเท่านั้นกล่าวคือ ธนาคาร Myanmar-
ปฏิบัติในขณะด�ำเนินการลงทุนในประเทศเมียนมา โดย Investment and Commercial-Bank และธนาคาร

151
Myanmar Foreign Trade Bank โดยธนาคารเหล่านี้มี ไม่สามารถจัดเก็บมูลค่าสินค้าต้องห้าม 15 รายการได้
รัฐบาลเป็นเจ้าของนั่นเอง ซึ่งในปัจจุบันทางการเมียนมา (ซึ่งปัจจุบัน สิงหาคม 2554 ทางการเมียนมาได้ประกาศ
ไม่อนุญาตให้มีเปิดสาขาของธนาคารต่างชาติเพื่อด�ำเนิน ยกเลิกการห้ามน�ำเข้าสินค้าทั้ง 15 รายการแล้ว) เพราะ
ธุรกรรมการเงินภายในประเทศ อนุญาตให้ด�ำเนินงาน ว่าเป็นสินค้าห้ามน�ำเข้า จึงท�ำให้มูลค่าที่ปรากฏของทั้ง
ด้านการประสานงานได้เท่านั้น ทั้งนี้เพื่อความสะดวก สองฝ่ายมีความแตกต่างกัน
ในการตรวจสอบการเคลื่อนย้ายเงินตราต่างประเทศ 2. ข้อมูลที่ผู้ประกอบสามารถติดต่อได้จาก
ออกนอกประเทศ โดยมาตรการนี้เกี่ยวเนื่องมาจากกฎ หอการค้าเมียนมา ณ กรุงย่างกุ้ง (The Union of Myanmar
ระเบียบของนโยบายน�ำเข้าเมื่อมีการส่งออก Federation of Chambers of Commerce and
2. ระบบการช�ำระเงินแบบใช้สินเชื่อ : กล่าวคือ Industry = UMFCCI) อย่างไรก็ตาม เท่าที่ผ่านมา ข้อมูล
นักธุรกิจที่ท�ำธุรกิจกับชาวเมียนมา จะยอมให้เครดิตกับ ที่ได้รับจากหอการค้าเมียนมาจะไม่มีความชัดเจนเพียง
นักธุรกิจชาวเมียนมาก่อนเป็นระยะเวลานาน เพื่อสร้าง พอที่จะใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจได้ เนื่องจาก
ความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน ทั้งนี้เนื่องจากนักธุรกิจ ระบบของเมียนมาได้วางไว้ หากนักธุรกิจจากต่างชาติจะ
ชาวเมียนมายังขาดสภาพคล่องเกี่ยวกับเงินหมุนเวียน สามารถท�ำธุรกิจหรือการลงทุนในเมียนมา ในทางปฏิบัติ
ในการด�ำเนินธุรกิจ ดังนั้นจึงมักผ่อนผันการช�ำระเงินให้ แล้วจะต้องร่วมมือกับคนท้องถิ่นเป็นส�ำคัญ
กับนักธุรกิจชาวเมียนมา เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการ 3. ระเบียบการลงทุนของเมียนมา ชาวต่างชาติ
ท�ำการค้ากันต่อไป สามารถถือหุ้นได้ 100% แต่ในทางปฏิบัติจริงๆ แล้ว
กฎระเบียบที่ได้ว่างไว้จะท�ำให้เกิดข้อเสียเปรียบในการ
ข้อแนะน�ำอื่นๆ ทั่วไป แข่งขันของนักลงทุนที่ถือหุ้นทั้ง 100% เนื่องจากความ
แตกต่างของการก�ำหนดค่าอัตราแลกเปลี่ยนและค่าใช้
ข้อมูลเพิ่มเติมส�ำหรับการลงทุนในตลาดเมียนมา จ่ายต่างๆ ที่มีความแตกต่างกันระหว่างคนท้องถิ่นกับ
1. ส�ำหรับข้อมูลเพิ่มเติมส�ำหรับการท�ำการค้า คนต่างชาติ
และการลงทุนในตลาดเมียนมา ข้อมูลที่ถูกต้องหาได้
ยาก และเป็นข้อมูลที่อยู่กระจัดกระจายอยู่ตามหน่วยงาน
ต่างๆ และไม่ได้จัดท�ำให้รูปแบบเอกสารเพื่อการเผยแพร่
หากผู้ใดมีความสามารถที่จะน�ำข้อมูลดังกล่าวออกมา
แต่ก็ไม่สามารถเผยแพร่เป็นเอกสารได้ จะสามารถท�ำได้
เพียงการบอกเล่า ยกตัวอย่างที่ท�ำให้เห็นความชัดเจน
ของระบบการจัดเก็บข้อมูลของเมียนมา เช่น ตัวเลขสถิติ
การค้าระหว่างไทยกับเมียนมาในแต่ละปี หากดูตัวเลข
ดังกล่าวจากฝั่งไทยที่ส่งมายังตลาดเมียนมา ในปี 2553
จะมีมูลค่าประมาณ 2,730 ล้านเหรียญสหรัฐ แต่เมื่อดู
รายงานมูลค่าการน�ำเข้าของทางการเมียนมา จะพบว่า
มีมูลค่าเพียง 384 ล้านเหรียญสหรัฐเท่านั้น สาเหตุที่มี
จ�ำนวนมีมลู ค่าแตกต่างกัน เนือ่ งจากจ�ำนวนมูลค่าการส่งออก
จากไทยไปสู่เมียนมา จะรวมมูลค่าสินค้าทุกหมวดหมู่
แต่ ส� ำ หรั บ มู ล ค่ า การน� ำ เข้ า ของทางการเมี ย นมา ภาพทั่วไปของตลาดสดในเมียนมา

152
153
บทที่
ค�ำถามทีถ่ ามบ่อยเกีย่ วกับ
การค้าการลงทุน 6
บทที่ 6
คำ�ถามที่ถามบ่อยเกี่ยวกับ
การค้าการลงทุน
1. พฤติกรรมการบริโภคของชาวเมียนมา มีลักษณะ สินค้าส�ำเร็จรูป ถ้าเป็นเมืองมัณฑะเลย์จะต้องการสินค้า
เช่นใด? พวกวัตถุดิบ นอกจากนี้ เมื่อมองด้านก�ำลังซื้อจะพบว่า ใน
ตอบ ชาวเมียนมาน�ำเข้าสินค้าอุปโภคบริโภค ช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ ผู้คนจะนิยมเข้ามาเดินเที่ยวใน
ร้อยละ 70-80 ของแต่ละปี เมื่อเทียบกับความต้องการ ห้างสรรพสินค้ากันเป็นจ�ำนวนมาก
บริโภคภายในประเทศ สินค้าหมวดเกษตรจะผลิตจาก หากมองด้านรายได้เข้าประเทศ พบว่าในจ�ำนวน
ซีพี คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 60 รวมถึงการท�ำฟาร์มไข่ไก่ ประเทศ 4 ประเทศ คือ ลาว เวียดนาม กัมพูชาและ
อย่างไรก็ตาม เมียนมาจะวางนโยบายด้านเศรษฐกิจ เมียนมา จะพบว่ามีเพียงประเทศเมียนมาที่สามารถมี
ของประเทศโดยจะส่งเสริมภาคการผลิตภายใน ทั้งนี้มี รายได้ของตัวเองจากสินค้าประเภทวัตถุดิบ ก๊าชธรรมชาติ
จุดประสงค์เพื่อลดการน�ำเข้า แต่เมียนมาเองก็มีปัญหา วัตถุดิบที่เป็นอัญมณี พลอย ป่าไม้ สัตว์น�้ำ ดังนั้นในภาวะ
คือ ศักยภาพการเรียนรู้ของเขาน้อยกว่าประเทศไทย เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจประเทศเมียนมาจึงได้รับ
เนื่องจากโดนคว�่ำบาตร ความช่วยเหลือที่ได้รับจากชาว ผลกระทบน้อยที่สุดเนื่องจากสินค้าที่ส่งออกเป็นสินค้า
ต่างชาติก็จะน้อยลง และอีกประเด็น คือ คนเมียนมา ที่อยู่ในกลุ่มวัตถุดิบที่จ�ำเป็น
ยังนิยมสินค้าน�ำเข้าอยู่ โดยเฉพาะการน�ำเข้าจาก นอกจากนี้ การจับจ่ายใช้สอยในเมียนมา แบ่งเป็น
ประเทศไทย นอกจากนี้ คนเมียนมามีความต้องการ 2 ตลาด คื อ 1. พวกที่ มี ฐ านะด้ อ ยก็ จ ะนิ ย มซื้ อ
คุณภาพของสินค้าที่แตกต่างกัน สินค้าเพื่ออุปโภคบริโภคที่ตลาดสด (wet market)
ส�ำหรับก�ำลังซื้อในชาวเมียนมาจะเห็นว่า เมียนมา 2. คนที่มีฐานะดีก็จะไปที่ห้างสรรพสินค้าที่ราคาแพงกว่า
ประชากร 51.4 ล้านคน ถือได้ว่าเป็นตลาดใหญ่ ถ้านัก ที่ตลาดสด
ธุรกิจเข้ามาท�ำธุรกิจอย่างถูกต้อง ตรงไปตรงมาก็สามารถ
อยู่ได้ เพราะประเทศไทยได้เปรียบกว่าประเทศอื่นใน 2. ต้องการท�ำการค้ากับเมียนมา ต้องด�ำเนินการ
ด้านที่มีพรมแดนติดกัน ระดับก�ำลังซื้อของคนในสังคม อย่างไร?
มีช่องว่างระหว่างคนจนและคนรวยมาก พฤติกรรมของ ตอบ ผู้ที่สนใจจะท�ำธุรกิจในเมียนมา ก่อนอื่นจะ
คนเมียนมาจะชอบกินอาหารนอกบ้าน ประเทศไทยเอง ต้องท�ำเรื่องเพื่อขอนุญาตท�ำธุรกิจกับ Myanmar
ก็ท�ำธุรกิจทางด้านร้านอาหาร รวมทั้งโรงแรมในเมียนมา Investment Commission (MIC) โดยเขียนข้อเสนอ
มีมากพอสมควร เช่น โรงแรม Chattrium มีธนาคาร โครงการลงทุนไปที่ MIC ให้พิจารณา ทั้งนี้เมียนมามี
กรุงเทพเป็นผู้ร่วมถือหุ้น เป็นต้น ความต้องการสินค้าจาก ระเบียบบังคับให้ท�ำการค้าแบบ Trade Balance คือ
ไทยจะแตกต่างกัน เช่น ถ้าเป็นเมืองย่างกุ้งจะต้องการ จะไม่มีการน�ำเข้า ถ้าไม่มีการส่งออก โดยภาษีที่น�ำเข้าและ

155
ส่งออกจะเรียกเก็บร้อยละ 10 ส�ำหรับการค้าชายแดน สิงคโปร์เป็น Hub ซึ่งสิงคโปร์เป็นเพียงแค่ Trader เท่านั้น
สินค้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าแบบคละกัน มีหลากหลาย ถ้ารัฐบาลและเอกชนของเราตั้งใจท�ำการค้า จะท�ำให้
ส่วนสินค้าทีส่ ง่ เข้ามาทางเรือ (ท่าเรือ) ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้า มีรายได้มหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขณะนี้เมียนมา
ชนิดเดียวกันที่ส่งมาครั้งละจ�ำนวนมากๆ ได้ย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่ เนปิดอว์ ซึ่งมองว่าเป็นการ
ระบบการค้าของประเทศเมียนมา จะแบ่งออกเป็น กระจายความเจริญภายในประเทศ จึงเป็นโอกาสดีที่
2 ประเภทหลักๆ คือ นักธุรกิจไทยจะเข้ามาลงุทน
- ด้านการลงทุน (Investment) ตัวอย่างของ ขอแนะน�ำว่าการท�ำการค้ากับประเทศเมียนมา
ธุรกิจที่เข้ามาลงทุนในเมียนมา เช่น ธนาคารกรุงเทพ จะต้องค�ำนึงถึงการคบกันแบบตรงไปตรงมาเป็นพิเศษ
ได้รับอนุญาตให้ท�ำธุรกรรมทางการเงินในเมียนมาได้เป็น ในขณะนี้ตามหลักการแล้วนักธุรกิจไทยยังไม่สะดวกที่
ธนาคารแรกและธนาคารเดียวของคนไทย ธุรกิจโรงแรม จะท�ำการลงทุนกับประเทศเมียนมาได้ด้วยตนเองอย่าง
เช่น Chatriam และธุรกิจร้านอาหารไทยซึง่ เป็นทีแ่ พร่หลาย ชัดเจน จะต้องอาศัยการร่วมทุนจากภาคเอกชนหรือ
มากในเมียนมา ภาครัฐบาลของประเทศเมียนมา ดังนั้นจึงต้องพยายาม
- ด้านการท�ำ Trading Firm ใช้ระบบ balance หลีกเลี่ยงความขัดแย้งระหว่างผู้ร่วมลงทุน หากมีความ
sheet ถ้าน�ำเข้าเท่าไร ก็ต้องส่งออกเท่านั้น ต้องขอใบ ขัดแย้งกันถึงต้องขึ้นศาล เราจะมีโอกาสแพ้สูงมาก ศาล
อนุญาตน�ำเข้าก่อนจึงจะส่งออกได้ (ไม่อนุญาตให้ชาว ของเมียนมามีศาลอาญาและศาลแพ่งเป็นศาลเดียวกัน
ต่างชาติท�ำธุรกิจ Trading Firm ยกเว้นร่วมลงทุนกับคน ในเงินลงทุนจ�ำนวนเท่ากัน การลงทุนในเมียนมา
ท้องถิ่น) อย่างไรก็ตาม นักธุรกิจส่วนใหญ่จะหาทางออก ให้ผลตอบแทนที่สูงกว่าประเทศอื่นๆ เพราะมีศักยภาพ
ในลักษณะแตกต่างกัน ซึ่งวิธีหนึ่งก็คือ โดยใช้การจับคู่ ทรัพยากร แรงงาน และก�ำลังซื้อ มีความมั่นคงในการท�ำ
กับบริษัทของเมียนมาที่มีใบอนุญาตเพื่อการน�ำเข้าสินค้า ธุรกิจ กฎระเบียบเขาก็ไม่เลือกปฏิบัติ เห็นตัวอย่างได้จาก
เส้นทางการขนส่งสินค้าระหว่างไทยกับเมียนมา บริษัท ซีพี และบริษัทอื่นๆ อีกหลายแห่ง สามารถเป็น
มี 2 เส้นทาง คือ เครื่องยืนยันได้ว่า หากตลาดไม่ดีจริงแล้ว คงหนีไปจาก
1. ทางเรือ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ ตลาดนี้นานแล้ว นอกจากนี้ในอนาคตอันใกล้ เมียนมา
50 ของการค้าทั้งประเทศ คงมีโอกาสได้รับการยกเลิกการ Sanction จากองค์การ
2. ทางบก จะเป็นการขนส่งสินค้าผ่านด่านที่อยู่ สหประชาชาติ ถึงตอนนั้นถนนการค้าจากทุกสายจะตรง
ตามชายแดนต่างๆ ประมาณร้อยละ 50 เช่น ชายแดนที่ มาที่ประเทศเมียนมาเป็นจ�ำนวนมาก
ติดกับประเทศไทย ได้แก่ ด่านแม่สอด ด่านแม่สาย
ด่านระนอง และด่านสิงขร เป็นต้น 4. การเข้ามาลงทุนในประเทศเมียนมามีลักษณะที่
ควรรู้ และน่าสนใจอย่างไร?
3. แนวโน้มการค้าการลงทุนของไทยในประเทศ ตอบ การลงทุนในประเทศเมียนมาส่วนใหญ่
เมียนมาเป็นอย่างไร? ต้องหาคู่ค้าที่เป็นนักธุรกิจท้องถิ่น จะเป็นแนวทางที่ดี
ตอบ ถ้าเป็นการเปรียบเทียบกับตลาดอื่นๆ ที่สุดในขณะนี้ เนื่องจากระเบียบการค้า รัฐบาลเมียนมา
ทั่วโลกจะพบว่า โอกาสทางการค้าที่เมียนมาจะมีสูง ต้องการให้นักธุรกิจท้องถิ่นสามารถท�ำธุรกิจแข่งขันกับ
เห็นได้จากสินค้าส่งออกของไทยที่ส่งออกมายังประเทศ คนต่างชาติได้ หากเป็นชาวต่างชาติที่ต้องการมาลงทุน
เมียนมามีการขยายอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี โดยเฉพาะ ท�ำธุรกิจเองโดยตรง เริ่มแรกจะต้องจดทะเบียนเงินทุน
สิ น ค้ า ประเภทอุ ป โภคบริ โ ภคทุ ก ประเภทจากไทย ไม่น้อยกว่า 300,000 เหรียญ หรือ 500,000 (ขึ้นอยู่กับ
นอกจากนี้แล้วประเทศเมียนมามีประเทศไทยและ ประเภทธุรกิจ) นอกจากนั้น 25-30% ต้อง Transfer

156
157
เงินมาเข้าระบบ โดยใช้มาตรฐานของข้าราชการ เช่น 1. เมียนมาได้สะดวกกว่า ท�ำให้สินค้าไทยมีต้นทุนเพิ่มขึ้น
เมื่อก่อน 1 USD ได้ 5.6 จ๊าต แต่ถ้าในตลาดมืดได้ 1,000 จ๊าต - เส้นทางขนส่งสินค้าไทยที่เป็นเส้นทางหลัก คือ
2. การจดทะเบียนเป็นบริษัทต่างชาติ เวลาติดต่อกับ ด่านแม่สอด ที่จะส่งสินค้าตรงมายังกรุงย่างกุ้ง มีเส้นทาง
ทางการจะต้องช�ำระเป็นเงินสกุลดอลลาร์ เช่น ค่าน�้ำ ที่ไม่สะดวก จะต้องใช้เวลาขนส่งสินค้า ประมาณ 1 อาทิตย์
ค่าไฟ ภาษี เป็นต้น ซึ่งการปฏิบัติดังกล่าวท�ำให้เกิดข้อเสีย แต่หากคิดเป็นระยะทาง ไม่ควรใช้เวลาเกิน 1 วัน
เปรียบในการแข่งขันทางธุรกิจ เนื่องจากมีปัญหาอุปสรรคระหว่างเส้นทางท�ำให้เกิด
ลักษณะของนักธุรกิจเมียนมาเป็นนักธุรกิจที่ ความล่าช้าในการขนส่ง
ซื่อสัตย์ เพราะหากมีการโกงเกิดขึ้นจะถูกลงโทษอย่าง - ตลาดมีศักยภาพแต่ระบบยังไม่เอื้ออ�ำนวยเพื่อ
หนัก ส�ำหรับนักลงทุนไทยในเมียนมาเคยมีมูลค่าการค้า การค้าเท่าที่ควร
อันดับ 1 แต่ปัจจุบันกลายเป็นประเทศสิงคโปร์ ถึงแม้
ไทยจะได้เปรียบการค้ากับประเทศเมียนมาในด้านของ 6. การหา Partner หรือคู่ค้าซึ่งเป็นชาวเมียนมาเพื่อ
การเป็นประเทศชายแดน แต่ในอนาคตหลังจากที่เมียนมา เป็นตัวแทนในการจ่ายสินค้า ควรด�ำเนินการเช่นไร?
เปิดประเทศ ข้อได้เปรียบดังกล่าวก็จะหมดไป ดังนั้น ตอบ การหาคู่ค้าในประเทศเมียนมาเพื่อเป็น
นักธุรกิจไทยมีความจ�ำเป็นที่ต้องเข้ามาดูลู่ทางการค้า ผู ้ ก ระจายสิ น ค้ า หรื อ เป็ น ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า
ก่อนที่จะสายไป ผู้ประกอบการไทยควรหลีกเลี่ยงการเสนอขายสินค้า
ที่ผ่านมาการเข้ามาดูลู่ทางหรือการลงทุนการค้า โดยตรงผ่านทางอีเมล โดยการหาข้อมูลจากรายชื่อผู้น�ำ
ของนักธุรกิจไทยมีข้อเสียคือ ไม่เข้ามาติดต่อหน่วยงาน เข้าชาวเมียนมา ทั้งนี้เนื่องจากว่า นักธุรกิจชาวเมียนมา
ราชการก่อน เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นก็แก้ไขอะไรไม่ได้ ยังมีความไม่ไว้วางใจในการที่จะท�ำธุรกิจโดยตรงจากนัก
แล้ว บางครั้งนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวแล้วก็เข้ามาดู ธุรกิจไทย โดยเฉพาะการระแวงถึงการเอาเปรียบจากนัก
ช่องทางการค้าด้วย แต่ส่วนใหญ่ที่เชื่อข้อมูลจากไกด์ซึ่ง ธุรกิจไทย นักธุรกิจไทยควรติดต่อตัวแทนเหล่านั้นผ่าน
อาจได้ข้อมูลที่ไม่ค่อยจะตรงนัก จุดอ่อนอีกอย่างของนัก ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าของไทยในประเทศเมียนมาเพื่อ
ลงทุนไทยคือ ไม่ใช่เจ้าของสินค้าเอง แต่เป็นนายหน้า เชิญนักธุรกิจที่สนใจเข้ามาร่วมเจรจาโดยตรงกับนักธุรกิจ
มาสร้าง Connection แล้วไปหาผลประโยชน์อีกทีซึ่ง ไทย ซึ่งวิธีการดังกล่าวเป็นการปฏิบัติโดยผ่านหน่วยงาน
ปัจจุบันท�ำได้ล�ำบากแล้ว ทางราชการของไทยซึ่งจะเพิ่มความเชื่อมั่นให้กับนักธุรกิจ
ธุรกิจทีแ่ นะน�ำให้มาลงทุนเช่นการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ชาวเมียนมามากยิ่งขึ้น
ขนาดเล็ก ธุรกิจการเกษตร เพราะรัฐบาลเมียนมาให้การ
สนับสนุนค่อนข้างมาก ธุรกิจบริการร้านอาหาร ธุรกิจที่ 7. ระบบการปกครองของเมียนมาเป็นอย่างไรบ้าง?
เกี่ยวกับความงาม และอุตสาหกรรมการสร้างภาพยนตร์ ตอบ ระบบการปกครองของเมียนมา ที่ผ่านมา
ผู้น�ำประเทศได้แต่งตั้งระดับผู้บริหารต่างๆ เพื่อบริหาร
5. การท�ำการค้ากับเมียนมา มีปัญหาที่อาจเกิดบ่อยๆ ประเทศ ทั้งนี้ก็จะแต่งตั้งจากผู้ที่มาจากทหารในกองทัพ
อะไรบ้าง? เป็นส่วนใหญ่ และหลังจากการเลือกตั้ง เมื่อวันที่ 7
ตอบ ปัญหาในการท�ำการค้ากับประเทศเมียนมา พฤศจิกายน 2553 ระดับผู้บริหารของประเทศ แต่งตั้ง
ที่อาจเกิดขึ้น เช่น มาจากผู้ที่ได้ผ่านการเลือกตั้ง ทั้งนี้คณะรัฐมนตรีจะมี
- ค่าขนส่งจากชายแดนไทยสูง เพราะมีการ พลเรือนและทหารผสมกัน อย่างไรก็ตาม ทางส�ำนักงาน
เรียกเก็บค่าคุ้มครองท�ำให้มีเงื่อนไขต้องไปเรียกเก็บกับ ส่งเสริมการค้าต่างประเทศให้ขอ้ คิดเห็นว่า ค�ำถามดังกล่าว
ผู้ประกอบการ แต่สินค้าจากจีนขนส่งเข้ามาในประเทศ เป็นลักษณะน�ำไปสู่ความเข้าใจผิดในการท�ำธุรกิจใน

158
เมียนมา เนื่องจากเท่าที่ทราบ นักธุรกิจไทยเข้าใจว่า 10. จะท�ำการค้ากับตลาดเมียนมาต้องท�ำอย่างไร?
หากต้องการท�ำธุรกิจในเมียนมา จะต้องเข้าหาทางทหาร ตอบ ตลาดเมียนมาถึงแม้ว่าจะมีศักยภาพ แต่
จะท�ำให้เกิดผลดี และยังเข้าใจว่าระบบการปกครองที่ คนต่างชาติส่วนใหญ่จะเข้าใจเกี่ยวกับเมียนมาในข้อมูล
ผ่านมาของเมียนมาปิดกั้นการประกอบธุรกิจ ที่ผิดๆ อันมาจากสื่อต่างๆ ท�ำให้นักธุรกิจไทยเสียโอกาส
ทั้งนี้การเข้าใจดังกล่าว ขอชี้แจงให้ท�ำความเข้าใจ
ทีจ่ ะขายสินค้าในตลาดเมียนมา และทีค่ า้ กับตลาดเมียนมา
ที่ถูกต้องว่า ความประสงค์ที่ต้องการท�ำการค้าหรือธุรกิจส่วนใหญ่จะค้าผ่านนายหน้า ดังนั้นจะพบว่า สินค้า
ในตลาดเมียนมา ไม่มีความจ�ำเป็นที่จะต้องไปท�ำความ ที่เข้ามาสู่ตลาดเมียนมากว่าร้อยละ 90 เจ้าของสินค้า
รู้จักกับทหารหรือว่าระดับผู้บริหาร เนื่องจากระบบการ ไม่เคยเดินทางมาเมียนมา ไม่รู้จักว่าสินค้าของคนที่อยู่
ท�ำการค้าหรือธุรกิจของเมียนมาได้เปิดเสรีมาโดยตลอด ในเมียนมาควรจะท�ำการส่งเสริมการค้าหรือไม่อย่างไร
แต่การได้รับทราบข้อมูลที่ผิดๆ ท�ำให้เกิดความเข้าใจผิด ด้วยระบบการค้าของเมียนมายังเป็นระบบการไว้วางใจ
รวมทั้งนักธุรกิจรายเก่าๆ จากต่างชาติ ก็ไม่ประสงค์ที่จะเนื่องจากระเบียบยังไม่เปิดส�ำหรับการค้าระหว่าง
ให้รายใหม่เข้ามาแข่งขัน ประเทศ เพราะว่าผู้บริหารยังใช้นโยบายต้องให้คนท้องถิ่น
เป็ น เจ้ า ของธุ ร กิ จ ก่ อ น ดั ง นั้ น จะพบว่ า ถึ ง แม้ จ ะมี
8. ระบบความปลอดภัยในเมียนมาเป็นอย่างไรบ้าง? กฎระเบียบการค้า การลงทุน ส�ำหรับคนต่างชาติ
ตอบ จากรายงานของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ แต่ในทางปฏิบัติจริงๆ แล้ว นักธุรกิจต่างชาติจะสามารถ
รายงานว่าประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ท�ำธุรกิจในตลาดเมียนมาได้จะต้องมีคนท้องถิ่นเป็น
โดยเฉพาะที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว เช่น กรุงย่างกุ้ง หุ้นส่วน
เมืองมัณฑะเลย์ เมืองพุกาม ที่รองรับนักท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับผู้ประกอบการรายใหม่
มีความปลอดภัยสูงที่สุดอยู่ในอันดับต้นๆ ของโลก ที่สนใจจะท�ำธุรกิจในตลาดเมียนมา ควรร่วมคณะเดินทาง
มากับส่วนของราชการต่างๆ ที่มาในรูปแบบเจรจาการค้า
9. สินค้าอะไรที่มีศักยภาพในตลาดเมียนมา? หรือมาติดต่อกับส�ำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่าง
ตอบ เนื่องจากประเทศเมียนมา หากจะน�ำ ประเทศ ณ กรุงย่างกุ้ง เป็นสิ่งที่จ�ำเป็นที่สุด เนื่องจาก
มาเปรียบเทียบกับประเทศไทย จะมีความล้าหลังตาม ระบบการตลาดของเมียนมามีความแตกต่างกับระบบ
ประเทศไทยอยู่ประมาณ 30-50 ปี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัย ตลาดที่อื่นๆ ที่ไม่จ�ำเป็นต้องอาศัยหน่วยงานราชการ
อะไรที่จะน�ำมาเปรียบเทียบ แต่ถ้าหากเทียบกับความ เป็นส�ำคัญ ข้อควรระวัง ควรติดต่อกับหน่วยงานที่ดูแล
ศรัทธาเกี่ยวกับการนับถือศาสนา ประชากรเมียนมา เรื่องการค้าเป็นส�ำคัญ เนื่องจากมุมมองเฉพาะเรื่องเป็น
พัฒนามากกว่าไทยด้วยสภาพที่เกือบทุกอย่างของ สิ่งที่ส�ำคัญ
ตลาดเมียนมาจะมีความเหมือนกับประเทศไทย รวมไปถึง
พฤติ ก รรมการบริ โ ภค การด� ำ รงชี วิ ต ประจ� ำ วั น 11. ระบบการขนส่งสินค้าจากไทยไปเมียนมา ท�ำ
ที่คล้ายคลึงกับประเทศไทยอย่างชัดเจน ดังนั้นความ อย่างไร?
คล้ายคลึงดังกล่าว จะส่งผลต่อความต้องการบริโภคสินค้า ตอบ เนื่ อ งจากประเทศไทยกั บ เมี ย นมามี
ที่คนไทยกับคนเมียนมามีความต้องการที่เหมือนๆ กัน ชายแดนติ ด กั น 2,090 กม. ระบบการค้ า ระบบ
ดังนั้น สินค้าในทุกหมวดสาขาที่ผลิตออกมาขายใน การขนส่ง และระบบการสื่อสารของเมียนมายังไม่มี
ตลาดไทย และสามารถส่งไปขายได้ในตลาดเมียนมา และ ประสิทธิภาพเพียงพอกับความต้องการของนักธุรกิจไทย
ชาวเมียนมาก็นิยมสินค้าไทยเป็นพื้นฐานด้วย การค้ากับตลาดเมียนมา ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความจ�ำเป็นต้อง
เข้าใจระบบและปรับตัวเข้าหา ไม่ใช่ความพยายามที่

159
160
จะเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ข้อแนะน�ำส�ำหรับการค้ากับเมียนมา 6. ลักษณะนักธุรกิจหรือผู้ประกอบการไทยที่เข้า
ควรเป็นการค้าแบบชายแดน สิ่งที่ส�ำคัญคือ หาผู้ซื้อ มาค้าขายในตลาดเมียนมายังเป็นลักษณะตัวใครตัวมัน
สินค้า เมื่อตกลงการซื้อขายแล้ว ก็จะส่งสินค้าไปยังที่ ขาดการรวมกลุ่มระหว่างกัน ซึ่งหากไม่มีการปรับเปลี่ยน
แม่สอด หลังจากนั้นก็จะเป็นหน้าที่ของทางผู้ซื้อฝ่าย จะท�ำให้ลดประสิทธิภาพในการแข่งขันระหว่างนักธุรกิจ
เมียนมาที่จะเข้ามาขนส่งสินค้าจากฝ่ายไทยไปยังเมียนมา ต่างชาติด้วยกัน

ข้อคิดและข้อแนะน�ำจากส�ำนักงานส่งเสริมการค้า
ณ กรุงย่างกุ้ง
1. จากการพูดคุยกับผู้ประกอบการไทย พบว่า
เกินกว่าร้อยละ 95 ผู้ประกอบการไทย รู้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ตลาดเมียนมาที่ไม่ถูกต้อง มีความเข้าใจผิดในเรื่องต่างๆ
เช่น การบริหารการปกครอง ชีวิตความเป็นอยู่ของ
ประชาชน นิสัย พฤติกรรมของประชาชนทั่วไป
2. การติดต่อการค้ากับเมียนมาควรค�ำนึงถึงว่า
โดยหลักการทั่วไปของเมียนมา จะให้ความคุ้มครองคน
ท้องถิ่นเป็นส�ำคัญ มีการก�ำหนดระเบียบและกฎเกณฑ์
ต่างๆ แต่ถึงเวลาปฏิบัติไม่สะดวกในการปฏิบัติ ตลาด
เมียนมามีศักยภาพ ก�ำลังการซื้อ เป็นตลาดขนาดใหญ่
แต่ด้วยเป็นประเทศที่มีลักษณะพิเศษกว่าประเทศอื่นๆ
ท�ำให้ตลาดเมียนมาเป็นตลาดที่เข้ายากส�ำหรับผู้ประกอบ
ธุรกิจ แต่เข้ามาอยู่แล้ว อยู่ง่าย เมื่อเทียบกับตลาดอื่นๆ
ซึ่งเป็นตลาดที่เข้าง่ายและอยู่ยาก จะพบว่า ปัจจุบัน
บริษัทของไทยที่ประสบผลส�ำเร็จค่อนข้างมากในตลาด
เมียนมา คือ บริษัทปูนซิเมนตร์ไทย เป็นต้น
3. การติดต่อการค้ากับเมียนมา ไม่ควรเริ่มต้น
จากการได้รับข้อมูลจากพวกผู้แทนการค้า ตัวแทนการค้า
หรือนายหน้า เนื่องจากจะท�ำให้ได้ข้อมูลที่ผิดพลาด
ซึ่งอาจท�ำให้เสียทั้งเงินและเสียเวลา
4. ขอแนะน�ำว่า การจะท�ำการค้าควรติดต่อกับ
ส� ำ นั ก งานการส่ ง เสริ ม การค้ า ระหว่ า งประเทศ ณ
กรุงย่างกุง้ เนือ่ งจากเป็นหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องให้คำ� แนะน�ำ
ด้านการค้าโดยตรง
5. การเริ่มต้นติดต่อท�ำการค้าโดยผ่านหัวหน้า
ทัวร์หรือไกด์ ควรระมัดระวังเนื่องจากที่ผ่านมาไม่ประสบ
ผลส�ำเร็จ

161
162
163
บทที่

หน่วยงานและสถานที่ติดต่อ 7
บทที่ 7
หน่วยงานและสถานที่ติดต่อ
Office of Commercial Affairs Royal Thai Embassy
24-26 Kaba Aye Pagoda Road, (Golden Hill Tower)
Bahan Township, Yangon, Union of Myanmar.
Tel. (951) 558628, 558556 Ext. 7041
Fax. (951) 558644, 558557
E-mail: thaitrade.ygn@mptmail.net.mm,depthailand@gmail.com

Royal Thai Embassy


No.94, Pyay Road, Dagon Township, Yangon, Union of Myanmar.
Tel. (095-1) 226721, 226728, 222784
Fax. (095-1) 221713
E-mail: thaiygn@mfa.go.th

คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนแห่งสหภาพเมียนมา
(Myanmar Investment Commission: MIC)
คณะกรรมการการลงทุนต่างประเทศ
(The Union of Myanmar Foreign Investment Commission: UMFIC)
No.653/691 Merchant Street, Yangon, Myanmar.
Tel. (951) 272 009, 272 855, 272 599
Fax. (951) 282 101, 282 102
E-mail: MICU@mptmail.net.mm
website: www.myanmar.com/govt/trade/inv.htm

165
Office Tower of the Union of Myanmar Federation of Chambers of Commerce and
Industry (UMFCCI)
No.29, Min Ye Kyawswa Road, Lanmadaw Township, Yangon, Union of Myanmar.
Tel. (951) 214344-9
Fax. (951) 214484
website: www.umfcci.com.mm
Ministry of Commerce
Building 3, Nay Pyi Taw, Union of Myanmar.
Tel. 067- 408002, 067- 408002
Fax. 067- 408004
Website: www.commerce.gov.mm

Ministry of National Planning and Economic Development


Building No(1),Nay Pyi Taw ,Myanmar
Fax : 95-67-407004
Planning Department
Building No.1 , Nay Pyi Taw
Tel : 95-67-407085
Fax : 95-67-407084
Email: pd@mptmail.net.mm

รายชื่อร้านอาหารไทยในเมียนมา
Sabai Sabai (เป็นอาหารไทยแท้ ร้านสไตล์บ้านไทย)
232 Dhammazedi Road
Tel. 951-1-544-724
Sala Thai
56 Sayasan Road,Bahan
Tel. 951-1-548-661
Silom Village
69 Pyay Road
Tel.95-1-525-403

166
บรรณานุกรม
ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงย่างกุ้ง
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
กรมการค้าต่างประเทศ
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
ธนาคารแห่งประเทศไทย
ศูนย์ AEC Strategy Center, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, พ.ย. 2557.
Jetro, 2013.
Tractus Research, 2556.
IMF/EIU forecast
Myanmar Investment Commission: MIC
Ministry of Electric Power, 2557.
Doing Business 2015 going beyond efficiency - Myanmar (English)., The World Bank.
Industrial Zone จาก http://myanmargeneva.org/e-com/MOI-2/MOI-2/myanmar.
com /Ministry/moi2/zone.htm ณ 26 พฤศจิกายน 2557.

167
168
169

You might also like