You are on page 1of 11

KKU Res J 10 (4) : Oct. - Dec.

2005 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ 311



     
   
นิภาพร อามัสสา (Nipaporn Armussa)1
ั เสนาะเมือง (Niwat Sanoamuang)2*
นิวฒ

บทคัดยอ
นำเห็ดหิง้ จำนวน 21 ชนิด และเห็ดทีเ่ พาะเลีย้ งในเชิงการคาแลวอีก 2 ชนิด มาศึกษาเปรียบเทียบลักษณะการเจริญเติบโตบนอา
หารเลีย้ งเชือ้ ชนิดตางๆ ทัง้ บนอาหารแข็งและอาหารเหลว การเจริญของเสนใยบนอาหารแข็ง 5 ชนิดทีใ่ ชคอื รำขาว (rice brand dextrose
malt peptone agar - RbDMPA) มันสำปะหลัง (cassava dextrose malt peptone agar - CDMPA) มันเทศ (sweet potato dextrose
malt peptone agar - SpDMPA) มันฝรั่ง (potato dextrose malt peptone agar - PMPA) และ อาหารพีดีเอ (potato dextrose agar -
ุ หภูมหิ อ ง (28+2 oซ) วัดเสนผาศูนยกลางของโคโลนีทกุ 24 ชม. เปนเวลา 96 ชม.
PDA) หลังจากเลีย้ งเชือ้ บนอาหารเลีย้ งเชือ้ แข็งทีอ่ ณ
พบวา อาหารเลี้ยงเชื้อมีผลตอการเจริญของเสนใยอยางมีนัยสำคัญยิ่ง (p<0.001)โดยภาพรวมเห็ดหิง้ เจริญบน RbDMPA, CDMPA,
SpDMPA, PMPA และอาหาร PDA มีขนาดเสนผาศูนยกลางของโคโลนีเฉลีย่ เทากับ 47.5+18.1, 47.0+16.3, 46.1+18.2, 44.6+19.0
และ 44.8+19.9 มิลลิเมตรตามลำดับ โดยเสนใยของเห็ดที่เจริญบนอาหาร RbDMPA และ PMPA มีลักษณะหนากวาเสนใยบนอาหาร
ชนิดอื่น จึงไดเลือกอาหารทั้ง 2 ชนิดมาทำการทดลองผลิตเสนใย ผลการทดลองพบวาอาหาร RbDMPB ใหน้ำหนักเสนใยเฉลี่ยของเชื้อ
เห็ดทั้ง 23 ชนิดสูงกวาที่เลี้ยงในอาหาร PMPB อยางมีนัยสำคัญยิ่ง (p<0.001) โดยมีคาน้ำหนักเสนใยเฉลี่ยเทากับ 6.36+5.56 และ
2.73+1.73 g/l ตามลำดับ
Abstract
Twenty one species of shelf fungi and two commercial edible mushrooms were cultured and grown on both solid media
and in submerged conditions in order to investigate their growth characteristics and mycelium production. The solid media in this
experiment were rice brand dextrose malt peptone agar (RbDMPA), cassava dextrose malt peptone agar (CDMPA), sweet potato
dextrose malt peptone agar (SpDMPA), potato dextrose malt peptone agar (PMPA) and potato dextrose agar (PDA). All cultures
were grown on solid media at room temperature (28+2oC) and their colony diameters were measured at 24 hour intervals up to
96 hours. The growth patterns were significantly different (p<0.001) on RbDMPA, CDMPA, SpDMPA, PMPA and PDA and
the average colony diameters were 47.5+18.1, 47.0+16.3, 46.1+18.2, 44.6+19.0 and 44.8+19.9 mm, respectively. Mycelium
growth was clearly thicker on RbDMPA and PMPA compared to the others so that the two media were selected for further
investigation. All fungal species were cultured in submerged conditions in these two selected media and they were shaken on a
rotary shaker for 15 days at room temperature. Dry mycelium of each species was weighted and the average bio-mass seen to
be significantly different (p<0.001) between the two media. The average bio-mass values on RbDMPB and PMPB were
6.36+5.56 and 2.73+1.77 g/l., respectively. Applications are discussed.

คำสำคัญ: เห็ดหิง้ อาหารสังเคราะห การเจริญเติบโต


Keywords: shelf fungi, synthetic media, growth patterns
1
นักศึกษาระดับปริญญาเอก ภาควิชาโรคพืชวิทยา คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน
2
รองศาสตราจารย ภาควิชาโรคพืชวิทยา คณะเกษตรศาสตร และศูนยวิจัยอนุกรมวิธานประยุกต มหาวิทยาลัยขอนแกน
* corresponding author
312 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ วารสารวิจัย มข. 10 (4) : ต.ค - ธ.ค. 2548

บทนำ ครองความเปนเจาตลาด เห็ดหิ้งเกือบทุกชนิดปลด


เห็ดหิง้ (shelf fungi หรือ polypores) เปน ปลอยเอนไซมเมือ่ เลีย้ งในอาหารเลีย้ งเชือ้ ทัง้ อาหารแข็ง
เห็ดที่พบไดทั่วไป มักพบเจริญอยูตามตอไม ทอนไม และอาหารเหลว (Jarosz –Wilkoazka et al., 2002;
กิ่งไมที่ลมกองอยูตามพื้นดิน หรือบางครั้งอาจพบเปน Couto et al., 2003; Blanqueza et al., 2004; Dodor
ปรสิตกับไมยืนตน ดอกของเห็ดกลุมนี้มีลักษณะแข็ง et al., 2004; Novotny et al., 2004; Rosales et
กระดางยากตอการขบเคี้ยว จึงไมเปนที่นิยมนำมาใช al., 2005) นอกจากนี้ยังมีรายงานมากมายเกี่ยวกับ
ประโยชน แตเห็ดเหลานี้ชาวจีนและญี่ปุนไดนำมาใช การผลิตสารโพลีแซคคารไรดเพือ่ การใชเปนสารกระตนุ
ประโยชนเชิงสมุนไพรโบราณมากวา 3000 ปแลว ชาว ภูมิคุมกันในมนุษยและสัตวในอาหารที่มีองคประกอบ
จี น และญี่ ปุ น จึ ง ได ย กย อ งให เ ห็ ด เป น ราชาแห ง ตางๆ (Cui and Chisti, 2003; Hwang et al., 2003;
สมุนไพร และในชวง 40 ปทผี่ า นมามีการศึกษา พิสจู น Jaouani et al., 2003; Liu et al., 2004) เห็ดทีใ่ ชใน
เชิงวิทยาศาสตรแสดงใหเห็นวาความเชือ่ เรือ่ งสมุนไพร การศึกษาเชนเห็ดกระถินพิมาน - Phelllinus linteus
โบราณมีความเปนไปไดจริง โดยเห็ดหิ้งหลายชนิดมี (Berk. et Curt.) Teng, เห็ดคาวาราตาเกะ - Trametes
ความสามารถปลดปลอยสารโพลีแซคคาไรด มีการผลิต versicolor (L.:Fr.) Pilat, เห็ดชากาไซบีเรีย - Inonotus
เอนไซม และมีการสรางสารเบตากลูแคน สารดังกลาว obliquus (Pers.:Fr.) Pil. และเห็ดอีกหลายชนิดเชนเห็ด
หลายชนิดสามารถปลดปลอยออกมาในอาหารเหลว Bjerkandera adusta (Fr.) Karst, Deadalea quercina
เมือ่ เลีย้ งในสภาพ submerged culture สารตางๆทีไ่ ดจาก L.:Fr., Pycnoporus cinnabarinus และ Lenzites
เห็ดมีผลกระตนุ ใหรา งกายมีภมู คิ มุ กันตอโรคหลายชนิด betulina (L.:Fr.) Fr. ซึง่ ไดผลไปในทำนองเดียวกัน เห็ด
มีผลตอตานโรคมะเร็งชนิดตางๆ ชวยปรับระบบการ หลายชนิดดังที่กลาวมาขางตนมีอยูมากมายในประเทศ
ทำงานของฮอรโมนและการทำงานของระบบประสาท ไทย หากมีการพัฒนาการใชประโยชนจากเห็ดเหลานี้
สวนกลางในรางกายใหคงทีอ่ ยเู สมอ ทีส่ ำคัญพบวาเห็ด ก็จะเปนการนำทรัพยากรทีม่ อี ยภู ายในประเทศมาสราง
มีสารตอตานแบคทีเรียและสารตอตานไวรัสหลายชนิด เปนรายได และหากใชอยางเหมาะสมก็จะเปนการใช
การคนพบสารตอตานไวรัสในเห็ดเปนอีกกาวหนึ่งของ ประโยชนจากธรรมชาติอยางยัง่ ยืนโดยอาศัยความรทู าง
ความหวังของมนุษยชาติทจี่ ะเอาชนะไวรัสซึง่ ปจจุบนั ยัง วิทยาศาสตรที่มีอยูในปจจุบันอยางเหมาะสม
ไมมยี าใดๆทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการกำจัดไวรัสไดโดยตรง การเจริญเติบโตของเห็ดหิง้ มี 2 ระยะทีส่ ำคัญ
เห็ดไมใชทั้งพืชและสัตวแตเมื่อตรวจสอบดีเอ็นเอแลว การเจริญเติบโตในระยะแรกอยใู นรูปของเสนใย แทรก
พบวาเห็ดมีวิวัฒนาการใกลเคียงกับสัตวรวมถึงมนุษย อยู ต ามเนื้ อ ไม ห รื อ แหล ง อาหารที่ แ ตกต า งกั น ไป
มากกวาพืช (Stamets, 2005) ดังนั้นโอกาสการเปน ทำหนาที่ทั้งหาอาหารและเจริญเติบโตแผขยายอยูใน
พิษกับสัตวจากสารที่ไดจากเห็ดจึงมีนอยกวาสารที่ได แหลงอาหารและมักไมเห็นดวยตาเปลา สวนการเจริญ
จากพืช การทีเ่ ห็ดหิง้ มีววิ ฒั นาการอยใู นโลกมานาน เสน เติ บ โตในระยะที่ ส องเป น ดอกเห็ ด พร อ มที่ จ ะแพร
ใยและดอกของเห็ดหิ้งตองเผชิญกับจุลินทรียและไวรัส กระจายเชือ้ พันธอุ อกไปยังแหลงอาหารอืน่ เมือ่ เปรียบ
มาอยางยาวนานจึงมีการพัฒนาตนเองใหสามารถสราง เทียบการเจริญเติบโตของเห็ดหิง้ ในระยะที่ 1 และระยะ
สารบางอยางเพื่อปองกันตัวเองไดดี และสามารถอยู ที่ 2 แลว แมวา ดอกเห็ดในระยะที่ 2 จะมีลกั ษณะแข็ง
รอดมาไดจนถึงปจจุบัน (Stamets, 2001; 2005) กระดาง ยากตอการขบเคี้ยว แตเสนใยของเห็ดหิ้งใน
มีการเพาะเลี้ยงเห็ดหิ้งเพื่อใหเกิดดอกและ ชวงการเจริญระยะที่ 1 มีลกั ษณะนิม่ สามารถเพาะเลีย้ ง
วางขายอยใู นตลาด มูลคาของการตลาดในปจจุบนั สูงถึง ได ภ ายใต ส ภาพควบคุ ม การเพาะเลี้ ย งเส น ใยเห็ ด
400,000 ลานบาทตอป โดยประเทศจีนและญี่ปุน สามารถเพาะเลีย้ งไดทงั้ ในอาหารสังเคราะหแข็ง (Couto
KKU Res J 10 (4) : Oct. - Dec. 2005 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ 313

et al., 2003) อาหารสังเคราะหเหลว (Hwang et al., Daedalea quercina L.:Fr., Daedaleopsis confragosa
2003) และจากวัสดุธรรมชาติ (Yang et al., 2003) (Bolton:Fr.) Schrst, Fomitopsis feei (Fr.) Kreisel,
เสนใยของเห็ดเหลานีม้ คี ณุ สมบัตใิ กลเคียงกับทีม่ อี ยใู น Fomitopsis nivosa (Berk./ Gilb & Ryvarden,
ดอกของเห็ดหิง้ และเห็ดอืน่ ๆ มีโปรตีนและกรดอะมิโน Ganoderma lucidum (W.Curtis: Fr.) P. Karst.,
ที่จำเปนครบสมบูรณและสามารถปลดปลอยสารโพลี Heterobasidion annosum (Fr.) Bref., Hexagonia
แซคคาไรดออกมามากมาย (Armussa et al., 2003; apiaria (Pers.) Fr., Hexagonia tenuis (Hook.) Fr.,
2004) Lenzites acuta Berk., Lenzites betulina (L.:Fr.) Fr.,
อาหารที่ใชเลี้ยงเห็ดหิ้งที่มีรายงานแลวสวน Microporus xanthopus (Fr.) Kunt., Phellinus gilvus
มากจะประกอบไปดวยแหลงคารบอน ไนโตรเจน และ (Schwein.) Pat., Phellinus cf. hartigii (Allesch. &
มีแรธาตุบางชนิดที่ตองการศึกษาแตกตางกันไป ธาตุ Schnabl.) Bondazev., Pycnoporus sanguineus (L.:Fr.)
อาหารที่ผสมลงในอาหารเลี้ยงเชื้อทำหนาที่กระตุนการ Murrill., Schizophyllum commune Fr.:Fr., Trametes
เจริญของเสนใยหรืออาจกระตุนใหสรางสารโพลีแซค hirsuta (Fr.) Pilat, Trametes versicolor (L.:Fr.)
คาไรด (Chang et al., 2006) ทีม่ าของแหลงคารบอน Pilat., Trichaptum byssogenum (Jungh.) Ryv. และ
อาจเปนทางเลือกที่สำคัญจำเปนตองทำการศึกษาเพื่อ Tyromyces pelliculosus (Berk.) Cunningh. พรอม
รองรับการผลิตที่อาจมีมากขึ้นในอนาคต ประเทศไทย เปรียบเทียบดวยเห็ดขอนขาว - Lentinus squarrosulus
สามารถผลิตขาว มันสำปะหลัง มันเทศ หรือแมกระทัง่ Mont. และเห็ดนางรม - Pleurotus ostreatus (Jacquin
ธัญพืชไดมากมายหลายชนิด การนำมาใชเปนอาหาร ex Fries) Kummer
สำหรับเลี้ยงเห็ดเปนการเพิ่มมูลคาเพิ่มใหกับแหลง
อาหารเหลานี้ ดังนัน้ จึงตองการศึกษาการเจริญของเห็ด ชนิดของอาหารเลี้ยงเชื้อ
หิ้ ง ในอาหารเลี้ ย งเชื้ อ ชนิ ด ต า งๆโดยใช รำข า ว ชนิดของอาหารเลี้ยงเชื้อที่นำมาใชประกอบ
มันสำปะหลัง มันเทศ มันฝรัง่ และมันฝรัง่ ผสมมอลทและ ดวย อาหาร 5 ชนิดคือ Potato Dextrose Agar (PDA),
เปปโตน เพือ่ ทดสอบการเจริญของเห็ดหิง้ และเลือกใช Potato Dextrose Malt Peptone Agar (PMPA), Cas-
แหลงอาหารที่มีอยูในทองถิ่นสามารถหาไดงายทุกฤดู sava Dextrose Peptone Agar (CDMPA), Rice-brand
กาลและมีราคาถูก เปนการสรางเทคโนโลยีการผลิตเห็ด Dextrose Malt Peptone Agar (RbDMPA) และ
แนวทางใหมตอไป ดังนั้นการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค Sweet-potato Malt Peptone Agar (SpMPA) โดยมี
เพือ่ เพาะเลีย้ งเสนใยเห็ดหิง้ ในอาหารตางชนิดในสภาพ องค ป ระกอบหลั ก ดั ง นี้ ในอาหารทุ ก สู ต รจะใช แ ป ง
หองปฏิบตั กิ าร เปนขอมูลเบือ้ งตนสกู ารพัฒนาใชตอ ไป 20% น้ำตาล dextrose 2%, malt extract 1%, pep-
ตามลำดับ tone 0.1% และผงวนุ 2% ยกเวน PMPAจะใช Potato
broth 2.4% สวน PDA จะไมมี malt extract และ pep-
อุปกรณและวิธกี ารศึกษา tone เนือ่ งจากเปนอาหารมาตรฐานทีใ่ ชเพาะเลีย้ งเชือ้ รา
ชนิดของเห็ด โดยทัว่ ไป สวนอาหารเลีย้ งเชือ้ เหลวทีค่ ดั เลือกมา 2 ชนิด
เห็ดทีน่ ำมาทดสอบการเจริญเติบโตในอาหาร เพื่อการทดลองตอไปนั้นยังคงมีองคประกอบเหมือน
เลีย้ งเชือ้ สังเคราะหประกอบดวยเห็ดหิง้ 21 ชนิด ทีเ่ ก็บ กับอาหารแข็งเดิมยกเวนไมมีผงวุน
รวบรวมมาจากปาเทือกเขาภูพาน อ.กุดบาก อ.พรรณนา
อ.ภูพาน และ อ. เมือง จังหวัดสกลนคร คือ Amauroderma การทดสอบการเจริญเติบโตบนอาหารแข็ง
rugosum (Fr.) Tor., Bjerkandera adusta (Fr.) Karst., นำเห็ ด ทั้ ง 23 ตั ว อย า ง มาเลี้ ย งและเพิ่ ม
ปริมาณเสนใยในอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA และบมเชื้อที่
314 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ วารสารวิจัย มข. 10 (4) : ต.ค - ธ.ค. 2548

อุ ณ หภู มิ ป ระมาณ 28+2 องศาเซลเซี ย ส ใช เ วลา ผลการศึกษา


ประมาณ 3-5 วัน จากนัน้ ตัดชิน้ สวนวนุ ทีม่ เี สนใยบริเวณ การเจริญของเสนใยเห็ดหิ้งบนอาหารเลี้ยงเชื้อแข็ง
รอบนอกของโคโลนีดว ย cork borer ขนาดเสนผาศูนย การทดสอบการเจริญของเสนใยเห็ดหิ้งบน
กลาง 0.8 เซนติเมตร แลวใชเข็มเขีย่ ตัดชิน้ วนุ เชือ้ เห็ด อาหารเลี้ยงเชื้อแข็ง 5 ชนิดพบวา เห็ดทั้ง 23 ชนิด
ยายลงกลางจานอาหารเลี้ยงเชื้อบนอาหารแข็งชนิด เจริญเติบโตไดดีที่สุดอยางมีนัยสำคัญยิ่ง (P<0.001)
ตางๆ และบมเชือ้ ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 28+2 องศาเซลเซียส แลว บนอาหารเลีย้ งเชือ้ ทีม่ รี ำขาว มันสำปะหลัง หรือมันเทศ
วัดอัตราการเจริญเติบโตของเสนทุกวันจากนัน้ นำขอมูล เปนองคประกอบ มีเสนผาศูนยกลางของโคโลนีเทากับ
มาวิ เ คราะห ผ ลทางสถิ ติ วางแผนการทดลองแบบ 47.5+18.1, 47.0+16.4 และ 46.1+18.3 มิลลิเมตร
23 x 5 Factorial Complete Randomized Design ตามลำดับ (ตารางที่1) แตความหนาแนนของเสนใย
บนอาหารเลี้ยงเชื้อ 5 ชนิด ใชเชื้อ 23 ชนิด ทำการ หนาและฟู ม ากเฉพาะในอาหารที่ มี รำข า วเป น องค
ทดลอง 3 ซ้ำ บันทึกขอมูลขนาดเสนผาศูนยกลางการ ประกอบ สวนอาหารเลีย้ งเชือ้ ทีเ่ ชือ้ เห็ดหิง้ เจริญไดดใี น
เจริญของโคโลนีทุก 24 ชั่วโมง เปนเวลา 96 ชั่วโมง กลมุ รองลงมาคืออาหารมันเทศ PMPA และมันฝรัง่
สังเกตลักษณะการฟู และความหนาแนนของเสนใย โดยวั ด เส น ผ า ศู น ย ก ลางโคโลนี ไ ด 46.1+18.3,
44.6+19.0 และ 44.8+19.9 มิลลิเมตร ตามลำดับ
การทดสอบการเจริญเติบโตบนอาหารเหลว โดยอาหาร PMPA มีลักษณะของเสนใยเจริญหนาฟู
นำเชื้ อ เห็ ด ทั้ ง 23 ชนิ ด มาเลี้ ย งและเพิ่ ม ขณะทีล่ กั ษณะโคโลนีของเสนใยเห็ดบนอาหารเลีย้ งเชือ้
ปริมาณเสนใยในอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA และบมเชื้อที่ มันสำปะหลัง มันเทศและมันฝรัง่ มีลกั ษณะบางและราบ
อุ ณ หภู มิ ป ระมาณ 28+2 องศาเซลเซี ย ส ใช เ วลา ไปกับผิวหนาอาหาร เมื่อทำการวิเคราะหหลังปลูกเชื้อ
ประมาณ 3-5 วัน จากนั้นตัดชิ้นวุนที่มีเสนใยบริเวณ 72 ชัว่ โมงพบวาทัง้ ชนิดของเห็ดหิง้ ชนิดของอาหารและ
รอบนอกของโคโลนีดว ย cork borrer ขนาดเสนผาศูนย ปฏิสัมพันธ (interaction) ของทั้ง 2 ปจจัย สงผลตอ
กลาง 0.8 เซนติเมตร แลวใชเข็มเขี่ยตัดชิ้นวุนเห็ด ขนาดการเจริญเติบโตของเสนใยอยางมีนยั สำคัญยิง่ ทาง
ยายลงในอาหาร RbDMPB และ PMPB ทีผ่ า นการนึง่ สถิติ (P<0.001) ชนิดของเห็ดหิง้ กลมุ ทีเ่ จริญไดดที สี่ ดุ
ฆาเชือ้ และปลอยใหเย็น อาหารทัง้ 2 ชนิด ทีไ่ ดรบั การ คือ T. pelliculosus, T. byssogenum, T. versicolor
คัดเลือกวาดีทสี่ ดุ จากการทดสอบบนอาหารแข็ง 5 ชนิด และ D. quercina โดยมีเสนผาศูนยกลางโคโลนีเฉลีย่
มากอน นำอาหารเหลวทีป่ ลูกเชือ้ แลวไปเลีย้ งในสภาพ ไดเทากับ 90.0+0.0, 85.3+0.5, 69.5+2.0 และ
เขยา (shake culture) ที่ความเร็วรอบประมาณ 120 64.0+1.6 มิลลิเมตรตามลำดับ เห็ดหิง้ กลมุ ทีเ่ จริญได
รอบตอนาที เปนเวลา 15 วัน การทดลองแบบ 23 x 2 ชาบนอาหารเลี้ยงเชื้อคือ H. tenius, B. adusta, M.
Factorial Complete Randomized Design จำนวน xanthopus, F. feei และ H. apiaria ซึง่ วัดเสนผาศูนย
3 ซ้ำเมือ่ ครบตามกำหนดแลวนำมากรองและลางเสนใย กลางโคโลนีเฉลี่ยไดเทากับ 29.3+1.1, 27.7+1.4,
ให ส ะอาดด ว ยน้ำ กลั่ น จากนั้ น นำไปอบให แ ห ง ที่ 26.9+1.6, 26.8+1.6 และ 25.6+1.4 มิลลิเมตร ตาม
อุณหภูมิ 50-55 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24-48 ลำดับ (ตารางที2่ ) เชือ้ เห็ดหิง้ ชนิดเดียวกันตอบสนอง
ชัว่ โมง นำเสนใยไปชัง่ น้ำหนัก และวิเคราะหคา การเจริญ ตออาหารชนิดตางๆมักเปนไปในทำนองเดียวกัน ยก
เติบโตทางสถิติตอไป เวนอาหารที่มีมันสำปะหลังเปนองคประกอบมีผลตอ
การเจริญของเชื้อ H. annosum มากกวาปกติ และมี
ผลตอการเจริญของเชือ้ T. byssogenum นอยกวาปกติ
เมื่อเทียบกับอาหารชนิดอื่นๆ (ตารางที่ 2)
KKU Res J 10 (4) : Oct. - Dec. 2005 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ 315

การเจริญของเสนใยเห็ดหิ้งบนอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว มันสำปะหลัง มันเทศ มันฝรัง่ และ PMP ตามลำดับ


เห็ดหิ้งมีการเจริญไดดีในอาหารเหลวรำขาวได และมีความหนาแนนของเสนใยมากนอยแตกตางกันไป
ดีกวาอาหาร PMPB อยางมีนยั สำคัญยิง่ (P<0.001) มี ตามชนิดของอาหาร สวนน้ำหนักของเสนใยของเชือ้ ทัง้
น้ำหนักแหงเฉลี่ยบนอาหารรำขาวและอาหาร PMPB 23 ชนิด ในอาหารเลีย้ งเชือ้ เหลว PMP และรำขาว ก็มี
เทากับ 6.36+5.56 และ 2.73+1.37 กรัมตอลิตรตาม ความแตกตางอยางมีนยั สำคัญยิง่ (P<0.001) โดยเฉลีย่
ลำดับ ชนิดของเห็ดหิง้ ทัง้ 23 ชนิดตอบสนองตออาหาร 2.73+1.37 และ 6.36+5.56 กรัมตอลิตร แสดงให
ทั้ง 2 ชนิดแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ เห็นวาเห็ดหิ้งแตละชนิดมีอัตราการเจริญเติบโตแตก
(P<0.001) F. nivosa และ L. acuta ตอบสนองตอ ตางกันไป และมีความสามารถในการใชอาหารแตกตาง
อาหารเหลวทัง้ 2 ชนิดไดดที สี่ ดุ ใหน้ำหนักเสนใยแหง กันไปดวย ในทีน่ อี้ าหารทีไ่ ดมาจากรำขาวสงผลตอการ
เฉลี่ ย ถึ ง 12.74+8.75 และ 12.06+10.13 กรัม เจริญเติบโตของเห็ดหิ้งไดมากที่สุด
ต อ ลิ ต รตามลำดั บ รองลงมาเป น กลุ ม ของเชื้ อ P. ชนิดของเห็ดหิ้งที่นำมาทดลองสามารถแบง
sanguineus, T. versicolor, S. commune, T. ออกเปน 2 กลมุ คือกลมุ เห็ดหิง้ ทีท่ ำใหเนือ้ ไมเนาเปน
pelliculosus และ H. annosum ทีใ่ หน้ำหนักเสนใยแหง สีน้ำตาล (brown rotter) และเนาเปนสีขาว (white
เฉลี่ ย 7.66+4.92, 7.58+6.58, 7.33+1.72, rotter) เนือ่ งจากความสามารถในการใชอาหารทีต่ า งกัน
5.80+0.92 และ 5.53+3.72 กรัมตอลิตรตามลำดับ โดยเฉพาะการใชเซลลูโลส และความสามารถในการยอย
เห็ดหิ้งที่มีการเจริญและมีน้ำหนักของเสนใยแหงมากที่ สลายลิกนินในพืช นอกจากนี้ชนิดของเห็ดมีอัตราการ
สุดคือ L. acuta และ F. nivosa ในอาหารรำขาว มีน้ำหนัก เจริญทีช่ า เร็วแตกตางกันไป
เสนใยเฉลี่ย 21.23+2.06 และ 20.73+0.42 กรัม องคประกอบของอาหารที่ใชเลี้ยงเห็ดหิ้งเพื่อ
ตอลิตร ตามลำดับทีค่ วามแตกตางทางสถิติ (P<0.05) ใหไดผลตามวัตถุประสงคตองการการศึกษาอีกมาก มี
สำหรับอาหารเลีย้ งเชือ้ เหลว PMPB พบวา เห็ดหิง้ ทีม่ ี รายงานหลายชิ้นไดทดลองเลี้ยงเห็ดหิ้งในอาหารเหลว
การเจริญและมีน้ำหนักของเสนใยมากทีส่ ดุ คือ S. com- (Wagner et al., 2003; Kim et al., 2005a; 2005b;
mune รองลงมาคือ T. pelliculosus, P. gilvus และ H. Mao and Zhong, 2006) เพือ่ เลีย้ งเชือ้ เห็ดชนิดตางๆ
tenuis โดยมี น้ำ หนั ก เส น ใยเฉลี่ ย คื อ 6.20+0.5, Chang et al. (2006) ทีไ่ ดทดสอบสวนประกอบของ
5.0+0.3, 4.5+0.2 และ 3.56+0.3 กรัมตอลิตร ตาม สารอาหารชนิดตางๆ เพื่อการเลี้ยงเห็ด G. lucidum
ลำดับทีค่ วามแตกตางทางสถิติ (P<0.05) (ตารางที3่ ) ในอาหารเหลวและไดพบวา ชนิดและปริมาณของสาร
ผลการทดลองนี้ ไ ม มี ค วามแตกต า งในส ว นของ ประกอบคารบอน ไนโตรเจน และไขมันมีผลตอการ
ปฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งชนิ ด อาหารกั บ ชนิ ด ของเห็ ด หิ้ ง เจริญของเสนใยของเห็ดหลินจือ เสนใยของเห็ดหลินจือ
(P>0.05) ตองการน้ำตาลและสารสกัดจากมอลตเปนแหลงธาตุ
อาหารคาร บ อนและหางนมเป น แหล ง ธาตุ อ าหาร
วิจารณผล ไนโตรเจน รวมทัง้ ตองการแคลเซียมคารบอเนต โดยสวน
จากการทดสอบการเจริญของเสนใยเห็ดหิ้ง ประกอบของอาหารที่เหมาะสมที่สุดในการเจริญของ
ทัง้ 23 ชนิด บนอาหารเลีย้ งเชือ้ แข็ง 5 ชนิด พบวา เห็ด เสนใยเห็ดหลินจือคือ แคลเซียมคารบอเนต =1.88 กรัม
หิ้งมีการเจริญแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ ตอลิตร น้ำตาล = 71.4 กรัมตอลิตร สารสกัดจากมอลต
(P<0.001) เมือ่ เชือ้ มีอายุที่ 72 ชม. มีขนาดเสนผาศูนย = 12.1 กรัมตอลิตร สารสกัดจากยีสต = 2.28 กรัม
กลางโคโลนีเฉลีย่ 25.6+1.4 - 90.0+0.0 มิลลิเมตร ตอลิตร หางนม = 18.4 กรัมตอลิตร น้ำมันเมล็ด
เห็ ด มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตได ดี ที่ สุ ด บนอาหารรำข า ว ทานตะวัน = 3.44 กรัมตอลิตร และน้ำมันมะกอก =
316 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ วารสารวิจัย มข. 10 (4) : ต.ค - ธ.ค. 2548

3.96 กรัมตอลิตร เมือ่ ใชอาหารตามสูตรนีแ้ ลวสามารถ กิตติกรรมประกาศ


เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเสนใยของเห็ดหลินจือไดถึง คณะผู วิ จั ย ขอขอบคุ ณ สถาบั น วิ จั ย และ
ประมาณ 12 เทา จากผลการวิจัยครั้งนี้ทำใหทราบวา ฝกอบรมการเกษตรสกลนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
หากตองการเพิ่มปริมาณของเสนใยของเห็ดใหมากขึ้น ราชมงคลอีสาน จังหวัดสกลนคร ที่ไดอำนวยความ
จากวัสดุทมี่ อี ยใู นประเทศ จะเลือกวัสดุชนิดใดและจะใช สะดวกใหใชหองปฏิบัติการและอุปกรณในการศึกษา
เลี้ ย งเห็ ด หิ้ ง ชนิ ด ไหนจึ ง จะเหมาะสมต อ ไปตาม การเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิ้งบนอาหารเลี้ยงเชื้อ
สถานการณของแตละพืน้ ทีแ่ ละแตละวัตถุประสงค เชน
เพาะเลี้ยงเห็ดเพื่อการวิเคราะหคุณคาทางโภชนาการ
(นิคม, 2542; Berovic et al., 2003; Ghorashi et al.,
เอกสารอางอิง
ธนาวดี ฮัน่ ตรี. 2545. ผลยับยัง้ ของน้ำเลีย้ งเสนใย
2003; Klinhom et al., 2003; Yang et al., 2004;
เห็ ด ที่ รั บ ประทานได ต อ การเจริ ญ ของ
Peng et al., 2005) ทดสอบการสรางและผลิตเอนไซม
แบคทีเรียบางชนิด. วิทยานิพนธปริญญาวิทยา
(Kim et al., 2002; Blanqueza et al., 2004; Cohen
ศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าชี ว วิ ท ยา
et al., 2004; Dodor et al., 2004; Novotny et al.,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
2004; Rosales et al., 2005) การสรางสาร anti-
นิคม พุทธิมา. 2542. การเก็บรวบรวมและเพาะ
oxidant (Pe?as et al., 2002; Jean-Philippe, 2005;
เลี้ ย งเห็ ด จากอุ ท ยานแห ง ชาติ ด อยสุ เ ทพ-
Mau et al., 2005) การสรางสารปฏิชวี นะ (ธนาวดี,
ปุ ย . วิ ท ยานิ พ นธ ป ริ ญ ญาวิ ท ยาศาสตรมหา
2545; Liu et al., 2004) หรือแมแตการผลิตโพลีแซค
บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าชี ว วิ ท ยา มหาวิ ท ยาลั ย
คาไรด (Fang et al., 2002; Wagner et al., 2003;
เชียงใหม.
Kim et al., 2005a, 2005b; Chang et al., 2006)
Armussa, N. and Sanoamuang, N. 2003. Appropriate
จากผลการศึ ก ษานี้ ชี้ ใ ห เ ห็ น ว า อาหารที่ ไ ด
synthetic media, exo-biopolymer synthesis,
จากรำขาวทั้งอาหารแข็งและอาหารเหลวสงผลตอการ
mycelial production and protein content
เจริญเติบโตของเชือ้ เห็ดหิง้ โดยรวม รำขาวเปนวัตถุดบิ
analysis of some bracket fungi from Sakon
ที่สามารถหาไดงายจากภายในประเทศและนาจะมีธาตุ
Nakhon, Thailand. Proceedings of the 2nd
อาหารที่หลากหลายกวามันสำปะหลังและอื่นๆ จึงนา
International Conference on Medicinal
จะเปนวัตถุดบิ ทีม่ คี วามเหมาะสม ใชในการผลิตเห็ดตอ
Mushroom and the International Conference
ไปในอนาคต อย า งไรก็ ต ามเนื่ อ งจากมี ป ฏิ สั ม พั น ธ
on Biodiversity and Bioactive Compounds,
ระหว า งอาหารกั บ เห็ ด หิ้ ง อย า งมี นั ย สำคั ญ ยิ่ ง
17-19 July 2003. Peach, Pattaya, Thailand.
(P<0.001) การเลือกชนิดของอาหารทีจ่ ะนำมาใชเลีย้ ง
Armussa, N., Thammasirirak, S. and Sanoamuang,
กั บ เห็ ด หิ้ ง เฉพาะชนิ ด อาจต อ งมี ก ารศึ ก ษาในราย
N. 2003. Mycelium and fruiting body of
ละเอียดใหมากขึน้ โดยเฉพาะสภาพของอาหาร ชนิดของ
mushrooms sources of protein. Abstracts of
อาหาร ความเป น กรดเป น ด า งและวั ต ถุ ป ระสงค ที่
the IV Asia Pacific Mycological Congress and
จะเพาะเลี้ยงเห็ด และอาหารเฉพาะตอเห็ดแตละชนิด
the IX International Marine and Freshwater
อีกดวย
Mycology Symposium, 14-19 November
2004.
KKU Res J 10 (4) : Oct. - Dec. 2005 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ 317

Berovic, M., Habijanic, J., Zore, I., Wraber, B., Fang, Q.H. and Zhong, J.J. 2002. Effect of initial
Hodzar, D., Boh, B. and Pohleven, F. 2003. pH on production of ganoderic acid and
Submerged cultivation of Ganoderma lucidum polysaccharide by submerged fermentation of
biomass and immunostimulatory effects of Ganoderma lucidum. Process Biochemistry
fungal polysaccharides. Journal of Biotech- 37: 769–774.
nology 103: 77-86. Ghorashi, S., Bucke, C. and Keshavarz, T. 2003.
Blanqueza, P., Casasa, N., Fontc, X., Gabarrella, Isolation of biologically active compounds
X., Sarra, M., Caminalb, G. and Vicenta, from Ganoderma sp. Proceedings of the 2nd
T. 2004. Mechanism of textile metal dye International conference on Medicinal
biotransformation by Trametes versicolor. Mushroom and the International Conference
Water Research 38: 2166–2172. on Biodiversity and Bioactive Compounds
Chang, M.Y., Tsai, G.J. and Houng, J.Y. 2006. 17-19 July 2003. Peach, Pattaya, Thailand.
Optimization of the medium composition for Hwang, H.-J., Kim, S.-W., Choi, J.-W. and Yun,
the submerged culture of Ganoderma lucidum J.W. 2003. Production and characterization
by Taguchi array design and steepest ascent of exopolysaccharides from submerged
method. Enzyme and Microbial Technology culture of Phelllinus linteus KCTC 6190.
38: 407-414. Enzyme and Microbial Technology 33: 309-
Cohen, R., Suzuki, M.R. and Hammel, K.E. 2004. 319.
Differential stress-induced regulation of two Jarosz-Wilkolazka, A., Kochmanska-Rdest, J.,
quinine reductases in the brown rot basidi- Malarczyk, E., Wardas, W. and Leonowicz,
omycete Gloeophyllum trabeum. Applied and A. 2002. Fungi and their ability to
Environmental Microbiology 70(1): 324- decolourize azo and anthraquinonic dyes.
331. Enzyme and Microbial Technology 30:
Couto, S., Gund?n, R., Lorenzo M. and Sanroman, 566–572.
M.A. 2003. Screening of supports and Jaouani, A., Sayadi, S., Vanthournhout, M. and
inducers for laccase production by Trametes Penninckx, M. 2003. Potent fungi for
versicolor in semi-solid-state conditions. decolourisation of olive oil mill wastewaters.
Process Biochemistry 38: 249-/255. Enzyme and Microbial Technology 33: 802-
Cui, J. and Chisti, Y. 2003. Polysaccharopeptides 809.
of Coriolus versicolor: physiological activity, Jean-Phillippe, S.R. 2005. Antioxidant Properties
uses, and production. Biotechnology Advances of some Edible Fungi in the Genus Pleurotus.
21: 109-122. A thesis presented for the Master of Science
Dodor, D.E., Hwang, H-M. and Ekunwe, S.I.N. degree. The University of Tennessee, Knoxville.
2004. Oxidation of anthracene and benzo [a] Kim, H.O., Lim, J.M., Joo, J.H., Kim, S.W.,
pyrene immobilized laccase from Trametes Hwang, H.J., Choi, J.W. and Yun, J.W.
versicolor. Enzyme and Microbial Technology 2005a. Optimization of submerged culture
35: 210–217.
318 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ วารสารวิจัย มข. 10 (4) : ต.ค - ธ.ค. 2548

condition for the production of mycelial bio- Mau, J.L., Tsai, S.Y., Tseng, Y.H. and Huang, S.J.
mass and exopolysaccharides by Agrocybe 2005. Antioxidant properties of hot water
cylindracea. Bioresource Technology 96: extracts from Ganoderma tsugae Murrill.
1175-1182. LWT-Food Science and Technology 38:
Kim, K., Leem, Y., Kim, K., Kim, K., and Choi, 589-597.
H.T. 2002. Transformation of the medicinal Novotny, C., Svobodova, K., Erbanova, P., Cajthaml,
basidiomycete Trametes versicolor to T., Kasinath, A., Lang, E. and Sasek, V.
hygromycin B resistance by restriction 2004. Ligninolytic fungi in bioremediation:
enzyme mediated integration. FEMS Micro- extracellular enzyme production and degra-
biology Letters 209: 273-276. dation rate. Soil Biology and Biochemistry 36:
Kim, Y.O., Han, S.B., Lee, H.W., Ahn, H.J., Yoon, 1545–1551.
Y.D., Jung, J.K., Kim, H.M. and Shin, C.S. Pe as, M.M., Rust, B., Larraya, L.M. Ram rez, L.
2005b. Immuno-stimulating effect of the and Pisabarro, A.G. 2002. Differentially
endo-polysaccharide produced by submerged regulated, vegetative-mycelium-specific
culture of Inonotus obliquus. Life Sciences 77: hydrophobins of the edible basidiomycete
2438-2456. Pleurotus ostreatus. Applied and environ-
Klinhom, U., Klinhom, W. and Kanchanamayoon, mental Microbiology 68(8): 3891-3898.
W. 2003. Mushroom and Traditional Peng, Y., Zhang, L., Zeng, F. and Kennedy, J.F.
Knowledge in Northeast Thailand. Proceedings 2005. Structure and antitumor activities of
of the 2 nd International Conference on the water-soluble polysaccharides from
Medicinal Mushroom and the Internatioal Ganoderma tsugae mycelium. Carbohydrate
Conference on Biodiversity and Bioactive Polymers 59: 385–392.
Compounds, 17-19 July 2003. Peach, Rosales, E., Couto, S.R. and Sanroman, M.A. 2005.
Pattaya, Thailand. Re-utilisation of food processing wastes for
Liu, J., Yang, F., Ye, L.B., Yang, X.J., Timani, production of relevant metabolites: applica-
K.A., Zheng, Y. and Wang, Y.H. 2004. tion to laccase production by Trametes
Possible mode of action of antiherpetic hirsuta. Journal of Food Engineering 66:
activities of a proteoglycan isolated from the 419–423.
mycelia of Ganoderma lucidum in vitro. Stamets, P. 2001. Insights into the cultivation of
Journal of Ethnopharmacology 95: 265- Polyporaceae mushrooms: the ancient ones.
272. International Journal of Medicinal Mush-
Mao, X.B. and Zhong, J.J. 2006. Significant rooms 3: 92.
effect of NH4+ on cordycepin production by Stamets, P. 2005. Medicinal Polyporaceae of the
submerged cultivation of medicinal mushroom forests of North America: Screening for novel
Cordyceps militaris. Enzyme and Microbial antiviral activity. International Journal of
Technology 38: 343-350. Medicinal Mushrooms 7: 362.
KKU Res J 10 (4) : Oct. - Dec. 2005 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ 319

Wagner, R., Mitchell, D.A., Sassaki, G.L., Yang, F.-C., Ke, Y.F., and Kuo, S.S. 2004.
Amazonas, M.A.L.A. and Berovic, M. Effect of fatty acids on the mycelial growth
2003. Current techniques for the cultivation and polysaccharide formation by Ganoderma
of Ganoderma lucidum for the production of lucidum in shake flask culture. Enzyme and
biomass, ganoderic acid and polysaccharides. Microbial Technology 27: 295-301.
Food Technology and Biotecnology 41(4):
371-382.
Yang, F.-C., Hsieh, C. and Chen, H.M. 2003.
Use of stillage grain from rice-spirit distillery
in the silid state fermentation of Ganoderma
lucidum. Process Biochemistry 39: 21–26.

ตารางที่ 1 การเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ ในอาหารเลีย้ งเชือ้ แข็ง 5 ชนิดคือ รำขาว มันสำปะหลัง มันเทศ PMPA
และ PDA

ขนาดเสนผาศูนยกลาง (มม.) ความหนาแนนของ


ชนิดของอาหารเลี้ยงเชื้อ
1 วัน 2 วัน 3 วัน 4 วัน เสนใย หลังอายุ 4 วัน
รําขาว 16.2a+5.58 32.2a+13.24 47.5a+18.10 69.2a+18.47 +++
มันสําปะหลัง 15.2b+7.10 30.3bc+12.39 47.0a+16.38 62.0ab+18.80 +
มันเทศ 16.2a+6.97 31.2ab+15.66 46.1ab+18.28 60.6ab+18.21 ++
PMP 15.1b+6.78 29.2c+14.56 44.6b+19.06 58.9b+19.56 ++
PDA 14.9b+6.57 29.1c+14.59 44.8b+19.94 57.9b+20.44 ++

หมายเหตุ +++ หมายถึง มาก


++ หมายถึง ปานกลาง
+ หมายถึง นอย
320 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ วารสารวิจัย มข. 10 (4) : ต.ค - ธ.ค. 2548

ตารางที่ 2 เสนผาศูนยกลางของโคโลนีเห็ดหิง้ ทีเ่ ลีย้ งในอาหารแข็ง ณ 72 ชัว่ โมง


ขนาดเสนผาศูนยกลางโคโลนีบนอาหารชนิดตางๆ (มม.)
Species
รําขาว มันสําปะหลัง มันเทศ PMP PDA เฉลี่ย
Amauroderma rugosum (Fr.) Tor. 40.50 + 1.32 43.50 + 1.73 47.50 + 1.80 31.00 + 0.87 27.66 + 1.89 38.03 + 8.40
Bjerkandera adusta (Fr.) Karst. 30.66 + 1.76 31.16 + 1.26 29.16 + 1.04 24.00 + 1.50 23.66 + 1.61 27.72 + 3.63
Daedalea quercina L.:Fr. 63.50 + 1.50 65.00 + 1.00 61.33 + 1.04 63.83 + 1.44 66.66 + 2.89 64.06 + 1.96
Daedaleopsis confragosa 59.83 + 0.29 58.83 + 0.76 58.16 + 0.76 61.83 + 2.31 60.16 + 1.26 59.76 + 1.40
(Bolton:Fr) Schrst.
Fomitopsis feei (Fr.) Kresel 25.33 + 1.26 26.50 + 1.32 28.83 + 1.04 24.66 + 2.75 25.50 + 1.80 26.16 + 1.62
Fomitopsis nivosa (Berk.) Gilb & 29.83 + 2.25 32.16 + 1.26 37.33 + 2.08 29.00 + 1.32 22.66 + 2.02 30.20 + 5.31
Ryv.
Ganoderma lucidum (W.Curtis: 47.66 + 2.25 44.16 + 0.76 41.83 + 1.76 43.50 + 1.50 43.66 + 1.76 44.16 + 2.14
Fr.) P. Karst.
Heterobasidion annosum (Fr.) 38.16 + 1.26 65.66 + 1.44 38.16 + 1.76 34.66 + 1.61 35.16 + 1.04 42.36 + 13.12
Bref.
Hexagonia apiaria (Pers.) Fr. 26.16 + 1.26 26.33 + 1.26 24.16 + 2.02 25.83 + 1.04 25.50 + 1.32 25.59 + 0.86
Hexagonia tenuis (Hook.) Fr. 33.33 + 1.04 33.33 + 1.89 29.66 + 0.29 24.16 + 1.26 26.16 + 1.15 29.32 + 4.14
Lentinus squarrosulus Mont. 34.00 + 1.50 36.50 + 1.50 38.16 + 6.37 34.33 + 1.26 35.16 + 1.04 35.63 + 1.71
Lenzites acuta Berk. 57.00 + 0.50 57.66 + 1.89 59.50 + 0.87 56.50 + 1.00 61.00 + 3.04 58.33 + 1.87
Lenzites betulina (L.: Fr.) Fr. 43.50 + 1.50 33.16 + 2.02 32.50 + 2.50 32.66 + 2.75 35.00 + 2.50 35.36 + 4.65
Microporus xanthopus (Fr.) kunt. 30.16 + 1.26 27.83 + 2.02 25.16 + 1.61 26.33 + 1.26 25.16 + 1.89 26.92 + 2.11
Phellinus gilvus (Schwein.) Pat. 49.50 + 2.50 48.83 + 2.75 49.66 + 0.58 44.83 + 1.44 40.16 + 1.44 46.59 + 4.10
Phellinus cf. hartigii (Allesch. & 40.00 + 0.00 33.66 + 2.02 34.16 + 0.76 36.66 + 1.04 39.50 + 1.00 36.79 + 2.93
Schnab) Bondartzew.
Pleurotus ostreatus (Jacquin ex 45.33 + 1.04 45.33 + 0.76 40.16 + 5.80 45.00 + 0.50 45.33 + 1.04 44.23 + 2.27
Fries) Kummer
Pycnoporus sanguineus (L.:Fr.) 57.33 + 3.33 57.16 + 1.53 50.00 + 0.00 53.83 + 3.18 54.66 + 2.02 54.59 + 2.99
Murrill
Schizophyllum commune Fr.:Fr. 45.66 + 4.25 47.33 + 2.02 47.66 + 1.76 46.66 + 1.61 47.33 + 1.26 46.92 + 0.79
Trametes hirsuta (Fr.) Pilat 41.66 + 2.93 44.00 + 1.50 36.83 + 3.88 40.66 + 0.76 40.33 + 1.26 40.68 + 2.58
Trametes versicolor (L.:Fr.) Pilat 73.66 + 2.25 66.83 + 1.89 70.66 + 1.76 64.50 + 2.00 72.00 + 2.18 69.53 + 3.37
Trichaptum byssogenum (Jungh.) 90.00 + 0.00 66.50 + 2.65 90.00 + 0.00 90.00 + 0.00 90.00 + 0.00 85.30 + 10.50
Ryvarden
Tyromyces pelliculosus (Berk.) 90.00 + 0.00 90.00 + 0.00 90.00 + 0.00 90.00 + 0.00 90.00 + 0.00 90.00 + 0.00
Cunningh.
เฉลี่ย 47.51 + 18.10 47.02 + 16.38 46.11 + 18.28 44.54 + 19.06 44.89 + 19.94 46.01 + 1.29
CV = 3.65 % ชนิดเห็ดหิ้ง (P<0.001)
N = 345 อาหาร (P<0.001)
ชนิดเห็ดหิ้ง*อาหาร (P<0.001)
KKU Res J 10 (4) : Oct. - Dec. 2005 ลักษณะการเจริญเติบโตของเสนใยเห็ดหิง้ บนอาหารสังเคราะหชนิดตางๆ 321

ตารางที่ 3 น้ำหนักเสนใยของเห็ดหิง้ ทีเ่ ลีย้ งในอาหารรำขาว (Rice bran dextrose malt peptone, RbDMPB) และ
PMPB (potato dextrose malt peptone)
น้ําหนักของเสนใยแหง (กรัม/ลิตร) ในอาหารตางๆ
Species
รําขาว PMPB เฉลี่ย
Amauroderma rugosum (Fr.) Tor. 1.46 + 0.06 1.36 + 0.06 1.42 + 0.07
Bjerkandera adusta (Fr.) Karst. 5.70 + 0.53 3.53 + 0.32 4.61 + 1.25
Daedalea quercina L.:Fr. 2.53 + 0.15 1.40 + 0.10 1.96 + 0.63
Daedaleopsis confragosa (Bolton:Fr) 4.80 + 0.70 2.46 + 0.31 3.63 + 1.37
Schrst
Fomitopsis feei (Fr.) Kresel 2.40 + 0.36 1.60 + 0.26 2.00 + 0.52
Fomitopsis nivosa (Berk.) Gilb & Ryv. 20.73 + 0.42 4.76 + 0.38 12.74 + 8.75
Ganoderma lucidum (W.Curtis: Fr.) P. 1.96 + 0.15 1.33 + 0.12 1.64 + 0.37
Karst.
Heterobasidion annosum (Fr.) Bref. 8.90 + 0.52 2.16 + 0.40 5.53 + 3.72
Hexagonia apiaria (Pers.) Fr. 2.73 + 0.49 1.70 + 0.17 2.21 + 0.65
Hexagonia tenuis (Hook.) Fr. 4.83 + 0.12 3.56 + 0.31 4.19 + 0.72
Lentinus squarrosulus Mont. 3.70 + 0.62 1.23 + 0.25 2.46 + 1.42
Lenzites acuta Berk. 21.23 + 2.06 2.90 + 0.17 12.06 + 10.13
Lenzites betulina (L.: Fr.) Fr. 4.60 + 0.10 3.26 + 0.23 3.93 + 0.88
Microporus xanthopus (Fr.) Kunt. 2.16 + 0.32 1.66 + 0.15 1.91 + 0.35
Phellinus gilvus (Schwein.) Pat. 4.60 + 0.20 4.50 + 0.20 4.55 + 0.15
Phellinus cf. hartigii 2.47 + 0.55 1.86 + 0.12 2.16 + 0.48
(Allesch.&Schnab) Bondartzew.
Pleurotus ostreatus (Jacquin ex Fries) 2.60 + 0.10 2.03 + 0.25 2.31 + 0.35
Kummer
Pycnoporus sanguineus (L.:Fr.) Murrill 12.03 + 1.86 3.30 + 0.17 7.66 + 4.92
Schizophyllum commune Fr.:Fr. 9.26 + 0.25 6.20 + 0.53 7.33 + 1.72
Trametes hirsuta (Fr.) Pilat 4.50 + 0.20 3.23 + 0.06 3.86 + 0.71
Trametes versicolor (L.:Fr.) Pilat 13.56 + 0.95 1.60 + 0.10 7.58 + 6.58
Trichaptum byssogenum (Jungh.) 3.06 + 0.31 2.20 + 0.61 2.63 + 0.64
Ryvarden
Tyromyces pelliculosus (Berk.) 6.60 + 0.17 5.00 + 0.36 5.80 + 0.92
Cunningh.
เฉลี่ย 6.36 + 5.56 2.73 + 1.37 4.55 + 4.43
CV = 11.74 % ชนิดเห็ดหิ้ง (P<0.0001)
N = 138 อาหาร (P<0.0001)
ชนิดเห็ดหิ้ง * อาหาร (P>0.05)

You might also like