You are on page 1of 43

1

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน

โดย…

ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ

ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2

หนวยที่ 3 การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรดาน CAD ประกอบชิ้นสวน สรางงานนําเสนอ และสราง


งานเขียนแบบ 2 มิติ

3.1 บทนํา
เครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑตางๆ ที่ผลิตในภาคอุตสาหกรรมนั้น จะประกอบดวยชิ้นสวน
หลายๆ ชิ้นสวนประกอบเขาดวยกัน บางผลิตภัณฑจะประกอบดวยชิ้นสวนเปนรอยเปนพันชิ้น เมื่อ
นําโปรแกรมคอมพิวเตอรมาชวยในการออกแบบเครื่องจักรกลหรือผลิตภัณฑเหลานั้นก็จะตองเริ่ม
จากการสร า งชิ้ น ส ว นแต ล ะชิ้ น ก อ นเช น กั น แล ว จึ ง นํ า เข า มาประกอบรวมกั น ซึ่ ง ในหน ว ยที่ 2
นักศึกษาไดเรียนรูวิธีการสรางชิ้นสวนจากคําสั่งตางๆ ของโปรแกรม Solidworks และในหนวย
เรียนนี้นักศึกษาจะไดศึกษาการใชโปรแกรมนี้ประกอบชิ้นสวนที่ไดสรางขึ้นมาเดี่ยวๆ เปนชิ้นงาน
ประกอบโดยใชการแอสเซมบลี (Assembly) รวมทั้งการนําไฟลดังกลาวไปสรางงานนําเสนอ
(Presentation) และสรางงานเขียนแบบ 2 มิติ (Drawing)

3.2 การใชโปรแกรม Solidworks ประกอบชิ้นสวน

3.2.1 ความหมายของแอสเซมบลีทูลบาร (Assembly Toolbar)

แอสเซมบลีทูลบารของโปรแกรม Solidworks ทูลบารมาตรฐานแสดงดังรูปที่ 3.1 ซึ่งแตละ


ไอคอนมีความหมายและการใชงานดังตารางที่ 3.1 นักศึกษาควรศึกษาแตละคําสั่งใหเขาใจ กอนที่
จะเริ่มตนการประกอบชิ้นสวน

รูปที่ 3.1

ไอคอน คําสั่ง ความหมายและการใชงาน


Insert Component ใชนําไฟลชิ้นสวนเขามาวางในไฟลแอสเซมบลี
New Component ใชสรางไฟลชิ้นสวนใหมในไฟลแอสเซมบลี
Mate เปนชุดคําสั่งที่ใชประกอบชิ้นสวนเขาดวยกัน
Move Component ใช เ คลื่ อ นย า ยชิ้ น ส ว นไปยั ง ตํ า แหน ง ที่ ต อ งการ โดยจะเคลื่ อ นย า ยได เ พี ย ง
ชิ้นสวนเดียวเทานั้น
Rotate Component ใชเคลื่อนหมุนชิ้นสวนตามมุมมองที่ตองการ โดยจะหมุนไดเพียงชิ้นสวนเดียว
เทานั้น
Smart Fasteners เปนคําสั่งที่ใชประกอบชิ้น สวนนัตและสกรูเขามาประกอบกับชิ้นสวนโดย
อัตโนมัติ

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
3

ไอคอน คําสั่ง ความหมายและการใชงาน


Exploded View ใชเคลื่อนยายหรือหมุนชิ้นสวนใหเปนภาพระเบิดตามทิศทางที่ตองการ
Exploded Line Sketch ใชสรางเสนเชื่อมตอชิ้นสวนที่ระเบิด
Interference detection ใชตรวจสอบจุดทับซอนกันของชิ้นงาน
Hide/Show Component ใชแสดงหรือซอนชิ้นสวน
Edit Component ใชเชื่อมตอสลับระหวางโหมดการแกไขชิ้นสวนกับโหมดแอสเซมบลี

3.2.2 การประกอบชิ้นงานเขาดวยกัน

เครื่องมือที่ใชประกอบชิ้นงานเขาดวยกัน คือ Mate เมื่อคลิกไอคอน บนทูลบาร


มาตรฐานจะปรากฏกลองโตตอบ Mate ดังรูปที่ 3.2 ซึ่งมีความหมายและการใชงานดังตอไปนี้

รูปที่ 3.2

จากภาพที่ 3.2 จะเห็นวากลองโตตอบ Mate จะประกอบดวย ตัวเลือกหลักคือ Mate


Selections และ Standard Mates ซึ่งจะใชกําหนดความสัมพันธของการเคลื่อนที่ของชิ้นสวน มี
ความหมายดังนี้

Mate Selections เปนชองที่แสดงตําแหนงตางๆ บนชิ้นงานที่เราตองการจะนํามาประกอบ


เขาดวยกัน ไมวาจะเปนพืน้ ผิว เสนขอบ หรือจุดบนชิน้ สวน ฯลฯ จะ
แสดงในชองนี้หลังจากที่เราใชเมาสคลิกเลือก

Standard Mates เปนสวนทีใ่ หเลือกชนิดของการ Assembly มี หลายแบบดวยกัน ดังนี้

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
4

ไอคอน การใชงาน
เปนการประกอบแบบประกบกันหรือเสมอกัน
เปนการประกอบกันแบบ ขนานกัน
เปนการประกอบกันแบบ ทํามุมกันตามองศาที่กําหนด
เปนการประกอบกันแบบ สัมผัสกัน (Tangent) เชน สวนโคงสัมผัสกับสวนโคง
เปนการประกอบกันแบบรวมศูนย
Distance เปนชองสําหรับกรอกกําหนดคาระยะเยื้องที่ตองการ
Angle เปนชองสําหรับกรอกคาองศาที่ตองการ

ตัวอยางที่ 1 การประกอบชิ้นงานเขาดวยกันและสรางชิ้นสวนในไฟลแอสเซมบลี
1. สรางชิ้นสวน 3 ชิ้น ในไฟล ดังรายละเอียดขางลางและรูปที่ 3.3

ชื่อชิ้นงาน บันทึก ไฟลชอื่


- แผนรองลางขนาด 100 x 100 x 10 mm Bottom plate
- แผนประกบบนขนาด 50 x 100 x 10 mm Top plate
- สกูร M 20 x 2.5 Screw

2D Sketch Part Feature

Extrude 10 mm
ก) แผนรองลาง

Extrude 10 mm
ข) แผนประกบบน

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
5

ค) สกรู
รูปที่ 3.3

2. คลิกที่ไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเขาสูไฟลแอสเซมบลี


3. จะเกิดหนาตาง Insert Component ขึ้นมาพรอมกับการเปดไฟลแอสเซมบลี ใหคลิกที่ปุม
จะเกิดกลองโตตอบดังรูปที่ 3.4 หาตําแหนงที่อยูของไฟลที่บันทึกไว เลือก
ชิ้นสวนชื่อ Bottom plate คลิกที่ปุม Open จะไดรูปแผนรองลางปรากฏอยูในกราฟกวินโดว
ใหคลิกบนกราฟกวินโดวจะไดผลลัพธ ดังรูปที่ 3.5

รูปที่ 3.4

รูปที่ 3.5

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
6

4. ทําขั้นตอนเชนเดียวกับขอที่ 3 ใหเลือกไฟลชิ้นสวนชื่อ Top plate และ Screw มาวางใน


ไฟลแอสเซมบลี จะไดชิ้นสวนตางๆ ดังรูปที่ 3.6

รูปที่ 3.6

5. แตละชิ้นสวนจะมีองศาอิสระอยู 6 ทิศทาง คือ เคลื่อนที่ไปตามแกน x, y และ z และ


หมุนรอบแกน x, y และ z ยกเวน bottom plate จะไมมีองศาอิสระเนื่องจากแผนรองลางเปน
ชิ้นสวนแรกที่ถูกนําเขามาวางในไฟลแอสเซมบลีโปรแกรมจะกําหนดใหอยูกับที่โดยคําสั่ง Fix
ซึ่งนักศึกษาสามารถใหชิ้นสวน bottom plate เคลื่อนที่ไดอิสระ โดยคลิกขวาที่ไอคอน
แลวคลิกเลือก Float จากเมนูดังรูปที่ 3.7 ซาย (ถาไมตองการชิ้นสวนไหนมี
องศาอิสระใหคลิกเลือก Fix ดังรูปที่ 3.7 ขวา)

รูปที่ 3.7

6. เริ่มแรกใหประกอบแผน bottom plate กับ top plate เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวน


ทั้งสอง หมุนแผนประกบบนโดยใชคําสั่ง แลวคลิกคําสั่ง จะมีหนาตาง Mate
ปรากฏขึ้นดังรูปที่ 3.8

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
7

- Mate Selections: ตําแหนงที่ 1 เลือกผิวดานลางของแผน top plate ตําแหนงที่ 2


เลือก ผิวดานบนของแผน bottom plate ดังรูปที่ 3.8
- Standard Mate: โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อ
ยอมรับการ Mate

รูปที่ 3.8

7. คลิกเลือกผิวรูดานในของแผน top plate ผิวรูดานในของของแผน bottom plate ดังรูปที่ 3.9


โปรแกรมจะเลือก Concentric โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate

รูปที่ 3.9

8. คลิ ก เลื อ กผิ ว ด า นข า งของแผ น top plate และแผ น bottom plate อี ก ด า นหนึ่ ง ดั ง รู ป ที่ 3.10
โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
8

1
2

รูปที่ 3.10

9. ขั้นตอไปประกอบแผน bottom plate กับ Screw ใหหมุน bottom plate และ Screw โดยใชคําสั่ง
ดังรูปที่ 3.11 คลิกเลือกเสนวงกลมรูกลางของแผน bottom plate และเสนวงกลมของ Screw
โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate

รูปที่ 3.11

10. บันทึกไฟล

3.2.3 การสรางชิ้นสวนในไฟลแอสเซมบลี

การสรางชิ้นสวนใหมในไฟลแอสเซมบลี หรืองาน Top-down Design จะมีขอดีคือชิ้นสวน


ใหมที่สรางขึ้นมาจะมีความสัมพันธกับชิ้นสวนที่มีอยูกอนในไฟลแอสเซมบลี เมื่อชิ้นสวนที่มีความ
เกี่ยวพันธกันถูกแกไขเปลี่ยนแปลงขนาด อีกชิ้นสวนหนึ่งก็จะแกไขตามเสมอ สามารถสรางสวนใน
ไฟลแอสเซมบลีไดดังนี้

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
9

1. คลิกคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน เพื่อสรางชิ้นสวนใหมจะปรากฏกลองโตตอบ Save


as ดังรูปที่ 3.12 ชอง File name ใหกําหนดชื่อเปน Nut กําหนดตําแหนงที่อยูของไฟลตาม
ตองการที่ชอง Save in เสร็จแลวคลิกปุม Save

รูปที่ 3.12

2. เมาสจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ใหคลิกเลือกระนาบสเกตซที่ผิวดานบนของแผน top


plate ดังรูปที่ 3.13 ซึ่งไอคอนบนทูลบารมาตรฐานจะเปลี่ยนเปนสเกตซทูลบาร

รูปที่ 3.13 รูปที่ 3.14

3. กดปุม Ctrl ที่คียบอรดคางไว แลวลากเมาสไปคลิกเลือกเสนของรูปหกเหลี่ยมและวงกลมที่


ผิวบนของแผน bottom plate คลิกปุม จากสเกตซทูลบาร จะปรากฏเสน Profile ของ
รูปหกเหลีย่ มและวงกลม บนผิวของแผน top plate ดังรูปที่ 3.14 ซึ่ง Profile นี้จะถูก
นําไปใชสรางชิ้นสวน Nut ตอไป

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
10

4. เปลี่ยนสเกตซทูลบารเปนฟเจอรทูลบาร คลิกปุม เลือก Profile และกําหนดความหนา


10 mm แลวคลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.15ก

ก ข
รูปที่ 3.15
5. คลิกปุม บนเมนูมาตรฐาน เพื่อจบการแกไขชิ้นสวน จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.15ข
6. บันทึกไฟล

ขอแนะนํา
ชิ้ น ส ว นต า งๆ สามารถเปลี่ ย นสี ห รื อ วัส ดุ ไ ด ต ามความต อ งการ นั ก ศึ ก ษาสามารถลอง
เปลี่ยนสีหรือวัสดุ โดยคลิกขวาที่ไอคอนชื่อของชิ้นสวนที่ตองการดังรูปที่ 3.16 เลือก Appearance
จากเมนู แลวเลือก Color, Texture หรือ Material ซึ่งโปรแกรมจะมีสีตางๆ มีวัสดุจํานวนมากให
เลือกใชไดตามความตองการ

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
11

รูปที่ 3.16

3.3 การสรางภาพระเบิดโดยคําสั่ง Explode View


การสรางภาพระเบิดในโปรแกรม Solidworks จะใชคําสั่ง บนทูลบาร
มาตรฐาน เมื่อคลิกคําสั่งนี้จะปรากฏหนาตาง Explode ดังรูปที่ 3.17 ซึ่งมีความหมายดังนี้

รูปที่ 3.17

Explode Steps เปนชองที่ใชแสดงประวัติลําดับของการระเบิดของชิ้นงานที่ไดทําการ


ระเบิดออก สามารถลบ หรือแกไขลําดับของการระเบิดได โดยการคลิก
เลือกลําดับการระเบิดที่ตองการลบ หรือแกไข

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
12

Settings เปนชองที่ใชสําหรับแสดงชิ้นสวนที่ตองการจะใหระเบิดออกไป โดยการ


คลิ ก เลื อ กชิ้ น ส ว นบนกราฟ ก วิ น โดว หรื อ เลื อ กที่ ชื่ อ ของชิ้ น ส ว นบน
บราวเซอรบาร ชื่อของชิ้นงานที่ถูกเลือกจะปรากฏในชองนี้

Explode Directions ใชสําหรับกําหนดทิศทางของการระเบิด เมื่อคลิกเลือกชิ้นงาน


แลวจะเกิดแกน X, Y และ Z บนจุดที่เราเลือก ใหคลิกเลือก
ทิศทางที่ตองการจะใหระเบิดออกไป ทิศทางที่ถูกเลือกจะปรากฏ
ในชองนี้

Explode Distance ใชสําหรับกําหนดระยะที่ตอ งการจะระเบิดออก

ในตัวอยางนี้จะใชไฟล Assembly ที่ทําไวในหัวขอที่แลว มาสรางภาพระเบิด


1. เปดไฟล Assembly ในหัวขอที่แลว
2. คลิกคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน จะปรากฏหนาตาง Explode ดังรูปที่ 3.18

รูปที่ 3.18

3. ขั้นแรกจะระเบิดนัตออกทางดานบน ลากเมาสไปคลิกที่ชิ้นสวนนัต จะเกิดพิกัด X, Y และ


Z ขึ้นที่จุดนั้น ใหคลิกเลือกแกน Y กําหนดคาระยะการระเบิดเทากับ 120 mm ลงในชอง
Explode Distance แลวคลิกปุม Done ชิ้นสวนนัตจะระเบิดออกดังรูปที่ 3.18

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
13

รูปที่ 3.19

4. ระเบิดแผนประกบบน ขึน้ ขางบน

- Settings คลิกเลือกที่ผิวของชิ้นสวน Top plate บนกราฟกวินโดว ดังรูปที่ 3.19


- Explode Directions ทิศทางระเบิด แกน Y
- Explode Distance ระยะระเบิด 60 mm แลวคลิกปุม Done

5. การระเบิดสกรูออกจากแผนรองลาง
- Settings คลิกเลือกที่ผิวของชิ้นสวน Screw บนกราฟกวินโดว ดังรูปที่ 3.20
- Explode Directions ทิศทางระเบิดแกน Y คลิกปุม เพื่อกลับทิศทางการระเบิด
- Explode Distance ระยะระเบิด 160 mm แลวคลิกปุม Done

รูปที่ 3.20

คลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.21 ซึ่งเปนการเสร็จสิ้นการระเบิด บันทึกไฟล

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
14

รูปที่ 3.21

6. การใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวนแตละชิ้น โดยการคลิกที่คําสั่ง บนทูลบาร


มาตรฐาน จะปรากฏหนาตาง Route Line ใหลากเมาสไปคลิกที่พื้นผิวดานในรูของชิ้นสวน
nut, top plate, bottom plate และคลิกที่พื้นผิวดานนอกของ screw อยางตอเนื่อง ดังรูปที่
3.22 แลวคลิกปุม เปนการเสร็จสิ้นการใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวน บันทึกไฟล

รูปที่ 3.22

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
15

3.3.1 การสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation)

คุณสามารถสรางภาพเคลื่อนไหวของการประกอบเขาและระเบิดออกของชิ้นสวนตางๆ
โดยการคลิกไอคอน (Configuration-Manager) แลวคลิกขวาบนไอคอนชื่อไฟลแอสเซมบลี
เลือก Animate explode จากเมนู ดังรูปที่ 3.23 จะปรากฏกลองโตตอบ Animation controller ดังรูปที่
3.24

รูปที่ 3.23
ใหนกั ศึกษาทดลองใชทูลตางๆ ของ Animation Controller เพื่อดูการระเบิด และการประกอบ
ชิ้นสวนไดตามความตองการ

รูปที่ 3.24

ขอแนะนํา
นักศึกษาสามารถบันทึกการเคลื่อนที่ดังกลาวเปนไฟลวีดีโอ AVI เพื่อที่จะนําไฟลไปแสดง
การเคลื่อนที่ในโปรแกรม Media Player อื่นๆ โดยการคลิกที่ปุม และกําหนดคาตางๆ ตามที่
โปรแกรมตองการ

การใหชิ้นสวนประกอบกลับหรือระเบิดออก

การใหชิ้น ส ว นประกอบกลับ หรื อ ระเบิ ดออก สามารถทํา ไดโดยการคลิ กไอคอน


(Configuration-Manager) คลิกขวาบนไอคอนชื่อไฟลแอสเซมบลีแลวเลือก Collapse จากเมนู เมื่อ

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
16

ตองการประกอบเขาดังรูปที่ 3.25ซาย หรือเลือก Explode จากเมนู เมื่อตองการระเบิดออกดังรูปที่


3.25ขวา

รูปที่ 3.25

ตัวอยางที่ 2 การประกอบชิน้ งานเขาดวยกันดวยคําสัง่ Mate


1. ใชไฟล สรางชิ้นสวน 5 ชิ้น ดังรายละเอียดตามรูปที่ 3.26

รูปที่ 3.26
2. คลิกที่ไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเขาสูไฟลแอสเซมบลี
3. ใชคําสั่ง นําชิ้นสวนทั้ง 5 ชิ้นมาวางในไฟลแอสเซมบลีตามจํานวนดังรูปที่ 3.27

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
17

รูปที่ 3.27
4. เริ่มแรกใหประกอบชิ้นสวนที่ 3 กับชิ้นสวนที่ 4 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้ง
สอง แลวคลิกคําสั่ง จะมีหนาตาง Mate ปรากฏขึ้น คลิกเลือกเสนวงกลมของชิ้นสวน
ที่ 3 และเสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 4 ดังรูปที่ 3.28 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดย
อัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate

รูปที่ 3.28

5. ประกอบชิ้นสวนที่ 4 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้งสอง หมุน


ชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 โดยใชคําสั่ง ดังรูป คลิกเลือกเสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 4 และเลือก
เสนวงกลมของชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 1 ดังรูปที่ 3.29 โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ
แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
18

1
2

รูปที่ 3.29

6. ประกอบชิ้นสวนที่ 4 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 2 เขาดวยกัน ดวยวิธีเดียวกับขอ 5 ดังรูปที่ 3.30

2
1

รูปที่ 3.30

7. ประกอบชิ้นสวนที่ 1 กับชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 1 เขาดวยกัน ซูมขยายภาพของชิ้นสวนทั้งสอง หมุนชิ้นสวนที่ 2 โดย


ใชคําสั่ง ดังรูป คลิกเลือกผิวดานลางของชิ้นสวนที่ 2 และผิวดานบนของชิ้นสวนที่ 1 ดังรูปที่ 3.31
โปรแกรมจะเลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate

1
2

รูปที่ 3.31

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
19

8. คลิกเลือกพื้นผิวดานหนาของชิ้นสวนที่ 1 และชิน้ สวนที่ 2 ดังรูปที่ 3.32 โปรแกรมจะเลือก


Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate

2
รูปที่ 3.32
9. คลิกเลือกพื้นผิวดานขางของชิ้นสวนที่ 1 และชิ้นสวนที่ 2 ดังรูปที่ 3.33 โปรแกรมจะเลือก
Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate

1 2

รูปที่ 3.33

10. ประกอบชิ้นสวนที่ 1 กับชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 2 เขาดวยกัน ดวยวิธีตามขอ 7-9 จะไดผลดังรูปที่


3.34

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
20

รูปที่ 3.34

11. ประกอบชิ้นสวนที่ 2 ตัวที่ 2 กับชิ้นสวนที่ 5 ตัวที่ 2 เขาดวยกันโดย


- คลิกเลือกพื้นผิวทรงกระบอกของชิ้นสวนที่ 5 และพื้นผิวในรูของชิ้นสวนที่ 2 ดังรูปที่
3.35ก โปรแกรมจะเลือก Concentric โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate
- คลิกเลือกพื้นผิวดานหนาของชิ้นสวนที่ 2 และชิ้นสวนที่ 5 ดังรูปที่ 3.35ข โปรแกรมจะ
เลือก Coincident โดยอัตโนมัติ แลวคลิกปุม เพื่อยอมรับการ Mate จะไดผลดังรูปที่
3.36
12. บันทึกไฟล

1
1

2
2

ก ข
รูปที่ 3.35

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
21

รูปที่ 3.36

3.4 การสราง Simulation

1. การจําลองการหมุนของลอทําได โดยคลิกเลือก Rotary motor ที่อยูในคําสั่ง จะปรากฏ


หนาตางของ Rotary motor ขึ้นมาดังรูปที่ 3.37 ใหลากเมาสไปคลิกที่ผิวของโคงของชิ้นที่ 3 กําหนด
ความเร็วในการหมุน (Velocity) ที่ตองการ แลวคลิกปุม
2. คลิกเลือก ที่อยูในคําสั่ง เพื่อใหโปรแกรมคํานวณและเปนการ
บันทึกการจําลองการหมุนของลอ ซึ่งชิ้นงานที่ 3 จะหมุนไปอยางตอเนื่อง เมื่อตองการหยุดใหคลิก
ที่อยูในคําสั่ง

รูปที่ 3.37

3. การแสดงการจําลองการหมุนของลอทําไดโดยคลิกเลือก ที่อยูในคําสั่ง
จะปรากฏหนาตางของ Animation Controller ขึ้นมาดังรูปที่ 3.38 ซึ่งชิ้นที่ 3 จะหมุนรอบ
ตัวเองไปเรื่อยๆ นักศึกษาสามารถทดลองใชทูลตางๆของ Animation Controller เพื่อดูการเคลื่อนที่

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
22

ของลอไดตามความตองการ

รูปที่ 3.38

ขอแนะนํา
นักศึกษาสามารถบันทึกการเคลื่อนที่ดังขอที่ 3 เปนไฟลวีดีโอ AVI เพื่อที่จะนําไฟลไปแสดง
การเคลื่อนที่ในโปรแกรม Media Player อื่น ๆ โดยการคลิกที่ปุม และกําหนดคาตางๆตามที่
โปรแกรมตองการ

3.5 การตรวจสอบการซอนทับกันของชิ้นงาน

1. การตรวจสอบการซอนทับกันของชิ้นงานที่นํามาประกอบกันทําได โดยใชคําสั่ง เมื่อคลิก


เลือกจะปรากฏหนาตางของ Interference Detection ขึ้นมาดังรูปที่ 3.39ก
2. ในชอง ใหคลิกเลือกชิ้นสวนที่ตองการจะตรวจสอบการซอนทับกัน
หรือเลือกชิ้นสวนทั้งหมด เมื่อเลือกเสร็จใหกดปุม เพื่อใหโปรแกรมคํานวณหาการ
ซอนทับกันของชิ้นงาน
3. เมื่อโปรแกรมตรวจพบการทับซอนกันของชิ้นสวนจะแสดงผลในชองของ Results ดังรูปที่ 3.40ข
(เนื้อของชิ้นงานที่ทับซอนกันจะถูกแสดงเปนสีแดง) นักศึกษาสามารถตรวจสอบและทําการแกไข
ใหถูกตอง

ก ข
รูปที่ 3.39

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
23

3.6 การสรางภาพระเบิดโดยคําสั่ง Explode View

จากตัวอยางทีผ่ านมานักศึกษาไดฝกใชคําสั่ง Explode View สรางภาพระเบิดโดยการกรอกคา


ระยะทีต่ องการใหชิ้นสวนระเบิด สําหรับในแบบฝกหัดนี้จะใชวิธี Drag and Drop หรือคลิกเมาสคาง
ไวแลวลากไปวางในตําแหนงที่ตองการ มีขั้นตอนดังตอไปนี้
1. คลิกคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน เมื่อคลิกคําสั่งนี้จะปรากฏหนาตาง Explode ขึ้นมา ซึ่ง
นักศึกษาไมตอ งกําหนดหรือกรอกคาอะไรลงในหนาตางนี้
2. ใหคลิกบนพืน้ ผิวของชิ้นสวนที่ตองการจะระเบิด จะเกิดพิกัด X,Y และ Z ขึ้นที่จุดนัน้ ใหคลิก
เลือกแกนทีต่ องการจะระเบิดคางไว แลวลากเมาสไปปลอยลงในตําแหนงที่ตองการ ดังรูปที่
3.40

รูปที่ 3.40

3. ระเบิดชิ้นสวนอื่นๆ ดวยวิธีการเชนเดียวกันกับขอที่ 2 ใหไดภาพระเบิดดังรูปที่ 3.41

รูปที่ 3.41

4. การใสเสนเชื่อมตอระหวางชิ้นสวนแตละชิ้น โดยใชคําสั่ง บนทูลบารมาตรฐาน ใหมี


ลักษณะดังรูปที่ 3.42
คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน
โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
24

รูปที่ 3.42
ขอแนะนํา การคลิกเลือกตําแหนงการระเบิดของนักศึกษาอาจจะไมตรงกับในแบบฝกหัดนี้
ดังนั้นใหนักศึกษาเปลี่ยนทิศทางการระเบิดใหภาพที่ระเบิดออกมีลักษณะใกลเคียง
กับตัวอยาง หรือนักศึกษาจะระเบิดไปตามทิศทางที่ตองการก็ได

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
25

แบบทดสอบที่ 5

ใหฝกการสรางชิ้นงาน 3 มิติ และนํามาประกอบเขาดวยกัน

หนวยนิว้ (English)

ขอที่ 1

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
26

หนวยมิลลิเมตร (Metric)

ขอที่ 2

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
27

3.7 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ (Drawing)

หลังจากที่สรางชิ้นสวน 3 มิติ ไมวาจะเปนชิ้นสวนเดี่ยว (Part) หรือชิ้นสวนประกอบ


(Assembly) เสร็จเรียบรอยแลวนั้น ขั้นตอนตอไปคือการนํางานเหลานั้นมาสรางเปนภาพเขียนแบบ
2 มิติ (Drawing) และกําหนดรายละเอียดของงาน ไมวาจะเปนขนาด พิกัดความเผื่อ คุณภาพผิว วัสดุ
ที่ใชในการผลิต และสัญลักษณในการเขียนแบบตาง ๆ ที่จําเปน เพื่อนําภาพเขียนแบบ 2 มิติ นั้น
เสนอใหลูกคา หรือชางเทคนิคเพื่อทําการผลิตชิ้นสวนนั้นตอไป การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ ของ
โปรแกรม Solidworks ทําไดงายมากๆ โดยการนําไฟลชิ้นสวน 3 มิติ หรือไฟลชิ้นสวนประกอบเขา
มาวางในไฟล Drawing เลือกมุมมอง 2 มิติที่ตองการ ก็จะไดภาพเขียนแบบ 2 มิติ ของชิ้นสวนนั้นๆ
ไฟล Drawing มีความเกี่ยวพันธแบบพาราเมตริกกับไฟลอื่นๆ กลาวคือเมื่อทําการแกไขขนาดของ
ไฟลใดไฟลหนึ่งอีกไฟลก็จะแกไขเปลี่ยนแปลงตามกันไปดวย

3.7.1 ความหมายของ Drawing Tools

Drawing จะประกอบดวยเครื่องมือใชงานบนทูลบารมาตรฐานดังตอไปนี้
ไอคอน คําสั่ง หนาที่
ใชวางภาพเขียนแบบ 2 มิติ ภาพแรกลง ในไฟล Drawing สามารถเลือก
Model View
มุมมองของการเขียนแบบไดตามความตองการ
ใชสรางภาพฉายดานอืน่ ๆ หรือสรางภาพไอโซเมตริกจากภาพทีไ่ ดจาก
Projected View
Model View
Auxiliary View ใชสรางภาพฉายชวย โดยภาพที่ฉายจะตั้งฉากกับเสนขอบที่เราเลือก

Section View ใชสรางภาพตัดเพื่อใหเห็นสวนประกอบภายในโดยใชเสนตัดตรง


ใชสรางภาพตัดเพื่อใหเห็นสวนประกอบภายในโดยใชสองเสนตัดทํา
Section View
มุมกัน
ใชสรางภาพขยายรายละเอียดของภาพอื่นๆ ในสวนที่ตอ งการใหเห็น
Detail View
รายละเอียดเพิม่ เติม
ใชสรางภาพ Broken (ภาพที่ตัดสวนตรงกลางออกเหลือแตสวนปลาย
Broken View
ของทั้งสองดาน ทําใหประหยัดเนื้อทีใ่ นกระดาษเขียนแบบ)
Standard 3 View ใชสรางภาพฉายทั้ง 3 ดานโดยอัตโนมัติ

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
28

3.7.2 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ จากไฟลชิ้นสวน (Part)

หลังจากที่นักศึกษาไดสรางชิ้นสวน 3 มิติเปนเรียบรอยแลว สามารถนําชิ้นสวน 3 มิตินั้น


มาทําเปนภาพเขียนแบบ 2 มิติ โดยวิธีดังนี้
1. เปดไฟล Drawing โดยการคลิกไอคอน แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน
2. โปรแกรม Solidworks จะมีมาตรฐานกระดาษเขียนแบบขนาดตางๆ ใหเลือก ใหนักศึกษา
เลือก A4-Landscape และออปชันตางๆ ดังรูปที่ 3.43 คลิกปุม OK

วางกระดาษแนวนอน
วางกระดาษแนวตั้ง

รูปที่ 3.43

3. โปรแกรมจะเขาคําสั่ง Model View โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อหาไฟล Part 3


ที่นักศึกษาสรางและบันทึกเก็บไวในตัวอยางของหัวขอการประกอบชิ้นงานดังรูปที่ 3.44
คลิกปุม Open แลวลากเมาสมาคลิกตําแหนงดังรูปที่ 3.45 คลิกปุม

รูปที่ 3.44

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
29

รูปที่ 3.45

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม

นักศึกษาสามารถยายตําแหนงของภาพ Model View ไดโดยการคลิกเมาสที่ภาพนั้นคางไว


(ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) แลวลากไปปลอยวางยังตําแหนงที่ตองการ

4. คลิกที่ไอคอน ไปคลิกที่ภาพ Model View (ตําแหนงที่ 1) แลวลากเมาสลงมาดานลาง


(ตําแหนงที่ 2) คลิกเมาส 1 ครั้ง จะไดภาพดานบน ดังรูปที่ 3.46 หลังจากนั้นใหเลือก Display
Style แบบ Hidden Lines visible แลวคลิกปุม

รูปที่ 3.46

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
30

5. สรางภาพตัด โดยคลิกไอคอน จะปรากฏหนาตางของ Section View ใหกําหนดชื่อของภาพ


ตัด (Label) =A มาตราสวน (Scale) และสไตลดังรูป ลากเมาสไปคลิกตําแหนงที่ 1 และ 2 ดังรูปที่
3.47 ตามลําดับเพื่อสรางเสนตัด แลวลากเมาสมาวางตําแหนงที่ตองการวางภาพตัด คลิกปุม จะ
ไดผลลัพธดังรูป

รูปที่ 3.47
6. การแสดงภาพรายละเอียดของสวนที่ตองการ ทําไดโดยการคลิกที่ไอคอน คลิกเลือกภาพที่
ตองการทํา Detail ในตัวอยางนี้ ใหคลิกที่ภาพตัด แลวคลิกสรางวงกลมใหมีขนาดครอบคลุมตําแหนง
ที่ตองการสราง Detail ดังรูปที่ 3.48 แลวลากเมาสไปวางตําแหนงที่ตองการ พรอมกันนั้นจะปรากฏ
หนาตาง Detail View ดังรูป ใหกําหนดชื่อภาพ (Label) = B มาตราสวน (Scale) = 1:1 และ สไตล
เปนแบบ Hidden line Remove คลิกปุม

รูปที่ 3.48

7. ใชคําสั่ง สรางภาพ Isometric ดานลางของภาพตัดดังรูปที่ 3.49 คลิกปุม

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
31

รูปที่ 3.49

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
นักศึกษาสามารถแกไขหรือกําหนดมาตรฐานการเขียนแบบตางๆ ของ Drawing ไดตาม
ความตองการ โดยคลิกที่ปุม Option จะปรากฏหนาตางของ System Options และ Document
Properties ดังรูปที่ 3.50 ซึ่งสามารถแกไขมาตรฐานการเขียนแบบของ Drawing ไดที่แท็บ
Document Properties

รูปที่ 3.50

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
นักศึกษาสามารถแกไข มุมมอง รูปแบบของการแสดงภาพ มาตรสวน หรืออื่นๆ ที่ตองการ
ของภาพ Drawing ไดทุกภาพ โดยการคลิกเมาสที่ภาพที่ตองการแก จะปรากฏหนาตางของ
Drawing view ดังรูปที่ 3.51 ซึ่งสามารถแกไขตามความตองการ แลวคลิกปุม

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
32

รูปที่ 3.51

8. การกําหนดขนาดของแบบ 2 มิติ การกําหนดขนาดใหภาพเขียนแบบสามารถทําได 2 วิธี คือ การ


กําหนดขนาดอัตโนมัติ และการกําหนดขนาดดวยตัวเอง

- การกําหนดขนาดอัตโนมัติ ทําได ดังนี้


คลิกไอคอน (Annotations) ดังรูปที่ 3.52 ทูลบารจะเปลี่ยนเปน Drawing
Annotation ใชคําสั่ง หรือคําสั่ง แลวลากเมาสไปคลิกเลือกรูปที่ตองการจะให
ขนาดคลิกปุม เสนใหขนาดจะแสดงอัตโนมัติ การใหขนาดวิธีนี้โปรแกรมจะอางอิง
ตามขนาดของชิ้นสวน 3 มิติที่นักศึกษากําหนดตอนสเกตซ ดังนั้นตําแหนงการวางขนาด
ในภาพเขียนแบบ 2 มิติ อาจจะไมสวยงาม หรือไมวางในตําแหนงที่เราตองการ นักศึกษา
สามารถยายตําแหนงของเสนกําหนดขนาดไดโดยการลากเมาสไปวางบนเสนบอกขนาด
นั้นแลวคลิกที่ตัวเลขหรือเสนกําหนดขนาดคางไว (ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ )
แลวลากเมาสไปวางปลอยลงในตําแหนงที่ตองการ

รูปที่ 3.52

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
33

- กําหนดขนาดดวยตัวเอง ทําไดดังนี้
เลือกใชกลุมคําสั่งการใหขนาด แลวลากเมาสไปคลิกใหขนาด
ตามตองการ ใหนักศึกษาใชคําสั่งการใหขนาดแบบตาง ๆ ฝกใหขนาดกับภาพดานขาง
ของชิ้นสวนที่ 3 ดังรูปที่ 3.53

รูปที่ 3.53

การกําหนดสัญลักษณเขียนแบบตาง ๆ ลงในภาพเขียนแบบ 2 มิติ

นักศึกษาสามารถกําหนดสัญลักษณการเขียนแบบตาง ๆ เชน คุณภาพผิวงาน สัญลักษณ


งานเชื่อม พิกัดความเผื่อตาง ๆ ลงบนภาพเขียนแบบ 2 มิติ โดยการคลิกเลือก (Annotations)
จากเมนูจะปรากฏไอคอนสัญลักษณเขียนแบบตาง ๆใหเลือกใช ในตัวอยางนี้จะกลาวถึงเฉพาะ
สัญลักษณเขียนแบบที่ใชงานบอยๆ เทานั้น สวนสัญลักษณที่ไมไดกลาวถึงนักศึกษาสามารถทดลอง
ใชไดโดยการดูจากเครื่องมือชวย (Help) ของโปรแกรม

การใชเครื่องมือ Center line


Centerline เปนคําสั่งที่ใชสรางเสนศูนยกลางของรูปที่มีความสมมาตรกัน
1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน
2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนดานขางทั้งสองเสนของภาพดานบนชิ้นสวนที่ 3 (ตําแหนงที่ 1
และตําแหนงที่ 2 ดังรูปที่ 3.54 ตามลําดับ) โปรแกรมจะสรางเสนศูนยกลางตัดกลางเสน
ที่เลือกทันที ซึ่งขณะนี้นักศึกษายังอยูในคําสั่ง Center line สามารถที่จะไปคลิกสรางเสน
ศูนยกลางเสนอื่นๆ ได
3. สรางเสน Center line ของภาพดานขางดังรูปที่ 3.55 ดังวิธีเดียวกับขอ 3
4. คลิกปุม เพื่อออกจากคําสั่ง

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
34

1 2

รูปที่ 3.54

รูปที่ 3.55

การใชเครื่องมือ Datum Feature


Datum Feature เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณพิกัดความเผื่อตําแหนงและรูปราง
1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Datum Feature ขึ้นดังรูปที่ 3.56
กําหนดรูปแบบของตัวหนังสือและรูปแบบของสัญลักษณที่ตองการ
2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนของภาพดานบนของชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงดังรูปที่ 3.56 แลวคลิก
ปุม เพื่อออกจากคําสั่ง

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
35

รูปที่ 3.56
การใชเครื่องมือ Datum Target
Datum Target เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณพิกัดความเผื่อตําแหนงและรูปรางที่สัมพันธ
กับ Datum Feature
1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Datum Target ขึ้นดังรูปที่ 3.57
กรอกคาของ Datum กําหนดรูปแบบของตัวหนังสือและรูปแบบของสัญลักษณที่ตองการ
2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนของภาพดานบนของชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงดังรูปที่ 3.57 แลวคลิก
ปุม เพื่อออกจากคําสั่ง จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.58

รูปที่ 3.57

รูปที่ 3.58

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
36

การใชเครื่องมือ Surface Finish


Surface Finish เปนคําสั่งที่ใชสรางสัญลักษณแสดงคาความหยาบของผิวชิ้นงาน
1. คลิกที่ปุม บนทูลบารมาตรฐาน จะเกิดหนาตาง Surface Finish ขึ้นดังรูปที่ 3.59
กรอกค า ของความหยาบ กํา หนดรู ป แบบของตั ว หนัง สือ และรูปแบบของสัญลั ก ษณ ที่
ตองการ
2. ลากเมาสไปคลิกบนเสนวงกลมของภาพดานหนาชิ้นสวนที่ 3 ตําแหนงที่ ดังรูปที่ 3.59
แลวคลิกปุม เพื่อออกจากคําสั่ง จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.60

ภาพที่ 3.59

รูปที่ 3.60

เมื่อทําเสร็จทุกขั้นตอนจะไดผลลัพธของภาพเขียนแบบ 2 มิติ ดังรูปที่ 3.61

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
37

รูปที่ 3.61

3.4.3 การสรางภาพเขียนแบบ 2 มิติ จากไฟลแอสเซมบลี (Assembly)


1. คลิก New แลวดับเบิลคลิกที่ไอคอน โปรแกรมจะเปดไฟล Drawing
2. ใหเลือก A4-Landscape และออปชันตางๆ ตามวิธีการดังหัวขอที่ผานมา
3. โปรแกรมจะเขาคําสั่ง Model View โดยอัตโนมัติ คลิกปุม เพื่อหาไฟล
Assembly ที่นักศึกษาสรางและบันทึกเก็บไวในตัวอยางของหัวขอการประกอบชิ้นงาน
ดังรูปที่ 3.62 คลิกปุม Open

รูปที่ 3.62

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
38

4. ใหกําหนดมุมมองของภาพเปน Isometric View สไตลเปนแบบ Hidden line Remove และมาตรา


สวน (Scale) = 1: 3 ดังภาพที่ 3.63 ซาย แลวลากเมาสมาคลิกตําแหนงดังรูปที่ 3.63ขวา คลิกปุม

รูปที่ 3.63

5. ทําเหมือนขอที่ 3 โดยใชคําสั่ง Model View แตตองทําการประกอบกลับ (Collapse) ไฟล


Assembly ที่บันทึกไวในหัวขอที่แลว

รูปที่ 3.64

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
39

6. ใหกําหนดมุมมองภาพเปน Isometric View มาตราสวน (Scale) = 1:2 และสไตลเปนแบบ Shaded


with Edge คลิกปุม จะไดผลลัพธดังรูปที่ 3.64

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม
นักศึกษาสามารถยายตําแหนงของภาพตางๆ โดยการคลิกเมาสที่ภาพนั้นคางไว (ลูกศรจะ
เปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) แลวลากไปปลอยวางยังตําแหนงที่ตองการ

7. การสราง Balloon
การสราง Balloon หรือการกําหนดหมายเลขกํากับชิ้นสวน สามารถทําได 2 วิธีคือ
(เปลี่ยน Drawing Tools เปน Annotations Tools โดยวิธีการดังตัวอยางที่ผานมา)
7.1 การสราง Balloon พรอมกันทุกชิ้นสวน โดยการคลิกปุม (Auto Balloon) แลวลากเมาสไป
คลิกภาพที่ตองการทํา Balloon จะปรากฏหนาตางโตตอบ Auto Balloon ดังรูปที่ 3.65
ใหเปลี่ยน คลิกปุม จะเกิด Balloon กระจัดกระจายดังรูปที่ 3.65

รูปที่ 3.65

7.2 การทํา Balloon ทีละชิ้นสวน โดยการคลิกปุม แลวไปคลิกบนชิ้นสวนในภาพที่


ตองการทํา Balloon คลิกปุม เพื่อยอมรับและออกจากคําสั่ง Balloon

การยายตําแหนงตัวเลขและตําแหนงการชีข้ องลูกศรบนภาพชิ้นสวนของ Balloon


นักศึกษาสามารถจะยายตําแหนงตัวเลขของ Balloon แตละหมายเลขได โดย
การคลิกที่ตัวเลขจะมีปุมสีเขียวเกิดขึ้นที่ตัวเลขและที่ลูกศรใหคลิกที่ปุมสีเขียวของ
ตัวเลขคางไว (ลูกศรจะเปลี่ยนเปนสัญลักษณ ) ดังรูปที่ 3.66 ลากเมาสไปปลอย

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
40

วางยังตําแหนงที่ตองการ สวนการยายตําแหนงการชี้ของลูกศรบนภาพชิ้นสวนใหคลิก
เมาสคางไวที่ปุมสีเขียวของลูกศรแลวทําเชนเดียวกับวิธีการยายตัวเลข

รูปที่ 3.66

การลบและแกไข Balloon

-การลบ Balloon ทําไดโดยคลิกบน Balloon ที่ตองการลบแลวกด Delete บนคียบอรด

-การแกไข Balloon ทําไดโดยคลิกบน Balloon ที่ตองการ จะปรากฏหนาตาง Balloon


ขึ้นมาดังรูปที่ 3.67 ซึ่งสามารถแกไขชนิดและหมายเลขของ Balloon ไดตามความตองการ

รูปที่ 3.67
8. การสรางตารางรายการชิ้นสวน (Bill of Materials)

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
41

การสร า งตารางรายการชิ้ น ส ว น หรื อ รายการวั ส ดุ ทํ า ได โ ดยการคลิ ก ที่ ไ อคอน


เลื อ ก บนทู ล บาร ม าตรฐาน แล ว ลากเมาส ไ ปคลิ ก ที่ ภ าพที่ ต อ งการบอกรายการ
ชิ้นสวน ในตัวอยางนี้ใหคลิกที่ภาพ Assembly ภาพใดก็ได จะปรากฏหนาตาง Bill of Materials ดัง
รูปที่ 3.68 ซาย

รูปที่ 3.68

9. กําหนดออปชันของ Bill of Materials ดังรูป แลวลากเมาสไปคลิกวางในตําแหนงดังรูปที่ 3.68ขวา


จะไดตารางรายการชิ้นสวนของภาพที่เลือกบันทึกไฟล

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
42

แบบทดสอบที่ 6

ใหฝกสรางงานDrawing 2 มิติโดยใชรูปดังตอไปนี้

ขอที่ 1 ขอที่ 2

ขอที่ 4
ขอที่ 3

ขอที่ 5 ขอที่ 6

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
43

ขอที่ 7

คูมือการใชโปรแกรม SolidWorks ขั้นพื้นฐาน


โดย ผศ.ดร. จตุรงค ลังกาพินธุ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

You might also like