You are on page 1of 14

วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557

ไวรัสไข้หวัดใหญ่และยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ในปัจจุบัน
Influenza Virus and Current Anti-influenza Drugs
ศุภกาญจน์ ชานิ*
ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
Supakarn Chamni*
Department of Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany, Faculty of Pharmaceutical Sciences,
Chulalongkorn University, Phayathai Road, Wungmai, Pathumwan, Bangkok 10330

บทคัดย่อ
การแพร่ระบาดของไวรัสไข้หวัดใหญ่หรือไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 ในประเทศจีนถือเป็นภาวะคุกคามด้าน
สุขภาพที่สร้างความตื่นตระหนกและความวิตกกังวลแก่ประชาชนทั่วโลก เกี่ยวกับแนวทางการป้องกันและการรักษา
โรคไข้หวัดใหญ่อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากข้อจากัดในการผลิตวัคซีนป้องกันโรค ปัญหาการกลายอย่างรวดเร็ว
การดื้อยาอย่างรุนแรงของไวรัส การแพร่ระบาดของไวรัสจากสัตว์สู่คนและจากคนสู่คนอย่างรวดเร็วและการอุบัติซ้า
ของโรคไข้หวัดใหญ่อย่างสม่าเสมอ ทาให้นักวิจัยทั่วโลกต่างให้ความสาคัญต่อการพัฒนาสารต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่
โดยมุ่งเน้นที่การพัฒนาสารยับยั้งการทางานเอนไซม์ neuraminidase ซึ่งมีหน้าที่ในการควบคุมการออกจากเซลล์
ของไวรัส เอนไซม์ neuraminidase เป็นเอนไซม์ที่พบได้ในไวรัสไข้หวัดใหญ่ทุกสายพันธุ์ และมีลักษณะของ active
site คงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงแม้ว่าไวรัสจะเกิดการกลาย จึงถือเป็นกลไกที่สาคัญในการควบคุมการแพร่ระบาดและ
การรักษาโรคไข้หวัดใหญ่ที่เกิดจากไวรัสทุกสายพันธุ์ รวมถึงสายพันธุ์ที่เพิ่งค้นพบและสายพันธุ์ที่ดื้อยา ปัจจุบันยา
ต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดยับยั้งการทางานเอนไซม์ neuraminidase ที่ได้รับการอนุญาตให้จัดจาหน่ายทั่วโลกมีเพียง
2 ชนิด คือ Tamiflu® (อนุพันธ์ของ oseltamivir ในรูปเกลือฟอสเฟต) และ Relenza® (zanamivir) ดังนั้นการ
ค้นหาสารยับยั้งการทางานเอนไซม์ neuraminidase ชนิดใหม่จึงถือเป็นกระบวนการที่จาเป็นต่อการรักษาและ
ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันมีสารสังเคราะห์หลายชนิดที่ได้รับการศึกษา
และพัฒนาจนผ่านเข้าสู่กระบวนการทดลองทางคลินิกขั้นที่ 2 และ 3 ได้แก่ favipiravir (T-705), TCAD combo,
laninamivir (CS8959), peramivir (RWJ-270201), fludase (DAS181) และ nitazoxanide ซึ่งสามารถใช้ต่อต้าน
ไวรัสได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีแนวโน้มที่จะสามารถใช้เป็นยาต่อต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ได้ในอนาคต
คาสาคัญ : ไข้หวัดใหญ่; ไข้หวัดนก; ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่; สารยับยั้งการทางานเอนไซม์ neuraminidase

*ผู้รับผิดชอบบทความ : supakarn.c@chula.ac.th
ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Abstract
Recently reports of an H7N9 avian influenza outbreak in China have caused the serious
global public health concern for the next influenza pandemic control. Lack of effective and
sufficient vaccine, frequently viral antigenic drifting, high rate of anti-viral drug resistances, rapid
animal-to-human and human-to-human viral transmission and regularly repeating influenza
pandemic are an important pitfall for treatment and prophylaxis of influenza infection. Regarding
to these provisos, the development of new anti-influenza drugs is significantly an argent need,
focusing on the development of new neuraminidase inhibitors. Neuraminidase is a surface
glycoprotein enzyme that involves in viral release from host cell. Importantly, the influenza virus
neuraminidase active site contains amino acid residues that are conserved in all influenza viral
subtypes, including new viral strains and anti-viral drug resistance subtypes. Therefore,
neuraminidase is an essential therapeutic target for the discovery and development of anti-
influenza therapeutic agents. To date, only two commercially developed anti-influenza drugs,
Tamiflu® (the phosphate salt of oseltamivir ethyl ester) and Relenza® (zanamivir) which were
approved by US FDA in 1999, are international prescribed to inhibit the activity of neuraminidase
meaning to control influenza infection in human. Thus, a number of new synthetic entries having
unique structural frameworks and biological properties such as favipiravir (T-705), TCAD combo,
laninamivir (CS8959), peramivir (RWJ-270201), fludase (DAS181) and nitazoxanide, are developed
as novel neuraminidase inhibitors and are studying in phase II and III clinical trials as the potential
neuraminidase inhibitors for treatment and control of the future global influenza outbreaks.
Keywords: influenza; avian influenza; anti-influenza drug; neuraminidase inhibitor

1. บทนา ใจเต้นผิดปกติ และระบบหายใจล้มเหลว ทาให้ระบบ


โรคไข้หวัดใหญ่ (flu หรือ influenza) คือ โรค ต่า ง ๆ ภายในร่ างกายท างานผิ ด ปกติ และอาจเป็ น
ที่ เ กิ ด จากการติ ด ไวรั ส ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความผิ ด ปกติ ต่ อ อันตรายถึงแก่ชีวิตได้ถ้าไม่ได้รับการรักษาทันการณ์ [1]
ระบบทางเดินหายใจ สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศ ปัจจุบันโรคไข้หวัดใหญ่จัดเป็นปัญหาสุขภาพที่
ทุกวัย โดยเฉพาะผู้ที่ร่างกายอ่อนแอและมีภูมิต้านทาน สร้ า งความตื่ น ตระหนก และวิ ต กกั ง วลไปทั่ ว โลก
ต่า เช่น เด็ก และผู้สูงอายุ ผู้ที่ได้รับการติดเชื้อจะมีไข้ เนื่องจากพบการแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง (pandemic)
สูงแบบเฉียบพลัน ปวดศีรษะ น้ามูกไหล และปวดเมื่อย และเกิดการอุบัติซ้าของโรคมาแล้วหลายครั้ง โดยแต่
กล้ามเนื้อ ในบางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน และ ละครั้งก่อให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตของคนและสัตว์
ท้องเสียร่วมด้วย โรคไข้หวัดใหญ่มักจะมีความรุนแรง เป็นจานวนมาก จากประวัติการแพร่ระบาดของโรค
กว่าไข้หวัดทั่ว ๆ ไป โดยหลังจากการติดไวรัส ผู้ป่วย ไข้หวัดใหญ่พบว่ามีการแพร่ระบาดอย่างกว้างขวางใน
อาจมีโรคแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ไข้เลือดออก หัว โลกครั้ งแรกในปี ค.ศ. 1918 เรี ย ก Spanish flu

259
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557
ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจานวนมากถึง 50-100 ล้านคน และโปรตี น ที่ ท าหน้ า ที่ ค วบคุ ม การผ่ า นเข้ า ออกของ
ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 3-5 ของประชากรทั่วโลก [2] การ ไอออน (ion channel protein) ได้ แก่ M2 ion
แพร่ ร ะบาดครั้ งล่ า สุ ด เกิ ด ขึ้ น ในเดื อ นเมษายน ค.ศ. channel (รูปที่ 1) โดยไวรัส ไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ
2013 โดยพบการระบาดของไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ (influenza A virus) จะมีหลายสายพันธุ์ตามชนิดของ
H7N9 ในประเทศจีน และมีรายงานการกาจัดไก่ที่เสี่ยง hemagglutinin และ neuraminidase ที่หลากหลาย
ต่อการติดเชื้อมากกว่า 3 แสนตัว พบผู้ติดไวรัสไข้หวัด และพบว่าเป็นไวรัสที่มีความสาคัญมากกว่าชนิดอื่น ๆ
นกอย่างน้อย 82 คน และมีผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย เนื่องจากเป็นสาเหตุหลักของการแพร่ระบาดของโรค
17 คน [3] และในเดือนสิงหาคมปีเดียวกันนี้มีรายงาน ไข้หวัดใหญ่ไปทั่วโลก และไวรัสชนิดนี้ยังสามารถเกิด
การแพร่ระบาดของไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 ใน การแพร่ระบาดได้ทั้งในคนและสัตว์หลายชนิด ได้แก่
ประเทศเนปาล ทาให้ต้องทาลายสัตว์ปีกจานวนหลาย นก ไก่ เป็ด สุกร ม้า แมว สุนัข แมวน้า และปลาวาฬ
หมื่นตัว เป็ น ต้ น ท าให้ เ กิ ด การเรี ย กชื่ อ โรคไข้ ห วั ด ใหญ่ ต าม
สิ่งมีชีวิตที่เป็นพาหะนาโรค เช่น ไข้หวัดนก (bird flu
2. ไวรัสไข้หวัดใหญ่ หรือ avian influenza) และไข้หวัดหมู (swine flu)
ไวรั ส ไข้ ห วั ด ใหญ่ (influenza virus) คื อ สาหรับไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดบี (influenza B virus)
อาร์เอ็นเอไวรัส (RNA virus) ในตระกูล Orthomyxo พบว่าเป็นสาเหตุของการเกิดโรคไข้หวัดใหญ่เฉพาะใน
viridae โดยอนุภาคไวรัสมีรูปร่างกลม (spherical) มี คนเท่านั้น มี hemagglutinin และ neuraminidase
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 80-100 นาโนเมตร เพียงชนิดเดียว โดยทั่วไปพบว่าเป็นสาเหตุของการแพร่
และมีชั้นไขมันห่อหุ้มเป็นเปลือกด้านนอก จึงจัดไวรัส ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ในระดับภูมิภาค ในขณะที่
ไข้หวัดใหญ่ ไว้ในกลุ่ม enveloped RNA virus ภายใน ไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดซี (influenza C virus) พบการ
อนุภาคไวรัสไข้หวัดใหญ่ประกอบด้วยสารพันธุกรรมที่ แพร่ระบาดในคนและสุกร แต่มีประวัติการแพร่น้อย
เป็นพอลิเมอร์ของกรดไรโบนิวคลีอิก (RNA) แบบสาย ครั้งและมีอาการของโรคไม่รุนแรง [5]
เดี่ยวชนิดขั้วลบ (single-stranded, negative-sense
RNA genomes) ที่ เ ยกออกเป็ น ชิ้ น ส่ ว นเล็ ก ๆ
(segment) จานวน 8 ชิ้น แต่ละชิ้นมีความยาวอยู่
ในช่วง 850-2500 นิวคลีโอไทด์ [4]
ไวรัสไข้หวัดใหญ่แบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ ไวรัส
ไข้ ห วั ด ใหญ่ ชนิ ด เอ, บี และซี (influenza virus
subtype A, B and C) ข้อแตกต่างที่สาคัญของไวรัส
ไข้ ห วั ด ใหญ่ ทั้ ง 3 ชนิ ด คื อ ลั ก ษณะของโปรตี น
(surface glycoprotein) ที่แทรกตัวอยู่ในชั้นไขมันที่
ทาหน้าที่เป็นเปลือกหุ้ม (lipid envelop) ล้อมรอบ รูปที่ 1 โครงสร้างของไวรัสไข้หวัดใหญ่ : ปรับปรุงจาก
อนุภาคไวรัส ได้แก่ hemagglutinin (HA) ซึ่งทาหน้าที่ [6]
ควบคุมการเข้าสู่เซลล์ของไวรัสและ neuraminidase
(NA) ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการออกจากเซลล์ของไวรัส
260
ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ไวรัส ไข้ หวั ดใหญ่ ชนิ ดเอมี ลัก ษณะของระบบ จากคนสู่คนได้ ซึ่งถือเป็นภาวะคุกคามจากโรคไข้หวัด
พั น ธุ ก รรมแยกออกเป็ น หลายชิ้ น ส่ ว น (multiple นกในรูปแบบที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน [8]
genomic segment) ซึ่งแต่ละส่วนทาหน้าที่ควบคุม
การผลิ ต โปรตี น ที่ ส าคั ญ ต่ อ การด ารงชี วิ ต ของไวรั ส 3. ปัญหาในการควบคุมการแพร่ ระบาดและ
ได้แก่ RNA polymerase (PA, PB1 และ PB2), รักษาโรคไข้หวัดใหญ่
surface glycoprotein (hemagglatinin และ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1900 ถึงปัจจุบัน พบการแพร่
neuraminidase), nucleoprotein (NP), matrix
ระบาดของโรคจากไวรัส ไข้หวัดใหญ่ชนิดเอหลายครั้ง
protein (M1 และ M2) และ nonstructural
โดยแต่ละครั้งพบว่าการแพร่ระบาดของโรคเกิดจาก
protein (NS1 และ NS2) (รูปที่ 1) นอกจากนี้ไวรัส
ไวรัสหลากหลายสายพันธุ์ ได้แก่ H1N1 (Spanish
ไข้หวัดใหญ่ชนิดเอยังสามารถแบ่งเป็น กลุ่มย่อยตาม
influenza ค.ศ. 1918), H2N2 (Asian influenza
ประเภทของ hemagglutinin และ neuraminidase
ค.ศ. 1957) และ H3N2 (Hong Kong influenza ค.ศ.
โดย hemagglutinin สามารถแบ่งได้เป็น 16 ชนิด
1968) เป็ น ต้ น โดยในปี ค.ศ. 2004 เกิ ด การแพร่
(H1 to H16 subtype) และ neuraminidase
ระบาดของไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ H5N1 (Bird flu)
สามารถแบ่งได้เป็น 9 ชนิด (N1 to N9 subtype) จึง
และพบการแพร่ระบาดของไวรัสจากสัตว์ปีกสู่คนเป็น
ทาให้เกิ ดระบบการเรี ยกชื่อไวรัสไข้ หวัดใหญ่ชนิดเอ
ครั้งแรก และในปี ค.ศ. 2009 เกิดการแพร่ระบาดของ
ส า ย พั น ธุ์ ต่ า ง ๆ โ ด ย ก า ร ร ะ บุ ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง
ไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ H1N1 (Swine flu) ซึ่งพบ
hemagglutinin และ neuraminidase ได้แก่ H1N1
แพร่ระบาดจากสุกรมาสู่คนเป็นครั้งแรก [9] เนื่องจาก
และ H5N1 เป็นต้น โดยไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดเอทุก
สายพันธุ์สามารถเกิดการติดเชื้อและก่อโรคในสัตว์ปีก ไวรัสไข้หวัดใหญ่มีระบบพันธุกรรมแยกออกเป็นหลาย
ได้ แต่มีเพียง hemagglutinin ชนิด H1, H2 และ H3 ชิ้นส่วน (multiple genomic segment) ทาให้มี
และ neuraminidase ชนิด N1 และ N2 เท่านั้น ที่ แนวโน้ ม ของการเปลี่ ย นแปลงทางพั น ธุ ก รรมได้
สามารถเกิดการติดเชื้อและแพร่กระจายระหว่างคนสู่ หลากหลาย (genetic variation) ส่งผลให้พบการ
คนได้ โดยปกติเชื้อไข้หวัดใหญ่จะไม่มีการแพร่กระจาย กลายของไวรัสไข้หวัดใหญ่อย่างต่อเนื่อง โดยการกลาย
ข้ามสายพั นธุ์ใ นสิ่ งมี ชีวิต แต่ ละประเภท และไข้ หวั ด ของไวรัสสามารถเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ [10] คือ
ใหญ่ที่เกิดการระบาดในสัตว์จะไม่สามารถถ่ายทอดสู่ 3.1 การกลายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ
คนได้โดยตรง แต่ในปัจจุบันพบว่า H5N1, H7N7 และ กรดอะมิโนที่เป็นองค์ประกอบของ hemaggluti-nin
H9N2 สามารถแพร่กระจายจากสัตว์สู่คนได้ [7] จาก และ neuraminidase เรียกว่า “antigenic drift” ซึ่ง
สถานการณ์ล่าสุดพบการแพร่ระบาดของไวรัสไข้หวัด เป็นการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมเพียงเล็กน้อย และ
นกสายพันธุ์ H7N9 ในประเทศจีน พบว่าสัตว์ปีกที่ติด ไม่ ม ากพอที่ จ ะท าให้ ช นิ ด ของ hemagglutinin และ
เชื้อ จะไม่แ สดงอาการของโรค ท าให้ คนที่ใกล้ชิดกั บ neuraminidase เปลี่ ย นแปลงไป โดยการกลายใน
สัตว์เหล่านั้นไม่ทราบว่าสัตว์ติดไวรัสไข้หวัดนก จึงไม่มี ลั ก ษณะนี้ จ ะท าให้ ไ วรั ส มี ค วามแข็ งแรงมากขึ้ น และ
การป้องกันและส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายของโรค สามารถเคลื่อนที่ออกจากเซลล์เจ้าบ้าน (host cell) ได้
อย่างรวดเร็ว และที่สาคัญคือไวรัสไข้หวัดนกสายพันธุ์ ทาให้เกิดการแพร่ระบาดของไวรัสระหว่างสิ่ง
H7N9 สามารถแพร่กระจายจากสัตว์สู่คนและติดต่อ มีชีวิตชนิดเดียวกันได้ (horizontal spread)

261
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557
3.2 การกลายที่เกิดจากการรวมตัวของรหัส เสียหายทางเศรษฐกิจ โดยในแต่ละครั้งของการแพร่
พันธุกรรม (reassortment) ระหว่างไวรัส 2 สายพันธุ์ ระบาดได้ก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิตต่อคนและสัตว์
หรือมากกว่า (co-infection) ที่อาศัยอยู่ในเซลล์เจ้า เศรษฐกิจ เช่น เป็ด ไก่ และหมู จานวนหลายล้านชีวิต
บ้ า นเซลล์ เ ดี ย วกั น ท าให้ เ กิ ด ไวรั ส สายพั น ธุ์ ใ หม่ ปัญหาอันเนื่องมาจากการพัฒนาและการผลิตวัคซีนไม่
(hybrid strain) ที่มีความแตกต่างจากสายพันธุ์เดิม เพีย งพอต่ อความต้อ งการ ทาให้ ทั่ว โลกต่า งให้ค วาม
อย่ า งชั ด เจน การกลายในลั ก ษณะนี้ เ รี ย กว่ า สนใจในการหาแนวทางป้องกันและควบคุมการแพร่
“antigenic shift” ซึ่งมักพบในกรณีที่ไวรัสสามารถ ระบาดของไวรัสไข้หวัดใหญ่ โดยมุ่งเน้นที่การค้นหายา
แพร่กระจายระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน เช่น ระหว่าง รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ที่สามารถผลิตได้ในปริมาณมาก
สัตว์สู่คน (vertical spread) ท าให้เกิดการเปลี่ย น และใช้ ได้ กับ เชื้อ ไวรัส สายพัน ธุ์ต่ าง ๆ ทั้งสายพั นธุ์ ที่
แปลงของ hemagglutinin และ neuraminidase เกิ ด ขึ้ น ใหม่ แ ละสายพั น ธุ์ ที่ พ บการดื้ อ ยาได้ อ ย่ า งมี
เกิดเป็นไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ซึ่งไม่สามารถ ประสิ ท ธิ ภ าพ โดยในปั จ จุบั น มี ส ารเคมี ห ลายชนิ ด ที่
ควบคุมการติดไวรัสได้โดยระบบภูมิคุ้มกันที่มีอยู่เดิม ได้รับการคิดค้นและพัฒนาจนสามารถใช้เป็นยาในการ
ตามธรรมชาติ รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ ได้แก่ amantadine, rimanta-
การกลายทั้ง 2 รูปแบบ ถือเป็นปัญหาที่สาคัญ dine, ribavirin, zanamivir และ oseltamivir เป็น
ในการรักษาและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัด ต้น [11,12] (ตารางที่ 1)
ใหญ่ โดยการกลายจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาสายพันธุ์ 4.1 ยาต้า นไวรัสชนิ ดยับยั้งการทางานของ
ของไวรัสไข้หวัดใหญ่อยู่ตลอดเวลา ทาให้ไวรัสมีความ M2 protein
แข็งแรงมากขึ้น จึงเกิด ปัญหาในการรัก ษาเนื่องจาก การคิดค้นและพัฒนายาต้านไวรัสไข้หวัด
ไวรัสมีการดื้อยา (drug resistance) และทาให้ระบบ ใหญ่เริ่มต้นขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยยา
การควบคุ ม โรคไข้ ห วั ด ใหญ่ โ ดยการฉี ด วั ค ซี น ไม่ มี ต้า นไวรั สที่ ได้ รับ การพั ฒนาขึ้ นเป็น กลุ่ มแรก คื อ ยา
ประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากการแพร่ระบาดของ ต้านไวรัสชนิดยับยั้งการทางานของ M2 protein ได้แก่
โรคเกิดจากไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ที่ยังไม่มีการ amantadine เริ่มจาหน่ายในประเทศสหรัฐอเมริกาปี
พัฒนาวัคซีนเพื่อกระตุ้นให้เกิดการสร้างภูมิต้านทาน ค.ศ. 1967 ภายใต้ชื่อทางการค้า Symmetrel® และ
และการผลิตวัคซีนเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยเวลาใน rimantadine เริ่มจาหน่ายในประเทศสหรัฐอเมริกาปี
การผลิต จึงทาให้ปริมาณวัคซี นไม่เพียง พอต่อความ ค.ศ. 1994 ภายใต้ชื่อทางการค้า Flumadine® โดย
ต้องการเมื่อเกิดการแพร่ระบาดของโรค ส่งผลให้การ M2 protein จะทาหน้าที่เสมือนเป็น ion channel ที่
ควบคุมการแพร่กระจายของโรคและการรักษาทาได้ ควบคุมการไหลผ่านเข้าออกของโปรตอน (H+) เพื่อ
ยากขึ้น รั ก ษาสภาวะความเป็ น กรดให้ ส มดุ ล ภายในอนุ ภ าค
ไวรัส โดยในสภาวะที่ภายในอนุภาคไวรัสมีความเป็น
4. ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ กรด เปลือกหุ้ม (envelop) อนุภาคไวรัสจะแยกตัว
การแพร่ ระบาดของไวรัส ไข้ หวั ดใหญ่ ถือ เป็ น (dissociation) เกิ ด การปลดปล่ อ ย ribonucleo-
ปัญหาสาคัญที่ทั่วโลกต่างให้ความสนใจ เนื่องจากส่งผล protein complex เข้าสู่ cytoplasm ของเซลล์
ต่ อ ความปลอดภั ย ในการด ารงชี วิ ต และสร้ า งความ สิ่งมีชีวิตที่รับการติดเชื้อ (host cell) จากนั้นไวรัสจะ

262
ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สามารถสร้างสารพันธุกรรมของตัวเอง (RNA poly- ไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดเอเท่านั้น เนื่องจากไวรัสไข้หวัด
merization) และเจริญเติบโตแพร่กระจายต่อไปได้ ใหญ่ชนิดบีไม่มี M2 protein และยาจะใช้ได้ผลในกรณี
[13] โดย amantadine และ rimantadine จะทา ที่ ผู้ ป่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ การติ ด เชื้ อ ในระยะเริ่ ม ต้ น ปั ญ หาที่
หน้าที่ยับยั้งการทางานของ M2 protein (M2 ion สาคัญคือพบการดื้อยาของไวรัสอย่างรุนแรง ทาให้ใน
channel inhibitor) เพื่อระงับการปลดปล่อย ribo- ปัจจุ บัน หลาย ๆ ประเทศยกเลิก การใช้ยาต้า นไวรั ส
nucleoprotein complex ออกจากอนุภาคไวรัส ชนิดยับยั้งการทางานของ M2 protein ในการรักษา
อย่างไรก็ตาม พบปัญหาของการใช้ยาต้านไวรัสไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ทั้งในคนและสัตว์ [14]
ใหญ่ชนิดยับยั้งการทางานของ M2 protein โดยยา
ชนิดนี้จะใช้รักษาได้เฉพาะโรคไข้หวัดใหญ่ที่เกิดจาก

ตารางที่ 1 ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่
โครงสร้างทาง ชนิดของ ปีที่ได้รับการอนุมัติ
ชื่อทางการค้า กลไกการยับยั้ง บริษัทผู้ผลิต
เคมีและชื่อยา ไวรัส จาก US FDA

Influenza M2 protein Endo


Symmetrel® 1966
A inhibitor Pharmaceuticals
Amantadine

Influenza M2 protein Forest


Flumadine® 1993
A inhibitor Pharmaceuticals
Rimantadine

Influenza Imp Valeant


Virazole® 1998
A & B dehydrogenase Pharmaceuticals
Ribavirin

Influenza Neuraminidase
Relenza® 1999 GlaxoSmithKline
A&B inhibitor
Zanamivir

Influenza Neuraminidase Hoffmann-La


Tamiflu® 1999
A&B inhibitor Roche
Oseltamivir
หมายเหตุ : รวบรวมจาก [11,12] และเว็บไซต์ http://www.dailymed.nlm.nih.gov

263
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557
4.2 ยาต้านไวรัสชนิดยับยั้งการทางานของ ทางเดินหายใจส่วนต้น (upper respiratory tract)
inosine 5-monophosphate (Imp) dehydro- ของเซลล์เจ้าบ้านกับโปรตีนที่บริเวณผิวของเปลือกหุ้ม
genase (envelop glycoprotein) อนุภาคไวรัส ทาให้ไวรัส
Ribavirin เป็นสารเคมีที่ไม่พบในธรรมชาติ สามารถเคลื่อนที่ออกจากเซลล์เจ้าบ้านได้ [16] ดังนั้น
และถูกสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1972 โดย การยับยั้งการทางานของเอนไซม์ชนิดนี้จะทาให้ไวรัส
มีโครงสร้างคล้ายคลึงกับ guanosine ซึงเป็นองค์ ไข้หวัดใหญ่หยุดการแพร่กระจายไปยังเซลล์ข้างเคียง
ประกอบหลั ก ของสารพั น ธุ ก รรมในอนุ ภ าคของ ปัจจุบันเอนไซม์ neuraminidase ถือเป็นเป้าหมาย
อาร์เอ็นเอไวรัส จากการศึกษาพบว่า ribavirin มีฤทธิ์ สาคัญในการพัฒนายาเพื่อรักษาและควบคุมการแพร่
ในการฆ่ า ไวรั ส และสามารถใช้ ใ นการต่ อ ต้ า นไวรั ส ระบาดของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ เนื่องจากเอนไซม์ชนิด
ไข้หวัดใหญ่ชนิดเอและบีได้ โดย ribavirin ทาหน้าที่ นี้สามารถพบได้ทั้งในไวรั สไข้ห วั ดใหญ่ชนิด เอและบี
เป็น pro-drug เมื่อผ่านกระบวนการเมทาบอลิซึม โดยเอนไซม์ neuraminidase ของไวรัสไข้หวัดใหญ่ทุก
(metabolism) จะสามารถเข้าแทนที่ตาแหน่งของ สายพันธุ์จะมี active site ที่เหมือนกัน ทาให้สามารถ
guanosine ได้ ทาให้สามารถยับยั้งการทางานของ ใช้ยาประเภทนี้ในการรักษาไข้หวัดใหญ่ที่เกิดจากไวรัส
inosine 5-monophosphate (Imp) dehydro- ได้ทุกสายพันธุ์ รวมถึงสายพันธุ์ที่เกิดการกลายและสาย
genase ซึ่งใช้ในการสร้าง GTP เพื่อเป็นแหล่งพลังงาน พันธุ์ที่พบการดื้อยา [17]
ในกลไกการสังเคราะห์ RNA ของไวรัส การขาด GTP ปัจจุบันยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดยับยั้ง
ทาให้ไวรัสไม่สามารถสร้างกระบวนการ transcription การทางานของเอนไซม์ neuraminidase มีอยู่เพียง 2
และ genome replication ในการเจริญเติบโตต่อไป ชนิด ที่ได้รับการอนุมัติจากองค์การอาหารและยาแห่ง
ได้ อย่างไรก็ตาม พบว่าการใช้ยาชนิดนี้มีผลข้างเคียง ประเทศสหรัฐอเมริกา (US FDA) ให้จัดจาหน่ายสู่
(side effect) ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง โดยอาจทา ท้ อ งตลาดทั่ ว โลกตั้ ง แต่ ปี ค.ศ. 1999 ได้ แ ก่
ให้เกิดภาวะโลหิตจาง (haemolytic anaemia) และมี zanamivir ซึ่งเป็นยาต้านเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ในกลุ่ม
ความเสี่ ย งต่ อ การก่ อ ให้ เ กิ ด การก าเนิ ด ทารกวิ รู ป ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ neuraminidase ชนิ ด
(teratogenic) [12,15] แรก คิดค้นโดยบริษัท Biota และจาหน่ายภายใต้ชื่อ
4.3 ยาต้านเชื้อไรัสชนิดยับยั้งการทางานของ ทางการค้า Relenza® และ oseltamivir ซึ่งพัฒนาขึ้น
เอนไซม์ neuraminidase โดยบริษัท Gilead Sciences จัดจาหน่ายภายใต้ชื่อ
ปัจจุบันยาต้านไวรัส ไข้หวัดใหญ่ที่ทั่วโลก ทางการค้า Tamiflu® โดยยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ทั้ง
นิยมใช้แ ละยอมรั บว่ามีความปลอดภัย โดยสามารถ 2 ชนิ ด มี ลั กษณะโครงสร้า งทางเคมี ที่ค ล้ า ยคลึ งกั บ
รักษาอาการติดไวรัสไข้หวัดใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ sialic acid (โครงสร้างของ sialic acid อยู่ในรูปที่ 2
คือ ยาในกลุ่มยับยั้งการทางานของเอนไซม์ neurami- และโครงสร้างของ zanamivir และ oseltamivir อยู่
nidase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ผลิตโดยไวรัสไข้หวัดใหญ่ ในตารางที่ 1) ท าให้ ส ามารถยั บ ยั้ ง การท างานของ
หน้ า ที่ ห ลั ก ของเอนไซม์ ชนิ ด นี้ คื อ ท าการตั ด พั น ธะ เอนไซม์ neuraminidase โดยการเข้ า แทนที่ sialic
glycoside linkage ที่เชื่อมระหว่าง sialic acid (รูปที่ acid และส่งผลให้ไวรัสไม่สามารถเคลื่อนที่ออกจาก
2) ซึ่งเป็นน้าตาลโมเลกุลเดี่ยวที่พบได้ในเนื้อเยื่อระบบ เซลล์เจ้าบ้านได้ ซึ่งการยับยั้งการทางานของเอนไซม์

264
ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
neuraminidase ถือเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพในการ กระจายของไวรัสไปยังเซลล์อื่น ๆ [18]
หยุ ด การเจริ ญ เติบ โตของไวรั ส และควบคุ มการแพร่

รูปที่ 2 กลไกยับยั้งการทางานของเอนไซม์ neuraminidase : ปรับปรุงจาก [17]

อย่ า งไรก็ ตาม แม้ ว่ ายาทั้ง 2 ชนิด จะ 5. ยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดใหม่


สามารถใช้ในการรักษาและควบคุมการแพร่ระบาดของ ปั จ จุ บั น มี ส ารยั บ ยั้ ง การท างานของเอนไซม์
ไวรั ส ไข้ ห วั ด ใหญ่ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ แต่ ปั ญ หา neuraminidase หลายชนิ ด ที่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาจาก
สาคัญที่พบเป็นประจาในยาต้านไวรัสคือปัญหาการดื้อ บริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต ยาระดั บ โลก ได้ แ ก่ Biota, Sinica,
ยา [19] ซึ่งพบมากในการใช้ยา oseltamivir [20] Hoffmann-La Roche, Toyama Chemical และ
แม้ว่าการใช้ยา zanamivir จะพบปัญหาการดื้อยาน้อย BioCryst เป็นต้น ผ่านเข้าสู่กระบวนการทดสอบทาง
กว่ายา oseltamivir และสามารถใช้ต่อต้านไวรัสที่ดื้อ คลินิกในขั้น 1, 2 และ 3 (clinical trial phase I, II,
ต่อยา oseltamivir ได้ดี [21] แต่ยา zanamivir ก็มี III) ซึ่งเป็นการทดสอบกับผู้ป่วยในระดับต่าง ๆ ก่อนที่
ข้อจากัดในเรื่องวิธีการใช้ยา โดยต้องฉีดพ่นเข้าสู่โพรง จะผลิตเป็นยาเพื่อจาหน่ายออกสู่ท้องตลาด ตัวอย่าง
จมูก ซึ่งทาได้ไม่สะดวกในผู้ป่วยที่หมดสติ การให้ยา สารยับยั้งการทางานของเอนไซม์ neuraminidase ที่
ด้ ว ยการฉี ด พ่ น เข้ า สู่ โ พรงจมู ก จะช่ ว ยให้ ย ามี ค่ า ชี ว อยู่ในขั้นตอนการทดสอบทางคลินิกในขั้นที่ 2 และ 3
ปริมาณออกฤทธิ์ (bioavailability) ที่สูงขึ้น สามารถ ในประเทศสหรัฐอเมริกา เช่น favipiravir (T-705),
เข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตได้มากขึ้น เนื่องจากการใช้ TCAD combo (ประกอบด้ ว ย amantadine,
ยา zanamivir โดยการกิน (oral administration ) ribavirin และ oseltamivir), laninamivir (CS8959),
จะมีค่าชีวปริมาณออกฤทธิ์ต่า โดยตัวยาจะสามารถเข้า peramivir (RWJ-270201), fludase (DAS181) และ
สู่กระแสเลือดได้เพียง 2-3 % เท่านั้น [22] nitazoxanide [23] (ตารางที่ 2)

265
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557
ตารางที่ 2 สารยับยั้งการทางานของเอนไซม์ neuraminidase ชนิดใหม่ที่กาลังพัฒนาในระดับคลินิก
Neuraminidase บริษัท ระดับการ กลไกในการ
โครงสร้างทางเคมี วิธีการใช้ยา
inhibitor ผู้ผลิต พัฒนา ต้านไวรัส

Toyama Polymerase
Favipiravir Phase II Oral
Chemical inhibitor

Viral
amantadine, ribavirin
TCAD combo ADAMAS Phase II replication Oral
และ oseltamivir
inhibitor
Transition-
Laninamivir Single
Biota Phase III state analogue
inhalation
inhibitor

Transition-
Peramivir BioCryst Phase III state analogue Intravenous
inhibitor

Recombinant Attachment
Fludase NexBio Phase II Inhalation
protein inhibitor

Immuno-
nitazoxanide Romark Phase II Oral
modulatory

หมายเหตุ : รวบรวมจาก [18,23]

ในกลุ่ ม สารยั บ ยั้ ง การท างานของเอนไซม์ Pharmaceuticals โดยมี cyclopentane เป็ น


neuraminidase ชนิดใหม่นี้ พบว่า peramivir และ โครงสร้างหลักของโมเลกุลซึ่งถือเป็นข้อแตกต่างทาง
laninamivir ได้ผ่านเข้าสู่การทดสอบทางคลินิกในขั้นที่ เคมีที่ เด่นชั ดเมื่อ เปรีย บเทีย บกับ zanamivir และ
3 ซึ่งถือเป็นขั้นสุดท้ายก่อนที่จะได้รับการอนุญาตให้จัด oseltamivir ที่ ใ ช้ เ ป็ น สารต้ น แบบ (drug leads)
จาหน่ายเป็นยาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ โดย peramivir จุดเด่นของ peramivir คือการใช้โดยวิธีฉีดเข้าเส้น
เป็นสารต้านเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่แบบฉีดเข้าเส้นเลือด เลือด (intravenous, IV) ซึ่งสามารถใช้เป็นทางเลือก
ชนิดแรก ซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นโดยบริษัท Biocryst ในการรักษาสาหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาโดยการ

266
ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พ่นยาเข้าสู่โพรงจมูกและการกิน ได้แก่ เด็ก ผู้ป่วยโรค โครงสร้างหลักเป็นสารประกอบอะโรมาติกที่มีอะตอม
หอบหื ด และผู้ ป่ ว ยที่ ห มดสติ เป็ น ต้ น ที่ ส าคั ญ ของไนโตรเจน (N) และซัลเฟอร์ (S) เป็นองค์ประกอบ
peramivir สามารถต่อต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่ดื้อต่อยา (heterocyclic aromatic compound) ซึ่งสามารถใช้
oseltamivir และยั ง พบว่ า การฉี ด peramivir เข้ า สู่ ต่อต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่ดื้อต่อยา zanamivir และ
กล้ามเนื้อ (intramuscular, IM) ภายใน 24-48 ชั่วโมง oseltamivir ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย favipiravir
ก่อนการติดเชื้อ สามารถป้องกันการติดไวรัสไข้หวั ด สามารถยับยั้งกระบวนการ RNA polymerase ของ
ใหญ่ ส ายพั น ธุ์ H1N1 และ H3N2 ได้ อ ย่ า งมี ไวรัสได้อย่างจาเพาะเจาะจง ในขณะที่ nitazoxanide
ประสิ ท ธิ ภ าพ ในการทดสอบทางคลิ นิ ก ขั้ น ที่ 3 ได้ จะทาหน้าที่กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน (immunomodu-
ท าการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย ในการใช้ latory) ของสิ่งมีชีวิตที่ได้รับการติดไวรัสไข้หวัดใหญ่
peramivir ในรูปแบบการฉีดเข้าเส้นเลือดที่ปริมาณ โดยพบว่าสามารถลดความรุนแรงของโรคไข้หวัดใหญ่
600 มิลลิกรัม จานวน 1 ครั้งต่อวัน หรือปริมาณ 300 ได้ภายใน 21 ชั่วโมง หลังจากการใช้ nitazoxanide
มิ ล ลิ ก รั ม จ านวน 2 ครั้ ง ต่ อ วั น ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น ในสัตว์ทดลอง [23]
peramivir ได้ รั บการอนุ ญ าตให้ จ าหน่ า ยในประเทศ ในจ านวนสารยั บ ยั้ งการท างานของเอนไซม์
ญี่ ปุ่ น และเกาหลี ภายใต้ ชื่ อ ทางการค้ า Rapiacta® neuraminidase ชนิ ด ใหม่ ที่ ก าลั ง พั ฒ นาในระดั บ
และ Peramiflu® ตามลาดับ [18,24] คลินิก fludase ถื อเป็ นสารที่มีลั กษณะแตกต่า งจาก
ในขณะที่ laninamivir ซึ่งเป็น อนุพันธ์ของ สารยั บ ยั้ ง การท างานของเอนไซม์ neuraminidase
zanamivir พบว่ า สามารถเกิ ด อั น ตรกิ ริ ย ากั บ กรด ชนิ ด อื่ น ๆ โดย fludase เป็ น โปรตี น ที่ ไ ด้ จ ากการ
อะมิโนที่บริเวณ active site ของเอนไซม์ neurami- ดัดแปลง catalytic domain ของเอนไซม์ sialidase
nidase ได้เหมือนกับ zanamivir และ oseltamivir และออกฤทธิ์ที่เซลล์เจ้าบ้านไม่ใช่ที่อนุภาคไวรัส โดย
จุดเด่นของ laninamivir คือ การมีระยะเวลาในการ จะทาลาย sialic acid receptor ที่อยู่บริเวณผิวเซลล์
ออกฤทธิ์ ที่ ย าวนาน ซึ่ ง คาดว่ า เพราะ laninamivir ของเซลล์เจ้าบ้าน ทาให้ไวรัสไข้หวัดใหญ่ไม่สามารถเข้า
สามารถคงตัวอยู่ในปอดได้ดี ทาให้ไม่ต้องพ่นยาเข้าสู่ สู่เซลล์เจ้าบ้านได้ โปรตีน fludase สามารถผลิตได้เป็น
โพรงจมูกหลายครั้งในระหว่างการรักษา และสามารถ จ านวนมากจากการตั ด ต่ อ ยี น และแสดงออกใน
ต่อ ต้า นไวรั สไข้ห วั ดใหญ่ที่ ดื้อ ต่ อยา oseltamivir ได้ Escherichia coli ซึ่ ง ในอนาคตสามารถใช้ โ ปรตี น
อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ปั จ จุ บั น ได้ ศึ ก ษาถึ ง ปริ ม าณ fludase เพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดและรักษาโรค
laninamivir ที่ มี ค วามปลอดภั ย ในการรั ก ษาซึ่ ง อยู่ ไข้หวัดใหญ่ได้ [26]
ระหว่าง 20-40 มิลลิกรัมต่อการสูดดม 1 ครั้ง และ
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 เป็นต้นมา laninamivir ได้รับการ 6. แนวโน้มการคิดค้นและพัฒนายาต้านไวรัส
อนุ ญ าตให้ จ าหน่ า ยในประเทศญี่ ปุ่ น ภายใต้ ชื่อ ทาง ในอนาคต
การค้า Inavir® [18,25] จากการแพร่ระบาดที่รุนแรงและการกลับมา
จากตารางที่ 2 favipiravir และ nitazoxa- ของโรคไข้หวัดใหญ่อย่างสม่าเสมอ ประกอบกับข้อ
nide มี ลั ก ษณะโครงสร้ า งทางเคมี ที่ แ ตกต่ า งจาก จากัดในการผลิตวัคซีนเพื่อป้องกันโรค ปัญหาการดื้อ
zanamivir และ oseltamivir โดยสิ้ น เชิ ง โดยมี ยา และการกลายของไวรัสไข้หวัดใหญ่อย่างรวด เร็ว

267
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557
ท าให้ นั ก วิ จั ย ทั่ ว โลกต่ า งให้ ค วามสนใจในการค้ น หา ไวรั ส สายพั น ธุ์ ใ หม่ ที่ เ กิ ด จากการกลาย (antigenic
วิจัยและพัฒนายาต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่อย่างต่อเนื่อง drift และ antigenic shift) และการดื้อยา [30]
เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้เพียงพอต่อการรักษา และ ตัวอย่าง เช่น การค้นพบ laninamivir ซึ่งเป็นอนุพันธ์
รั บ มื อ กั บ การแพร่ ร ะบาดของโรคไข้ ห วั ด ใหญ่ ที่ อ าจ ของ zanamivir ที่สามารถออกฤทธิ์ได้นานขึ้น ทาให้
เกิดขึ้นได้ในอนาคตอันใกล้ โดยงานวิจัยในปัจจุบัน ผู้ ป่ ว ยสามารถลดความถี่ ใ นการใช้ ย า และ การ
มุ่งเน้นไปที่การค้นหาสารยับยั้งการทางานของเอนไซม์ สั ง เคราะห์ อ นุ พั น ธ์ ข อง oseltamivir ในรู ป ไดเมอร์
neuraminidase ซึ่งสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของ (dimer) และไตรเมอร์ (trimer) เพื่อให้ยามีชีวปริมาณ
ไวรัสได้ ทั้งไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดเอและบี รวมถึงไวรัส ออกฤทธิ์ (bioavailability) ที่ดีขึ้น [31]
ที่เกิดการกลายและดื้อยา โดยสามารถแบ่งงาน วิจัย 6.3 การออกแบบและสังเคราะห์สารยับยั้งการ
ออกเป็น 3 รูปแบบ [27] ได้แก่ ทางานของเอนไซม์ neuraminidase ชนิดใหม่ที่ มี
6.1 การพั ฒ นากระบวนการทางเคมี เ พื่ อ โ ค ร ง ส ร้ า ง ห ลั ก แ ต ก ต่ า ง จ า ก zanamivir แ ล ะ
สังเคราะห์ยาในระดับอุตสาหกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อ oseltamivir โดยตั้งแต่ปี ค.ศ. 1999 เป็นต้นมา งาน
เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตยา สามารถผลิตยาได้ใน วิจั ย เพื่ อ ค้ นหาสารต่ อต้ า นไวรั สไข้ หวั ด ใหญ่ ไ ด้อ ยู่ ใ น
ปริมาณมาก รวดเร็ว มีความปลอดภัยในการผลิต และ ความสนใจและมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ดังจะเห็น
ใช้ต้นทุนในการผลิตต่า เช่น การใช้ D-xylose ซึ่งเป็น ได้จากจ านวนสิท ธิบัตร บทความวิ จัย และบทความ
สารเคมี ที่ มีร าคาถูก เป็ นสารตั้ งต้ น ในการสั งเคราะห์ ปริทัศน์ที่ได้รับการเผยแพร่เป็นจานวนมาก โดยงาน
oseltamivir แทนการใช้ shikimic acid เพื่อช่วยลด วิจัยที่ไ ด้ รับการเผยแพร่ส่ วนใหญ่เ ป็นการบู รณาการ
ต้นทุนและขั้นตอนในการผลิต [28] และการพัฒนา องค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechno-
กระบวนการสังเคราะห์ oseltamivir โดยปราศจาก logy) เคมีเชิงสังเคราะห์ (synthetic chemistry) และ
สาร azide ซึ่งเป็นสารเคมีที่มีพิษและว่องไวต่อการ เคมี คานวณเชิงคอมพิว เตอร์และฟิ สิกส์ (computa-
ระเบิด เพื่อให้กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม tional and physical chemistry) เพื่อใช้ในการ
ยามีความปลอดภัย [29] ส่งผลให้สามารถสังเคราะห์ ออกแบบโครงสร้างสารเคมีที่สามารถยับยั้ งการทางาน
ยาได้ในปริมาณมากขึ้น (large scale synthesis) ของเอนไซม์ neuraminidase ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
6.2 การออกแบบและสังเคราะห์อนุพันธ์ของ โดยพบว่านักเคมีให้ความสนใจศึกษาสารที่มีโครงสร้าง
zanamivir ซึ่งมีโครงสร้างหลักเป็น pyran ring และ หลักรูปแบบต่าง ๆ เช่น สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
อนุ พั น ธ์ ข อง oseltamivir ซึ่ ง มี โ ครงสร้ า งหลั ก เป็ น ชนิดวงแหวน 5 อะตอมคาร์บอน (5-membered ring
cyclohexene ring เพื่อให้ได้สารต่อต้านไวรัสไข้หวัด hydrocarbons) ได้แก่ cyclopentane และ cyclo-
ใหญ่ที่มีประสิทธิภาพดีขึ้น สามารถดูดซึมเข้าสู่เซลล์ได้ peantene สารประกอบวงแหวน 5 อะตอมที่มี
ดี ออกฤทธิ์ได้ยาวนานขึ้น ทาให้ผู้ป่วยไม่ต้องใช้ยาใน ไนโตรเจน (N) และซัลเฟอร์ (S) เป็นองค์ประกอบ (5-
ปริมาณมาก และลดปัญหาผลข้างเคียงจากการใช้ยา membered ring heterocyclic compounds)
เช่ น คลื่ นไส้ อาเจีย น ท้อ งเสีย ปวดศี รษะ หรื ออาจ ได้ แ ก่ อนุ พั น ธ์ ข อง pyrolidine และอนุ พั น ธ์ ข อง
รุนแรงถึงขั้นมีอาการตับอักเสบ ลมชัก และประสาท thiazolidine ตามลาดับ และสารประกอบอะโรมาติก
หลอน รวมทั้ งสามารถใช้ ยับยั้ งการเจริญเติบ โตของ ได้แก่ อนุพันธ์ของ benzoic acid [27] ซึ่งพบว่าสาร

268
ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดใหม่บางชนิดสามารถยับยั้ง 8. เอกสารอ้างอิง
การทางานของเอนไซม์ neuraminidase ได้ในหน่วย [1] Morens, D.M., Taubenberger, J.K. and
นาโนโมลาร์ และสามารถต่อต้านไวรัสที่เกิดจากการ Fauci, A.S., 2008, Predominant role of
กลายและดื้อต่อยา oseltamivir ได้อย่างมีประสิทธิ bacterial pneumonia as a cause of death
ภาพ in pandemic influenza: implications for
pandemic influenza preparedness, J.
7. สรุป Infect. Dis. 198: 962-970.
จากรายงานการแพร่ระบาดของไวรัสไข้หวัดนก [2] Johnson, N.P. and Mueller, J., 2002,
สายพันธุ์ H7N9 ในปี ค.ศ. 2013 ที่ประเทศจีน ได้ Updating the accounts: global mortality
สร้ า งความตื่ น ตระหนกและความหวาดวิ ต กให้ แ ก่ of the 1918-1920 "Spanish" influenza
ประชาชนทั่วโลก เนื่องจากสัตว์ปีกที่ติดเชื้อจะไม่แสดง pandemic, Bull. Hist. Med. 76: 105-115.
อาการที่ชัดเจน และไวรัสจะไม่ทาให้สัตว์ปีกเสียชีวิต [3] Li, Q., Zhou, L., Zhou, M., et al., 2013,
จึงไม่สามารถระบุสภาวะการติดเชื้อ ทาให้ไวรัสเกิดการ Preliminary report: Epidemiology of the
แพร่ระบาดโดยไม่สามารถควบคุมได้ ที่สาคัญ คือไวรัส avian influenza A (H7N9) outbreak in
ชนิดนี้สามารถถ่ายทอดจากสัตว์สู่คน และระบาดจาก China, New Engl. J. Med. 1-15. (DOI:
คนสู่ ค นได้ จากปั ญ หาการกลั บ มาของโรคอย่ า ง 10.1056/NEJMoa1304617)
สม่ าเสมอ รวมถึ งการกลายและการดื้ อยาของไวรั ส [4] Weitz, M. and Naglieri, C., 2013, Jawetz,
ไข้หวัดใหญ่ ทาให้การค้น หาและพัฒนายาต้านไวรั ส Melnick, & Adelberg's Medical Micro-
biology, 26th Ed., McGraw-Hill, New York.
ไข้หวัดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพสูงเป็นเรื่องจาเป็นอย่าง
[5] Palese, P. and Shaw, M.L., 2007, Ortho-
เร่งด่วน และได้รับความสนใจจากนักวิ ทยาศาสตร์ทั่ว
myxoviridae, pp. 1647-1689, In Knipe,
โลก โดยงานวิจัยส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่การค้นหาสาร
D.M. and Howley, P.M. (Eds.), The Viruses
ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ neuraminidase ซึ่งเป็น
and Their Replication, In Fields Virology,
เอนไซม์ที่พบได้ในไวรัสไข้หวัดใหญ่ทุกสายพันธุ์ และมี
5th Ed., Lippincott Williams, Philadelphia.
บทบาทสาคัญต่อการแพร่กระจายของไวรัสไข้หวัดใหญ่
[6] Nelson, M.I. and Holmes, E.C., 2007, The
ไปสู่เซลล์ข้างเคียง การพัฒนากระบวนการสังเคราะห์
evolution of influenza A virus, Nat. Rev.
ยาที่มีประสิทธิภาพ ต้นทุนการผลิตต่า และการค้นหา
Genet. 8: 196-205.
สารยั บ ยั้ ง การท างานของเอนไซม์ neuraminidase
[7] Lu, C.Y., Lu, J.H., Chen, W.Q., et al., 2008,
ชนิดใหม่ ที่สามารถต่อต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ได้อย่างมี
Potential infections of H5N1 and H9N2
ประสิทธิภาพ ถือเป็นแนวทางที่สาคัญเพื่อการป้องกัน avian influenza do exist in Guangdong
และรักษา เพื่อลดความเสี่ยงด้านสุขภาพ และลดความ populations of China, Chin. Med. J. 121:
สูญ เสี ย ที่อ าจเกิ ดขึ้ น จากการอุบั ติ ซ้าของโรคไข้ห วั ด 2050-2053.
ใหญ่ในอนาคตอันใกล้ [8] Gao, R., Cao, B., Hu, Y., et. al., 2013,
Human infection with a novel avian-
269
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557
origin influenza A (H7N9) virus, New Engl. [17] Moscona, A., 2005, Neuraminidase
J. Med. 368: 1888-1897. inhibitors for Influenza A, New. Engl. J.
[9] Morens, D.M. and Taubenberger, J.K., Med. 353: 1363-1373.
2011, Pandemic influenza: Certain [18] Barik, S., 2012, New treatments for
uncertainties, Rev. Med. Virol. 5: 262-284. influenza, BMC Med. 10: 104-119.
[10] Garten, R.J., Davis, C.T., Russell, C.A., et [19] Weinstock, D.M. and Zuccotti, G., 2009,
al., 2009, Antigenic and genetic The evolution of influenza resistance
characteristics of swine-origin 2009 and treatment, J. Am. Med. Assoc. 301:
A(H1N1) influenza viruses circulating in 1066-1069.
humans, Science 325: 197-201. [20] Bloom, J.D., Gong, L.I. and Baltimore, D.,
[11] Montalto, N.J., Gum, K.D. and Ashley, J.V., 2010, Permissive secondary mutations
2000, Updated treatment for influenza A enable the evolution of influenza
and B, Am. Fam. Physician 62: 2467-2476. oseltamivir resistance, Science 328: 1272-
[12] Beigel, J. and Bray, M., 2008, Current and 1275.
future antiviral therapy of severe [21] Gaur, A.H., Bagga, B., Barman, S., et al.,
seasonal and avian influenza, Antiviral 2010, Intravenous zanamivir for
Res. 78: 91-102. oseltamivir-resistant 2009 H1N1
[13] Cady, S.D., Schmidt-Rohr, K., Wang, J., et influenza, N. Engl. J. Med. 362: 88-89.
al., 2010, Structure of amantadine [22] Chand, P., 2005, Recent advances in the
binding site of influenza M2 proton discovery and synthesis of neuraminidase
channels in lipid bilayers, Nature 463: inhibitors, Expert Opin. Ther. Patents 15:
689-692. 1009-1025.
[14] Sheu, T.G., Fry, A.M., Garten, R.J., et al., [23] Wathen, M.W., Barro, M. and Bright, R.A.,
2011, Dual resistance to adamantanes 2013, Antivirals in seasonal and
and oseltamivir among seasonal pandemic influenza-future perspectives,
influenza A (H1N1) viruses: 2008-2010, J. Influenza Other Respi. Viruses 7 (Suppl.
Infect. Dis. 203: 13-17. 1): 76-80.
[15] Rowe, T., Banner, D., Farooqui, A., et al., [24] Sharma, P.P., Roy, R.K., and Chaudhary,
2010, In vivo ribavirin activity against A., 2010, Neuraminidase inhibitors:
severe pandemic H1N1 influenza Oseltamivir, peramivir, synthesis and
A/Mexico/4108/2009, J. Gen. Virol. 91: profile, J. Pharm. Res. 3: 1602-1606.
2898-2906. [25] Vavricka, C.J., Li, Q., Wu, Y., et al., 2011,
[16] Luo, M., 2012, Influenza virus entry, Adv. Structural and functional analysis of
Exp. Med. Biol. 726: 201-221. laninamivir and its octanoate prodrug

270
ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2557 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
reveals group specific mechanisms for [29] Karpf, M. and Trussardi, R., 2001, New
influenza NA inhibition, PLoS Pathog. 7: azide-free transformation of epoxides
e1002249. into 1,2-diamino compounds: synthesis
[26] Malakhov, M.P., Aschenbrenner, L.M.,
of the anti-influenza neuraminidase
Smee, D.F., et al. 2006, Sialidase fusion
inhibitor oseltamivir phosphate (tamiflu),
protein as a novel broad-spectrum
inhibitor of influenza virus infection, J. Org. Chem. 66: 2044-2051.
Antimicrob. Agents Chemother. 50: 1470- [30] Hayden, F., 2009, Developing new
1479. antiviral agents for influenza treatment:
[27] Chamni, S. and De-Eknamkol, W., 2013, what does the future hold?, Clin. Infect.
Recent progress and challenges in the Dis. 48 (Suppl. 1): S3-S13.
discovery of new neuraminidase [31] Macdonald, S.J.F., Cameron, R., Demaine,
inhibitors, Expert Opin. Ther. Patents 23: D.A, et al., 2005, Dimeric zanamivir
409-423.
conjugates with various linking groups are
[28] Shie, J-J., Fang, J-M., Wang, S-Y., et al.
2007, Synthesis of tamiflu and its potent, long-lasting inhibitors of
phosphonate congeners possessing influenza neuraminidase including H5N1
potent anti-influenza activity, J. Am. avian influenza, J. Med. Chem. 48: 2964-
Chem. Soc. 129: 11892-11893. 2971.

271

You might also like