You are on page 1of 4

ประแจรถไฟมีบทบาทสาคัญในการเชือ ่ มต่อรางรถไฟสายต่างๆ

โดยมีหน้าทีใ่ นการเปลีย่ นเส้นทางการเดินรถของรถไฟจากทางหนึ่งไปยังอีกทางหนึ่


งและสามารถสร้างทางรถไฟทีผ ่ า่ นกันได้
ซึง่ ประแจสามารถช่วยให้เราสามารถสร้างทางรถไฟหลากหลายสายได้
ประแจรถไฟคืออุปกรณ์ ทางกลทีท ่ าให้รถไฟสามารถเปลีย่ นเส้นทางได้ เช่น
ทีท
่ างแยก หรือ ทางทีป ่ ิ ดซ่อมบารุง
เครือ ่ งกลับประแจทาหน้าทีค ่ วบคุมทิศทางของประแจรถไฟ
โดยในปัจจุบน ั เครือ
่ งกลับประแจใช้มอเตอร์ไฟฟ้ าและเกียน์ ในการเปลีย่ นการเคลือ ่
นทีเ่ ป็ นแบบเชิงเส้นเพือ ่ สลับประแจ
เมือ
่ เครือ ่ งกลับประแจถูกติดตัง้ เพือ ่ ทางานในทางรถไฟแบบไม่มีหน ิ โรยทาง
(Slab track) จะทางานได้ดี
แต่เมือ ่ เครือ ่ งกลับประแจถูกติดตัง้ เพือ ่ ทางานในทางรถไฟแบบมีหน ิ โรยทาง
มักพบปัญหาประแจปิ ดไม่สนิท
เมือ่ ประแจไม่สามารถปิ ดสนิท สามารถทาให้รถไฟตกรางได้
ซึง่ อาจทาให้เสียหายต่อชีวต ิ และทรัพย์สน ิ ได้

ส่วนประกอบของประแจรถไฟ
พื้นฐานของการก่อสร้างทางรถไฟ ขัน ้ แรกจะอธิบายถึงทางรถไฟแบบหินโรยทาง
จากนัน ่ เติมเกีย่ วกับประแจรถไฟ
้ อธิบายเพิม
ในองค์ประกอบของทางรถไฟยังมีโครงสร้างในส่วนทีร่ บ ั น้าหนัก
และการยึดเหนี่ยวของรางรวมอยูด ่ ว้ ย รางเหล็กนัน
้ จะวางอยูบ่ นหมอนรองราง
(Sleepers) โดยมีเครือ ่ งยึดเหนี่ยวราง (Rail Fastening Device)
ทาหน้าทีย่ ดึ รางเหล็กไว้กบ ั หมอน ใต้หมอนคือหินโรยทาง (Ballast)
ทาหน้าทีย่ ด ึ หมอนไว้กบ ั ทีแ่ ล้วถ่ายเทน้าหนักเฉลีย่ ลงสูด ่ น
ิ คันทาง (Sub-
Structure) และส่วนทีอ ่ ยูล่ า่ งสุดคือดินเดิม
นอกจากนัน ้ บนเส้นทางรถไฟทีว่ งิ่ ไปต้องผ่านประแจ สะพาน ทางตัดผ่านถนน
ก็จะมี รางกัน (Safety Rail หรือ Guard Rail)
ทาหน้าทีป ่ ระคองเพือ ่ ป้ องกันล้อทีอ ่ าจพลาดตกจากรางไม่ให้หลุดไปไกลหรือป้
องกันไม่ให้สงิ่ แปลกปลอมเข้ามาแทรกอยูใ่ กล้ราง
ทางรถไฟในปัจจุบน ั จะมีทง้ ั ทีใ่ ช้หน
ิ โรยทางและไม่ใช่หน ิ โรยทาง
(Ballast Track / Non Ballast Track)
ซึง่ แต่ละแบบจะมีคณ ุ ลักษณะพิเศษทีแ ่ ตกต่างกัน
ทางรถไฟทีใ่ ช้หน ิ โรยทางรองรับไม้หมอนจะมีขอ ้ ดีคอ ื นุ่มนวลมีเสียงดัง
น้อย แต่เมือ ่ ใช้งานไปสักระยะต้องมีการบารุงรักษาโดยการล้างหิน
และอัดหินเพิม ่ เติม ในขณะทีโ่ ครงสร้างทางรถไฟทีไ่ ม่ใช่หน ิ (Non Ballast
Track) คือการวางรางลงบนแผ่นคอนกรีตอัดแรงทีเ่ รียกว่า ‘สแลบแทรค’
(Slab Track)
หรือการวางรางลงบนหมอนคอนกรีตทีว่ างอยูบ ่ นพื้นคอนกรีตทีม ่ ีชอ
่ งบังคับ
ข้อดีคอ ื ช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการบารุงดูแลรักษาแต่ก็มีคา่ ก่อสร้างสูงกว่า
รางรถไฟในปัจจุบน ั ทาจากเหล็กรีดร้อน มีสว่ นประกอบทีส ่ าคัญ คือ หัวราง
(Rail Head) เอวราง (Web) และฐานราง (Foot)
ในอดีตจะมีการยึดรางเข้ากับไม้หมอนแล้วใช้ตะปูรางตอกยึดฐานรางไว้กบ ั ไม้
หมอน ในปัจจุบน ั
มีการพัฒนาเทคโนโลยีการยึดรางเข้ากับไม้หมอนขึน ้ มากมาย

ประแจ (Switch Point) คือส่วนทีส


่ าคัญของทางรถไฟ
เพราะทาให้รถไฟสามารถเลี้ยวไปตามทางทีต ่ อ
้ งการได้ มีสว่ นทีส
่ าคัญคือ
ลิน
้ ประแจ
ประแจทีโ่ ยกลิน ้ ให้เปลีย่ นทิศทางการวิง่ ด้วยคันโยก ณ จุดทีต ่ ด
ิ ตัง้ ประแจ
เรียกว่า ‘ประแจมือ’ ส่วนประแจทีโ่ ยกลิน ้ ให้เปลีย่ นทิศทางจากระยะไกล
เรียกว่า ‘ประแจกล’ ประแจกลตัวเดียวทีค ่ วบคุมจากระยะไกลเรียกว่า
‘ประแจกลเดีย่ ว’ ประแจกลหลายตัวทีค ่ วบคุมจากระยะไกล เรียกว่า
‘ประแจกลหมู’่ การบังคับสัญญาณให้ทางานตรงกับท่าลิน ้ ประแจ เรียกว่า
‘การบังคับสัมพันธ์’ (Inter-locking)
ขบวนรถไฟจะสามารถวิง่ ผ่านประแจทางแยกได้ดว้ ยความเร็วตามมาตรฐานที่
ออกแบบไว้
มาตรฐานทีส ่ าคัญคือขนาดรางทีใ่ ช้ทาประแจและมุมหักเหของลิน ้ ประแจ
ประแจของทางรถไฟสมัยใหม่จะมีมุมหักเห 1:16
ซึง่ ขบวนรถจะสามารถวิง่ ผ่านประแจเข้ารางหลีกได้ดว้ ยความเร็ว 120
กิโลเมตรต่อชั่วโมง ส่วนประแจทีม ่ ีมุม 1:12
ขบวนรถจะวิง่ ผ่านเข้าทางหลีกได้ต่ากว่า 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
การรถไฟฯยังคงมีประแจทีม ่ ีมุม 1:8 และโค้งประแจรัศมี 156 เมตร ใช้งาน
ขบวนรถต้องวิง่ เข้ารางหลีกด้วยความเร็วไม่เกิน 30 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ถ้าใช้รางขนาด 50 ปอนด์ตอ ่ หลามาผลิตประแจ
ก็ตอ ้ งวิง่ เข้ารางหลีกด้วยความเร็วไม่เกิน 15 กม./ชม.
Clamp lock – เมือ่ ลิน
้ ประแจเคลือ
่ นที่ clamp lock
จะทาหน้าทีใ่ นการล็อคประแจ โดยการยึดรางประคองลิน ้ ไว้กบ
ั รางสวิตช์

You might also like