You are on page 1of 65

1

บทที่ 1
บทนา

ฟั ซ ซี ล อจิ ก เป็ นศาสตร์ ด้า นการค านวณที่ เ ข้า มามี บ ทบาทมากขึ้ น ในวงการวิ จ ัย ด้า น
คอมพิ วเตอร์ และได้นาไปประยุก ต์ใช้ในงานต่า งๆ มี ค วามจาเป็ นอย่างยิ่ง สาหรั บ นัก ศึ กษาด้า น
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้องควร
จะได้ศึกษาเพื่อทาความเข้าใจในศาสตร์ ฟัซซี ลอจิกและโครงข่ายประสาทเทียมให้ลึกซึ้ ง ทั้งนี้ เพื่อ
น าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นงานด้า นต่ า งๆ ซึ่ งนั บ วัน จะยิ่ ง มี ค วามต้อ งการระบบคอมพิ ว เตอร์ ที่ มี
ความสามารถในการปรั บ เปลี่ ย นระบบได้โดยอัตโนมัติตามสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ ย นไป มี ก าร
ตัดสิ นใจแบบชาญฉลาดเยีย่ งมนุษย์ได้มากขึ้น ซึ่ งมนุษย์สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่ไม่เคยพบได้โดย
ความรู ้เก่าที่ได้เรี ยนรู ้มาประยุกต์ในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ด้วยเหตุ น้ ี ผูท้ าโครงงานจึงทาการศึกษาโครงงานการควบคุ มการท างานของพัดลมเพื่ อ
ประหยัดพลังงาน ด้วยตัวควบคุมฟัชซี โดยอาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิห้อง เพื่อนาไป
ควบคุมความเร็ วมอเตอร์ของพัดลม

1.1วัตถุประสงค์ โครงงาน

1.เพื่อสร้างตัวควบคุมการทางานของพัดลม
2.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความเร็ วของมอเตอร์ พดั ลม
3.เพื่อประยุกต์หลักการของระบบควบคุม และเครื่ องจักรกลไฟฟ้ า
4.เพื่อวิเคราะห์ การประหยัดพลังงาน ระหว่าอุณหภูมิกบั ความเร็ วของมอเตอร์พดั ลม
5.เพื่อให้เกิดทักษะและประสบการณ์ทางด้านวิศวกรรม

1.2 ขอบเขตของโครงงาน

1.ควบคุมพัดลมจานวน 1ตัว
2.พัดลมขนาด 18 นิ้ว 78 วัตต์
3.ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATmega328 สร้างตัวควบคุมฟั ชซี่ เพื่อควบคุมความเร็ วของ
มอเตอร์พดั ลม
2

1.3 โครงสร้ างของโครงงาน

อุณหภูมิที่ตอ้ งการ ตัวควบคุมฟั ชซี ตัวขับเคลือ่ น พัดลม


พัดลม

ตัววัดอุณหภูมิ อุณหภูมิของ
อุณหภูมิ ห้ อง ห้ อง
ภาพที่ 1.1 โครงสร้างของโครงงาน

1.4 ประโยชน์ ของโครงงาน

1.เข้าใจการทางานของมอเตอร์พดั ลม
2.เข้าใจหลักการทางานการเปลี่ยนแปลงความเร็ วของมอเตอร์พดั ลม
3.เข้าใจหลักการออกแบบวงจรควบคุมความเร็ วของมอเตอร์พดั ลม
4.เข้าใจหลักการทางานของตัวรับรู้อุณหภูมิและสามารถนาไปใช้งานได้
3

บทที่ 2
ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง

ในการทาโครงงานพัดลมประหยัดพลังงานควบคุมด้วยตัวฟัซซี จาเป็ นต้องศึกษาทฤษฎีและ


หลักการทางานประเภทต่างๆ ของอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบทาโครงงาน เพื่อบรรลุตามเป้ าหมาย
ของโครงงาน ซึ่ งประกอบไปด้วยทฤษฎีดงั นี้

2.1 ทฤษฎีฟัซซีลอจิก (Fuzzy Logic) [1]

ฟัซซี ลอจิก (Fuzzy logic) ศาสตร์ ดา้ นการคานวณที่เข้ามามีบทบาทมากขึ้นในวงการวิจยั


ด้า นคอมพิ ว เตอร์ และได้ถู ก น าไปประยุ ก ต์ใ ช้ใ นงานต่ า งๆมากมายเช่ น ด้า นการแพทย์ ด้า น
การทหาร ด้านธุ รกิ จ ด้านอุ ตสาหกรรม เป็ นต้น มี ความจาเป็ นอย่างยิ่งที่ นักศึ กษาด้านวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ควรจะได้ศึกษาเพื่อทาความเข้าใจ
ในศาสตร์ฟัซซีลอจิกและโครงข่ายประสาทเทียมให้ลึกซึ้ ง ทั้งนี้ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ
ซึ่ งนับวันจะยิง่ มีความต้องการระบบคอมพิวเตอร์ ที่มีความสามารถในการปรับเปลี่ยนระบบได้โดย
อัตโนมัติตามสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ ยนไป มีการตัดสิ นใจแบบชาญฉลาดเยี่ยงมนุ ษย์ได้มากขึ้น ซึ่ ง
มนุ ษย์สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ที่ ไม่เคยพบได้โดยอาศัยความรู ้ เก่ าที่ ได้เรี ยนรู ้ มาประยุกต์ในการ
แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ระบบฟั ซซี เป็ นระบบด้านคอมพิวเตอร์ ที่ทางานโดยอาศัยฟั ซซี ลอจิกที่คิดค้นโดย L. A.
Zadeh ในปี ค.ศ. 1965 ซึ่ งเป็ นผลงานวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาเอก ฟัซซี ลอจิกเป็ นตรรกะที่อยูบ่ น
พื้นฐานความเป็ นจริ งที่วา่ ทุกสิ่ งบนโลกแห่ งความเป็ นจริ งไม่ใช่ มีเฉพาะสิ่ งมีความแน่นอนเท่านั้น
แต่ มีหลายสิ่ ง หลายเหตุ ก ารณ์ ที่เกิ ดขึ้ นอย่า งไม่ เที่ ย งและไม่แน่ นอน (Uncertain) อาจเป็ นสิ่ ง ที่
คลุมเครื อ (Fuzzy) ไม่ใช่ชดั เจน (Exact) ยกตัวอย่างเช่น เซตของอายุคน อาจแบ่งเป็ น วัยทารก วัย
เด็ก วัยรุ่ น วัยกลางคน และวัยชรา จะเห็นได้ว่าในแต่ละช่วงอายุคนไม่สามารถระบุได้แน่ ชดั ว่าวัย
ทารกกับวัย เด็กแยกจากกันแน่ ชดั ช่ วงใด วัยทารกอาจถูกตีความว่าเป็ นอายุระหว่าง 0 ถึ ง 1 ปี บาง
คนอาจตีความว่าวัยทารกอยูใ่ นช่วงอายุ 0 ถึง 2 ปี ในทานองเดียวกัน วัยเด็กและวัยรุ่ น ก็ไม่สามารถ
ระบุได้ชดั เจนว่าช่วงต่อของอายุควรจะอยูใ่ นช่วงใด อาจตีความว่าวัยเด็กมีอายุอยูใ่ นช่วง 1 ถึง 12 ปี
หรื ออาจเป็ น 2 ถึ ง 10 ปี เป็ นต้น สิ่ ง เหล่ าเป็ นตัวอย่างของความไม่แน่ นอน ซึ่ ง เป็ นลัก ษณะทาง
ธรรมชาติที่เกิดขึ้นทัว่ ไป เซตของเหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนเช่นนี้เรี ยกว่าฟัซซี เซต (Fuzzy set)
4

จากแนวความคิดของ Zadeh เกี่ ยวกับความไม่แน่ นอนได้มีการขยายแนวคิ ดเพื่อนาไป


ประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ มากมายจนนับไม่ถว้ น ได้มีนกั วิจยั ได้คิดค้นทฤษฎีเสริ มกับแนวคิดเดิมจน
ทาให้ฟั ซซี เซตโดดเด่ นในวงการคอมพิ วเตอร์ ถึ ง แม้ว่า ฟั ซซี เซตจะนาเสนอจากคนอเมริ กนั แต่
ประเทศอเมริ กาก็ไม่ได้นาไปประยุกต์ใช้อย่างจริ งจังในช่วงต้น ๆ แต่ประเทศญี่ปุ่นเล็งเห็ นคุ ณค่า
ของศาสตร์ ด้านนี้ ได้เป็ นผูบ้ ุกเบิกฟั ซซี เซตทางการค้า โดยได้นาไปประยุกต์ใช้ในเครื่ องใช้ไฟฟ้ า
มากมาย เช่ น เครื่ องปรั บอากาศ เครื่ องซักผ้า หม้อหุ งข้าว และอื่น ๆ อี กมากมาย ในยุคปั จจุบนั
ประเทศสหรัฐอเมริ กาได้ในความสาคัญกับศาสตร์ น้ ี มากขึ้น โดยได้มีการทุ่มงบประมาณให้กบั การ
วิจยั มากขึ้น และฟัซซี ลอจิกถูกนาไปประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ มากมาย ตัวอย่างเช่น ในโครงการอวกาศ
NASA และโครงการด้านการทหาร

2.1.1 พืน้ ฐานแนวคิดแบบฟัซซี


ตรรกะแบบฟั ซซี (Fuzzy logic) เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยในการตัดสิ นใจภายในใต้ความไม่
แน่นอนของข้อมูล โดยยอมให้มีความยืดหยุน่ ได้ ใช้หลักเหตุผลที่คล้ายการเลียนแบบวิธีความคิดที่
ซับซ้อนของมนุษย์ ฟัซซี ลอจิกมีลกั ษณะที่พิเศษกว่าตรรกะแบบจริ งเท็จ (Boolean Logic) เป็ น
แนวคิดที่มีการต่อขยายในส่ วนของความจริ ง (Partial True) โดยค่าความจริ งจะอยูใ่ นช่วงระหว่าง
จริ ง (Completelytrue) กับเท็จ (Completely False) ส่ วนตรรกศาสตร์ เดิ มจะมีค่าเป็ นจริ งกับเท็จ
เท่านั้น แสดงดังภาพที่ 2.1

ภาพที่ 2.1 ตรรกะแบบจริ งเท็จ (บูลีนลอจิก) กับตรรกะแบบฟัซซี (ฟัซซี ลอจิก)

ความเป็ นฟัซซี (Fuzziness) มีชื่อเรี ยกว่า มัลติวาลานซ์ (Multivalance) ซึ่ งมีค่าที่ความเป็ น


สมาชิกมากกว่า 2 ค่า และแตกต่างกับไบวาลานซ์ (Bivalance) ที่มีความเป็ นสมาชิ กเพียง 2 ค่า ฟั ซซี
5

เซต (Fuzzy Set) เป็ นเครื่ องมือทางคณิ ตศาสตร์ ที่สื่อถึง “ความไม่แน่นอน (Uncertainty)” สามารถที่
จะสร้างและกาหนดรู ปแบบ (Modeling) ของลักษณะความไม่แน่นอนที่เป็ นความคลุมเครื อ ความ
ไม่ตายตัว รวมถึงความขาดข้อมูลบางส่ วน โดยทฤษฎีของฟัซซีเซตจะใช้ลกั ษณะความหมายตัวแปร
(Linguistic) มากกว่าปริ มาณ (Quantitative) ของตัวแปร เช่น การหาความหมายของ “คนที่อว้ น” เรา
ไม่สามารถนิ ยามค่าความอ้วนที่ตรงกันและระบุเป็ นหนึ่ งเดียว (Identical) สาหรับคนที่อว้ น นาย ก.
จะให้ความหมายของ “คนอ้วน” หมายถึงคนที่มีน้ าหนักมากกว่า 70 กิโลกรัม นาย ข. ให้ความหมาย
ว่าเป็ นคนที่มีน้ าหนักมากกว่า 75 กิ โลกรัม ซึ่ งทั้งสองคนต่างแสดงความหมายของคาว่าคนที่อว้ น
โดยเปรี ยบเที ยบและในมุมมองของตัวเองตามน้ าหนักของตน ในการทางานในมุ มมองแบบฐาน
สอง(Binary Sense) จะได้ผลเป็ น ใช่ หรื อ ไม่ใช่ เพียง 2 กรณี ซึ่ งหากกาหนดว่า คนที่อว้ นคือคนที่มี
น้ าหนักมากกว่า 75 กิโลกรัม คอมพิวเตอร์ จะให้ผลว่าคนที่มีน้ าหนัก 74.50 กิโลกรัม ไม่จดั เป็ นคนที่
อ้วน แต่ จะเห็ นว่า บุ ค คลนี้ เ ป็ นคนอ้วนน้ า หนัก เกื อบจะ 75 กิ โลกรั ม และถึ ง แม้ว่า บุ ค คลนี้ จะมี
น้ าหนัก 75 กิโลกรัมแต่หากพิจารณาจากกลุ่มคนที่มีน้ าหนักเฉลี่ย 90 กิโลกรัม บุคคลนี้ ก็จะไม่จดั อยู่
ในกลุ่มคนที่อว้ น แสดงให้เห็นว่า ความอ้วนไม่ได้มีลกั ษณะความไม่แน่นอนแบบสุ่ ม จากการศึกษา
ปั ญหาทัว่ ๆ ไปจะแสดงถึงรู ปแบบลักษณะการกระจายของปั ญหา
ภาพที่ 2.2 เป็ นการแสดงให้เห็นว่าแนวทางในการตัดสิ นใจของปั ญหาทั้งหมดมีเพียงส่ วน
น้อยที่เป็ นสิ่ งที่แน่นอน (Certainty) ที่เหลือคือสิ่ งที่ไม่แน่นอนซึ่ งประกอบด้วยความไม่แน่นอนที่มี
ลักษณะแบบสุ่ ม และความไม่แน่นอนที่มีลกั ษณะเป็ นฟั ซซี หรื อคลุมเครื อ ซึ่ งมีมากกว่าร้อยละ 40
เพราะปั ญหา ส่ วนมากเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจของมนุ ษย์ซ่ ึ งจะตัดสิ นใจตามพื้นฐานความคิดของ
ตนเป็ นหลัก

ภาพที่ 2.2 ความไม่แน่นอน (Uncertainty)

ฟั ซซี จะสร้ างวิธีทางคณิ ตศาสตร์ ที่แสดงถึ งความคลุ มเครื อ ความไม่แน่ นอนของระบบที่


เกี่ยวข้องกับความคิดความรู ้สึกของมนุษย์ เมื่อพิจารณาส่ วนประกอบต่าง ๆ ในความไม่แน่นอนเพื่อ
6

กาหนดเงื่ อนไขในการตัดสิ นใจ (Decision Making) โดยอาศัยเซตของความไม่เป็ นสมาชิ ก (Set


Membership)

2.1.2 เซตแบบฉบับ
ในเซตแบบฉบับ (Classical Set) หรื อเซตทวินยั (Crisp Set) เป็ นเซตที่มีค่าความเป็ นสมาชิ ก
เป็ น 0 หรื อ 1 {0, 1} เท่านั้น เซตในทฤษฎีเซตแบบฉบับจะมีขอบเขตแบบแข็ง (Sharp Boundary)
ซึ่ งเป็ นขอบเขตที่ตดั ขาดจากกันแบบทันทีทนั ใด เซตแบบฉบับมี การกาหนดค่าความเป็ นสมาชิ ก
ตามแนวคิ ดเลขฐานสอง โดยที่ตวั แปรหนึ่ ง ๆ จะมีค่าความเป็ นสมาชิ กเพียงสองค่า คือ 0 ไม่เป็ น
สมาชิ ก และ1 เป็ นสมาชิ ก ตัวอย่างเช่น เซตของคู่แต่งงาน จะสามารถบอกได้วา่ อย่างแน่ชดั ว่าเป็ น
กลุ่มผูแ้ ต่งงานหรื อไม่แต่งงาน

ภาพที่ 2.3 ตัวอย่างเซตแบบฉบับ

ภาพที่ 2.4 ฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิกในเซตผูท้ ี่ไม่แต่งงาน

ภาพที่ 2.3 แสดงตัวอย่างของเซตย่อยสองเซต คื อเซตของผูท้ ี่แต่งงานและเซตของผูท้ ี่ไม่


แต่งงาน จะเห็นได้วา่ คนหนึ่งคนจะเป็ นสมาชิกภาพได้เพียงเซตเดียวเท่านั้น แต่งงานหรื อไม่แต่งงาน
ในภาพที่ 2.4 แสดงฟั งก์ชันความเป็ นสมาชิ กของเซตผูท้ ี่ ไ ม่แต่ง งาน จากภาพจะเห็ นได้ว่า ผูท้ ี่
7

แต่งงานแล้วจะมีค่าความเป็ นสมาชิ กในเซตของผูไ้ ม่แต่งงานเป็ น 0 ส่ วนผูท้ ี่ไม่แต่งงานมีค่าความ


เป็ นสมาชิ กภาพของเซตผูท้ ี่ไม่แต่งงานเป็ น 1 ค่าความเป็ นสมาชิ กของทั้งสองเซตจะตัดขาดจากกัน
อย่างทันทีทนั ใดรู ปแบบคณิ ตศาสตร์ของเซตแบบฉบับมีดงั สมการที่ (2.1)

{ (2.1)

เมื่อ A เป็ นเซตแบบฉบับหรื อเซตแบบทวินยั x เป็ นสมาชิกในเซต เป็ นค่าความเป็ น


สมาชิกในเซตและ (x) เป็ นฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิกในเซต A

2.1.3 ฟัซซีเซต
ฟัซซีเซต (Fuzzy Set) เป็ นเซตที่มีขอบเขตที่ราบเรี ยบ ทฤษฎีฟัซซี เซตจะครอบคลุมทฤษฎี
เซตแบบฉบับ โดยฟัซซี เซตยอมให้มีค่าความเป็ นสมาชิกของเซตระหว่าง 0 และ 1 ในโลกแห่ งความ
เป็ นจริ งเซตไม่ใช่ มีเฉพาะเซตแบบฉบับเท่านั้น จะมีเซตแบบฟั ซซี ดว้ ย ฟั ซซี เซตจะมีขอบเขตแบบ
ฟั ซซี ไม่ใช่ เปลี่ ยนแปลงทันทีทนั ใดจากขาวเป็ นดา ตัวอย่างเช่ น เซตของคู่แต่งงานที่มีความสุ ข จะ
เห็ น ได้ว่า สมาชิ ก ในเซตนี้ จะไม่ มี เ ฉพาะคู่ แ ต่ ง งานที่ มี ค วามสุ ข ระดับ เดี ย วกันหมด บางคู่ จ ะมี
ความสุ ขมาก บางคู่มีความสุ ขน้อย แตกต่างกันไป การใช้เซตแบบดั้งเดิมจึงไม่เหมาะสมยกตัวอย่าง
เกี่ยวกับความอ้วน นิ ยามคาว่าคนอ้วนในเซตทวินยั อาจกาหนดเป็ นคนที่มีน้ าหนักตั้งแต่ 70 ถึง 120
กิโลกรัม โดยนิยามแบบฟัซซี เซตอาจกาหนดเป็ นคนที่มีความอ้วนประมาณ 80 กิโลกรัม ซึ่ งเป็ นการ
ให้นิยามที่ไม่แสดงถึงขอบเขตที่แน่นอน

ก.ฟังก์ชนั สี่ เหลี่ยม ข.ฟังก์สามเหลี่ยม

ภาพที่ 2.5 การกาหนดค่าความเป็ นสมาชิกของเซตทวินยั และเซตแบบฟัซซี


8

2.1.4 ฟังก์ชันความเป็ นสมาชิก


ฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิ ก (Membership Function) เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีการกาหนดระดับความ
เป็ นสมาชิ กของตัวแปรที่ตอ้ งการใช้งาน โดยเริ่ มจากการแทนที่กบั ตัวแทนที่มีความไม่ชดั เจน ไม่
แน่นอน และคลุมเครื อ ดังนั้นส่ วนที่สาคัญต่อคุณสมบัติหรื อการดาเนิ นการของฟั ซซี เพราะรู ปร่ าง
ของฟั งก์ชนั ความเป็ นสมาชิ กมีความสาคัญต่อกระบวนการคิดและแก้ไขปั ญหา โดยฟั งก์ชนั ความ
เป็ นสมาชิกจะไม่สมมาตรกันหรื อสมมาตรกันทุกประการก็ได้

2.1.5 ชนิดของฟังก์ชันความเป็ นสมาชิก


ชนิ ดของฟั งก์ชนั ความเป็ นสมาชิ กที่ใช้งานทัว่ ไปมีหลายชนิ ด แต่ในที่น้ ี จะกล่าวถึ งเพียง
บาง 2ชนิดดังนี้
1. ฟั งก์ชนั สามเหลี่ยม (Triangular Membership Function) ฟั งก์ชนั สามเหลี่ยมมีท้ งั หมด 3
พารามิเตอร์คือ {a, b, c} ดังสมการที่ (2.2)

{ (2.2)

ตัวอย่างกาหนดให้ a เท่ากับ 0, b เท่ากับ 5 และ c เท่ากับ 10 แสดงกราฟฟั งก์ชนั สามเหลี่ยม


ดังภาพที่ 2.6

ภาพที่ 2.6 ฟังก์ชนั สามเหลี่ยม

2. ฟังก์ชนั สี่ เหลี่ยมคางหมู (Trapezoidal Membership Function) ฟังก์ชนั สี่ เหลี่ยมคางหมูมี


ทั้งหมด 4 พารามิเตอร์คือ {a, b, c, d} ดังสมการที่ (2.3)
9

(2.3)
{

ตัวอย่างกาหนดให้ a = 0, b = 2, c = 8 และ d = 10 กราฟที่ได้แสดงดังภาพที่ 2.7

ภาพที่ 2.7 ฟังก์ชนั สี่ เหลี่ยมคางหมู

2.1.6 นิยามพืน้ ฐานของฟัซซีเซต


นิยามของฟัซซีเซต กาหนดให้ X เป็ นเซตที่ไม่วา่ ง ฟัซซีเซต A สามารถแสดงลักษณะเฉพาะ
ได้จากฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิก
นิยามซัพพอร์ ตของฟัซซี เซต (Support of Fuzzy Set)ซัพพอร์ ตของฟัซซี เซตคือ คลิปเซต
ของสมาชิก x ในเอกภพสัมพัทธ์ที่มีอตั ราความเป็ นสมาชิกของฟัซซี เซต มากกว่า 0 เขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ดงั สมการ (2.4)
Sup (A) = { x  U/ A x   0 } (2.4)
A = ฟัซซี่เซตใดๆ
Sup (A) = ซัพพอร์ตของฟัซซี่เซต A
นิ ยามฟั ซซี ซิงเกิ ลตัน (Fuzzy Singleton)ฟั ซซี่ ซิงเกิ ลตัน คือ ซัพพอร์ ตของฟั ซซี เซตที่มี
สมาชิกเพียงตัวเดียว
นิยามศูนย์กลางของฟัซซี (Centre of Fuzzy) ศูนย์กลางของฟั ซซี คือค่ากึ่งกลางของฟั ซซี่
เซต หรื อค่าสู งสุ ดของฟังก์ชนั การเป็ นสมาชิก
นิยามจุดแบ่งของฟั ซซี เซต (Crossover Point of Fuzzy Set) จุดแบ่งของฟั ซซี เซตคือจุดใด
ๆ ในเอกภพสัมพัทธ์ ที่มีอตั ราความเป็ นสมาชิกเท่ากับ 0.5
นิยามความสู งของฟัซซี เซต (Height of Fuzzy Set) ความสู งของฟัซซี เซต คือค่าสู งสุ ดของ
ฟังก์ชนั การเป็ นสมาชิก
10

นิยาม  - Cut เซตของฟัซซี เซต (-Cut Set of Fuzzy Set)  - Cut เซตของฟัซซี เซตคือ
คลิปเซตของสมาชิก x ทั้งหมด ที่มีอตั ราความเป็ นสมาชิกมากกว่าหรื อเท่ากับเขียนแทนด้วย
A a = { x  U/A x   a } (2.5)

2.1.7 ตัวปฏิบัติการฟัซซี
การเท่ากันของฟั ซซี เซต (Equality) ฟัซซี เซต A และ B จะเท่ากันก็ต่อเมื่อฟั ซซี เซตทั้งสอง
ถูกนิยามบนเอกภพสัมพัทธ์เดียวกันและมีฟังก์ชนั การเป็ นสมาชิกเหมือนกันดังสมการ(2.6)
 (x) =
A  (x) x  U
B
(2.6)
การเป็ นสับเซตของฟัซซี เซต (Contain) ฟั ซซี่ เซต A จะบรรจุอยูใ่ นฟั ซซี่ เซต B ก็ต่อเมื่อ
สมาชิก x ทุกตัวในเอกภพสัมพัทธ์ U มีอตั ราความเป็ นสมาชิกของฟัซซี่ เซต A น้อยกว่าหรื อ เท่ากับ
อัตราความเป็ นสมาชิกของเซต B เขียนแทนด้วย
A  B ก็ต่อเมื่อ  (x)   (x) x  U
A B

คอมพลีเมนท์ (Complement)คอมพลีเมนท์ของฟัซซี เซต A ที่มีฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิ ก


A(x) เขียนแทนด้วย A ถูกนิยามดังสมการ(2.7)
 (x) = 1 -  (x)
A A
(2.7)

ภาพที่ 2.8 Complement ของฟัซซีเซต A

ยูเนียน(Union)ถ้า A และ B เป็ นฟัซซี่ เซตใน U การรวมสมาชิ กทั้งหมดของทั้ง 2 เซต จะ


เขียนได้ดงั สมการ (2.8)
A  Bโดย
 AB (x) = max [ A (x),  B (x)] (2.8)
11

ภาพที่ 2.9 ยูเนียนของฟัซซี A และ B

อินเตอร์ เซคชัน ( Intersection ) ถ้า A และ B เป็ นฟั ซซี เซตใน U การรวมสมชิกที่เป็ น
สมาชิกทั้ง 2 เซต จะเขียนได้ดงั สมการ(2.9)
A  B โดย
 (x) = min [  (x),  (x)]
AB A B
(2.9)

ภาพที่ 2.10 Intersection ของฟัซซี A และ B

กฎของดีมอแกนต์ (DE Morgan’s Law) กฏของดีมอแกนต์กล่าวว่าคอมพลีเมนต์ของฟัซซี


เซตสองเซตที่ยเู นี่ ยนกันจะสมมูลกับการอินเตอร์ เซคชันกันระหว่างคอมพลีเมนตท์ของแต่ละฟั ซซี
เซตซึ่งเขียนแทนได้ดว้ ยสมการที่ (2.10)

AB  AB (2.10)

2.1.8 ตัวแปรภาษา (Linguistic Variable)


เซตแบบฟัซซี สามารถประยุกต์ใช้ในการอธิ บายค่าของตัวแปรเช่นเดียวกับเซตแบบดั้งเดิม
เช่น ประโยค “อุณหภูมิในห้องเย็น” คาว่า “เย็น” เป็ นคาที่ใช้แสดงปริ มาณอุณหภูมิ ในทางรู ปนัย
สามารถเขียนได้เป็ น ปริ มาณอุณหภูมิ ในห้อง เย็น หรื อ Temperature Quantity is Cold ตัวแปร
Temperature Quantity เป็ นตัวแปรภาษา (Linguistic Variable) ซึ่งเป็ นแนวคิดที่สาคัญมากในตรรกะ
12

แบบฟั ซ ซี ตัวแปรภาษาช่ วยก าหนดค่ า ของสิ่ ง ที่ จะอธิ บ ายทั้ง ในรู ป คุ ณภาพ โดยใช้พ จน์ ภาษา
(Linguistic Term) และในรู ปปริ มาณ โดยใช้ฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิ ก (Membership Function) ซึ่ ง
แสดงความของของเซตแบบฟั ซซี พจน์ภาษาใช้สาหรับการแสดงแนวคิดและองค์ความรู้ในการ
สื่ อสารของมนุษย์ ส่ วนฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิกมีประโยชน์ในการจัดการกับอินพุตที่เป็ นข้อมูลเชิ ง
ตัวเลข

ภาพที่ 2.11 ตัวอย่างตัวแปรภาษา

ตัวแปรภาษาเป็ นการประกอบกัน (Composition) ของตัวแปรสัญลักษณ์ (Symbolic


Ariable ) และตัวแปรเชิงเลข (Numerical Variable) ตัวอย่างตัวแปรสัญลักษณ์ เช่น “รู ปร่ าง เป็ น
ทรงกระบอก” (Shape = Cylinder) คาว่า “รู ปร่ าง” เป็ นตัวแปรที่บอกถึงรู ปร่ างของวัตถุ ตัวอย่าง ตัว
แปรเชิ งเลข เช่น “ความสู งเท่ากับ 4 ฟุต” (Height = 4') ตัวแปรเชิ งเลขจะมีใช้กนั ในสาขางานด้าน
วิ ท ยาศาสตร์ วิ ศ วกรรมศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ การแพทย์ และอื่ น ๆ ส่ ว นตัว แปรสั ญ ลัก ษณ์ มี
ความส าคัญในวิทยาการเกี่ ยวกับปั ญญาประดิ ษฐ์และการตัดสิ นใจ การใช้ตวั แปรภาษาเป็ นการ
รวมตัวแปรเชิ งเลขกับตัวแปรสัญลักษณ์เข้าด้วยกัน ภาพที่ 2.11 แสดงตัวอย่างเซตตัวแปรภาษาของ
เซตฟัซซี ได้แก่ Extremely Low, Very Low, Low, Medium, High, Very High และ Extremely High

2.1.9 ตัวควบคุมฟัซซี (Fuzzy Controller)


โครงสร้างพื้นฐานของการประมวลผลแบบฟัซซี ซึ่ งประกอบด้วยส่ วนที่สาคัญ 4 ส่ วนดังนี้
ดังภาพที่ 2.12
13

ภาพที่ 2.12 แสดงโครงสร้างของตัวควบคุมฟัซซี

ตัวควบคุมฟั ซซี ที่กล่าวนี้ จะเป็ นตัวควบคุ มแบบใช้ฐานความรู ้ (Knowledge Base) หรื อ


ประสบการณ์ จากผูเ้ ชี่ ยวชาญเป็ นกฏหรื อแนวทางในการควบคุมเราจะเรี ยกตัวควบคุม ได้อีกชื่ อ
หนึ่งว่า “ตัวควบคุมฟัซซี แบบ ฐานความรู้ ” (Fuzzy Knowledge Base Controller) ใช้คาย่อว่า FKBC
โครงสร้างของตัวควบคุมฟัซซี่ แบบฐานความรู้ (FKBC) โครงสร้างของ FKBC จะประกอบด้วย
ส่ วนสาคัญ 4 ส่ วน คือ
1. ฟัซซิ ฟิเคชัน่ โมดูล (Fuzzification Module) แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน
- นอเมอร์ ไรซ์เซชัน่ (Normalization) เป็ นส่ วนที่ใช้เปลี่ยนสเกลของตัวแปรอินพุตหรื อ
คลิปเซตให้อยูใ่ นสเกลของเอกภพสัมพัทธ์ของย่านการควบคุม
-ฟั ซซิ ฟิเคชัน่ (Fuzzification) เป็ นส่ วนที่ใช้แปลงปริ มาณของคลิปเซตที่ผา่ นการนอเมอร์
ไรซ์แล้วให้เป็ นค่าความเป็ นสมาชิกของฟัซซี่ เซต โดยมียา่ นอยูร่ ะหว่าง [0,1]
2. ฐานความรู้ (Knowledge Base)ส่ วนประกอบของฐานความรู ้จะประกอบด้วย
-ฐานข้อมูล (Data Base) เป็ นที่เก็บของข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในส่ วนประกอบของตัวควบคุม
ฟั ซซี่ เช่นค่าคงที่ของส่ วนฟั ซซิ ฟิเคชัน่ โมดูล, กฏ, ดีฟัซซิ ฟิเคชัน่ โมดูล, ค่าสเกลเฟคเตอร์ ,ฟั งก์ชนั
ต่าง ๆ
14

Crisp Process-State Crip Control-Output


Values Valves

Normalization Denormalization

Inference
Engine
Fuzzification Defuzzification
Rulebase
Fuzzification module Defuzzification module

Rulebase

Database

ภาพที่ 2.13 แสดงโครงสร้างของตัวควบคุมฟัซซี แบบฐานความรู้ (นิมิต บุญภิรมย์,2540)

-ฐานกฏ (Rules Base) เป็ นที่เก็บของกฏการควบคุมอาจจะอยูใ่ นรู ปของ IF_THEN หรื อ


เป็ นตารางความสัมพันธ์ฟัซ ซี่ แนวทางในการออกแบบฐานกฎจะใช้ก ลไกการอนุ มานและจาก
พฤติกรรมการตอบสนองของระบบที่จะควบคุมซื่ งจะกล่าวต่อไป
3. กลไกการอนุมาน(Inference Engine) กลไกการอนุ มานมีหน้าที่สรุ ปผล (Consequent)
จากเหตุ (Antecedent) และเงื่อนไขโดยทัว่ ไปการเชื่อมโยงของเหตุผลจะมี 2 ชนิดคือ
Generalized Modus Ponens (GMP) คือการสรุ ปจากเหตุไปหาผล
Generalized Modus Tulles (GMT) คือการสรุ ปจากผลไปหาเหตุ
รู ปแบบของทั้ง 2 วิธีมีดงั นี้
GMP:
Premise : x is A
Implication : if x is A then y is B
Consequence : y is B
GMT:
Premise : y is B
Implication : if x is A then y is B
Consequence : x is A
15

โดย
A, A, B, B = เป็ นฟัซซี เซต
x, y = ตัวแปรลิงค์จีสติค
 (x,y)
R = ค่าความเป็ นสมาชิกของความสัมพันธ์ของ A และ B
 (x),  (y)
A B = ค่าความเป็ นสมาชิกของตัวแปร x, y
fimp = ฟั งก์ชนั การอิ มพลิ เคชัน (Implication) หรื อฟั งก์ชันการเชื่ อมโยงค่า
ความเป็ นสมาชิกของความสัมพันธ์ฟัซซี
 R (x,y) = fimp(  (x),  (y) )
A B xU, y V

โดยทัว่ ไปในการสร้างตัวควบคุมฟัซซี จะนิยามใช้การเชื่อมโยง แบบ GMP และใช้ fimpด้วย


วิธี Mamdaniโดยสร้างเป้ นกฏได้ดงั นี้
R1 : IFXIS A1 AND Y IS B1 THEM Z IS C1
R2 :IFXIS A2 AND Y IS B2 THEM Z IS C2

กาหนดให้
A1, B1, A2, B2 = ฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิกของอินพุท
C1, C2 = ฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิกของเอาท์พุท
R1, R2 = กฏความสัมพันธ์ฟัซซี่
z = ตัวแปรลิงค์จีสติก ในเอกภพสัมพัทธ์ U, V, W ตามลาดับ
 ,
1 2
= ระดับความเป็ นสมชิกของ 2 อินพุท (Fire Strength)
จะได้ค่าความเป็ นสมาชิกของผลสรุ ป (  c )
 1
= min(  (x ),  (y ))
A1 0 B1 0

 2
= min(B1 (x ), B1 (y ))
o o

ci  z = min( ,  (z))


i c

c  z = max(  ,  ) c1 c2

จากผลของการหาค่าระดับความเป็ นสมาชิก สามารถทาการอนุมานได้ในที่น้ ี จะแสดงการ


อนุมานในแบบของ Mamdani
16
A1  B1  C1
A1 B1 C1
1

U V z1 z2 W
 A2  B2  C2
A2 B2 C2
1

x U y V z3 z4 W
c

W
Z
ภาพที่ 2.14 การอนุมานโดยวิธีของ Mamdani (นิมิต บุญภิรมย์,2540)

4. ดิฟัซซิ ฟิเคชัน่ โมดูล ( Defuzzication Module)แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน


-ดี ฟัซซิ ฟิเคชัน่ ทาหน้าที่ แปลงค่าความเป็ นสมาชิ กที่ได้จากกลไกการประเมิ น กลับมา
เป็ นค่าเซต เพื่อใช้เป็ นค่าที่นาไปควบคุมต่อไปวิธีการดีฟัซซิ ฟิเคชัน่ ที่นิยมใช้ในตัวควบคุมฟั ซซี่ คือ
วิธี Center of Gravity (COG)
n

 c (z) * z i
z0  i 1
n
(2.11)
 i 1
c (z i )

z0 = ตัวแปรเอาท์พุทอยูใ่ นรู ปของคลิปเซต


zi = ตัวแปรเอาท์พุทที่ได้แต่ละกฏ
i = จานวนกฏที่ถูกประเมิน
 (zi) = ค่าความเป็ นสมาชิกที่ได้จากการประเมิน
c

-ดิ นอเมอไรเซชั่น (Denormalization) เป็ นส่ วนที่แปลงค่าสเกลของตัวแปรเอาท์พุทจากดี


ฟัซซิ ฟิเคชัน่ ให้อยูใ่ นย่านของปริ มาณที่ใช้ควบคุมจริ ง
17

2.1.10 ขั้นตอนการประมวลผลแบบฟัซซีลอจิก
ขั้นตอนการประมวลผลแบบฟัซซีลอจิกมีรูปแบบการทางานเป็ น 4 ส่ วนจะแสดงดัง ภาพ
ที่ 2.15

ภาพที่ 2.15 ขั้นตอนการประมวลผลแบบฟัซซี ลอจิก

ขั้นตอนที่ 1 เป็ นการแปลงการอินพุตแบบทวินยั เปลี่ยนเป็ นการอินพุตแบบตัวแปรฟัซซี


โดยจะสร้างฟั งก์ชนั ความเป็ นสมาชิ ก โดยไม่จาเป็ นต้องมีลกั ษณะเดียวกัน ขึ้นกับคุณลักษณะของ
แต่ละการอินพุต (Input) และความสาคัญต่อการเอาต์พุต (Output) ที่น่าสนใจโดยฟั งก์ชนั จะมี
ลักษณะเป็ นการกาหนดภาษาสามัญ เพื่อให้เป็ นฟัซซีการอินพุต ดังภาพที่ 2.16

ภาพที่ 2.16 การแปลงการอินพุตแบบทวินยั เปลี่ยนเป็ นการอินพุตแบบตัวแปรฟัซซี

ขั้นตอนที่ 2 เป็ นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการอินพุตทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเอาต์พุตที่


อาศัยหลักการของการหาเหตุและผล อาจจะสร้างการเก็บข้อมูล การคาดการณ์จากการตัดสิ นใจของ
มนุษย์ หรื อค่าจากการทดลอง โดยเขียนเป็ นกฎการควบคุมระบบ ซึ่ งจะมีลกั ษณะอยูใ่ นรู ปแบบ ถ้า
(If) และ (And) หรื อ (Or) ซึ่ งเป็ นภาษาสามัญ นากฎทั้งหมดมาประมวลผลรวมกัน เพื่อการหา
ตัดสิ นใจที่เหมาะสม ดังภาพที่ 2.17
18

ภาพที่ 2.17 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการอินพุตทั้งหมด

ขั้นตอนที่ 3 เป็ นการหาฟัซซี เอาต์พุต โดยการนากฎการควบคุมที่สร้างขึ้นในขั้นตอนที่ 2


มาประมวลผลกับฟั ซซี อินพุต โดยใช้วิธีการทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อนาค่าที่ได้ประมวลผลดังภาพที่
2.18

ภาพที่ 2.18 การหาฟัซซีเอาต์พุต

วิธีการทาเป็ นค่าคลุมเครื อ (Fuzzification) วิธีการที่นิยมใช้ในการตีความหาเหตุผลเลือกใช้


Max-Min Method และ Max-Dot Method
ขั้นตอนที่ 4 เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายหรื อขั้นตอนการสรุ ปเหตุผลฟั ซซี โดยจะเปลี่ยนฟั ซซี
เอาต์พุตให้เป็ นทวินัยเอาต์พุตตามภาพที่ 2.19 และด้วยวิธีทางคณิ ตศาสตร์ เช่ น วิธีการหา
จุดศูนย์ถ่วง (Central of Gravity) เพื่อนาค่าที่ ได้มาใช้ในการตัดสิ นใจเพื่อควบคุ มระบบใน
สถานการณ์น้ นั ๆ

ภาพที่ 2.19 เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายหรื อขั้นตอนการสรุ ปเหตุผลฟัซซี


19

วิธีการทาค่าฟั ซซี ให้เป็ นค่าปกติ (Defuzzification) วิธีการที่เป็ นเทคนิ คการเลือกค่าสู งสุ ด


หรื อสรุ ปหาเหตุผลจากหลาย ๆ เซตมาเพียงค่าเดียว ซึ่ งเป็ นการใช้ค่าสู งสุ ดของค่าระดับการเป็ น
สมาชิกจากการกระทาหลายๆ แบบ และเลือกกระทาเพียงรู ปแบบเดียว

2.1.11 การกาหนดตัวแปรทีใ่ ช้ ในตัวควบคุมฟัซซี


ตัวควบคุมฟัซซี่ทีนิยมใช้จะมีชนิดต่างๆ คล้ายกับการควบคุมแบบดั้งเดิม เช่น แบบ P , PD,
PI, PID เป็ นต้นการกาหนดตัวแปรอินพุทและตัวแปรเอาท์พุทจะสอดคล้องกับรู ปแบบของตัวควบ
คุมและเพื่อไปใช้เป็ นตัวแปรในส่ วนเหตและผลสรุ ปของกฏ การกาหนดตัวแปร กาหนดได้ดงั นี้
ตัวแปรอินพุท
e = ค่าผิดพลาดระหว่างค่ากาหนด และค่าที่ได้จริ ง (Error)
ce = ค่าผิดพลาดระหว่างค่ากาหนด และค่าที่ได้จริ ง (Error)
e = ผลรวมของค่าผิดพลาด
ตัวแปรเอาท์พุท
u = ตัวแปรเอาท์พุทซึ่งเป็ นผลลัพธ์ของตัวควบคุม
u = อัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าเอาท์พุท
จะหาค่าตัวแปรได้จาก
e(k) = y sp  y(k)
ce(k) = e(k)  e(k -1) (2.12)
u(k) = u(k) - u(k -1)
กาหนดให้
ysp = ค่าเอาท์พุทของกระบวนการที่ออกแบบ
y(k) = ค่าเอาท์พุทของกระบวนการจริ ง
k = เวลาการสุ่ มสัญญาณ (Sampling Time)

2.1.12 ชนิดของตัวควบคุมฟัซซีแบบฐานความรู้ (Type of FKBC )


การแบ่งชนิดของตัวควบคุมฟัซซี จะอ้างอิงถึงคุณสมบัติเดิมของการควบคุมแบบคอนเวอร์
ชัน่ เนลโดยการควบคุมแบบฟัซซี จะกาหนดความสัมพันธ์จากกฏ และประเมินแบบ GMP
จากเหตุเพื่อให้ได้ผลสรุ ปกาหนดให้ส่วนของเหตุ และผลสรุ ปจะอยูใ่ นรู ปของตัวแปรลิงค์
จีสติค
20

ตัวควบคุมแบบ Proportional (P)


จากสมการ
u = K p .e

โดย KP = Proportional Gain (2.13)

แสดงในรู ปกฏของฟัซซี
If e(k) is (Antecedent) then u(k) is (Consequent)
ตัวควบคุมแบบ Proportional-Deriative (PD)
จากสมการ
u = K P  e  K d  ce (2.14)
โดย Kp = Proportional Gain
Kd = Deriative Gain

แสดงในรู ปกฏของฟัซซี
If e (k) is (Antecedent) and ce (k) is (Antecedent) then u(k) is (Consequent)
ตัวควบคุมแบบ Proportional-Intergral (PI)
จากสมการ
u = K p  e  K I   edt
.

โดย Du  K p  e K I  e

KI = Integral Gain (2.15)

แสดงในรู ปกฏของฟัซซี
If e (k) is (Antecedent) and ce (k) is (Antecedent) then  u (k) is (Aonsequent)
ตัวควบคุมแบบ Proportional-Integral-Derivative (PID)
จากสมการ
u  K  e  K  e  K   edt
P d I (2.17)
กาหนด e = ผลรวมของค่าผิดพลาด
e =
k 1

 e(i) (2.18)
i 1
21

แสดงด้วยกฏของฟัซซี
If e(k) is (Antecedent) and ce (k) is (Antecedent) and e is (Antecedent) then u(k) is
(Consequent)

2.1.13 การกาหนดฐานข้ อมูล


จากที่ได้กล่าวมาแล้วว่าตัวควบคุมฟัซซี่ จะประกอบด้วยฐานข้อมูล ซึ่ งเป็ นที่เก็บของ
ฟังก์ชนั การเป็ นสมาชิกและสเกลของส่ วนอินพุทและเอาท์พุทในหัวข้อนี้ เราจะกล่าวถึงรายละเอียด
ของการกาหนดฟังก์ชนั และสเกลต่าง ๆ

2.1.14 การกาหนดฟังก์ชันความเป็ นสมาชิก


ในการกาหนดค่าความเป็ นสมาชิ กของฟั ซซี เซตเราอาจจะกาหนดได้ 2 แบบ คือ แบบตัว
เลข หมายถึงการแสดงอัตราของความเป็ นสมาชิกเชิงตัวเลขในเอกภพสัมพัทธ์ และแบบแสดงเป็ น
ฟั งก์ชนั ความเป็ นสมาชิ ก ในที่น้ ี จะขอกล่าวในแบบของฟั งก์ชนั โดยที่ฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิ กจะ
จาแนกระดับของค่าลิงก์จีสติค ในเอกภพสัมพัทธ์เพื่อทาหน้าที่แปลงปริ มาณอินพุทที่อยู่ในรู ปของ
คลิ ปเซตให้อยู่ใ นโดเมนของฟั ซซี เซตฟั งก์ชันความเป็ นสมาชิ กที่ นิยมใช้จะมี หลายชนิ ด เช่ น s-
ฟังก์ชนั , -ฟังก์ชนั , ฟังก์ชนั เหลี่ยม, Trapezoid Function และเอกซ์โปเนนเชียลฟังก์ชนั เป็ นต้น
หลักเกณฑ์ในการกาหนดฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิก
1. การกระจายของข้อมูลหรื อคุณลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างอินพุท และเอาท์พุท
ของกระบวนการที่ควบคุ มว่าเป็ นสมาชิ กเชิ งเส้นหรื อไม่เป็ นเชิ งเส้นถ้าเป็ นเชิ งเส้นควรใช้ฟังก์ชนั
สาม เหลี่ยมถ้าไม่เป็ นเชิงเส้นควรใช้แบบเอ็กโปเนนเชียล
2. คุณสมบัติในการคานวณเช่นความเร็ วในการคานวณขนาดของหน่วยความจา
3. ความต่อเนื่ องและไม่ต่อเนื่ องของข้อมูล โดยทัว่ ไปจานวนฟั งก์ชนั ที่ใช้กาหนดระดับ
ของค่าลิงก์จีสติคควรไม่ต่ากว่า 5 ถึง 7 ระดับถ้าต่ากว่านี้ จะเกิดความไม่ต่อเนื่ อง และเกิ ดความผิด
พลาดในผลลัพธ์ถา้ มีจานวนมากกว่านี้ จะทาให้เพิม่ เวลาการคานวณให้มากขึ้น
4. การกาหนดฟั งก์ชนั แต่ละฟั งก์ชนั ควรให้มีการทับกันระหว่างฟั งก์ชนั (Overlap) ของ
เซตที่อยูต่ ิดกันเพื่อให้แน่ใจว่าการควบคุมต้องมีกฏควบคุมอย่างน้อย 1-2 กฏในการรองรับตัวแปร
อินพุทเปอร์ เซนต์การการทับกันจะอยูท่ ี่ประมาณ 15-50 %
5. การกาหนดค่าพารามิเตอร์ ของฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิก
- ค่าสู งสุ ด (Peak Value) หมายถึง ค่าสู งสุ ดของฟั งก์ชนั ความเป็ นสมาชิ กในแต่ละเทอม
จะต้องมีค่าเท่ากับ 1
22

- ความกว้างทางซ้าย และขวา (Left and Right Width) หมายถึง ช่วงของความกว้าง


ระหว่างจุดสู งสุ ด และจุดศูนย์ของฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิ ก หรื อเรี ยกว่าซัพพอร์ ตของค่าสมาชิ ก ทั้ง
ซ้าย และขวา ถ้าความกว้างทั้งสองเท่ากันเราเรี ยกว่าฟังก์ชนั นี้เป็ นฟังก์ชนั สมมาตร (ดังภาพที่ 2.20)

left right

ภาพที่ 2.20 แสดงฟังก์ชนั สมมาตร (นิมิต บุญภิรมย์,2540)

- จุดตัด (Cross Points) จุดที่ฟังก์ชนั 2 ฟังก์ชนั ที่อยูใ่ กล้เคียงกันตัดกัน จากภาพที่ 2.20


กาหนดให้
X เท่ากับจุดตัด
d1 เท่ากับความกว้างระหว่างจุดเริ่ มต้นและจุดตัดของฟังก์ชนั ที่ 1.
d2 เท่ากับความกว้างระหว่างจุดเริ่ มต้นและจุดตัดของฟังก์ชนั ที่ 2.
ระดับของจุดตัด (Cross-Point Level) เท่ากับระยะระหว่างจุดตัดถึงแกน x
อัตราส่ วนของจุดตัด (Cross-Point Ratio) เท่ากับ d1/d2
ในการออกแบบตัวควบคุมสาหรับระบบที่เป็ นเชิงเส้นการใช้ฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิ กแบบ
สมมาตรมีระดับของจุดตัดเท่ากับ 0.5 และมีอตั ราส่ วนจุดตัดเท่ากับ 1 จะทาให้มีค่าสมรรถนะของ
ระบบคือจุดพุง่ เกิน (Overshoot) ต่า เวลาการเข้าถึง (Rise Time) เร็ ว
ในส่ วนของความต่อเนื่ องของการควบคุ มควรจะให้ระยะ d1และ d2ของทั้งสองฟั งก์ชนั ที่
ใกล้กนั มี ระยะเท่ากันและที่ ตาแหน่ งศูนย์ของค่าความเป็ นสมาชิ กของทั้งสองฟั งก์ชัน จะตรงกับ
ตาแหน่งที่เป็ นค่าสู งสุ ดพอดี (ดังแสดงในรู ปที่2.21)


X

d1 d2

ภาพที่ 2.21 แสดงความกว้างของจุดตัดของทั้งสองฟังก์ชนั (นิมิต บุญภิรมย์,2540)


23

จะเห็ นความต่อเนื่ องและไม่ต่อเนื่ องของค่าเอาท์พุท จากการกาหนดระยะของจุดตัดและ


ความกว้างทางซ้ายและทางขวาของฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิก

 PM

 PB

 PM  E
PS

ภาพที่ 2.22 แสดงความต่อเนื่ องของ เอาท์พุท (นิมิต บุญภิรมย์,2540)

2.1.15 การกาหนดฟังก์ชันความเป็ นสมาชิกเชิงตัวเลข


การกาหนดฟั งก์ชนั เชิ งตัวเลขในโดเมนที่ต่อเนื่ อง หมายถึงการแบ่งย่านในเอกภพสัมพัทธ์
ออกเป็ นเซกเมนต์เราเรี ยกว่า “การควอนไตซ์เซชัน (Quantization)” และกาหนดดี กรี ค่าลิงค์จีสติค
แต่ละค่าเป็ นตัวเลข การกาหนดฟั งก์ชันวิธีน้ ี การกาหนดระดับของการควอนไตซ์ จะมี ผลต่อการ
ควบคุมแบบหยาบ และควบคุมแบบละเอียดถ้าให้ระดับมากจะมีผลให้ค่าเอาท์พุทละเอียด แต่จะใช้
เวลานานขึ้นและจะต้องใช้หน่วยความจามากขึ้น

 PM

 PB

 PM  PS E

ภาพที่ 2.23 แสดงความไม่ต่อเนื่องของเอาท์พุท (นิมิต บุญภิรมย์,2540)


24

2.1.16 ฐานของกฏ
กฏเป็ นส่ วนประกอบที่ ส าคัญ ในการควบคุ ม แบบฟั ซ ซี กฏจะเป็ นส่ วนที่ โ ยงถึ ง
ความสัมพันธ์ของตัวแปรลิงค์จีสติคในส่ วนของอินพุทและเอาท์พุทและใช้ในการประเมินผลลัพธ์
ของฟัซซี รูปแบบของฐานกฏที่นิยมใช้ แบ่งเป็ น 2 ชนิด
1. แบบอันดับระบบที่มี 1 อินพุท 1 เอาท์พุท จะอยูใ่ นรู ป
กฏที่ 1 : IF x is A1 THEN y is B1
กฏที่ 2 : IF x is A2 THEN y is B2
กฏที่ N : IF x is AN THEN y is BN
โดยให้ x = ตัวแปรลิงค์จีสติคของอินพุท
y = ตัวแปรลิงค์จีสติคของเอาท์พุท
A1, B1 = ลิงค์จีสติคฟังก์ชนั หรื อ ฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิกของอินพุทและเอาท์พุท
ตามลาดับ
N = จานวนกฏ
จานวน N จะมากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั การออกแบบแต่โดยทัว่ ไปจะใช้จานวนกฏเท่ากับฟั งก์ชนั ความ
เป็ นสมาชิก
2. แบบอันดับระบบที่มี 2 อินพุท 1 เอาท์พุท จะอยูใ่ นรู ป
กฏที่ 1 : IF x is A1 AND y is B1 THEN z is C1
กฏที่ 2 : IF x is A2 AND y is B2 THEN z is C2
กฏที่ N : IF x is AN AND y is BN THEN z is CN

3.1.17 แนวทางการออกแบบฐานกฎ
แนวทางการออกแบบกฎแบบได้เป็ น 2 วิธีคือ
1. วิธีเฮอร์ ริสติค (Heuristic Approach ) วิธีเฮอร์ รีสติค เป็ นการออกแบบกฎจาก
พฤติกรรมการตอบสนองของระบบที่ได้จากประสบการณ์หรื อจากการทดสอบและค่าสมรรถนะที่
ต้องการนามาออกแบบกฏโดยประมาณได้โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์ของอินพุทและผลการ
ตอบสนอง
สมมุติว่าพิจารณาระบบควบคุ มฟั ซซี่ แบบปิ ด มีค่าอินพุท 2 ตัวคือ ค่าผิดพลาด (e) และ
อัตราการผิดพลาด (ce) ค่าเอาท์พุท ( u )การตอบสนองของการเปลี่ยนแปลงระดับ (Step Responce )
สามารถสร้างระบบฟัซซี่ที่มี Phase Plant ระหว่าง ค่าอินพุททั้งสอง ค่าสมรรถนะที่เราต้องการคือค่า
เวลาการเข้าถึงสั้น (Short Rise Time ) และ เปอร์ เซนต์การพุ่งเกินต่า (Overshoot) เราสามารถแบ่ง
25

ช่ วงผลการตอบสนองของเอาท์พุทออกเป็ นช่ วงๆและกาหนดกฎเพื่อให้ได้ค่าเอาท์พุทตามที่ เรา


ต้องการเช่น
- ถ้าต้องการค่าเวลาการเข้าสั้นเราสามารถออกแบบกฎได้เป็ น
IF e is Positive AND ce is Negative THEN u is Positive
เป็ นต้น
- ถ้าต้องการลดค่าเปอร์ การพุง่ เกิน
IF e is Negative AND ce is Negative THEN u is Negative

yref e
u y
+ FLC Plant
-
y ce

ภาพที่ 2.24 ระบบควบคุมฟัซซีแบบลูปปิ ดแบบฟัซซี (นิมิต บุญภิรมย์,2540)

y c
g
yref b d f h j k l
e i

a t

e + - - + + - - + + -

ce - - + + - - ++ - -

ภาพที่ 2.25 ผลการตอบสนองของการเปลี่ยนระดับและการแบบช่วงของเอาท์พุทเพื่อหา


ความสัมพันธ์ของ e และce (นิมิต บุญภิรมย์,2540)
ce

ภาพที่ 2.26 Phase Plant ของ e และ ce


26

ตารางที่ 2.1 ความสัมพันธ์ของตัวแปรอินพุทและเอาท์พุทของการออกแบบกฎ


Rule no. e ce Output reference

1 P Z P points a,e,i

2 Z N N points b,f,j

3 N Z N points c,g,k

4 Z P P points d,h,l

5 Z N Z set points

6 P N P range A,E

จากหลัก เกณฑ์ ดัง กล่ า วสามารถสร้ า งเป็ นตารางความสั ม พัน ธ์ อิ น พุ ท และเอาท์ พุ ท


โดยประมาณ ( ดังตารางที่ 2.1) และใช้เป็ นแนวทางในการสร้างกฎของฟัซซี ต่อไป
2. วิธีดีเทอร์ มิเนติค (Deterministic Approach) เป็ นวิธีสร้างแบบจาลองอ้างอิงและไป
ออกแบบกฎ ซึ่ งจะไม่ขอกล่าวในที่น้ ี

2.2 ไมโครคอนโทรเลอร์ [2] [3]

2.2.1 ความหมายของไมโครคอนโทรลเลอร์
ไมโครคอนโทรลเลอร์ คือ อุปกรณ์ที่สามารถสร้างระบบควบคุมได้ โดยอุปกรณ์น้ ี มีขนาด
เล็ก และเป็ นอุปกรณ์ประเภทสารกึ่งตัวนาที่มีการรวมเอาฟังก์ชนั การทางานต่างๆไว้ในตัวมันเอง ซึ่ ง
มีลกั ษณะคล้ายกับคอมพิวเตอร์ ซึ่ งในที่น้ ีหมายถึงอุปกรณ์ภายในที่ประกอบด้วย หน่วยประมวลผล
กลาง, พอร์ ตในการเชื่อมต่อแบบต่างๆ

2.2.2 ส่ วนประกอบทัว่ ไปของไมโครคอนโทรลเลอร์


1. หน่วยประมวลผลกลาง (Control Processing Unit)
2. หน่วยความจา ซึ่ งประกอบด้วย RAM (Random Access Memory) และ EEPROM /
EPROM / PROM / ROM (Eraseable Programable Read Only Memory)
3. หน่วยรับ และแสดงผลข้อมูล (Input / Output) ซึ่งมีพอร์ ตขยายแบบขนาน (Parallel)
และอนุกรม (Serial)
4. ตัวนับเวลา (Timer)
5. หน่วยควบคุมการอินเตอร์ รับ (Interrupt Controller)
ส่ ว นประกอบเหล่ า นี้ เป็ นเพี ย งส่ ว นประกอบพื้ น ฐานของไมโครคอนโทรลเลอร์
ไมโครคอนโทรลเลอร์ น้ ั น ยัง มี ส่ ว นประกอบอย่ า งอื่ น อี ก เพื่ อ เพิ่ ม เติ ม ความสารถขึ้ น อยู่ ก ับ
27

ไมโครคอนโทรลเลอร์ แต่ละเบอร์ ดว้ ย เช่ น A/D (Analog to Digital), PWM (Pulse Width
Modulator) เป็ นต้น

2.2.3 ระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
ไมโครคอนโทรลเลอร์ เป็ นระบบที่รวบรวมอุปกรณ์ต่างๆ อยูภ่ ายใน เช่น Ram, Rom และ
อื่นๆ เพื่อความสะดวกในการใช้งาน ชิฟ ไมโครคอนโทรลเลอร์ น้ นั มีขนาดเล็กที่มีความสามารถสู ง
แต่บางอุปกรณ์ที่ตอ้ งการคาปาซิ สเตอร์ ที่มีความจุสูงๆ ไม่สามารถบรรจุได้ในชิ ฟเพียงตัวเดียว อีก
ทั้งการรวบรวมอุ ป กรณ์ ไม่ สามารถรวบรวมได้ทุกชนิ ด ระบบไมโครคนโทรลเลอร์ จึงแบ่ง เป็ น
อนุกรม กากับด้วยหมายเลขลาดับที่บรรจุความสามารถในการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆไว้ภายใน

2.2.4ไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR
ไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR เป็ นไอซี ไ มโครคอนโทรลเลอร์ ของบริ ษทั Atmel มี
สถาปัตยกรรมภายในเป็ นแบบ RISC ( Reduced Instruction Set Computer) โดยใช้สัญญาณนาฬิกา
เพียง 1 ลูกในการปฏิบตั ิงานใน 1 คาสั่ง โดยจะประกอบด้วยหน่วยความจาโปรแกรมภายในที่เป็ น
แบบแฟลช์ โปรแกรมข้อมูลได้แบบ In-System Programmable และในบางเบอร์ ยงั สามารถมีการ
กาหนดตาแหน่ งของหน่ วยความจาที่ สร้ างเป็ นบูตโหลดเดอร์ (เขี ยนโปรแกรมเพื่อติ ดต่อกับ PC
หรื อไอซี ตวั อื่นๆ และยังสามารถโปรแกรมให้กบั ตัวเองได้) มีขนาดของหน่วยความจาตามเบอร์ ของ
ไอซี แต่ละตัว ยกตัวอย่างคุณสมบัติเบื้องต้นของไอซี เบอร์ Atmega8A ได้ดงั ต่อไปนี้
- เป็ นไอซีขนาด 8-bit ใช้พลังงานต่า
- มีโครงสร้างภายในแบบ RISC
- มีคาสั่งควบคุมการทางานไมโครคอนโทรลเลอร์ 130 คาสั่ง คาสั่งส่ วนมากจะทาสาเร็ จ
ในรอบสัญญาณนาฬิกาเดี่ยว
- มีจานวนรี จิสเตอร์ ทวั่ ไปขนาด 32 x 8
- มีหน่วยความจาโปรแกรมภายในแบบ Flash ขนาด 8K Bytes มีการโปรแกรมได้แบบ
In-System Self-Programmable
- มีหน่วยความจาภายในแบบ EEPROM ขนาด 512 Bytes
- มีหน่วยความจาภายในแบบ SRAM ขนาด 1K Byte
- เขียน /ลบ ได้ถึง 10,000 ครัง สาหรับหน่วยความจาแบบ Flash และ 100,000 สาหรับ
หน่วยความจาแบบ EEPROM
- กาหนดการ Boot Code Section ในตาแหน่งต่างๆ และ Lock Bits ได้ (ทา boot loadder)
28

- Programming Lock for Software Security ป้ องกันข้อมูล


- Timer/Counters ขนาด 8-bit 2 ตัว และมี Separate Prescaler โหมด Compare อีก 1 ตัว
- One 16-bit Timer/Counter with Separate Prescaler, Compare Mode, and Capture
- มี PWM 3 ช่อง
- มีการติดต่อแบบ Master/Slave SPI Serial Interface
- ใช้งาน RC Oscillator ภายในไอซี และภายนอกไอซีได้
- ทางานที่แรงดัน 2.7 - 5.5V for ATmega8A
- ทางานที่ความถี่ 0 - 16 MHz for ATmega8A

2.2.5 ไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR ได้แบ่งออกเป็ น 4 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้

ภาพที่ 2.27 การแบ่งไมโครคอนโทรลเลอร์ AVR

1. Tiny AVR -ATtiny Series เช่นเบอร์ Tiny13 , Tiny2313 มีคุณสมบัติดงั นี้


- มีหน่วยความจาโปรแกรมขนาด 1-8 kB
- มีจานวนขาใช้งาน 6-32-ขา
- มีส่วนของอุปกรณ์เสริ มที่ค่อนข้างจากัด
2. Mega AVR - ATmega Series เช่นเบอร์ ATmega8 ,ATmega16, ATmega32, ATmega64
มีคุณสมบัติดงั นี้
- มีหน่วยความจาโปรแกรมขนาด 4- 256 kB
- มีจานวนขาใช้งาน 28-100 ขา
- มีชุดคาสั่งที่สามารถจัดการกับหน่วยความจาที่มีขนาดใหญ่มากขึ้น
- มีส่วนของอุปกรณ์เสริ มมากในตัวไอซี
29

3. XMEGA - ATxmega Series เช่นเบอร์ ATxmega64A1, ATxmega128A1 มีคุณสมบัติ


ดังนี้
- มีหน่วยความจาโปรแกรมขนาด 16–384 kB
- มีจานวนขาใช้งาน 44–64–100 ขา
- มีชุดคาสั่งที่สามารถจัดการกับระบบ DMA และการเข้าถึงเหตุการณ์ได้เร็ วมากขึ้น โดย
ใช้การสื่ อสารในแบบต่างๆ ได้หลายรู ปแบบ
4. Application Specific AVR เป็ นไอซี ที่สร้างเพื่อใช้งานเฉพาะ เช่น CAN AVR
ATmega64C1), LCD AVR (ATmega3290P/V), USB AVR (AT90USB1287)
RISC คื อ การให้ ซี พี ยูท างานที่ มี ไ ซเกิ ล แน่ น อน โดยลดจ านวนค าสั่ ง ลงให้เ หลื อ ค าสั่ ง
พื้นฐานมากที่สุด แล้วใช้หลักการไปป์ ไลน์(Pipeline) คือการนาเอาคาสั่งมาเรี ยงการทางานให้เป็ น
แบบขนานเหลื่อมกัน หรื อเข้าทางาน ในแต่ละตาแหน่งตามลาดับเรี ยงกันไป ทุกตาแหน่งงานจะมี
การงานทางานตลอดเวลา จึงเป็ นการลดจานวนคาสั่งลงนั้นเอง ซึ่ งเรี ยกการทางานของซี พียแู บบนี้
เป็ นประเภท RISC หรื อ Reduce Instruction Set Computer สถาปั ตยกรรมที่มีโครงสร้ างเป็ น
แบบ RISC จึงทางานได้เร็ วและ เป็ นกลไก ที่สามารถเพิ่มขีดความสามารถโดยรวมได้หนึ่ งคาสั่งใช้
เวลาหนึ่ งลูกของสัญญาณ นัน่ คือถ้าเป็ น 10 MHz ก็ทาได้ 10 ล้านคาสั่งในเวลา 1 วินาที ทาให้
สามารถใช้คาสัง่ ง่ายขึ้น ไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน

2.3 ทฤษฎีเฟสคอนโทรล [4]

แรงดันไฟสลับรู ปคลื่ นไซน์เป็ นแรงดันไฟฟ้ าที่ถูกส่ ง-จ่ายจากการไฟฟ้ า โดยจะมีท้ งั ระบบ


ไฟฟ้ าที่เป็ นเฟสเดียว และระบบไฟฟ้ าที่ เป็ นสามเฟส แต่สาหรับที่ส่งจ่ายมายังบ้านและที่พกั อาศัย
โดยทั้วไป จะเป็ นระบบไฟฟ้ าที่ เ ป็ นเฟสเดี ย วซึ ง ในประเทศไทย จะถู ก ส่ ง -จ่ า ยด้วยระดับ
แรงดันไฟฟ้ าเป็ น220V ที่มีความถีของรู ปคลื่นไซน์เป็ น 50Hz
โดยทัว่ ไปการปรับเปลี่ยนระดับแรงดันไฟสลับจะกระทาได้โดยใช้หม้อแปลงไฟฟ้ า แต่ถา้
ต้องการให้การปรับเปลี่ยนระดับแรงดันไฟสลับเป็ นแบบต่อเนื่ อง ก็มกั จะต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้ าที่
สามารถปรับเปลี่ ยนค่าแรงดันไฟสลับทางด้านเอาท์พุตได้อย่างต่อเนื่ อง (Variable AC Voltage
Transformer, Variac Transformer) ซึ่งเป็ นอุปกรณ์ทางด้านไฟฟ้ ากาลัง และจะมีราคาสู งมากขึ้น เมือ
ต้องนาไปเป็ นแหล่งกาลังไฟฟ้ าให้กบั ภาระที่ตอ้ งการกาลังไฟฟ้ าสู งๆ อย่างเช่ น ขลวดความร้อน
(Heater) ที่ใช้ในอุตสาหกรรมหลอมโลหะหรื ออุตสาหกรรมที่ เกี่ยวข้องกับการหลอมพสาสติกและ
ฉี ดพลาสติ ก โดยภาระที่ เป็ นขดลวดความร้ อนจะมี คุ ณลักษณะเช่ นเดี ยวกันกับภาระที่ เป็ นตัว
ต้านทาน การปรับเปลี่ ยนระดัแรงดันไฟสลับสามารถที่ จะกระทาได้หลายๆ วิธีการเช่นใช้อุปกรณ์
30

ทางด้านอิเล็กทรอนิ กส์ กาลังจาพวกไทริ สเตอร์ เช่น SCR หรื อ TRIAC มาทาการตัดบางส่ วนของ
รู ปคลื่นไซน์ออกไป ซึ่ งสามารถปรับเปลี่ ยนระดับแรงดันไฟสลับได้โดยการควบคุมมุมเฟสในการ
จุดชนวนให้กบั ไทริ สเตอร์ให้นากระแสไฟฟ้ า และตัดบางส่ วนของรู ปคลื่นไซน์ออกไป ดังแสดงใน
ภาพที่ 2.28
ภาพที่ 2.28 เป็ นการนาเอา SCR (Silicon Control Rectifier) มาใช้ในการตัดบางส่ วนของ
รู ปคลื่ นไซน์ออกไปส่ งผลให้ค่าประสิ ทธิ ผลของแรงดันไฟฟ้ า (Rms Voltage Value)ที่ตกคร่ อม
ภาระเปลี่ยนแปลงไปตามค่าของมุมในการจุดชนวน(Firing Angle, ) อย่างไรก็แล้วแต่วิธีการนี้ ส่งผล
เสี ยที่รูปคลื่นของแรงดันไฟฟ้ าจะเกิดการผิดเพี้ยนไปจากรู ปคลื่นไซน์เป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะที่มุม
ในการจุดชนวนมีค่าสู งๆ และขนาดของแรงดันจะแปรผกผันกับมุมที่ใช้ในการควบคุมแรงดันไฟ
สลับทางด้านเอาท์พุต

ภาพที่ 2.28 การใช้ SCR ตัดบางส่ วนของรู ปคลื่นไซน์ออกไป


31

ภาพที่ 2.29 การสับซอยแรงดันไฟฟ้ ารู ปคลื่นไซน์ออกเป็ นส่ วนๆ

อีกวิธีการหนึ่ งที่สามารถปรับเปลี่ ยนระดับแรงดันไฟสลับได้ ก็คือการสับซอยรู ปคลื่นด้วย


ความถีที่คงที่ ดังในภาพที่ 2.29 จากภาพที่ 2.29 ไฟสลับรู ปคลื่นไซน์ถูกสับซอยออกเป็ นส่ วน ๆ ด้วย
อัตราส่ วนของเวลาในการสับรู ปคลื่น (ton /T ) ทาให้พ้ืนที่ของรู ปคลื่นไซน์ที่ตกคร่ อมภาระจะ
ประกอบไปด้วยพื้นที่ของรู ปสี่ เหลี่ยมเล็กๆ เป็ นจานวนมาก และพื้นที่ของรู ปสี่ เหลี่ยมเล็ก ๆ แต่ละ
รู ปจะขึ้นอยูก่ บั การปรับอัตราส่ วนของ ton /T ซึ่ งจะมีผลทาให้ค่าประสิ ทธิ ผลของแรงดันไฟสลับที่
ตกคร่ อมภาระเกิดการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย

2.3.1 การควบคุมแรงดันไฟสลับ
ดังที่กล่ าวมาแล้วว่าการควบคุ มแรงดันไฟสลับมีด้วยกันหลาย ๆ วิธีการ สาหรับใน
บทความนี้ จะนาเสนอวิธีการควบคุมในสองรู ปแบบคือ โดยวิธีการควบคุมมุมเฟสในการจุดชนวน
ให้กบั ไทรสเตอร์ และวิธีการสับซอยรู ปคลื่นไฟสลับและนาผลที่ได้มาเปรี ยบเทียบกันดังนี้
1.วิธีการควบคุมมุมเฟส จากรู ปคลื่นของแรงดันไฟฟ้ าที่ตกคร่ อมภาระดังในภาพที่ 2.28
สามารถคานวณหาค่าประสิ ทธิ ผลของแรงดันไฟฟ้ าที่ตก คร่ อมภาระได้จากสมการที่ (2.19) ดัง
ต่อไปนี
32

√ ∫

(2.19)
√ [ ]

จากสมการที่ (2.19) Vs เป็ นค่าแรงดันประสิ ทธิ ผลของรู ปคลื่ นไซน์ทางด้านอินพุต และ


เป็ นค่าของมุมเฟสท่ใช้ในการจุดชนวนให้ SCR เริ่ มนากระแสไฟฟ้ าโดยกาลังไฟฟ้ าสามารถที่จะ
คานวณได้จากสมการ 2 Power = Vo(rms) / R ดังนั้นสมการของกาลังไฟฟ้ าที่ภาระทางด้านเอาท์พุต
สามารถเขียนได้ดงั สมการที่ (2.20) ดังนี้

{ [ ]} (2.20)

เนื่ องจาก Vs2 / R เป็ นค่าคงที่ และเป็ นค่ากาลังไฟฟ้ าสู งสุ ดที่มุมเฟส α มีค่าเท่ากับศูนย์
(Po(α-0) ) ดังนั้นสมการที่ (2.20) สามารถที่จะเขียนขึ้นใหม่เป็ นดังสมการที่ (2.21) ดังนี้

[ ] (2.21)

จากสมการที่ (2.21) สามารถเขียนกราฟแสดงอัตราส่ วนของกาลังไฟฟ้ า Po / Po(α-0) ใน


ฟังก์ช้ นั ของมุมเฟสที่ใช้ในการจุดชนวน SCRได้ดงั ภาพที่ 2.30

ภาพที่ 2.30 กราฟความสัมพันธ์ของ Po / Po(α-0) = f (α)


33

ของวงจรควบคุ มแรงดันไฟสลับโดยวิธีการควบคุ มมุมเฟสจากกราฟที่ แสดงในภาพที่


2.30 จะเห็นว่ากาลังไฟฟ้ ามิได้เปลี่ยนแปลงไปตามมุมเฟสที่ใช้ในการจุดชนวนให้กบั SCRอย่างเป็ น
เชิงเส้น ทาให้ตอ้ งใช้ระบบควบคุมกาลังไฟฟ้ าที่ภาระที่ซบั ซ้อนมากขึ้น หรื อต้องใช้วิธีการควบคุม
แบบป้ อนกลับและต้องเพิ่มค่าใช้จ่ายในระบบการควบคุมมากขึ้น
2.วิธีการสับซอยรู ปคลื่ นไฟสลับ พิจารณารู ปคลื่ นไซน์ที่ถูกสับซอยด้วยความถี อ 200Hz
โดยมีอตั ราส่ วนของการสับซอยคือค่าดิวตี้ไซเกิ้ล D = ton /T ดังแสดงในภาพที่ 2.31 จากภาพที่
2.31 จะสามารถคานวณหาค่าประสิ ทธิ ผลของแรงดันไฟฟ้ าที่ภาระได้ดงั สมการที่ (2.22) ดังนี้

√ [∫ ∫ ]

(2.22)

√ [∫ ∫ ]

ในภาพที่ 2.30 จะได้วา่ α=π /8 และ D=2α/4α หรื อD=1/2 ดังนั้นสมการที่ (2.22) จะ
สามารถเขียนใหม่ได้เป็ นสมการที่ (2.23) ดังต่อไปนี้



√ (2.23)

ภาพที่ 2.31 รู ปคลื่นไซน์ที่ถูกสับซอยด้วยความถี่โดยมีอตั ราส่ วนของการสับซอยหรื อค่าดิวตี้ไซเกิ้ล


D =ton /T
34

โดยที่ Vs เป็ นค่าแรงดันประสิ ทธิ ผลของรู ปคลื่นไซน์ที่ถูกป้ อนเข้ามาทางด้านอินพุตและ


D อัตราส่ วนเวลา ton /T ของความถี่ ที่ใช้ในการสับซอย หรื อเป็ นค่าดิวตี้ไซเกิ้ลของความถี่ ที่ใช้ใน
การสับซอย ดังนั้นสมการของกาลังไฟฟ้ าที่ภาระทางด้านเอาท์พุตสามารถเขียนได้ดงั สมการที่
(2.24) ดังนี้
(2.24)

เนื่ องจาก / R เป็ นค่าคงที่ และเป็ นค่ากาลังไฟฟ้ าสู งสุ ดที่ดิวตี้ไซเกิ้ลมีค่าเท่ากับหนึ่ ง


(Po(D=1) ) ดังนั้นสมการที่ (2.24) สามารถที่จะเขียนขึ้นใหม่เป็ นดังสมการที่ (2.25) ดังนี้

(2.25)

ภาพที่ 2.32 กราฟแสดงความสัมพันธ์ของ Po / Po(D=1) = f (D)ของวงจรควบคุมแรงดันไฟสลับ


โดยวิธีการสับซอยรู ปคลื่น

2.4 ไตรแอค [5]

ไตรแอค (Triac) เป็ นอุ ป กรณ์ จาพวกสารกึ่ ง ตัวน าในกลุ่ ม ของไทริ ส เตอร์ มี ล ัก ษณะ
โครงสร้างภายในคล้ายกับไดแอค แต่มีขาเกตเพิ่มขึ้นมาอีก 1 ขา ไตรแอคถูกสร้างขึ้นเพื่อแก้ไข
ข้อบกพร่ องของ SCR ซึ่ งไม่สามารถนากระแสในซี กลบของไฟฟ้ าสลับได้ การนาไตรแอคไปใช้
งานส่ วนใหญ่จะใช้ทาเป็ นวงจรควบคุมการทางานเป็ นสวิตซ์ต่อแรงดันไฟสลับ ไตรแอคถูกสร้าง
35

ขึ้นมาให้ใช้งานกับกระแสสู ง ๆ ดังนั้นต้องระวังเรื่ องของการระบายความร้อน สัญลักษณ์โครงสร้าง


และวงจรสมมูลของไตรแอค ดังภาพที่ 2.33 ก,ขและค

ภาพที่ 2.33 โครงสร้างสัญลักษณ์และวงจรสมมูลเปรี ยบเทียบระหว่างไตรแอคกับเอสซี อาร์

โครงสร้างของไตรแอคจะประกอบด้วยสารกึ่งตัวนาตอนใหญ่ 3 ตอน คือ PNP และในสาร


กึ่งตัวนาตอนใหญ่จะมีสารกึ่งตัวนาตอนย่อยชนิ ด N อีก 3 ตอน ต่อร่ วมในสารกึ่งตัวนา P ทั้ง 2 ตอน
มีขาต่อออกมาใช้งาน 3 ขา เหมือน SCR ขาแอโนด 1 (A1) เรี ยกว่า ขาเทอร์ มินอล 1(Main Terminal
1) MT ขาแอโนด 2 (A2) เรี ยกว่า ขาเทอร์มินอล 2(Main Terminal 2) MT และขาเกท(Gate) G
1 2

2.4.1 การทางานของไตรแอค
ไตรแอคมีคุณสมบัติ ทางานได้ท้ งั แรงดันช่วงบวกและแรงดันช่วงลบ การนากระแสของ
ไตรแอคจะขึ้นอยูก่ บั แรงดันที่ป้อนกระตุน้ ขา G และแรงดันที่จ่ายให้ขา A2 และ A1 การจ่ายไบอัส
ให้ตวั ไตรแอคสามารถแบ่งได้เป็ น 4 สภาวะคือ
สภาวะที่ 1 หรื อควอนแดรนด์ที่ 1 จ่ายแรงดันบวกให้ขา A2 จ่ายแรงดันลบให้ขา A1 และจ่ายแรงดัน
บวกกระตุน้ ขา G จะเกิดการนากระแสในตัวไตรแอคดังภาพที่ 2.34 ทิศทางการไหลของกระแสทั้ง
สองจะไหลในทิศทางเดียวกัน หรื อกระแสไหลเสริ มกัน ทาให้ IA ไหลมากขึ้น
36

ภาพที่ 2.34 สภาวะที่ 1 หรื อควอนแดรนด์ที่ 1

สภาวะที่ 2 หรื อควอนแดรนด์ที่ 2 จ่ายแรงดันบวกให้ขา A2 จ่ายแรงดันลบให้ขา A1 แต่จ่าย


แรงดันลบกระตุน้ ขา G จะเกิ ดการนากระแสในตัวไตรแอคดังภาพที่ 2.35 ทิศทางการไหลของ
กระแสทั้งสองจะไหลในทิศทางสวนทาง หรื อกระแสไหลหักล้างกัน ทาให้ IA ไหลน้อยลง
37

ภาพที่ 2.35 สภาวะที่ 2 หรื อควอนแดรนด์ที่ 2

สภาวะที่ 3 หรื อควอนแดรนด์ที่ 3 จ่ายแรงดันลบให้ขา A2 จ่ายแรงดันบวกให้ขา A1 แต่จ่าย


แรงดันลบกระตุน้ ขา G จะเกิ ดการนากระแสในตัวไตรแอคดังภาพที่ 2.36 ทิศทางการไหลของ
กระแสทั้งสองจะไหลในทิศทางเดียวกัน หรื อกระแสไหลเสริ มกัน ทาให้ IA ไหลมากขึ้น
38

ภาพที่ 2.36 สภาวะที่ 3 หรื อควอนแดรนด์ที่ 3

สภาวะที่ 4 หรื อควอนแดรนด์ที่ 4 จ่ายแรงดันลบให้ขา A จ่ายแรงดันบวกให้ขา A แต่จ่าย


2 1
แรงดันบวกกระตุน้ ขา G จะเกิ ดการนากระแสในตัวไตรแอคดังภาพที่ 2.37 ทิศทางการไหลของ
กระแสทั้งสองจะไหลในทิศทางสวนทาง หรื อกระแสไหลหักล้างกัน ทาให้ I ไหลน้อยลง
A
39

ภาพที่ 2.37 สภาวะที่ 4 หรื อควอนแดรนด์ที่ 4

กราฟคุณสมบัติของไตรแอค

ภาพที่ 2.38 กราฟลักษณะสมบัติของไตรแอค


40

จากกราฟลักษณะสมบัติของไตรแอค แรงดันไบอัสตรงกับไตรแอค(V ) และจ่ายกระแส


BO(0)
เกตบวก(I ) ให้กบั เกตของไตรแอค จะทาให้ไตรแอคนากระแสได้โดยกระแสจะไหลจากขั้ว A ไป
G 1
ยังขั้ว A และเมื่อป้ อนแรงดันไบอัสลบให้กบั ไตรแอค(-V ) โดยไม่ให้เกินกว่าค่าแรงดันพังทลาย
2 BO(0)
สามารถจ่ายกระแสเกตลบ(-I ) กระแสจะไหลจากขั้ว A ไปยังขั้ว A
G 2 1

2.4.2 การหยุดการนากระแสของไตรแอค
ไตรแอคเมื่อนากระแสแล้วจะไม่จาเป็ นต้องคงค้างแรงดันที่จ่ายกระตุน้ ขา G เพราะไตรแอค
จะนากระแสต่อเนื่ องได้เหมือนกับ SCR จะหยุดนากระแสทาได้ 2 วิธีเหมือน SCR คือ
1. ตัดแหล่งจ่ายแรงดัน V ที่ป้อนให้ขา A และขา A ของไตรแอคออกชัว่ ขณะ
AA 2 1
2. ลดแรงดันไบอัสตรงที่จ่ายให้ขา A และ A ลงจนทาให้มีกระแสไหลผ่านตัวไตรแอค
2 1
ต่ากว่ากระแสโฮลดิ้ง (holding current) ของไตรแอค

2.4.3 รายละเอียดและขีดจากัดของไตรแอค
1. แรงดันบล๊อกกิ้งสู งสุ ดซ้ า (Repetitive Peak Blocking Voltage) ใช้ตวั ย่อเป็ น V หรื อ
DRM
V คือแรงดันสู งสุ ดที่ป้อนเฉพาะขา A และ A ที่ตวั ไตรแอคยังไม่นากระแส โดยไม่มีแรงดัน
RPM 2 1
กระตุน้ ที่ขา G
2. กระแสไบอัสตรงสู งสุ ดเป็ น Rms (RMS Max Forward Current) ใช้ตวั ย่อ I คือ
T(MAX)
ค่ากระแสสู งสุ ดเป็ น Rms ที่ไตรแอคทนได้ เมื่อมีกระแสไบอัสตรงไหลผ่าน ถ้ากระแสไหลผ่านไตร
แอคเกินกว่าค่านี้ไตรแอคจะชารุ ดเสี ยหาย
3. กระแสโฮลดิ้ง (Holding Current) ใช้ตวั ย่อ I คือกระแสต่าสุ ดที่ไหลผ่านตัวไตรแอ
H
คระหว่างขา A และ A แล้วไตรแอคยังคงนากระแสได้
2 1
4. กระแสกระตุน้ เกท (Gate Trigger Current) ใช้ตวั ย่อ I คือกระแสที่ใช้กระตุน้ ขา G
GT
ของไตรแอค เพื่อทาให้ไตรแอคทางาน มักบอกค่ากระแสไว้ที่ต่าสุ ด
5. แรงดันกระตุน้ เกท (Gate Trigger Voltage) ใช้ตวั ย่อ V คือแรงดันที่ป้อนให้ขา G
GT
เทียบกับขา A เพื่อกระตุน้ ให้ไตรแอคนากระแส มักบอกค่าสู งสุ ด
1
41

6. กระแสกระตุน้ เกทสู งสุ ด (Peak Gate Trigger Current) ใช้ตวั ย่อ I คือค่ากระแส
GTM
กระตุน้ ที่ไหลผ่านเกทค่าสู งสุ ดยังคงทาให้ไตรแอคทางานได้
7. ย่านอุณหภูมิในการทางาน (Operating Junction Temperature) ใช้ตวั ย่อ Ti คือย่าน
อุณหภูมิตรงรอยต่อที่ไตรแอค ทางานได้โดยไม่ชารุ ดเสี ยหาย บอกค่าตั้งแต่ต่าสุ ด (-) จนถึงสู งสุ ด
เป็ นค่าบวก (+)

2.4.4 การประยุกต์ ไดแอคและไตรแอคไปใช้ งาน


การนาไตรแอคไปใช้งานนิยมใช้มากสุ ด คือ การนาไปใช้ควบคุมกาลังไฟฟ้ ากระแสสลับที่
โหลด เช่น ควบคุมความสว่างของหลอดไฟฟ้ า หรื อวงจรหรี่ ไฟ ควบคุมความเร็ วมอเตอร์ ไฟฟ้ า
กระแสสลับ ควบคุมความร้อนของลวดความร้อน เช่น เตาอบไฟฟ้ า เตาหลอดโลหะ เป็ นต้น
1.วงจรหรี่ ไฟหรื อขดลวดความร้อน โดยใช้ไตรแอคและไดแอคเป็ นตัวทางานวงจรหรี่ ไฟ
หรื อขดลวดความร้อน โดยการทางานของไตรแอคทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์ตดั ต่อวงจรตามการควบคุม
แรงดันกระตุน้ ที่ขา G ของไตรแอค วงจรควบคุมและหน่วงเวลาแรงดันกระตุน้ ขา G ใช้ตวั ต้านทาน
และตัวเก็บประจุ มีไดแอคเป็ นตัวป้ องกันกระแสกระชากเข้าขา G ของไตรแอค ดังภาพที่ 2.39

ภาพที่ 2.39 วงจรหรี่ ไฟ

การทางานดังกล่าวทาให้สามารถปรับเปลี่ยนความสว่างของหลอดไฟ LP ได้ โดยอาศัย


1
การปรับเปลี่ ยนเวลาและมุมเฟสของแรงดันที่จะทาให้ไดแอคนากระแส และไปทาให้ไตรแอค
นากระแสกาลังไฟฟ้ าที่ตกคร่ อมหลอดไฟ LP จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ถ้านาวงจรดังกล่าวไปหรี่
1
ความร้อนของเตาไฟฟ้ า กระทะไฟฟ้ า กาต้มน้ าไฟฟ้ า เตารี ดไฟฟ้ าและอื่น ๆ ดังภาพที่ 2.40
42

ภาพที่ 2.40 วงจรหรี่ ขดลวดความร้อน

2.วงจรหรี่ ไฟแสงสว่างที่ มีชุดป้ องกันสัญญาณรบกวน วงจรจะใช้ควอดแดรกเป็ นตัว


ทางาน วงจรหรี่ ไฟแสงสว่างที่มีชุดป้ องกันสัญญาณรบกวน จะมีวงจรคล้ายกับวงจรหรี่ ไฟในรู ปที่
10 แต่เพิ่มวงจรป้ องกันสัญญาณรบกวนเข้าไป ช่ วยป้ องกันกระแสกระชากผ่านเข้าวงจร และ
ป้ องกันฮาร์ โมนิกส์สูง ๆ ออกไปรบกวนระบบไฟฟ้ าภายนอก ดังภาพที่ 2.41

ภาพที่ 2.41 วงจรหรี่ ไฟแสงสว่างที่มีชุดป้ องกันสัญญาณรบกวน

3.วงจรปรับความเร็ วมอเตอร์ แบบยูนิเวอร์ แซล มอเตอร์ แบบยูนิเวอร์ แซล (Universal


Motor) เป็ นมอเตอร์ ที่สามารถนาไปใช้งานได้ท้ งั แรงดันไฟตรง DC และแรงดันไฟสลับ AC จึง
เรี ยกว่า ยูนิเวอร์ แซล มอเตอร์ ในการควบคุมความเร็ วของยูนิเวอร์ แซลมอเตอร์ สามารถทาได้โดย
ใช้การควบคุมเวลาและเฟสของอุปกรณ์ทริ กเกอร์ ร่ วมกับ SCR ไตรแอค หรื อควอดแตรก อย่างใด
อย่างหนึ่ง ดังภาพที่ 2.42
43

ภาพที่ 2.42 วงจรปรับความเร็ วมอเตอร์แบบยูนิเวอร์แซล

2.4.5 การใช้ ไตรแอคควบคุมเฟสของแรงดันไฟสลับ


ไตรแอคสามารถนากระแสในไฟสลับ ได้ 2 ซี ก คือ ซี กบวกและซี กลบ ในการควบคุมไฟ
สลับสามารถทาได้กบั ไฟสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส ดังนี้คือ
1. ควบคุมแรงดันไฟสลับชนิดเฟสเดียว ถ้าใช้ไตรแอคจะใช้เพียงตัวเดียว แต่ถา้ ใช้ SCR
จะต้องใช้ 2 ตัว ดังภาพที่ 2.43

ภาพที่ 2.43 วงจรควบคุมแรงดันไฟสลับ 1 เฟส ด้วยไตรแอค และSCR


44
0
2. ควบคุมแรงดันไฟสลับชนิด 3 เฟส แรงดันไฟสลับ 3 เฟส แต่ละเฟสมีมุมต่างกัน 120
องศา ในแต่ละอินพุตป้ อนผ่านเข้าแต่ละโหลดโดยเฉพาะ ในแต่ละชุ ดของการจ่ายแรงดันไปยัง
โหลด จะถูกควบคุมแรงดันด้วยไตรแอคแต่ละตัว โดยใช้ไตรแอคหนึ่งต่อกับโหลดหนึ่ งชุ ด สามารถ
นาไปใช้กบั โหลดที่ต่อวงจรทั้งแบบเดลต้าและแบบสตาร์ ดังนี้คือ
แบบเดลต้า การต่อวงจรแบบนี้ จะใช้ไตรแอคเป็ นตัวควบคุ มเฟสในการทางานจะ
สามารถต่อไตรแอคร่ วมในวงจรได้ท้ งั แบบต่อไตรแอคแยกในแต่ละไลน์ และต่อไตรแอกอันดับ
ร่ วมกับโหลดแต่ละชุด

ภาพที่ 2.44 การต่อไตรแอคแบบแยกแต่ละไลน์

จากภาพที่ 2.44 วงจรใช้ไตรแอคควบคุมเฟสของแรงดันไฟสลับที่จ่ายโหลด โหลด Z จะ


L1
ทางานเมื่อไตรแอค Q และ Q เกิดการนากระแส โหลด Z จะทางานเมื่อไตรแอค Q และ Q เกิด
1 2 L2 2 3
การนากระแส และโหลด Z จะทางานเมื่อไตรแอค Q และ Q เกิดการนากระแส
L3 3 1

ภาพที่ 2.45 การต่อไตรแอคแบบอันดับร่ วมกับโหลด


45

จากภาพที่ 2.45 เป็ นวงจรที่ใช้ไตรแอคควบคุม ต่อแบบอันดับ สภาวะการทางานของโหลด


จะขึ้นอยูก่ บั ไตรแอคแต่ละไลน์ เมื่อไตรแอค Q นากระแส โหลด Z จะทางาน ไตรแอค Q
1 L1 2
นากระแส โหลด Z จะทางาน และไตรแอค Q นากระแส โหลด Z จะทางาน
L2 3 L3
แบบสตาร์ การต่อวงจรแบบสตาร์ โดยใช้ไตรแอคเป็ นตัวควบคุ มเฟสในการทางาน
สามารถต่อไตรแอคเข้าวงจรได้ท้ งั แบบต่อไตรแอคแยกแต่ละไลน์ และแบบไตรแอคต่อรวมกับแล้ว
จึงต่อไปโหลดแต่ละโหลด ดังภาพที่ 2.46

ภาพที่ 2.46 การต่อไตรแอคแบบแยกแต่ละไลน์

จากภาพที่ 2.46 เป็ นวงจรใช้ไตรแอคควบคุมเฟสของแรงดันไฟสลับ โดยโหลดถูกต่อวงจร


แบบสตาร์ แหล่งจ่ายแรงดันแต่ละชุ ด V , V และ V เมื่อไตรแอค Q นากระแสโหลด Z จะทางาน
a b C 1 L1
ไตรแอค Q นากระแสโหลด Z จะทางาน และไตรแอค Q นากระแสโหลด Z จะทางาน
2 L2 3 L3

ภาพที่ 2.47 การต่อไตรแอคแบบรวมกัน

จากภาพที่ 2.47 เป็ นวงจรใช้ไตรแอคควบคุมเฟสของแรงดันไฟสลับ โหลดต่อแบบสตาร์


ส่ วนตัวไตรแอคต่อร่ วมกันแบบสตาร์ ไตรแอค Q นากระแส โหลด Z และ Z จะทางาน ไตรแอค
1 L1 L2
Q นากระแส โหลด Z และ Z จะทางาน และไตรแอค Q นากระแส โหลด Z และ Z จะทางาน
2 L1 L3 3 L2 L3
46

2.4 ทฤษฎีมอเตอร์ [6]

มอเตอร์ คือ เครื่ องกลไฟฟ้ าที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานกล โดยสร้าง


มอเตอร์ จะเหมือนกับเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ ากระแสตรงทุ กอย่าง จะมีขอ้ แตกต่างออกไปบ้างก็เพียง
เล็กน้อยเท่านั้น ทั้งนี้เพราะว่าสภาพที่นามาใช้งานแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น เครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ าทัว่ ไป
จะเป็ นชนิดเปิ ด (Open Type) กล่าวคือขดลวดอาร์ เมเจอร์ และขดลวดสนามแม่เหล็กจะพันเป็ นแบบ
เปิ ดทั้งนี้ ก็เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิ ดความเสี ยหายขึ้นกับลวดอย่างไรก็ตามเครื่ องกลไฟฟ้ ากระแสตรง
เครื่ องเดียว สามารถใช้ทาเป็ นเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าหรื อเป็ นมอเตอร์ ไฟฟ้ าได้

2.4.1 หลักการทางานของมอเตอร์
เมื่อมีกระแสไหลในขดลวดตัวนาที่พนั อยูบ่ นแกนอาร์ เมเจอร์ จะเกิดสันแรงแม่เหล็กรอบ
ๆ ตัวนา และทาปฏิกิริยากับเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดจากขั้วแม่เหล็กของมอเตอร์ ทาให้เกิดแรงผลักขึ้น
บนตัวนาทาให้อาร์เมเจอร์หมุนไปได้
ขดลวดที่ มีก ระแสไฟฟ้ าไหลและวางอยู่บนแกนของอาร์ เมเจอร์ โดยวางห่ างจากจุ ด
ศูนย์กลางเป็ นระยะ r กาหนดให้กระแสไฟฟ้ าไหลเข้าขดลวดที่ปลาย A และไหลออกที่ปลาย B จาก
คุณสมบัติของเส้นแรงแม่เหล็กจะไม่ตดั ผ่านซึ่ งกันและกัน ดังนั้นปริ มาณของเส้นแรงแม่เหล็กจะมี
จานวนมากที่ดา้ นบนของปลาย A จึงทาให้เกิดแรง F1 กดตัวนา A ลงด้านล่างและขณะเดียวกันที่
ปลาย B นั้น เส้นแรงแม่เหล็กจะมีปริ มาณมากที่ดา้ นหน้าทาให้เกิดแรง F2 ดันให้ตวั นา B เคลื่อนที่
ด้านบนของแรง F1 และ F2 นี้เองทาให้อาร์ เมเจอร์ ของมอเตอร์ เกิดการเคลื่อนที่ไปได้
ดังนั้นการทางานของมอเตอร์ จึงขึ้นอยูก่ บั หลักการที่วา่ เมื่อเอาตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้ าไหล
ผ่า นไปวางในสนามแม่ เ หล็ ก มันจึ ง พยายามท าให้ ตวั น าเคลื่ อนที่ ไ ปในทิ ศ ทางที่ ต้ งั ฉากกับ
สนามแม่เหล็ก

2.4.2 คุณสมบัติของมอเตอร์
คุณสมบัติของมอเตอร์ ไฟฟ้ าสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ คุณสมบัติทวั่ ไปและ
คุณสมบัติทางเทคนิ ค ดังนี้ คุณสมบัติทวั่ ไป เป็ นคุณสมบัติประจาตัวของมอเตอร์ ไฟฟ้ าแต่ละ
ประเภทที่ควรจะทราบอย่างกว้าง ๆ โดยมิได้เจาะลึ กเข้าไปในเนื้ อหาเชิ งวิชาการแต่อย่างใด ได้แก่
ลักษณะโครงสร้าง ลักษณะงาน ลักษณะของวงจรเช่นคุณสมบัติ ของมอเตอร์ อนุ กรม คือ ลักษณะ
โครงสร้าง ประกอบด้วยลวดหนามแม่เหล็กที่มีความต้านทานต่ ามาก (พันด้วยลวดทองแดงเส้น
ใหญ่ น้อยรอบแกนขั้วแม่ เหล็ ก ) ต่ อเป็ นอนุ ก รมกับ อาร์ เมเจอร์ และต่ อโดยตรงกับ แรงดันเมน
ลักษณะวงจร A1 – A2 เป็ นอาร์ เมเจอร์ ต่อเป็ นอนุ กรมกับขดลวดสนามแม่เหล็กชุ ดอนุ กรม D1 – D2
47

และต่อโดยตรงกับสายเมน L+, L- และลักษณะสนามแม่เหล็กทาให้ความเร็ วสู งเมื่อโหลดลง จึง


เป็ นมอเตอร์ ที่หมุ นไม่ คงที่ ค วามเร็ วเปลี่ ยนแปลงไปตามโหลดจะเหมาะสมอย่า งยิ่งที่ จะใช้เป็ น
มอเตอร์ สตาร์ ทเครื่ องพ่นน้ า
คุณสมบัติทางเทคนิค เป็ นคุณสมบัติประจาเครื่ องกลไฟฟ้ าแต่ละประเภทเช่นเดียวกัน ที่
ให้รายละเอียดซึ่ งเจาะลึ กเข้าไปในเชิ งวิชาการ สามารถทดสอบและวัดด้วยเครื่ องวัดได้ด้วยวิธี
ทดลองในห้องปฏิบตั ิการทดลอง ส่ วนใหญ่จะแสดงด้วยกราฟเพื่อแสดงให้เห็ นความสัมพันธ์
ระหว่างค่าหนึ่ งกับอีกค่าหนึ่ ง เช่ น สมรรถในการกาเนิ ดแรงเคลื่ อนไฟฟ้ าของเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ า
แสดงด้วย “กราฟแม่เหล็กอิ่มตัว (Saturation หรื อ Magnetization Curve)” สมรรถนะในการจ่าย
โหลดของเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ าแสดงด้วย External Characteristic ส่ วนคุ ณสมบัติทางเทคนิ คของ
มอเตอร์ จะแสดงด้วย Performance Curve ซึ่ งได้แก่ สมรรถนะในการหมุนขับโหลด (Speed Load
Curves หรื อ Speed/Load Characteristic) แสดงให้เห็ นความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ วรอบกับ
กระแสมอเตอร์ (n = ความเร็ วรอบให้อยูบ่ นแกน Y หรื อ Ordinate และ Ia = กระแสอาร์ เมเจอร์ ให้
อยู่บนแกน X หรื อ Abscissae) หรื ออาจให้แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างความเร็ วรอบ(n เ เป็ น
Ordinate หรื อ แกน Y) กับทอร์ ค หรื อกาลังที่หมุนขับงาน ( T= ทอร์ ด, P=กาลังวัตต์หรื อกิโลวัตต์
ให้อยูบ่ นแกน x หรื อ Abscissae ) จุดประสงค์เพื่อต้องการแสดงให้เ ห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของ
ความเร็ วรอบของมอเตอร์ ที่หมุนขับโหลดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรเมื่อโหลดเปลี่ยนแปลง
ไป

2.4.3 กฎมือซ้ ายสาหรับมอเตอร์


เนื่องจากมีความสัมพันธ์อย่างแน่นอนเกิดขึ้นระหว่าทิศทางของสนามแม่เหล็ก ทิศทางของ
กระแสไฟฟ้ าในตัวนาและทิศทางที่ตวั นาเคลื่อนที่ซ่ ึ งมีความสัมพันธ์ของปริ มาณเหล่านี้ ให้ต้ งั เป็ น
กฎมอเตอร์ ข้ ึน ซึ่ งกฎนี้ได้นาไปใช้แบบเดียวกันกับกฎมือขวาของเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ าเป็ นแต่เพียงใช้
มือซ้ายแทนเท่านั้น กฎนี้ ได้แสดงให้เห็นดังภาพที่ 2.52 และได้กล่าวไว้ดงั นี้คือ กลางหัวแม่มือ นิ้วชี้
และนิ้วกลาง ให้ต้ งั ฉากซึ่ งกันและกัน โดยใช้นิ้วชี้ ชี้ ไปตามทิศทางของสนามแม่เหล็ก (Magnotic
flux = B) นิ้วกลางชี้ ไปตามทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ า (Current = I) แล้วหัวแม่มือจะบอก
ทิศทางของการเคลื่อนที่ของตัวนา (Force = F)
48

ภาพที่ 2.548 กฎมือซ้ายของเฟลมมิ่ง (Fleming’s left hand rule)

2.4.4 แรงทีเ่ กิดขึน้ ในตัวนา


การกระทาของแรงที่ เกิ ดขึ้นเป็ นตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านในขณะที่มนั วางอยู่ใน
สนามแม่เหล็กจะเป็ นปฏิภาคโดยตรงกับความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก ความยาวของตัวนา
และค่ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวนาแรงที่เกิดขึ้นบนตัวนาสามารถหาได้จากสมการ
F = BIL (2.26)
เมื่อ F = แรงที่เกิดขึ้นบนตัวนาหนึ่งตัว หน่วย นิ วตัน
B = ความหนาแน่นสนามแม่เหล็ก หน่วย Wb/m2
I = กระแสที่ไหลในตัวนา หน่วย แอมแปร์ (A)
L = ความยาวของตัวนา หน่วย เมตร (m)

แรงเคลื่อนไฟฟ้ าต่อต้าน เกิดขึ้นเนื่ องจากเมื่อขดลวดตัวนาหมุนอยูใ่ นสนามแม่เหล็ก มัน


จะติ ดกับเส้ นแรงแม่เหล็กแรงเคลื่ อนไฟฟ้ าที่เหนี่ ยวขึ้นในขดลวด แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ ยวนาที่
เกิ ดขึ้นจะมี ทิศทางขัดขวางกับแรงเคลื่ อนที่ ไฟฟ้ าที่จ่ายให้มอเตอร์ จึงเรี ยกว่า “แรงเคลื่อนไฟฟ้ า
ต่อต้าน” (Back e.m.f) ซึ่ งมันจะเกิดขึ้นในขดลวดอาร์ เมเจอร์ เสมอ ดังนั้นแรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่มีผลต่อ
การใช้งานจริ ง ๆ ในอาร์ เมเจอร์ จึงมีค่าเท่ากับแรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่จ่ายให้ลบด้วยแรงเคลื่อนไฟฟ้ าต้าน
กลับจึงเขียนสมการได้ดงั นี้
Vt = Ia + Eb หรื อ IaRa = Vt – Eb (2.27)
เมื่อ Eb = แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่ตา้ นกลับ หน่วยโวลท์ (V)
Vt = แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั มอเตอร์ หน่วยโวลท์ (V)
Ia = กระแสที่ไหลในอาร์ เมเจอร์ หน่วยแอมแปร์ (A)
Ra = ความต้านทานของขดลวดในอาร์ เมเจอร์ หน่วยโอห์ม (Ω)
49

2.4.5 สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้าของมอเตอร์


วงจรสามารถเขียนเป็ นสมการได้คือ
Vt = Eb + IaRa (2.28)
เมื่อ Vt = แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั มอเตอร์ หน่วยโวลท์ (V)
Eb = แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่ตา้ นกลับ หน่วยโวลท์ (V)
IaRa = แรงเคลื่อนไฟฟ้ าตกคร่ อมในอาร์ เมเจอร์ หน่วยโวลท์ (V)

2.4.6 กาลังทีเ่ กิดขึน้ ในมอเตอร์


จากสมการแรงเคลื่อนไฟฟ้ าของมอเตอร์
Vt = Eb + IaRa (2.29)
นาเอาค่า Ia คูณตลอดเพื่อหา Power จะได้คือ
Vt Ia = Ia Eb+ Ia2Ra (2.30)
จะได้ Vt Ia = กาลังงานจ่ายให้กบั มอเตอร์ หน่วยวัตต์ (W)
Eb Ia = กาลังงานที่เกิดขึ้นจากอาร์ เมเจอร์ หน่วยวัตต์ (W)
Ia2Ra = กาลังงานการสู ญเสี ยที่เกิดขึ้นที่อาร์ เมเจอร์ หน่วยวัตต์ (W)

ภาพที่ 2.49 Wiring (220/1P/50Hz)

พัดลมแบบตั้งโต๊ะทัว่ ๆไปจะเป็ นมอเตอร์ แบบ Capacitor runmotor มีขดลวด 3 ขดคือ ขด


หลัก (main ) ขดช่วย( Aux) ขดสตาร์ท (Start) ตามรู ปวงจรของขดลวดที่พนั อยูบ่ นสเตเตอร์ ของ
มอเตอร์พดั ลม
50

เมื่อเรากดสวิทซ์ไปที่หมายเลข 3 (H) ขดหลัก(Main)จะต่อกับไฟฟ้ า220V โดยตรงพัดลม


จะหมุนเต็มที่ เมื่อเรากดสวิทซ์ไปที่หมายเลข 2 (M) ขดหลัก(Main)จะต่อกับขดช่วยครึ่ งหนึ่ง ขด
ช่วยรับแรงดันไฟฟ้ าไว้ส่วนหนึ่งทาให้ขดหลักได้รับไฟฟ้ าน้อยจึงหมุนช้าลง เมื่อเรากดสวิทซ์ไปที่
มายเลข 1 (L) ขดหลัก(Main)จะต่อกับขดช่วยเต็มขด ขดช่วยรับแรงดันไว้มาก ทาให้ขดหลักได้รับ
แรงดันน้อยลงไปมากจึงหมุนช้ามาก

ภาพที่ 2.50 แสดงการต่อขดลวดมอเตอร์ คาปาซิ เตอร์ ชนิด 3 ความเร็ ว


51

บทที่ 3
การออกแบบวงจรทางาน

การออกแบบวงจร

ในส่ วนนี้เป็ นการออกแบบวงจรที่ใช้งานจริ งซึ่ งมีการแยกออกเป็ น 3 ส่ วนคือส่ วนแรกเป็ น


ส่ วนของเซนเซอร์ ตรวจวัดอุณหภูมิส่วนที่ 2 เป็ นส่ วนชุ ดควบคุมการทางานของฟั ซซี่ ลอจิกโดยใช้
ไมโครคอนโทรลเลอร์ ATmega328 เป็ นตัวสัง่ การและสุ ดท้ายเป็ นส่ วนของตัวควบคุมสวิทซ์โดยใช้
TRIAC และไอซี TCA 785 ซึ่งการออกแบบวงจรได้ดงั รู ป

Temp Sensor Fuzzi Control AC Converter

ภาพที่ 3.1 บล็อกไดอะแกรมการควบคุมความเร็ วพัดลม

3.1 การออกแบบวงจรการทางานชุดควบคุมการทางานของพัดลม

ภาพที่ 3.2 วงจรตัวควบคุมการทางานของพัดลม


52

3.2 เซ็นเซอร์ ตรวจจับอุณหภูมิ LM35

LM35 เป็ นความแม่นยา IC เซ็นเซอร์ อุณหภูมิ ที่ มีสัดส่ วนการส่ งออกของอุณหภูมิ (Co)
วงจรเซ็ นเซอร์ จะปิ ดผนึ กและดังนั้นจึงไม่ได้อยู่ภายใต้การออกซิ เดชันและกระบวนการอื่นๆ ด้วย
LM35 อุณหภูมิสามารถวัดได้ถูกต้องมากขึ้นกว่าที่มีเทอร์ มิสเตอร์ นอกจากนี้ ยงั มีการให้ความร้อน
ในตัวเองต่า และไม่ก่อให้เกิ ดมากขึ้นกว่า 0.1 องศาเซลเซี ยส อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นยังคงอยู่ในอากาศ
ช่วงอุณหภูมิในการทางานจาก -55 Co ถึง 150 Co แรงดันขาออกจะแตกต่างกันโดย 10 mV ในการ
ตอบสนองต่อทุกองศาเซลเซี ยสที่เพิ่มขึ้ น ลดลงของอุณหภูมิโดยรอบคือปั จจัยที่ขนาดของมันจะ
0.01V/องศาเซลเซียส

ภาพที่ 3.3 วงจร LM35 เซนเซอร์อุณหภูมิ

3.3 ออกแบบชุดควบคุมการทางานของฟัซซีลอจิก

ขั้นตอนที่ 1 การฟัซซี ฟิเคชัน่ ของอินพุตเป็ นการอินพุตของระบบหาช่วงฟัซซี ของอินพุต


และทาการสร้างระดับการเป็ นสมาชิกที่เป็ นไปได้ ในที่จะกาหนดให้มีอินพุตของระบบ 2 ตัว คือ
1.ค่าความผิดพลาด ( Error , E ) ซึ่ งหาได้จากความแตกต่างระหว่างค่าอุณหภูมิจาก
เซ็นเซอร์ จริ งกับอุณหภูมิที่อา้ งอิง
2.ค่าการเปลี่ยนแปลงค่าความผิดพลาด ( Error Change,Ech ) ซึ่ งหาได้จากความแตกต่าง
ระหว่างค่าความผิดพลาดล่าสุ ด ( lated Error ) กับค่าความผิดพลาดก่อนหน้านั้น( Previous Error )
โดยตัวแปรทางอินพุตทั้ง 2 ตัวนี้ตอ้ งนามาผ่านขั้นตอนของการฟัซซี ฟิเคชัน่ ในรู ปฟัซซี ของอินพุต
ขั้นตอนที่ 2 การกาหนดตัวแปรเอาต์พุตฟัซซี การสร้างระดับการเป็ นสมาชิกที่เป็ นไปได้ใน
แต่ละช่วงจะกาหนดตัวแปรอินพุตฟัซซี เพื่อที่จะนาค่าของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เพื่อ
เปลี่ยนแปลงแรงดัน เพื่อจะไปควบคุมความเร็ วของมอเตอร์ พดั ลมให้มีความเร็ วตามค่าของอุณหภูมิ
ที่อา้ งอิง
53

ขั้นตอนที่ 3 การกาหนดขอบเขตเชิงภาษา ( Fuzzy Linguistic ) และการกาหนดค่าของการ


เป็ นสมาชิก ( Grade of Membership Function ) ของ Fuzzy Subset ต่างๆที่ระดับการควอนไทซ์ที่
แตกต่างกัน การกาหนดขอบเขตเชิงภาษาที่เป็ นภาษาที่ใช้ในระบบการควบคุมแบบฟัซซี ลอจิกใน
ที่น้ ีจะแบ่งระดับของฟัซซี ที่ใช้ในระบบการควบคุมแบบฟั ซซี ลอจิกที่ใช้กบั ตัวแปรอินพุต 3 ภาษา
และเอาต์พุตได้ 3 ภาษา ดังนี้
อินพุต
- small : ช้า
- safe : ปานกลาง
- big : เร็ ว
เอาต์พุต
- slow : ช้า
- average : ปานกลาง
- fast : เร็ ว

ภาพที่ 3.4 Fuzzification (Input)

ภาพที่ 3.5 Defuzzication (Output)

ขั้นตอนที่ 4 การสร้างเงื่อนไขหรื อกฎการควบคุม หรื อการหากฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่


สามารถนาค่าจากอินพุตประมวลผลออกไปได้ เมื่อได้ทาขั้นตอนที่ 1 และ 2 แล้วก็จะเป็ นการสร้าง
54

เงื่อนไขที่จะนามาใช้ในการควบคุมของตัวควบคุมฟัซซีลอจิกเพื่อสามารถควบคุมความเร็ วของพัด
ลมได้ตามจุดประสงค์

3.3.1 ขั้นตอนการประมวลผลแบบฟัซซีลอจิก
ขั้นตอนการประมวลผลแบบฟัซซี ลอจิกมีรูปแบบการทางานเป็ น 4 ส่ วนจะแสดงดังภาพ
ที่ 3.6

ภาพที่ 3.6 การประมวลผลแบบฟัซซีลอจิก

ขั้นตอนที่ 1 เป็ นการแปลงการอินพุตแบบทวินยั เปลี่ยนเป็ นการอินพุตแบบตัวแปรฟัซซี


โดยจะสร้างฟังก์ชนั ความเป็ นสมาชิก โดยไม่จาเป็ นต้องมีลกั ษณะเดียวกัน ขึ้นกับคุณลักษณะของ
แต่ละการอินพุต (Input) และความสาคัญต่อการเอาต์พุต (Output) ที่น่าสนใจโดยฟังก์ชนั จะมี
ลักษณะเป็ นการกาหนดภาษาสามัญ เพื่อให้เป็ นฟัซซีการอินพุต ดังภาพที่ 3.6

ภาพที่ 3.7 การแปลงการอินพุตแบบทวินยั เปลี่ยนเป็ นการอินพุตแบบตัวแปรฟัซซี

ขั้นตอนที่ 2 เป็ นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการอินพุตทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเอาต์พุตที่


อาศัยหลักการของการหาเหตุและผล อาจจะสร้างการเก็บข้อมูล การคาดการณ์จากการตัดสิ นใจของ
55

มนุษย์ หรื อค่าจากการทดลอง โดยเขียนเป็ นกฎการควบคุมระบบ ซึ่ งจะมีลกั ษณะอยูใ่ นรู ปแบบ ถ้า
(If) และ (And) หรื อ (Or) ซึ่งเป็ นภาษาสามัญ นากฎทั้งหมดมาประมวลผลรวมกัน เพื่อการหา
ตัดสิ นใจที่เหมาะสม ดังภาพที่ 3.8

ภาพที่ 3.8 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการอินพุตทั้งหมด

ขั้นตอนที่ 3 เป็ นการหาฟัซซีเอาต์พุต โดยการนากฎการควบคุมที่สร้างขึ้น ในขั้นตอนที่ 2


มาประมวลผลกับฟัซซี อินพุตโดยใช้วธิ ี การทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อนาค่าที่ได้ประมวลผล ดังภาพที่ 3.9

ภาพที่ 3.9 การหาฟัซซีเอาต์พุต

วิธีการทาเป็ นค่าคลุมเครื อ (Fuzzification) วิธีการที่นิยมใช้ในการตีความหาเหตุผลเลือกใช้


Max-Min method และ Max-Dot method

ขั้นตอนที่ 4 เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายหรื อขั้นตอนการสรุ ปเหตุผลฟั ซซี โดยจะเปลี่ยนฟั ซซี


เอาต์พุตให้เป็ นทวินัยเอาต์พุตตามภาพที่ 3.10 และด้วยวิธีทางคณิ ตศาสตร์ เช่ น วิธีการหา
จุดศูนย์ถ่วง (Central of Gravity) เพื่อนาค่าที่ ได้มาใช้ในการตัดสิ นใจเพื่อควบคุ มระบบใน
สถานการณ์น้ นั ๆ
56

ภาพที่ 3.10 ขั้นตอนการสรุ ปเหตุผลฟัซซี่

3.4 ชุดควบคุมมอเตอร์ พดั ลม

วงจรควบคมคามเร็ วมอเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ทางด้านเอาท์พุทที่ทาหน้าที่รับสัญญาณมาจาก


ชุ ด ประมวนผลของฟั ซ ซี่ ล อจิ ก ซึ่ งท าหน้า ที่ ค วบคุ ม การท างานของมอเตอร์ เพื่ อ เพื่ อ และลด
ความเร็ วของมอเตอร์ ตามอุณหภูมิ ที่กาหนดตามกฎของระบบที่ต้ งั ไว้

ภาพที่ 3.10 วงจรควบคุมความเร็ วมอเตอร์ โดยใช้ TCA 785


57

3.4.1 การควบคุมแรงดันไฟสลับ
ดัง ที่ ก ล่ า วมาแล้วว่า การควบคุ ม แรงดันไฟสลับ มี ด้ว ยกัน หลาย ๆ วิธี ก าร ส าหรั บ ใน
บทความนี้จะนาเสนอวิธีการควบคุม โดยวิธีการควบคุมมุมเฟสในการจุดชนวนให้กบั TRIAC
วิธีการควบคุมมุมเฟส ในการทดลองนี้ใช้อุปกรณ์ควบคุมแรงดันไฟสลับด้วยวิธีการควบคุมมุมเฟส
ในการจุดชนวนให้กบั TRIAC โดยภาระที่ใช้จะเป็ นพัดลมขนาด 18 นิ้ว 54 W ที่แรงดันไฟฟ้ า 220V
58

บทที่ 4
การทดลองและผลการทดลอง

ในบทนี้จะกล่าวถึงการทดลองการทางานของตัวควบคุมการทางานของพัดลมเพื่อประหยัด
พลังงานด้วยตัวควบคุ มฟั ชซี เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงความของพัดลมตามอุณหภูมิที่กาหนดไว้และ
ตรวจวัดค่าทางไฟฟ้ า ค่าแรงดันที่ได้ โดยในการทดลองประกอบด้วย 2 ส่ วนด้วยกัน
1. การทดลองการควบคุมมุมเฟส
2. การทดลองการทางานของตัวควบคุมฟัซซี

ภาพที่ 4.1 วงจรตัวควบคุมการทางานของพัดลด้วยตัวควบคุมฟัซซี

4.1 การทดลองการควบคุมมุมเฟส

4.1.1 วัตถุประสงค์
- เพื่อใช้เป็ นวงจรจ่ายไฟให้กบั พัดลม
- เพื่อปรับปรุ งและแก้ไขวงจรเพื่อให้มีประสิ ทธิ ภาพ
59

4.1.2 อุปกรณ์
- ออสซิลโลสโคป 1 ตัว
- ชุดควบคุมมุมเฟส(เฟสคอนโทรล)
- ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ 1 ตัว
- หลอดไฟฟ้ าแบบไส้ ขนาดทน 100 W / 220V 1 ตัว

4.1.3 ขั้นตอนการทดลอง
ทาการทดลองต่อวงจรทดสอบของชุดควบคุมมุมเฟส (เฟสคอนโทรล) ในการทดลองนี้ใช้
อุปกรณ์ควบคุมแรงดันไฟสลับด้วยวิธีการควบคุมมุมเฟสในการจุดชนวนให้กบั TRIAC โดยภาระ
ที่ใช้จะเป็ นโดยภาระที่ใช้จะเป็ นหลอดไฟฟ้ าแบบไส้ (Incandescent Lamp) ขนาดทนกาลังไฟฟ้ า
100 W ที่แรงดันไฟฟ้ า 220V โดยภาพที 4.3 และภาพที่ 4.4 แสดงถึงการตัดรู ปคลื่นไซน์ที่มุมเฟสใน
การจุดชนวน α=60 และ α=120 ตามลาดับ

4.1.4 ผลการทดลอง
ตารางที่ 3.1 ผลการทดลองจากการปรับค่ามุมเฟส
α Power
degree (V) (A) (W)
18.15 221.8 0.418 92.71
35.93 216.5 0.413 89.41
54.07 205.7 0.403 82.9
72.22 186.2 0.382 71.13
90.00 161.7 0.355 57.4
108.15 130.3 0.318 41.44
125.93 96.75 0.271 26.22
144.07 67.32 0.224 15.08
162.22 44.26 0.178 7.88
60

Firing angle [degree]


ภาพที่ 4.2 กราฟความสัมพันธ์ของ Power = f (α)

ภาพที่ 4.3 รู ปคลื่นไซน์ถูกตัดที่มุมเฟส α=60

ภาพที่ 4.4 รู ปคลื่นไซน์ถูกตัดที่มุมเฟส α=120


61

4.1.4สรุ ป
ผลของแรงดันไฟฟ้ า, กระแสไฟฟ้ า และกาลังไฟฟ้ าที่ภาระ อันเนื่ องมาจากการปรับค่ามุม
เฟสในการจุดชนวนให้กบั TRIAC แสดงในตารางที 4.1 ผลการทดลองที่ได้จากตารางที่ 4.1 นามา
เขียนกราฟแสดงความพันธ์ของกาลังไฟฟ้ าที่ภาระเทียบกับมุมควบคุมในการตัดรู ปคลื่น Power = f
(α) ดังแสดงในภาพที่ 4.2 ซึ่ งจะเห็นว่ากาลังไฟฟ้ าที่ภาระมิได้แปรเปลี่ยนไปตามมุมเฟสที่ใช้

4.2 การทดลองการทางานของตัวควบคุมฟัซซี

4.2.1วัตถุประสงค์
1. เพื่อเปรี ยบเทียบการเปลี่ยนแปลงการทางานของพัดลม
2. เพื่อปรับปรุ งและแก้ไขวงจรเพื่อให้มีประสิ ทธิ ภาพ

4.2.2 อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการทดลอง


1. ตัวควบคุมการทางานของพัดลมเพื่อประหยัดพลังงานด้วยตัวควบคุมฟัชซี
2. ห้องนอนขนาด 4 x 5 ตารางเมตร
3. เครื่ องมือวัดทางไฟฟ้ า
4. พัดลม

4.2.3 ขั้นตอนของการทดลอง
1. ทาการเลือกห้องนอนขนาด 4x 5 ตารางเมตรเสี ยก่อน
2. นาอุปกรณ์ ตัวควบคุมการทางานของพัดลมเพื่อประหยัดพลังงานด้วยตัวควบคุมฟัชซี มา
วางไว้ในห้องนอน
3. ทาการตรวจวัดค่าทางไฟฟ้ า ค่าแรงดันที่ใช้ได้ค่ากระแส และค่ากาลังทางไฟฟ้ าจากตัว
พัดลมตั้งโต๊ะ
4. จากนั้นทาการจดบันทึกผลการทดลองของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามเวลากาหนด
จากเวลา 21.00 – 05.00 น
62

4.2.4 ทาการตรวจวัดค่ าทางไฟฟ้าค่ าแรงดันที่ใช้ ได้ ค่ากระแสและค่ ากาลังทางไฟฟ้าจากตัว


พัดลมตั้งโต๊ ะ
ที่แรงดัน 220 V
ได้ค่ากระแสที่ – Speed 3 กระแส 0.22 A
ได้ค่ากาลังไฟฟ้ า ที่ – Speed 3 กาลังไฟ 51 W

ตารางที่ 4.1 หน่วยการใช้พดั ลมตามจานวนชัว่ โมงที่เปิ ด (kw - hr)


จำนวนชัว่ โมง 1 2 3 4 5 6 7 8 9

SPEED 3 0.051 0.102 0.153 0.204 0.255 0.306 0.357 0.448 0.459

4.2.5 การใช้ พลังงานไฟฟ้าของพัดลมตามจานวนชั่วโมงทีเ่ ปิ ดใช้ งาน


จากตารางแสดงหน่ วยการใช้พดั ลมเป็ นหน่ วย กิ โลวัตต์ชวั่ โมงต่อชั่วโมงตามจานวนที่
เปิ ดใช้จะเห็นได้วา่ อัตราการใช้พลังงานจะแปรผันตามความความเร็ วของพัดลมคือเมื่อความเร็ วของ
พัดลมน้อยก็จะกิพลังงานน้อยและเมื่อความเร็ วเพิ่มขึ้นการใช้พลังงานก็จะเพิ่มขึ้นด้วย

4.2.6 กาหนดการทางานของพัดลมเพือ่ ประหยัดพลังงานด้ วยตัวควบคุมฟัชซี


เมื่ออุณหภูมิ 27Coพัดลมจะเริ่ มทางานที่ความเร็ ว 65%
เมื่ออุณหภูมิ 28 Coพัดลมจะเริ่ มทางานที่ความเร็ ว 70%
เมื่ออุณหภูมิ 29 Coพัดลมจะเริ่ มทางานที่ความเร็ ว 75%
เมื่ออุณหภูมิ 30 Co พัดลมจะเริ่ มทางานที่ความเร็ ว 80%
เมื่ออุณหภูมิ 31 Coพัดลมจะเริ่ มทางานที่ความเร็ ว 85%
เมื่ออุณหภูมิ 32 Co พัดลมจะเริ่ มทางานที่ความเร็ ว 90%
เมื่ออุณหภูมิ 33 Co พัดลมจะเริ่ มทางานที่ความเร็ ว 95%
เมื่ออุณหภูมิ 34 Coพัดลมจะเริ่ มทางานที่ความเร็ ว 100%
63

4.2.7 ผลการทดลองการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมิเทียบตามเวลา

ภาพที่ 4.1 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงการทางานของพัดลมของวันที่ 13 พฤษภาคม 2557

ภาพที่ 4.2 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงการทางานของพัดลมของวันที่ 14 พฤษภาคม 2557


64

ภาพที่ 4.3 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงการทางานของพัดลมของวันที่ 15 พฤษภาคม 2557

เวลำ

ภาพที่ 4.4 กราฟเปรี ยบเทียบการเปลี่ยนแปลงการทางานของพัดลมของวันที่ 13-15 พฤษภาคม2557

4.2.8 สรุ ป
ตัวควบคุมการทางานของพัดลมเพื่อประหยัดพลังงานด้วยระบบฟั ซซี ลอจิกนื้ สามารถ เพิ่ม
– ลด ความเร็ วได้ตามเงื่อนไขที่ได้ออกแบบไว้นนั่ คือ เมื่ออุณหภูมิภายในห้องมีการเปลี่ ยนแปลง
ความเร็ วของมอเตอร์ พดั ลมก็จะเปลี่ยนแปลงตาม เช่น เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ความเร็ วของมอเตอร์ พดั
ลมก็จะหมุนเร็ วขึ้น และเมื่ออุณหภูมิลดลงความเร็ วของมอเตอร์ ก็จะลดลง ตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้
65

บทที่ 5
บทสรุปและข้ อเสนอแนะ
จากการทดลองโครงงานนี้ สรุ ป ได้ว่า ตัว ควบคุ ม การท างานของพัด ลมเพื่ อ ประหยัด
พลังงานด้วยระบบฟั ซซี ลอจิกนื้ สามารถ เพิ่ม – ลด ความเร็ วได้ตามเงื่อนไขที่ได้ออกแบบไว้นนั่ คือ
เมื่ออุณหภูมิภายในห้องมีการเปลี่ ยนแปลงความเร็ วของมอเตอร์ พดั ลมก็จะเปลี่ ยนแปลงตาม เช่ น
เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ความเร็ วของมอเตอร์ พดั ลมก็จะหมุนเร็ วขึ้น และเมื่ออุณหภูมิลดลงความเร็ ว
ของมอเตอร์ ก็จะลดลง ตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ อนาคตควรมีการพัฒนาและสามารถนาโครงงานนี้
ไปประยุกต์ในรู ปแบบอื่น ๆ อาทิ เช่น รถสารวจ รถอัฉริ ยะ ที่สามารถขับเคลื่อนเองได้โดยไม่ตอ้ งมี
คนขับ และสามารถนาไปใช้ในการเรี ยนการสอนเกี่ยวกับการทางานแบบระบบฟั ซซี ได้เป็ นอย่างดี
เพราะปัจจุบนั โลกในด้านเทคโนโลยีมีความก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ วมากและมีแนวโน้มความเจริ ญ
อย่างไม่มีที่สิ้นสุ ด

You might also like