You are on page 1of 165

เครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
ในศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์

โดย
นายสมศักดิ์ ฤทธิ์ภักดี

การค้ นคว้ าอิสระนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ศิลปะ
ภาควิชาประวัติศาสตร์ ศิลปะ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2556
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
เครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
ในศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

โดย
นายสมศักดิ์ ฤทธิ์ภักดี

การค้ นคว้ าอิสระนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ศิลปะ
ภาควิชาประวัติศาสตร์ ศิลปะ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2556
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
THE PARAPHERNALIAS OF KING RAMA V PERIOD IN THE PAVILLION OF
REGALIA, ROYAL DECORATIONS AND COINS

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

By
Mr. Somsak Ritpakdee

An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree
Master of Arts Program in Art History
Department of Art History
Graduate School, Silpakorn University
Academic Year 2013
Copyright of Graduate School, Silpakorn University
บั ณ ฑิ ตวิ ท ย าลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร อนุ มั ติ ให้ ก ารค้ น คว้ า อิ สระเรื่ อง
“เครื่ อ งราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5 ในศาลาเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย ยศ เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์
และเหรี ยญกษาปณ์ ” เสนอโดย นายสมศักดิ์ ฤทธิ์ ภักดี เป็ นส่ วนหนึ่ งของการศึกษาตามหลักสู ตร
ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ

..........................................................................

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ปานใจ ธารทัศนวงศ์)

ส คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย
วันที่.........เดือน.........................พ.ศ..............

อาจารย์ที่ปรึ กษาการค้นคว้าอิสระ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

คณะกรรมการตรวจสอบการค้นคว้าอิสระ

...............................................................................ประธานกรรมการ
(ศาตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชยั สายสิ งห์)
...................../.........................../...........................

................................................................................กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี)
..................../.........................../.............................
54107315: สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
คาสาคัญ: เครื่ องราชูปโภคทองคา / เครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ
สมศัก ดิ์ ฤทธิ์ ภัก ดี : เครื่ องราชู ป โภคทองคาสมัย รั ช กา ลที่ 5 ในศาลา
เครื่ องราชอิ ส ริ ยยศ เครื่ องราชอิ ส ริ ยาภรณ์ และเหรี ยญกษาปณ์ . อาจารย์ที่ ป รึ กษา
การค้น คว้า อิ ส ระ: ผศ. ดร. เชษฐ์ ติ ง สั ญ ชลี . 149 หน้ า .

การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาลวดลายและเทคนิควิธีการสร้างเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ที่จดั แสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศ เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ และ

น ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
เหรี ยญกษาปณ์ ซึ่งเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่รวบรวมและจัดแสดงเครื่ องราชูปโภคทองคาที่เคยใช้เป็ นเครื่ อง


อิสริ ยยศหรื อเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ของเจ้านายและขุนนางชั้นสู งในราชสานักไทย
สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตลอดจนทราบถึง พัฒนานาการ ลักษณะรู ปแบบ ตลอดจนเทคนิคและลวดลาย
จึงสามารถสรุ ปได้วา่
1. ลักษณะรู ปแบบเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ถ่ายทอดลักษณะรู ปแบบจาก
รัชกาลก่อน มีลกั ษณะเฉพาะบางอย่างที่แสดงถึงเอกลักษณ์เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยนี้ คือ การลง
ยาสี ชมพูและมีการสลักตราจุลมงกุฎหรื อพระราชลัญจกรประจารัชกาล
2. เครื่ องราชู ป โภคทองค าสมัย รั ชกาลที่ 5 มี ก ารประดับ ลวดลายที่ ผูก ขึ้ นใหม่ เป็ น
ลัก ษณะลายเฉพาะ และมี ก ารก าหนดบางกลุ่ ม ลายเฉพาะส าหรั บ ใช้ป ระดับ ตกแต่ ง บนเครื่ อ ง
ราชูปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายหน้าและฝ่ ายใน โดยลักษณะลวดลายได้รับอิทธิ พลทางศิลปะตะวันตก
และคติความเชื่ อจากจีนมาผสมกันเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ มีลกั ษณะลวดลายที่แตกต่างจากลวดลาย
ไทยประเพณี ที่เคยมีมาในรัชกาลก่อน
3. เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 นิยมใช้เทคนิคการสลักลายลงยา 2 แบบ คือ
เทคนิคสลักลายดุนนูนและตกแต่งด้วยการลงยาเต็มพื้นลาย เป็ นเทคนิคที่สืบทอดมาจากรัชกาลก่อน
และเทคนิ คสลักร่ องลายและลงยาเฉพาะเสมอพื้นลายโดยเว้นพื้นลาย การตกแต่งลายด้วยยาสี ชมพู
เป็ นยาสี ใ หม่ ที่ป รากฏขึ้นเฉพาะเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัย นี้ ต่ างจากเครื่ องราชู ปโภคทองค า
รัชกาลก่อนที่ตกแต่งลวดลายด้วยยาสี แดงและสี เขียวเป็ นหลักเท่านั้น

ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร


ลายมือชื่อนักศึกษา........................................................................... ปี การศึกษา 2556
ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาการค้นคว้าอิสระ......................................................................................


54107315: MAJOR: ART HISTORY
Keyword: Paraphernalia / Regalia
Somsak Ritpakdee: The Paraphernalias of King Rama V Period in the Pavilion
of Regalia, Royal Decorations and Coins
Independent Research Advisor: Asst. Prof. Dr. Chedha Tingsanchali : 149 pp.

The purpose of this paper is to study the designs and techniques on the method of
making the paraphernalia during the reign of King Rama V displayed in the Pavilion of Regalia,

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก
Royal Decorations and Coins, a museum collecting and displaying the royal paraphernalia which
ลาง

were used as the regalia or the decorations of the royal family during Ratanakosin Dynasty. The
study also aims to gain knowledge on the development and pattern styles as well as techniques
and designs of the paraphernalia during the period of King Rama V with the following
conclusion.
1. The royal paraphernalia pattern was transmitted from the previous reign, yet, there
were some specific characters showing the uniqueness of the King Rama V reign. The characters
consisted of pink enamel engraving with the royal or King Rama V emblem.
2. The paraphernalia were decorated with new design creating especially during the
reign of King Rama V. Some designs were determined specifically for males and females. Those
designs were influenced and combined between the western arts and the Chinese beliefs creating
a new pattern that was different from the previous reign.
3. There were two popular techniques of engraving paraphernalia (a) raised engraved
design and wholly decorated with enamel which was the method transmitted from the previous
time (b) engraved design and enamel only the area of engraving. The decoration with pink enamel
was a new thing that appeared within the King Rama V paraphernalia which made them different
from the afore-period where red and green enamels were the main design colors.

Department of Art History Gradute School, Silpakorn University


Student’s signature…………………………………………… Academic Year 2013
Independent Study Advisors’ signature……………………………………………………………..


กิตติกรรมประกาศ

การค้นคว้าอิ สระฉบับนี้ สาเร็ จลุ ล่วงไปได้ดว้ ยดี เพราะได้รับความกรุ ณาจาก ผูช้ ่ วย


ศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติ ง สั ญชลี อาจารย์ที่ ป รึ ก ษาการค้นคว้า อิ ส ระที่ ใ ห้ค วามช่ ว ยเหลื อและ
คาแนะนาที่ เป็ นประโยชน์ ต่อผูว้ ิจยั อย่างยิ่ง รวมทั้ง ศาตราจารย์ ดร.ศัก ดิ์ ชัย สายสิ งห์ ประธาน
กรรมการสอบการค้นคว้าอิ สระที่ ให้คาปรึ กษา และคาแนะนาในการเขียน ส่ งผลให้การค้นคว้า
อิสระฉบับนี้ถูกต้องสมบูรณ์ยง่ิ ขึ้น ผูว้ จิ ยั ของกราบของพระคุณอาจารย์ท้ งั สองท่านเป็ นอย่างสู ง
ขอกราบขอบพระคุ ณคณาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ ศิลปะทุกท่านที่ได้ให้ความรู้

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด
คาแนะนาและประสบการณ์ อนั มีค่าแก่ผวู้ ิจยั ขอบพระคุณเจ้าของหนังสื อ วารสาร เอกสาร และ
ก ลาง

วิทยานิพนธ์ทุกเล่มและผูใ้ ห้ขอ้ มูลทุกท่านที่ช่วยให้การค้นคว้าอิสระมีความสมบูรณ์
ขอขอบพระคุณกรมธนารักษ์ที่สนับสนุ นทุนการศึกษาจนสาเร็ จหลักสู ตร ตลอดจน
ผูบ้ ริ หาร ข้าราชการและเจ้าหน้าที่จากส่ วนจัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน และส่ วนเก็บรักษา
และอนุรักษ์ทรัพย์สิน สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดินทุกท่าน ที่ให้ความช่วยเหลือด้านเอกสารและ
ภาพถ่ายประกอบการวิจยั ตลอดจนกาลังใจด้วยดีตลอดมาจนสาเร็ จการศึกษา
ขอขอบคุ ณ คุ ณ สุ จิ ต รา ไชยจัน ทร์ นัก วิ จ ัย สถาบัน ไทยคดี ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลัย
ธรรมศาสตร์ ที่ช่วยอนุเคราะห์หนังสื อและเอกสารสาหรับใช้ประกอบการศึกษาและวิจยั ในครั้งนี้
ขอขอบคุ ณเพื่อนภัณฑารักษ์ทุกท่าน โดยเฉพาะคุ ณ ศราวุฒิ วัชระปั นตี ภัณฑารักษ์
ปฏิ บ ตั ิ ก าร ส านัก ทรั พ ย์สิ นมี ค่า ของแผ่นดิ น ที่ ช่ วยค้นเอกสารและเก็ บ ข้อมูล ประกอบการวิจยั
ตลอดจนคาแนะนาและช่วยดาเนินการจัดทารู ปเล่มการค้นคว้าอิสระฉบับนี้ให้สมบูรณ์
ขอขอบคุณสมาชิกครอบครัวฤทธิ์ ภักดี คุณแม่ประภา ขาวสอาด คุณภารดี ฤทธิ์ ภักดี
พร้อมด้วยคุ ณสุ วภัทร ฤทธิ์ ภักดี ผูอ้ ยูเ่ บื้องหลังความสาเร็ จทุกอย่าง ทั้งในการสนับสนุ นค่าใช้จ่าย
และให้กาลังใจด้วยดีมาตลอดการศึกษา
คุณค่าหรื อประโยชน์อนั เกิดจากการค้นคว้าอิสระฉบับนี้ ผูว้ ิจยั ขอน้อมบูชาแด่พระคุณ
บิดา มารดา ครู อาจารย์ ที่อบรมสั่งสอน แนะนา ให้แนวคิด เป็ นแรงผลักดัน ให้อดทนและต่อสู้กบั
อุปสรรคจนสาเร็ จการศึกษา


สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ....................................................................................................... ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ .................................................................................................. จ
กิตติกรรมประกาศ ....................................................................................................... ฉ
สารบัญภาพ ................................................................................................................... ญ
บทที่

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก
1 บทนา .................................................................................................................. 1
ลาง

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ................................................... 1
ความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา ........................................ 4
สมมุติฐานของการศึกษา .......................................................................... 5
ขอบเขตของการศึกษา ............................................................................. 5
ขั้นตอนการศึกษา ..................................................................................... 5
วิธีการศึกษา ............................................................................................. 6
แหล่งข้อมูล .............................................................................................. 6
2 เครื่ องราชูปโภคทองคาในประวัติศาสตร์ไทย ..................................................... 8
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยา .......................................................... 9
เครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระมหากษัตริ ย ์ ........................... 10
เครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องยศ
แก่เจ้านายและขุนนาง ................................................................ 11
ลักษณะรู ปแบบเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยา ...................... 12
เทคนิควิธีการสร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยา .................. 18
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ (รัชกาลที่ 1 – 4) ........................ 22
เครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระมหากษัตริ ย ์ ........................... 22
เครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องยศ
แก่เจ้านายและขุนนาง ................................................................... 23
ลักษณะรู ปแบบเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ..................... 24
เทคนิควิธีการสร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ .......... 37


บทที่ หน้า
ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อเทคนิคและลวดลายเครื่ องราชูปโภคทองคา
สมัยรัชกาลที่ 5.......................................................................................... 41
เครื่ องราชูปโภคทองคาในเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์
จุลจอมเกล้า................................................................................... 42
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 .................................................... 48
ลักษณะรู ปแบบเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 .............. 49
เทคนิควิธีการ ............................................................................... 53

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก
ลักษณะเฉพาะเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ............................. 55
ลาง
3

เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ใน
ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศ เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ และเหรี ยญกษาปณ์ .................... 58
กลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ................................. 60
ความสาคัญ .................................................................................. 60
ประเภทของเครื่ องราชูปโภคทองคา ........................................... 63
เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา ............................................. 63
เครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก ........................................ 76
เทคนิควิธีการ ............................................................................... 88
การสลักลายดุนลงยา ......................................................... 88
การสลักลายดุนนูนไม่ลงยา ............................................... 89
การสลักร่ องลายลงยา .......................................................... 89
กลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาชิ้นอื่น ๆ........................................................ 91
ความสาคัญ .................................................................................. 91
ประเภทของเครื่ องราชูปโภคทองคาที่ใช้ศึกษา .......................... 91
เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา (สี ชมพู) ............................... 91
เครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีตราจุลมงกุฎหรื อ
พระราชลัญจกรประจารัชกาลที่ 5 .................................... 99
เทคนิควิธีการ ............................................................................. 110


บทที่ หน้า
4 การวิเคราะห์ลกั ษณะรู ปทรง ลวดลาย และเทคนิค เครื่ องราชูปโภคทองคา
สมัยรัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศ เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์
และเหรี ยญกษาปณ์ ............................................................................................. 112
ลักษณะรู ปแบบเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ .................................................................... 112
ลวดลายเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา สมัยรัชกาลที่ 5
ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ...................................................................... 118

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก
กลุ่มลายประยุกต์ ..............................................................................118
ลาง
ส กลุ่มลายไทยทัว่ ไปหรื อลายไทยประเพณี ...................................... 127
กลุ่มลายอิทธิพลศิลปะจีน .............................................................. 130
เทคนิควิธีการสร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาเครื่ องราชูปโภคทองคา
สมัยรัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ .......................................... 135
เทคนิคการสลักลายดุนนูน ............................................................ 135
เทคนิคการสลักลายลงยา .............................................................. 135
5 บทสรุ ป ............................................................................................................... 140
ลักษณะรู ปแบบ ........................................................................................ 140
ลักษณะลวดลาย ....................................................................................... 141
กลุ่มลายใหม่ที่เกิดขึ้นสมัยรัชกาลที่ 5 ........................................... 141
กลุ่มลายที่สืบเนื่องมาจากรัชกาลก่อน .......................................... 142
เทคนิควิธีการ ............................................................................................. 142
เทคนิควิธีการเดิม .......................................................................... 143
เทคนิควิธีการใหม่ ........................................................................ 143
รายการอ้างอิง ................................................................................................................ 143
ประวัติผวู้ จิ ยั .................................................................................................................. 149


สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1 พระสุ วรรณภิงคารหรื อพระเต้าทองคาสมัยอยุธยา จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ .. 13
2 กระโถนทองคาสมัยอยุธยา จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ ...................................... 14
3 ซองพลูทองคาสมัยอยุธยา จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ ........................................ 14
4 พานทองคาสมัยอยุธยา จากกรุ พระปรางค์วดั มหาธาตุ ................................................ 15
5 ตลับทองคาทรงกลม จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ ................................................ 15
6 ตลับทองคาทรงเหลี่ยม จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ ............................................. 16
7
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
ถาดทองคาทรงกลม จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ .................................................. 16
8
9

ภาชนะรู ปหงส์ทองคา จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ ...............................................
พานพระขันหมากทองคาลงยา สมัยรัชกาลที่ 1 ...........................................................
17
25
10 พระมณฑปรัตนกรันฑ์ทองคาลงยา สมัยรัชกาลที่ 1 ................................................... 25
11 พระสุ พรรณศรี บวั แฉก (กระโถนทองคาลงยา) สมัยรัชกาลที่ 1 ................................. 26
12 พระสุ พรรณราช (กระโถนทองคาปากแตร) สมัยรัชกาลที่ 1 ...................................... 26
13 เจียดทองคา .................................................................................................................. 27
14 พานหมากหรื อพานพระศรี ทองคาลงยา ...................................................................... 28
15 กระโถนทองคาลงยา (พระสุ พรรณศรี ) ....................................................................... 29
16 ผอบทองคาลงยา .......................................................................................................... 29
17 ซองพลูทองคาลงยา ซองบุหรี่ ทองคาลงยา.................................................................. 30
18 คนโทหรื อพระเต้าทองคาลงยา .................................................................................... 31
19 กาน้ าทองคาลายสลัก ................................................................................................... 32
20 หีบหมากทองคาลงยา .................................................................................................. 33
21 เทคนิคลงยาสี โดยทัว่ ไป .............................................................................................. 39
22 เทคนิคลงยาราชาวดี ..................................................................................................... 39
23 เครื่ องราชูปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานผูม้ ีบรรดาศักดิ์เป็ น
เจ้าพระยาหรื อผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า
(ฝ่ ายหน้า) ..................................................................................................................... 43
24 เครื่ องราชูปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานท่านผูห้ ญิงในสมเด็จ
เจ้าพระยาสมัยก่อน หรื อผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า 44
(ฝ่ ายใน) .......................................................................................................................


ภาพที่ หน้า
25 เครื่ องราชูปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานผูม้ ีบรรดาศักดิ์เป็ น
พระยา หรื อผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้า (ฝ่ ายหน้า)... 45
26 เครื่ องราชูปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานแก่ท่านผูห้ ญิงใน
เจ้าพระยาสมัยก่อน หรื อผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้า
(ฝ่ ายใน) ....................................................................................................................... 46
27 เครื่ องราชูปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานผูม้ ีบรรดาศักดิ์เป็ น

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก
พระยาหรื อผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ .............. 47
ลาง

28 ตราจุลมงกุฎบนฝากาทองคาทรงกระบอก .................................................................. 50
29 ตราจุลมงกุฎบนฝาหีบหมากทองคาลงยา ................................................................... 51
30 ลายเครื อเถาบนเครื่ องทองลงยาสี ชมพู ........................................................................ 51
31 ตราจุลมงกุฎสลักบนฝาหีบหมากทองคาลงยา ............................................................ 55
32 เครื่ องราชูปโภคทองคาในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพ 61
รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ............................................................................
33 เครื่ องราชูปโภคทองคาที่ทอดไว้ขา้ งพระที่นง่ั พระองค์เจ้าศรี วลิ ยั ลักษณ์ ทรงเครื่ องต้น 62
ในการสมโภชเวียนเทียนในพระราชพิธีโสกันต์ พ.ศ.2421 .........................................
34 ลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิม .......................................................................... 66
35 ลายช่อดอกราเพยบนเงินพดด้วงที่ระลึกในสมัยรัชกาลที่ 5 ........................................ 67
36 ฝาจุกขันน้ าเสวยทาเป็ นรู ปผลทับทิม ผลไม้มงคลในคติความเชื่อของจีน ................... 68
37 ลายเครื อเถาใบเทศบนเพดานพระอุโบสถวัดราชบพิธฯ สมัยรัชกาลที่ 5 .................... 69
38 ลายเครื อเถาก้านขดบนเพดานพระอุโบสถวัดเทพศิรินทราวาส สมัยรัชกาลที่ 5 ........ 69
39 ลายเครื อเถาพรรณพฤกษา บนฉลองพระองค์ครุ ยปักลาย จปร. สมัยรัชกาลที่ 5.......... 69
40 ลายเถาดอกไม้ (ลงยาสี ชมพู) ....................................................................................... 70
41 ลายเถาดอกไม้บนฝักพระแสงดาบญี่ปุ่นทองคาลงยาสี ชมพู สมัยรัชกาลที่ 5 .............. 71
42 ลายดอกไม้แบบตะวันตกบนเครื่ องถ้วยชุดจักรี พ.ศ.2430 สมัยรัชกาลที่ 5.................. 72
43 ลายก้านต่อดอกใบเทศ ................................................................................................. 73
44 การสลักดุนขอบลายลงยา ........................................................................................... 44
45 พานทองคาลงยาสลักลายก้านต่อดอกใบเทศ สมัยรัชกาลที่ 2 ..................................... 74


ภาพที่ หน้า
46 การสลักร่ องลายลงยาหรื อเทคนิคการเหยียบลาย ........................................................ 75
47 หีบหมากทองคาลงยาประดับเพชรพร้อมตลับทองคาลงยา ........................................ 76
48 ลายเถาดอกไม้ลายสลักหรื อสลักลายดุนนูน ............................................................... 78
49 กาทรงกระบอกทองคาสลักลายเถาดอกไม้ บนฝาสลักตราจุลมงกุฎ........................... 79
50 ลายเถาดอกไม้จีน ........................................................................................................
80
51 ลายเครื อดอกไม้ใบหญ้าในศิลปะจีน .......................................................................... 80
52 ถาดรองกาทองคาสลักลายเถาดอกไม้จีน ..................................................................... 81
53
ห อ ส มุ ด ก
ลายเถาดอกไม้จีนบนฝักพระแสงดาบ สมัยรัชกาลที่ 5 มีอกั ษรย่อ จปร.......................
ำน ก
ั ลาง 81
54

ลายเถาดอกไม้จีนบนหีบหมากเงินลงยา มีพระปรมาภิไธยย่อ จปร. บนฝาหีบ
สมัยรัชกาลที่ 5 ในชุดเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้า ............. 82
55 กาน้ าทองคาสลักลายเถาดอกไม้จีน สมัยรัชกาลที่ 5 .................................................... 82
56 ลายดอกพุดตานใบเทศ ................................................................................................ 83
57 เครื่ องราชูปโภคทองคาสลักลายดอกพุดตานที่ฝาภาชนะ สมัยอยุธยา ........................ 84
58 กระโถนทองคาสลักลายดอกพุดตานใบเทศ สมัยรัชกาลที่ 3 ...................................... 84
59 จอกหมากทองคาลงยา สมัยรัชกาลที่ 3 ....................................................................... 85
60 ปิ่ นโตทองคาถมทองลายดอกพุดตานใบเทศ สมัยรัชกาลที่ 3 ..................................... 85
61 กาทรงกระบอกทองคาลายดอกพุดตานใบเทศ ฝาสลักตรามหามงกุฎ สมัยรัชกาลที่ 4 ... 86
62 กาทรงกระบอกทองคาลายดอกพุดตานใบเทศ ฝาสลักตราจุลมงกุฎ สมัยรัชกาลที่ 5.. .... 87
63 การสลักลายดุนนูนลงยา .............................................................................................. 88
64 การสลักลายดุนนูน ...................................................................................................... 89
65 การสลักร่ องลายลงยาหรื อการเหยียบลาย .................................................................... 90
66 ผอบทองคาลงยาสี ชมพู ............................................................................................... 92
67 ตลับภู่ทองคาลงยาสี ชมพู (ชิ้นที่ 1) .............................................................................. 93
68 ตลับภู่ทองคาลงยาสี ชมพู (ชิ้นที่ 2) .............................................................................. 93
69 มีดด้ามทองคาลงยาสี ชมพู ........................................................................................... 93
70 มังสี ทองคาลงยาสี ชมพู ............................................................................................... 94
71 คนโททองคาลงยาสี ชมพู ............................................................................................ 94
72 เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาลายเถาดอกไม้ ในสมัยรัชกาลที่ 5................................... 95


ภาพที่ หน้า
73 ลายเครื อเถาดอกใบเทศ ............................................................................................... 96
74 ลายเครื อเถาดอกใบเทศบนหี บหมากทองคาลงยาสี ชมพู ฝาหีบสลักตราจุลมงกุฎ
สมัยรัชกาลที่ 5............................................................................................................. 97
75 เครื่ องราชูปโภคทองคา ลายเครื อเถาดอกใบเทศ ในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ
พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช ในพระราชพิธีโสกันต์ พ.ศ. 2427 .................................. 98
76 เครื่ องราชูปโภคทองคา ลายเครื อเถาดอกใบเทศ ในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ
สมเด็จเจ้าฟ้ าบริ พตั รสุ ขมุ พันธ์ ในพระราชพิธีรับพระสุ พรรณบัตร พ.ศ. 2427............ 98
77

ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
กาทรงกระบอกทองคาลายสลัก ลายธรรมชาติและวิถีชีวติ ฝาสลักตราจุลมงกุฎ ........
ำน 100
78
79

กาทรงกระบอกทองคาลายสลัก ลายเถาดอกไม้ ฝาสลักตราจุลมงกุฎ .........................
กาทรงกระบอกทองคาลายสลัก ลายดอกพุดตานใบเทศ ฝาสลักตราจุลมงกุฎ ............
100
101
80 หี บพระศรี หรื อหีบหมากทองคาสลักลายลงยา ฝาสลักตราจุลมงกุฎ ........................... 102
81 หีบพระศรี หรื อหีบหมากทองคาสลักลายลงยา ฝาสลักตราจุลมงกุฎ ........................... 102
82 ลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ บนเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา ............................... 104
83 ผอบทรงเหลี่ยม (ทรงมณฑป) ทองคาลงยา................................................................. 104
84 คนโททองคาลงยา........................................................................................................ 105
85 ป้ านชาทองคาสลักลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ ในชุดที่ชาทองคาสลักลาย
เดียวกันทั้งชุด .............................................................................................................. 106
86 ลายธรรมชาติและวิถีชีวติ บนเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก................................... 106
87 ลายธรรมชาติประดับบนหน้าบันพระอุโบสถวัดราชโอรสฯ ...................................... 107
88 ลายธรรมชาติและวิถีชีวติ บนเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก ฝากาสลักตรา
พระจุฑามณี .................................................................................................................. 108
89 ฝาสลักตรามหามงกุฎ บนกาทรงกระบอกทองคาสลักลายธรรมชาติ
สมัยรัชกาลที่4 ............................................................................................................. 109
90 จานรองป้ านชาทองคา ลายดอกพุดตานใบเทศ ........................................................... 109
91 พานทรงกลมสาหรับเจ้านาย ....................................................................................... 112
92 จอกหมากทรงกลมสาหรับฝ่ ายใน ............................................................................... 113
93 มังสี (จอกหมาก) สาหรับฝ่ ายหน้า .............................................................................. 113
94 ผอบทรงกลมสาหรับฝ่ ายใน ........................................................................................ 113


ภาพที่ หน้า
95 ผอบทรงเหลี่ยมสาหรับฝ่ ายหน้า .................................................................................. 113
96 กาน้ าทรงกระบอกสาหรับเจ้านาย ............................................................................... 114
97 กาน้ าทรงกลม (ทรงมัณฑ์) สาหรับขุนนาง ................................................................. 114
98 กาทรงมัณฑ์ (ทรงกลม) ทองคาในเครื่ องยศของเจ้าพระยาบดินทร์ เดชา
(สิ งห์ สิ งหเสนี) .......................................................................................................... 115
99 เครื่ องราชูปโภคทองคาในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศพระราชพิธีโสกันต์ สมเด็จ
เจ้าฟ้ าสมมติวงศ์วโรทัย (เจ้านายฝ่ ายหน้า) พ.ศ. 2437 ................................................... 115
100
ห อ ส มุ ด ก
เครื่ องราชูปโภคทองคาในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศพระราชพิธีโสกันต์ สมเด็จ
ำน ก
ั ลาง
101

เจ้าฟ้ าวไลยอลงกรณ์ (เจ้านายฝ่ ายใน) พ.ศ. 2439 ......................................................... 115
ชุดพานพระศรี สาหรับเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าฝ่ ายหน้า ......................................................... 116
102 ชุดพานพระศรี สาหรับเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าฝ่ ายใน ........................................................... 117
103 เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาลายกอบัว สาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องประกอบ
พระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายใน สมัยรัชกาลที่ 5 ................................................................ 120
104 ลายเครื อเถาดอกไม้บนสถูปจาลอง สมัยรัชกาลที่ 4 ................................................... 121
105 ลายเครื อเถาดอกไม้ใบไม้บนพระแสงดาบญี่ปุ่น สมัยรัชกาลที่ 5 ............................... 123
106 เครื่ องราชูปโภคทองคา สมัยรัชกาลที่ 5 ในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จ
เจ้าฟ้ ามหาวชิรุณหิ ศ (เจ้านายฝ่ ายหน้า) ในพระราชพิธีโสกันต์ พ.ศ. 2433................... 124
107 เครื่ องราชูปโภคทองคา สมัยรัชกาลที่ 5 ในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จ
เจ้าฟ้ ามหาวชิ ราวุธ (เจ้านายฝ่ ายหน้า) ในพระราชพิธีโสกันต์ พ.ศ. 2435 ..................... 124
108 ลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ บนผอบทรงกลมทองคาลงยา (ด้านซ้าย)
และจอกหมากทองคาลงยา (ด้านขวา) ......................................................................... 126
109 ลายก้านต่อดอกใบเทศ บนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ใน เทคนิค
สลักลายดุนนูนลงยา .................................................................................................... 129
110 ลายก้านต่อดอกใบเทศ บนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ใน เทคนิค
สลักร่ องลายลงยา ........................................................................................................ 129
111 ลายก้านต่อดอกใบเทศ บนเครื่ องราชูปโภคทองคา (พาน) สมัยรัตนโกสิ นทร์ใน
เทคนิคสลักลายดุนนูน ................................................................................................. 130
112 เครื่ องกระเบื้องลายคราม ลายดอกไม้จีน สมัยรัชกาลที่ 5 ........................................... 131


ภาพที่ หน้า
113 ลายดอกไม้จีน บนกาทรงกระบอกทองคา สมัยรัชกาลที่ 5 ในเทคนิคสลักลายดุนนูน 132
114 ตลับภู่ทรงกลมทองคาลงยา สมัยรัชกาลที่ 5 เทคนิคสลักร่ องลายลงยา ...................... 136
115 ตลับภู่ทองคาลงยารู ปผลลิ้นจี่ สมัยรัชกาลที่ 5 เทคนิคสลักร่ องลายลงยา .................. 137
116 ขันสรงพระพักตร์ ทองคาลงยา เทคนิคสลักร่ องลายลงยา ........................................... 137

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง


1

บทที่ 1
บทนำ

1. ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
สั ง คมไทยในอดี ต ปกครองโดยสถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ มี พ ระราชอาญาสิ ท ธิ์
ในการปกครอง มีการแบ่งชนชั้นเจ้านายและขุนนางพร้อมมอบอานาจหรื อแต่งตั้งผูท้ ี่ทรงไว้วาง

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
พระราชหฤทั ย ให้ ช่ ว ยดู แ ลบ้ า นเมื อ งจึ ง มี ก ารแต่ ง ตั้ งให้ มี ต าแหน่ ง หน้ า ที่ ต ามยศศั ก ดิ์

โดยพระราชทานเครื่ องยศเพื่อเป็ นเครื่ องแสดงยศศักดิ์ฐานะ ตาแหน่งและหน้าที่ของผูน้ ้ นั และยัง
เป็ นเครื่ องหมายแสดงเกี ย รติ ย ศ แสดงถึ ง ความส าคัญของตาแหน่ ง หน้า ที่และบ าเหน็ จรางวัล ที่
พระมหากษัตริ ยพ์ ระราชทานแก่ผูก้ ระทาความดีความชอบในราชการแผ่นดิน ซึ่ งเป็ นธรรมเนี ยม
ประเพณี ยึดถื อปฏิ บตั ิ มาแต่ครั้งโบราณ เครื่ องยศจึงมีไว้เพื่อพระราชทานแก่ ราชตระกูล เจ้านาย
ขุน นาง ข้า ราชการชั้น สู ง ตลอดจนผูม้ ี ค วามดี ค วามชอบต่ อ แผ่น ดิ นให้ป รากฏตามชั้น ยศและ
ฐานันดรศักดิ์1 โดยเครื่ องยศหรื อเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศมีหลายประเภท นิ ยมสร้างด้วยวัสดุ
มีค่า รวมทั้งเครื่ องอุปโภคที่เป็ นเครื่ องยศประเภทหนึ่ งและเกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริ ยห์ รื อเจ้านาย
เรี ยกโดยทัว่ ไปว่า “เครื่ องราชูปโภค” นิ ยมสร้างด้วยทองคา บางครั้งอาจมีการลงยาสี หรื อประดับ
อัญมณี ที่มีลวดลาย เพื่อความสวยงามตามลาดับชั้นยศของผูไ้ ด้รับพระราชทาน
เครื่ องราชู ป โภคทองค าใช้เป็ นเครื่ องยศมาตั้ง แต่ ส มัย โบราณ ประกอบด้วยเครื่ อ ง
อุ ป โภคหลายชนิ ด เช่ น พานหมาก คนโท ขัน น้ า พานรอง หี บ หมาก กาน้ า ถาดรอง เป็ นต้น
ซึ่งสิ่ งของเหล่านี้ สาหรับพระมหากษัตริ ยพ์ ระราชทานให้แก่เจ้านายและขุนนางตามลาดับชั้นยศใน
วาระโอกาสต่ า ง ๆ หรื อพระราชพิ ธี ส าคัญ ในราชส านัก เพื่ อ แสดงฐานานุ ศ ัก ดิ์ ของผู้ไ ด้รั บ
พระราชทานตามโบราณราชประเพณี อนั เป็ นธรรมเนี ยมที่สืบทอดกันมา อาจมีมาแล้วตั้งแต่ก่อน
สมัยสุ โขทัยและมาพบหลักฐานชัดเจนในสมัยอยุธยา สื บมาจนถึง สมัยรัตนโกสิ นทร์ นอกจากนี้ ยงั
ใช้เป็ นเครื่ องราชบรรณาการสาหรั บการผูก สัม พันธไมตรี ระหว่า งประเทศ ดังปรากฏหลัก ฐาน
ในสมัยรั ชกาลที่ 4 มี การส่ งเครื่ องราชู ป โภคทองคาถวายเป็ นเครื่ องราชบรรณาการแด่ พ ระนาง

1
หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์, เครื่องรำชอิสริยยศ พระบรมรำชวงศ์ กรุ ง
รัตนโกสิ นทร์ (กรุ งเทพฯ: บริ ษทั รี เจนซี่บรั่นดีไทย จากัด, 2539), 13.
1
2

วิ ค ตอเรี ย แห่ ง อั ง กฤษในปี พ.ศ. 2400 2 และพระเจ้ า นโปเลี ย นที่ 3 แห่ ง ฝรั่ ง เศส ในปี
พ.ศ.24043 ดังนั้นการสร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยรัตนโกสิ นทร์ สันนิษฐานว่าเริ่ มมีมาตั้งแต่
สมัย รั ช กาลที่ 1 เป็ นต้น มาและมี ก ารสร้ า งขึ้ นเพิ่ ม เติ ม ในรั ช กาลต่ อ ๆ มา เพื่ อ เป็ นสิ่ ง ของ
พระราชทานแก่เจ้านายและขุนนางในวาระโอกาสต่าง ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น เมื่อผูท้ ี่ได้รับพระราชทาน
พ้นจากวาระหรื อตาแหน่งต้องนาส่ งคืนท้องพระคลังหลวงหรื อพระคลังมหาสมบัติ เพื่อนากลับมา
ใช้เป็ นเครื่ องยศสาหรับผูท้ ี่ได้รับพระราชทานในโอกาสต่อไป
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั เป็ นยุคสมัยที่มีการปรับปรุ ง
เปลี่ ย นแปลงบ้า นเมื อ งให้ ท ัน สมัย ธรรมเนี ย มการพระราชทานเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าเป็ น

น ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
เครื่ องประกอบพระอิ สริ ยยศแก่ เจ้านายและขุนนางชั้นสู งในโอกาสและวาระสาคัญยังคงปฏิ บตั ิ


สื บมาในรั ชสมัยนี้ แม้ว่ามี การพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ตามอย่างชาติตะวันตก4 แต่งาน
ช่างทองหลวงยังคงมีบทบาทในการสร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาเพื่อใช้เป็ นเครื่ องยศของเจ้านาย
และขุนนาง อีกทั้งยังเป็ นเครื่ องใช้ในพระราชพิธีสาคัญอีกด้วย โดยพบว่ามีการสร้างเครื่ องยศเพื่อ
พระราชทานแก่เจ้านายฝ่ ายในเพิ่มเติม ในปี พ.ศ.24215 แสดงให้เห็นว่าในสมัยรัตนโกสิ นทร์ มีการ
สร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาสื บทอดมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5
จากกระแสวัฒนธรรมตะวันตกที่แพร่ เข้ามายังประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ส่ง
อิ ทธิ พลต่องานศิ ลปกรรมหรื องานช่ างทองหลวงเป็ นอย่า งมาก เป็ นยุคแห่ ง การปรับเปลี่ ยนของ
งานศิ ล ปะสมัยรั ตนโกสิ นทร์ ดัง นั้น การสร้ างเครื่ องราชู ปโภคทองค าในต้นพุ ทธศตวรรษที่ 25
งานประณี ตศิลป์ ไทยยังคงสื บทอดงานช่ างฝี มือโบราณ โดยยังรักษารู ปแบบเดิม พร้อมทั้งการรับ
อิทธิ พลทางศิลปะจากต่างชาติเข้ามาผสม ทาให้เกิดลวดลายแบบตะวันตกและปรากฏเทคนิคการลง
ยาสี ชมพูในเครื่ องราชูปโภคทองคาในชิ้นที่มีประวัติการสร้างสมัยรัชกาลที่ 5 ถือเป็ นเอกลักษณ์ของ
งานเครื่ องทองในรัชสมัยนี้ สันนิ ษฐานว่าสร้างขึ้นตามรู ปแบบที่เคยมีมาในรัชกาลก่อน พร้อมกับ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิ ดขึ้นจากปั จจัยและอิทธิ พลภายนอก ตลอดจนความนิ ยมที่เกิ ดขึ้นในสมัยนั้น

2
พิพฒั น์ พงศ์รพีพร, สมุดภำพรัชกำลที่ 4 (กรุ งเทพฯ: ไพศาลการพิมพ์, 2547), 239
3
เรื่ องเดียวกัน, 241.
4
สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี , เครื่องรำชอิสริยำภรณ์ไทย (กรุ งเทพฯ: บริ ษทั ด่าน
สุ ทธาการพิมพ์ จากัด, 2536), 7.
5
สมภพ จันทรประภา, สมเด็จพระศรีสวรินทิรำฯ (กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์เรื อนแก้ว
การพิมพ์,2543), 15 – 16.
3

ทาให้มีเอกลักษณ์และลักษณะบางประการแตกต่างจากเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์


ที่สร้างมาก่อนสมัยนี้
นอกจากนี้ ย งั ไม่ พ บหลัก ฐานการสร้ า งเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าในรั ช กาลต่ อ ๆ มา
เนื่ อ งจากมี ก ารน าเครื่ อ งราชู ป โภคที่ มี อ ยู่เ ดิ ม ในพระคลัง หลวงน ากลับ มาใช้เ ป็ นเครื่ อ งยศอี ก
เครื่ องประกอบพระอิ สริ ยยศที่เป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาของเจ้านายในสมัยต่อมา จึงมีรูปแบบ
และลวดลายหลากหลายชนิ ด ไม่ได้สร้างขึ้นในวาระโอกาสเดียวกัน มีขอ้ สังเกตว่าเครื่ องประกอบ
พระอิ สริ ยยศของเจ้านายในปั จจุ บนั ที่จดั แสดงอยู่ภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ในหนึ่ งชุ ดมี
เทคนิคและลวดลายไม่เหมือนกันทั้งชุด

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
ในปั จจุบนั เครื่ องยศหรื อเครื่ องราชูปโภคทองคาส่ วนใหญ่อยูภ่ ายใต้การดูแลรักษาของ

สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ โดยมีการคัดเลือกนามาจัดแสดงภายในศาลาเครื่ อง
ราชอิสริ ยยศ เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์และเหรี ยญกษาปณ์ ซึ่ งเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่จดั แสดงทรัพย์สินมีค่า
ของแผ่นดิ นและศิลปวัตถุ สมัยรัตนโกสิ นทร์ ที่สาคัญแห่ งหนึ่ งของประเทศไทย โดยทรัพย์สินมีค่า
หรื อศิ ล ปวัตถุ ที่ จดั แสดงในพิ พิ ธ ภัณฑ์ดัง กล่ า ว มี ท้ งั เครื่ องราชอิส ริ ย ยศประเภทต่ า ง ๆ ต้นเค้า
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ไทยและเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ต่างประเทศที่สาคัญ ตลอดจนเหรี ยญกษาปณ์
และเหรี ย ญที่ ร ะลึ ก ส าคัญ ตั้ง แต่ ส มัย โบราณจนถึ ง ปั จ จุ บ ัน หลายชนิ ด รวมทั้ง สิ้ น 1,380 ชิ้ น6
ในจานวนนี้ มีเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่นามาจัดแสดง จานวน 227 ชิ้ น เคยใช้เป็ นเครื่ องประกอบ
พระอิสริ ยยศเจ้านายและขุนนางชั้นสู งในสมัยรัตนโกสิ นทร์ เครื่ องราชูปโภคชุดสาคัญที่จดั แสดงใน
ศาลาเครื่ องราชอิ ส ริ ย ยศฯ ในปั จจุ บนั ได้แก่ เครื่ องประกอบพระราชอิ ส ริ ย ยศสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี เครื่ องประกอบพระราชอิสริ ยยศพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า
โสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ เครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าฝ่ ายหน้า และเครื่ อง
ประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าฝ่ ายใน
ตามประวัติของเครื่ องราชูปโภคทองคาเหล่านี้ ที่จดั แสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
เป็ นทรัพย์สินของแผ่นดิ นที่ เก็บรักษาไว้ในพระคลังมหาสมบัติ ในพระบรมมหาราชวัง ภายหลัง
การเปลี่ ย นแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475 มี ก ารแบ่ งแยกระหว่างทรั พ ย์สิ นของแผ่นดิ นกับ
ทรัพย์สินส่ วนพระมหากษัตริ ย ์ เก็บอยูภ่ ายในหี บปะปนทรัพย์สินประเภทอื่น ๆ แต่ไม่พบหลักฐาน
หรื อบันทึกการสร้าง จึงไม่สามารถกาหนดอายุสมัยของเครื่ องราชูปโภคทองคาแต่ละชิ้ น อันเป็ น
ปั ญ หาในการคัด เลื อ กทรั พ ย์สิ น ที่ เ ก็ บ รั ก ษาอยู่น ามาจัด แสดงและจัด ท าค าบรรยายประกอบ
การจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ จึงต้องอาศัยวิธีการวิเคราะห์รูปแบบและลวดลายเบื้ องต้นพอสังเขป
6
ส่ วนจัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนา -
รักษ์, “รายการทรัพย์สินจัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ,” 14 สิ งหาคม 2556.
4

เท่านั้น สาหรับเครื่ องราชูปโภคทองคาที่จดั แสดงภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ นั้น สันนิษฐาน


ว่ามีการสร้ างมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เรื่ อยมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่ งมีหลักฐานที่มีการกล่าวถึง
การสร้ า งขึ้นเพิ่มเติ ม สาหรั บ พระราชทานให้เป็ นเครื่ องประกอบพระอิส ริ ย ยศของเจ้า นายและ
ขุนนางชั้น สู ง บางชิ้ นมี พ ระราชลัญจกรประจ ารั ช กาลปรากฏอยู่ด้วย เช่ น ตราพระมหามงกุ ฎ
ตราจุลมงกุฎ เป็ นต้น ก็สามารถกาหนดอายุสมัยของชิ้ นนั้นได้ชดั เจนขึ้น สาหรับเทคนิ คการลงยา
สี ชมพูซ่ ึ งไม่เคยปรากฏมาก่ อนในเครื่ องทองลงยาสี ของไทย ปรากฏในเครื่ องราชู ป โภคชิ้ นที่ มี
พระราชลัญจกรในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่ น ตราจุลมงกุฎ เชื่ อว่าเป็ นเครื่ องราชูปโภคสมัยรั ชกาลที่ 5
ได้เช่ นกัน จึง อาจกล่ า วได้ว่า เทคนิ คการตกแต่ง ด้วยการลงยาสี ช มพูเป็ นตัวก าหนดอายุส มัย ได้

น ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
นอกจากนี้ การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคากับงานศิลปกรรมร่ วมสมัย


เดี ย วกัน หรื อเปรี ยบเที ยบลวดลายของเครื่ องราชู ป โภคกับ ชิ้ นที่ มีตราจุ ลมงกุฎ หรื อลงยาสี ชมพู
ทั้งนี้อาจต้องทาการตรวจสอบในรายละเอียดหลักฐานการสร้างหรื อหลักฐานอื่นประกอบด้วย
ดังนั้นการศึกษาเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ทาให้เราทราบถึงรู ปแบบและ
ความนิ ย มในศิ ล ปะที่ ถ่ า ยทอดออกเป็ นงานช่ า งทองในสมัย นั้น ซึ่ งเป็ นยุ ค ที่ ป ระเทศไทยมี
การปรั บ เปลี่ ย นหลายด้า น ตลอดจนสะท้อ นให้ เ ห็ น ถึ ง กระแสอิ ท ธิ พ ลตะวัน ตก ที่ ท าให้เ กิ ด
การเปลี่ยนแปลง ตลอดจนมีผลต่อการพัฒนาเทคนิครู ปแบบและลวดลายลักษณะเฉพาะตัวที่เกิดขึ้น
โดยการวิเคราะห์ลกั ษณะรู ปแบบเบื้องต้นเพื่อแยกประเภทเทคนิ คและลวดลายต่าง ๆ ที่ปรากฏใน
สมัยนั้น อีกทั้งพบลวดลายที่เกิดขึ้นใหม่ และลวดลายที่มีรูปแบบสื บเนื่องมาจากลวดลายเดิมที่มีมา
ก่อนแล้ว รวมทั้งปั จจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบลวดลายดังกล่าวด้วย
การศึกษาเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ที่จดั แสดงอยูภ่ ายในศาลาเครื่ องราช
อิส ริ ย ยศฯ สามารถนาผลที่ ไ ด้จากการศึ กษามาใช้ช่วยวิเคราะห์และกาหนดอายุสมัยของเครื่ อง
ราชู ปโภคทองคาชิ้ นอื่ น ๆ ที่ไม่ได้นาออกจัดแสดง โดยใช้ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ เป็ นเกณฑ์
ก าหนดอายุ ส มั ย เครื่ องราชู ป โภคทองค าที่ จ ั ด แสดงอยู่ ภ ายในศาลาเครื่ องราชอิ ส ริ ยยศ
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์และเหรี ยญกษาปณ์ได้ชดั เจนยิง่ ขึ้น

2. ควำมมุ่งหมำยและวัตถุประสงค์ ของกำรศึกษำ
ศึกษาเทคนิ คและลวดลายบนเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ที่จดั แสดงใน
ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ มีวตั ถุประสงค์ 3 ประการ คือ
1. เพื่อเปรี ยบเทียบเทคนิคและลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาชิ้นอื่นๆ ที่จดั แสดง
ภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ซึ่ งช่วยกาหนดอายุสมัยของเครื่ องราชูปโภคชิ้นนั้นได้ชดั เจนขึ้น
5

2. เพื่อให้ทราบวิวฒั นาการ ลักษณะรู ปแบบ ตลอดจนเทคนิ คและลวดลายของเครื่ อง


ราชูปโภคทองคาที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5
3. เพื่อให้ทราบที่ม าของปั จจัย และอิ ทธิ พ ลที่ ทาให้เกิ ดรู ปแบบเทคนิ คและลวดลาย
บนเครื่ องราชูปโภคสมัยรัชกาลที่ 5

3. สมมุติฐำนของกำรศึกษำ
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 มีเทคนิ คและลวดลายที่เป็ นลักษณะเฉพาะและ
มีรายละเอียดบางประการแตกต่างจากเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ทว่ั ไป คือ การลงยา

น ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
สี ชมพู มีพระราชลัญจกรประจารัชกาลปรากฏอยู่ และมีรูปแบบลวดลายลักษณะเดียวกันกับงาน


ศิลปกรรมอื่นๆ ที่สร้างขึ้นในสมัยเดียวกัน

4. ขอบเขตของกำรศึกษำ
ศึกษาลัก ษณะรู ป แบบ ลวดลาย และเทคนิ คเครื่ องราชู ปโภคทองค าที่มีประวัติหรื อ
ปรากฏหลัก ฐานการสร้ า งในสมัย รั ช กาลที่ 5 ที่ จ ัด แสดงอยู่ภ ายในศาลาเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย ยศ
เครื่ องราชอิ ส ริ ยาภรณ์ และเหรี ย ญกษาปณ์ ในพระบรมมหาราชวัง โดยศึ ก ษาเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่ งมี
ประวัติการสร้างชัดเจน โดยแบ่งออกตามลักษณะของรู ปแบบเทคนิคการสร้างทั้งเครื่ องราชูปโภค
ทองคาลงยาและเครื่ องราชู ปโภคทองคาลายสลัก จานวน 26 ชิ้ น (ยกเว้นถ้วยฝาหยก) และเครื่ อง
ราชู ปโภคทองค าที่ จดั แสดงร่ วมกับในเครื่ องอุป โภคชุ ดอื่น ๆ ที่ ปรากฏพระราชลัญจกรประจา
รัชกาลที่ 5 หรื อบางชิ้นมีการลงยาสี ชมพู จานวน 11 ชิ้น รวมทั้งสิ้ น 37 ชิ้น

5. ขั้นตอนของกำรศึกษำ
1. รวบรวมข้อมูล เอกสารและภาพถ่าย
2. จัดระเบียบข้อมูลทั้งเอกสารและภาพถ่าย
3. วิเคราะห์ขอ้ มูล
4. เขียนรายงานสรุ ป
5. นาเสนอข้อมูลการศึกษา
6

6. วิธีกำรศึกษำ
6.1 ขั้นตอนกำรรวบรวมข้ อมูล
6.1.1 ศึกษาจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
- เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเครื่ องทองสมัยรัตนโกสิ นทร์
- เอกสารที่เกี่ยวกับการศึกษาเครื่ องราชอิสริ ยยศของไทย
- เอกสารที่เกี่ยวกับการพระราชทานเครื่ องยศ (เครื่ องราชูปโภค) ทองคาแก่
เจ้านายและขุนนางในสมัยรัชกาลที่ 5
6.1.2 ศึ ก ษาจากศิ ล ปกรรมและลวดลายในงานสถาปั ตยกรรม ประติ มากรรม
จิตรกรรมในสมัยรัชกาลที่ 5
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

6.1.3 รวบรวมภาพถ่ายเก่าที่ปรากฏเครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยรัชกาลที่ 5 และ
เครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยรัตนโกสิ นทร์
6.2. กำรจัดระเบียบข้ อมูล
นาข้อมูลที่ ได้จากเอกสารและภาพถ่ายเครื่ องราชูปโภคทองคามาจาแนกประเภท
ให้เป็ นหมวดหมู่ เพื่อสะดวกต่อการนาไปศึกษารู ปแบบและลวดลายในลาดับต่อไป
6.3 ขั้นตอนกำรวิเครำะห์ ข้อมูล
นาผลที่ได้จากการศึกษาในข้อที่ 2 มาทาการศึกษาวิเคราะห์ให้ตรงตาม
วัตถุ ประสงค์ที่ กาหนดไว้
6.4. เขียนรำยงำนสรุ ป
น าข้อ มู ล ที่ ไ ด้จ ากการวิเ คราะห์ ข้อ มู ล มารวบรวมสรุ ป ผลตามวัต ถุ ป ระสงค์ที่
กาหนดไว้
6.5 นำเสนอผลกำรศึกษำ
นาผลการศึกษาที่ตรงตามวัตถุประสงค์มานาเสนอเป็ นรู ปเล่ม

7. แหล่ งข้ อมูล


ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาแบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ
7.1 ข้ อมูลเอกสำร รวมรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลได้แก่
- ส่ วนจัด แสดงทรั พ ย์สิ นมี ค่า ของแผ่นดิ น ส านัก ทรั พ ย์สิ นมี ค่า ของแผ่น ดิ น
กรมธนารักษ์
- ส่ วนเก็ บ รั ก ษาและอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ย์ สิ น ส านั ก ทรั พ ย์ สิ นมี ค่ า ของแผ่ น ดิ น
กรมธนารักษ์
7

- หอสมุดสาขา มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ


- หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
- หอสมุดปรี ดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
- ห้องสมุดกาญจนาภิเษก สานักพระราชวัง พระบรมมหาราชวัง
- ห้องสมุด ดร.ไสว สุ ทธิพิทกั ษ์ อนุสรณ์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
- พิพิธภัณฑ์พระที่นงั่ วิมานเมฆ พระราชวังดุสิต สานักพระราชวัง
7.2 ข้ อมูลภำพถ่ ำย รวบรวมภาพถ่ายจากแหล่งข้อมูลได้แก่
- ศาลาเครื่ องราชอิ ส ริ ยยศ เครื่ องราชอิ ส ริ ยาภรณ์ แ ละเหรี ยญกษาปณ์
ในพระบรมมหาราชวัง
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

- สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร
- พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรมศิลปากร
- วัดราชบพิธสถิตมหาสี มารามราชวรวิหาร
- วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร
- วัดอื่น ๆ ในกรุ งเทพฯ ที่มีประวัติการสร้างหรื อบูรณะในสมัยรัชกาลที่ 5
บทที่ 2
เครื่องราชู ปโภคทองคาในประวัติศาสตร์ ไทย

ประเทศไทยพบหลักฐานว่ามีการนาทองคามาประดิ ษฐ์เป็ นเครื่ องใช้ เครื่ องประดับ


และเครื่ อ งบู ช าทางศาสนามาตั้ง แต่ ส มัย ต้น ประวัติ ศ าสตร์ ดัง ปรากฏหลัก ฐานเอกสารและ
โบราณวัตถุ ท องค าจากแหล่ ง โบราณคดี ต่ า ง ๆ ซึ่ งแสดงถึ งฝี มื อ ช่ า งทองซึ่ ง มี ก ารพัฒ นาอย่า ง
ต่อเนื่ อง นอกจากการนาทองคามาประดิ ษฐ์เป็ นเครื่ องประดับและสิ่ ง ของอุทิศทางศาสนาแล้ว

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
ราชส านั ก ไทยยัง น ามาจัด ท าเป็ นสิ่ งของเครื่ องใช้ เครื่ องอุ ป โภคในชี วิ ต ประจ าวัน ของ

พระมหากษัตริ ย ์ เพื่อเป็ นเครื่ องหมายแสดงเกี ยรติยศ ฐานะ ชาติกาเนิ ดและฐานันดรศักดิ์ของผูถ้ ือ
กรรมสิ ท ธิ์ หรื อ ผูค้ รอบครอง นอกจากนี้ ยัง น ามาใช้เ ป็ นของบ าเหน็ จ หรื อ เครื่ อ งยศ ตอบแทน
ผูก้ ระทาความดี ความชอบในงานราชการสาคัญหรื อใช้เป็ นเครื่ องแสดงยศตาแหน่ ง ที่รู้จกั กันใน
ปัจจุบนั คือ เครื่ องราชูปโภคทองคา
ค าว่า ราชู ป โภค (บางครั้ งเรี ย กว่า ราโชปโภค) เป็ นค าสนธิ มาจากค าว่า ราชา +
อุปโภค มีความหมายถึง เครื่ องใช้สอยของพระราชา 2 หรื อ เครื่ องแสดงความเป็ นพระมหากษัตริ ย ์ 3
1

ทางราชการบัญญัติใ ช้สื บ กันมาว่า “เครื่ องราชู ป โภคของพระมหากษัตริ ย ์ มี 4 อย่า ง คื อ พาน


พระขันหมาก พระมณฑปรัตนกรัณฑ์ พระสุ พ รรณศรี (บัวแฉก) พระสุ พรรณราช”4 โดยทัว่ ไป
สิ่ ง ของที่ เป็ นเครื่ องใช้ส าหรั บ พระมหากษัตริ ย ์ เรี ย กว่า เครื่ องราชู ป โภค ทั้ง สิ้ น สันนิ ษ ฐานว่า
การสร้ า งเครื่ องราชู ป โภคทองค าเพื่อใช้ใ นราชส านัก มี ม าตั้ง แต่ ก่ อนสมัย สุ โขทัย พร้ อมกับ คติ
เทวราชา จึงมี การสร้ างสิ่ งของเครื่ องใช้สาหรับพระมหากษัตริ ยด์ ว้ ยวัสดุมีค่าเป็ นพิเศษ นอกจาก
เป็ นเครื่ องประกอบพระเกี ยรติยศของพระมหากษัตริ ยแ์ ล้ว ยังใช้เป็ นเครื่ องยศที่พระราชทานเป็ น

1
จมื่ นอมรดรุ ณารั กษ์ (แจ่ม สุ นทรเวช), พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
เกล้ าเจ้ าอยู่หัว เล่ ม 11 เรื่องพระราชประเพณี (ตอน3) (พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา, 2514), 137.
2
ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (กรุ งเทพฯ:
2546), 951.
3
เทวาธิราช ป. มาลากุล, เรื่องราชู ปโภคและพระราชฐาน (พระนคร: กองวัฒนธรรม, 2504), 1.
4
เรื่ องเดียวกัน, 10.
8
9

เครื่ องประกอบพระอิส ริ ย ยศของเจ้านายและขุนนางชั้นสู ง อันเป็ นแบบแผนที่ถือปฏิ บตั ิ ในราช


ส านัก ไทยสื บ เนื่ อ งมาหลายศตวรรษ โดยพบหลัก ฐานชัด เจนสมัย อยุธ ยา เนื่ อ งจากพบเครื่ อ ง
ราชู ป โภคทองค า สมัย อยุธ ยา จากกรุ พ ระปรางค์ วดั มหาธาตุ และกรุ พ ระปรางค์วดั ราชบูรณะ
จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ซึ่ งใช้เป็ นตัวอย่างในการศึกษาเครื่ องราชูปโภคทองคาในราชสานักของ
ไทยได้เป็ นอย่างดี
เครื่ องราชู ป โภคทองค ามี พ้ื น ฐานและพัฒ นาการมาจากเครื่ องอุ ป โภคที่ ใ ช้ ใ น
ชี วิตประจาวันของคนไทย โดยเฉพาะเครื่ องใช้ที่ เกี่ ย วข้องกับการกิ นหมากของคนไทยในสมัย
โบราณมี ใ ช้กนั ทุ กระดับชนชั้นแตกต่างกันที่วสั ดุ ตามฐานานุ ศกั ดิ์ ของเจ้าของหรื อผูค้ รอบครอง

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก
พระมหากษั ต ริ ย์ ซ่ ึ งอยู่ ใ นฐานะสู งสุ ดในสั ง คมไทย เครื่ องอุ ป โภคเหล่ า นี้ จึ ง เรี ยกว่ า
ลาง

“เครื่ องราชูปโภค” เป็ นของใช้สาหรับพระมหากษัตริ ย ์ นิยมสร้างด้วยทองคาซึ่ งเป็ นโลหะมีค่าสู งสุ ด
เครื่ องราชูปโภคทองคาเป็ นงานประณี ตศิลป์ มีรูปทรงและลวดลายตกแต่งสวยงาม ต่างจากของใช้
ของบุคคลธรรมดาทัว่ ไป
เครื่ องราชู ปโภคทองคามี บทบาทใน 2 ลักษณะ คือ เครื่ องราชู ปโภคทองคาสาหรับ
พระมหากษัต ริ ย์ และเครื่ องราชู ป โภคทองค าส าหรั บ พระราชทานแก่ เ จ้า นายและขุ น นาง
ซึ่งพบหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ชดั เจนตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็ นต้นมา

เครื่องราชู ปโภคทองคาในประวัติศาสตร์ ไทย


1. เครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยอยุธยา
จากการศึ ก ษาไม่พ บหลักฐานเอกสารที่ ระบุ เกี่ ย วกับ ลัก ษณะรู ป แบบและเทคนิ ค
การสร้ างเครื่ องราชู ปโภคหรื อเครื่ องอุปโภคสาหรับพระมหากษัตริ ยท์ ี่ชัดเจน หลักฐานเอกสาร
บันทึกเรื่ องราวเกี่ยวกับเครื่ องราชูปโภคทองคาที่พบมักระบุเรื่ องการพระราชทานเครื่ องราชูปโภค
ทองคาเป็ นเครื่ องยศแก่ เจ้า นายหรื อตอบแทนความดี ความชอบแก่ ขุนนางในสมัยอยุธยาเท่านั้น
ตัวอย่างหลักฐานสาคัญในการศึกษาเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาพบหลักฐานโบราณวัตถุ
สมัยอยุธยาจากกรุ ปรางค์ประธานวัดมหาธาตุและวัดราชบูรณะ เป็ นเครื่ องราชูป โภคทองคาจานวน
หลายชิ้ น ได้แ ก่ เต้า คนโท (พระสุ ว รรณภิ ง คาร) ภาชนะทองค า (สุ พ รรณภาชน์) ผอบทองค า
กระโถน (พระสุ พรรณศรี ) ตลับทองคา กระปุกทองคา ถาดทองคาทรงกลมรี ขันทองคา และพาน
ทองค า แต่ ไ ม่ พ บหลัก ฐานโบราณวัต ถุ ที่ เ ป็ นเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าสมัย อยุ ธ ยาตอนปลาย
จึงไม่สามารถอธิ บายลักษณะรู ปแบบและลวดลายของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาตอนปลายได้
มีเ พีย งหลัก ฐานเอกสารที่ร ะบุถึ ง เครื่ อ งราชูป โภคทองคาสาหรับ พระราชทานแก่เจ้า นายและ
ขุนนางตามยศศักดิ์หรื อตอบแทนความดีความชอบที่ทาประโยชน์แก่บา้ นเมือง
10

จากหลัก ฐานงานศิ ล ปกรรมสมัย อยุธ ยาตอนปลายหลายประเภทที่ ย งั หลงเหลื ออยู่


แสดงให้ เ ห็ น ลัก ษณะรู ป แบบและลวดลายที่ ส่ ง อิ ท ธิ พ ลต่ อ งานศิ ล ปกรรมสมัย รั ต นโกสิ น ทร์
โดยเฉพาะช่ วงสมัยรั ชกาลที่ 1 – 2 มี ความนิ ย มในงานศิ ล ปกรรมสมัย อยุธยาตอนปลาย จึงพอ
สันนิ ษฐานได้ว่า เครื่ องราชู ป โภคทองคาสมัย รัตนโกสิ นทร์ มี ลกั ษณะรู ปแบบและลวดลายสื บ
เนื่องมาจากเครื่ องราชูปโภคสมัยอยุธยาตอนปลาย ดังนั้นจากหลักฐานที่พบสามารถอธิ บายลักษณะ
รู ปแบบของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาได้ 4 ประเด็นหัวข้อ ดังต่อไปนี้
1.1 เครื่องราชู ปโภคทองคาสาหรับพระมหากษัตริย์
พบหลัก ฐานโบราณวัต ถุ เ ป็ นเครื่ อ งราชู ป โภคทองค า จากกรุ ป รางค์ป ระธาน

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก
วัดมหาธาตุซ่ ึ งสร้ างขึ้นในสมัยขุนหลวงพะงัว่ ราวปี พ.ศ.19175 ได้แก่ ตลับทองคาลายสลัก พาน
ลาง

ทองคา และกรุ ปรางค์ประธานวัดราชบูรณะ ซึ่ ง ในเอกสารพงศาวดารระบุว่าสร้ า งขึ้ นในสมัย
สมเด็จพระบรมราชาธิ ราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา)ในปี พ.ศ.2967 6 ได้แก่ เต้าคนโท (พระสุ วรรณ
ภิงคาร) ภาชนะทองคา (สุ พรรณภาชน์) ผอบทองคา กระโถน (พระสุ พรรณศรี ) ตลับทองคา กระปุก
ทองคา ถาดทองคาทรงกลมรี ขันทองคา และพานทองคา
จากหลักฐานเอกสารพงศาวดารเกี่ยวกับการสร้างวัดทั้งสองแห่งทาให้ทราบว่า
โบราณวัตถุเหล่านี้มีอายุร่วมสมัยเดียวกับเจดียป์ ระธานของวัดทั้งสองแห่ ง สมัยอยุธยาตอนต้น ราว
พุ ท ธศตวรรษที่ 20 จากการตรวจสอบประวัติ ก ารสร้ า งวัด ทั้ง สองแห่ ง สั น นิ ษ ฐานได้ ว่ า
เครื่ องราชู ปโภคทองคาเหล่านี้ เป็ นเครื่ องอุทิศถวายที่พระมหากษัตริ ยท์ รงสร้างถวายเป็ นพระราช
กุ ศ ล และเชื่ อ ว่า ลัก ษณะรู ป แบบ เทคนิ ค และลวดลายมี สั ม พัน ธ์ ก ับ เครื่ อ งราชู ป โภคทองค าที่
พระมหากษัต ริ ย ์ส าหรั บ ทรงใช้ เมื่ อ พิ จารณาลัก ษณะรู ป แบบ เทคนิ ค และลวดลายของเครื่ อ ง
ราชู ปโภคทองคาจากกรุ ท้ งั 2 แห่ ง พบว่ามีลกั ษณะคล้ายคลึ งกัน ประกอบกับช่ วงระยะเวลาการ
สร้ า งและรู ป แบบปรางค์ ป ระธานของวัด ทั้ง สองแห่ ง จัด อยู่ใ นช่ ว งเดี ย วกัน จึ ง เป็ นหลัก ฐาน
โบราณวัตถุที่แสดงถึ งเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระมหากษัตริ ยใ์ นสมัยอยุธยาตอนต้นได้
จะเห็ นได้ว่า เครื่ องราชู ป โภคทองค าสมัย อยุธ ยาหลงเหลื อหลัก ฐานให้ศึ ก ษาเฉพาะกลุ่ ม เครื่ อ ง
ราชูปโภคทองคาที่ได้จากกรุ วดั มหาธาตุและกรุ วดั ราชบูรณะเท่านั้น ส่ วนใหญ่มีสภาพสมบูรณ์ และ
ให้เป็ นตัวอย่างในการศึกษาเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาได้เป็ นอย่างดี

5
คาให้ การชาวกรุ งเก่ า คาให้ การขุนหลวงหาวัดและพระราชพงศาวดารกรุ งเก่ า ฉบับ
หลวงประเสริฐอักษรนิต์ิ, (พระนคร: คลังวิทยา, 2510), 444.
6
เรื่ องเดียวกัน, 446.
11

1.2 เครื่องราชู ปโภคทองคาสาหรับพระราชทานเป็ นเครื่องยศแก่เจ้ านายและขุนนาง


เครื่ องราชู ป โภคทองค าประเภทนี้ พบเฉพาะหลั ก ฐานเอกสารที่ ร ะบุ ถึ ง
การพระราชทานเครื่ องยศแก่เจ้านายและขุนนางในราชสานักไทยสมัยอยุธยา ซึ่ งมีราชประเพณี ที่มี
การใช้เครื่ องราชู ป โภคทองค า มาเป็ นเครื่ องยศส าหรั บ พระราชทานให้แก่ เจ้า นายและขุนนาง
ปรากฏหลักฐานในกฎมณเที ยรบาล ฉบับเฉลิมพระเกี ยรติศกั ราช 720 (พ.ศ.1901) กล่ าวถึงการ
พระราชทานเครื่ องยศแก่เจ้านายและขุนนางชั้นยศต่าง ๆ ว่า “หน่อสมเด็จพระพุทธได้อภิรม 3 ชั้น
พระอุปราชได้อภิรม 2 ชั้น พระเจ้าลูกเธอกิ นเมืองมีกลีบบัว พระลูกเธอพระเยาวราช อภิรมกลีบ
ทอง...นั้นเอกออกกิ นเจี ยดทอง แว่นฟ้ า...” 7 นอกจากนี้ มี ผูอ้ า้ งถึ ง หลัก ฐานเอกสารจากพระราช

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
พงศาวดาร และกฎมณเทียรบาล ศักราช 720 ข้อ 47 ถึง 52 กล่าวถึงการพระราชทานขันทองคาเป็ น


บาเหน็จความชอบแก่ผปู ้ ฏิบตั ิการยุทธหรื อทาสงครามด้วยด้วย8
จากเอกสารหลัก ฐานดัง กล่ า วแสดงให้เ ห็ น ว่า ราชส านัก ไทยสมัย อยุธ ยามี
ประเพณี ก ารพระราชทานเครื่ อ งราชู ปโภคเป็ นเครื่ องยศแล้ว สอดคล้องหลักฐานในพระราช
พงศาวดารที่มีการกล่าวถึ ง การพระราชทานเครื่ องราชูปโภคทองคาเป็ นเครื่ องยศ หรื อรางวัลตอบ
แทนความดีความชอบ ตลอดจนเป็ นเครื่ องบรรณาการในฐานะประเทศราช เช่น พระราชพงศาวดาร
กรุ งศรี อยุธยา ฉบับหมอบรัดเล กล่าวถึง “สมเด็จพระอินทราชาครองราชสมบัติในปี ศักราช 763 ปี
มะเส็ ง ตรี ศก พระราชทานบาเหน็จแก่เจ้าพระยามหาเสนาบดี เป็ นบุตรพระสนมองค์หนึ่ ง เจียดทอง
คู่ หนึ่ ง พานทองคู่ หนึ่ ง เต้า น้ า ทอง... แก่ เจ้า พระยามหาเสนาบดี ...” 9 และในแผ่นดิ นพระมหา
จักรพรรดิ กล่าวถึ ง “พระราชทานลูกสนมองค์หนึ่ ง เจียดทองคู่หนึ่ ง พานทองคู่หนึ่ ง เต้าน้ าทอง... แก่
ขุนพิเรนทรเทพ...” 10 และในเอกสารคาให้การชาวกรุ งเก่าสมัยพระมหาธรรมราชากล่าวถึง “ครั้นอยู่
มาเมื่อจุลศักราช 1097 ปี ระกา สัปตศก พระองค์ให้แต่งพระราชสาสน์และเครื่ องบรรณาการทั้งปวง

7
วินยั พงศ์ศรี เพียร, บรรณาธิ การ, กฎมณเทียรบาล ฉบับเฉลิมพระเกียรติ (กรุ งเทพ:
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , 2548), 63 – 67.
8
หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์, “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน,”
ใน ศรุ ตานุสรณ์ (กรุ งเทพ: อมริ นทร์การพิมพ์, 2526. พิมพ์พระราชทานในงานพระราชทานเพลิงศพ
เจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5), 219.
9
พระราชพงศาวดารกรุ งศรีอยุธยา ฉบับหมอบรัดเล, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุ งเทพ: โฆษิต,
2549), 19.
10
เรื่ องเดียวกัน, 39.
12

อัน เครื่ อ งบรรณาการนั้น คื อ พานทองชั้น กลี บ บัว มี เ ครื่ อ งทองประดับ พระเต้า ครอบทอง
พระสุ พรรณศรี ทอง และเครื่ องทองทั้งปวงเป็ นอันมาก” 11 เป็ นต้น
สาหรับเครื่ องยศที่เรี ยกว่า เจียด เป็ นภาชนะชนิดหนึ่งลักษณะคล้ายกล่องสี่ เหลี่ยม
ย่อมุม มีเชิ งและฝา12 สาหรับใส่ เสื้ อผ้าเครื่ องแต่งกายก็มี สาหรับใส่ หมากพลูก็มี เป็ นเครื่ องยศใน
สมัย โบราณ 13 มี ม าก่ อ นพานหมาก ครั้ นมี พ านหมากขึ้ น พระราชทานแล้ว เจี ย ดก็ เ ลิ ก ไป 14 จาก
หลักฐานเอกสารสมัยอยุธยาพบว่าเจียดน่าจะเป็ นเครื่ องราชูปโภคที่นิยมใช้พระราชทานเป็ นเครื่ อง
ยศในสมัยอยุธยา

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
1.3 ลักษณะรู ปแบบเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยอยุธยา


จากการศึกษาเครื่ องราชูปโภคทองคาที่พบจากกรุ ปรางค์ประธานวัดมหาธาตุและ
วัดราชบูรณะสามารถอธิ บายลักษณะรู ปแบบเครื่ องราชู ปโภคทองค าสมัย อยุธยา ได้ 2 ด้าน คื อ
ลักษณะรู ปทรง และลักษณะลวดลาย
1.3.1 ลักษณะรู ปทรง
จากหลักฐานเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาที่ พบจากกรุ พระปรางค์วดั
มหาธาตุ แ ละวัดราชบู รณะพบว่า ส่ วนใหญ่ เ ป็ นภาชนะทองค าสลัก ดุ นลาย ในลัก ษณะสิ่ ง ของ
เครื่ องใช้ในชีวติ ประจาวันทัว่ ไป ได้แก่
1) พระสุ วรรณภิงคารหรื อพระเต้าทองคา (ภาพ 1) เป็ นภาชนะทรงน้ าเต้า
มีพวยแต่ชารุ ดหักหายไป ยอดฝาทาเป็ นเศียรพรหมจตุรพักตร์ หรื อยอดจตุรพักตร์ ขอบปากผาย
ออกดุ นเป็ นรู ปกลี บบัวสองชั้น ส่ วนคอที่ต่อกับไหล่ทาเป็ นปล้องสามปล้องลดหลัน่ กัน รอบไหล่
ตกแต่งเป็ นลายกลีบดอกไม้ ด้านข้างทั้งสองประดับด้วยลายกลีบดอกไม้ ด้านหนึ่ งภายในเป็ นลาย
รู ปเทวดา อีกด้านหนึ่ งเป็ นลายนาคสามเศียรประกอบด้วยลายพรรณพฤกษา เชิ งพระเต้าผายออก

11
คาให้ การชาวกรุ งเก่ า คาให้ การขุนหลวงหาวัดและพระราชพงศาวดารกรุ งเก่ า ฉบับ
หลวงประเสริฐอักษรนิต์ิ, 389.
12
กรมศิ ล ปากร, เครื่ อ งเงิ น เครื่ อ งทอง เครื่ อ งถม เครื่ อ งลงยา และเครื่ อ งถมปั ด
(กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร, 2537. พิมพ์เป็ นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสิ บางยี่ขนั ณ
เมรุ วดั น้อยนางหงส์ วันที่ 21 เมษายน 2533), 10.
13
หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์, “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน,”
ใน ศรุ ตานุสรณ์ , 219.
14
กรมศิลปากร, เรื่องเครื่ องยศ (กรุ งเทพฯ: กรม 2518 พิมพ์เป็ นอนุสรณ์ใน
งานพระราชทานเพลิงศพ นายเอก นิยามาคม), 6.
13

ตกแต่งเป็ นลายกลีบบัว15 มีผสู ้ ันนิ ษฐานว่า น่าจะเป็ นพระเต้าสาหรับสรงมุรธาภิเษกในการพระราช


พิธีบรมราชาภิเษก16

ภาพที่ 1 พระสุ วรรณภิงคารหรื อพระเต้าทองคา


สมัยอยุธยาจากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ
ที่มา: กรมศิลปากร, เครื่องทองสมัยอยุธยา (กรุ งเทพฯ: รุ่ งศิลป์ การพิมพ์, 2548),8.

15
จิราภรณ์ อรัณยะนาคและคนอื่นๆ, ผูเ้ รี ยบเรี ยง, เครื่ องทองกรุ วัดราชบูรณะ ศิลปะ
ของแผ่นดิน (กรุ งเทพฯ: สานักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2550), 78.
16
สุ เนตร ชุตินธรานนท์, เครื่องทองกรุ งศรีอยุธยา อมตะศิลป์ แผ่ นดินสยาม, พิมพ์ครั้งที่
2 (กรุ งเทพฯ: แปลน โมทิฟ, 2546), 107.
14

2) กระโถนทองคา (พระสุ พรรณศรี ) (ภาพ 2) กระโถนทรงกลมป้ อม ปาก


กระโถนกว้าง บางชิ้ นมี ฝาสลัก ดุ นเป็ นลายที่ขอบปากไหล่ และขอบก้น ท าเป็ นลายกลี บดอกไม้
ประดับกระจกและลายเม็ดประคา มีท้ งั ลายสลักดุนและลายหุ ้มกระเปาะประดับหิ นสี บริ เวณลาตัว
ไม่มีลาย

ภาพที่ 2 กระโถนทองคา สมัยอยุธยาจากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ


ที่มา: กรมศิลปากร, เครื่องทองกรุ วดั ราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน, 82.

3) ซองพลูทองคา (ภาพ 3) ลักษณะทรงกรวย ลาตัวไม่มีลวดลาย ขอบปาก


ตัดที่ ขอบปากและขอบก้นทาเป็ นลายไข่ปลาหรื อเม็ดประคา สาหรับใส่ พลูจีบซึ่ งอาจเป็ นเครื่ อง
ประกอบอิสริ ยยศของพระมหากษัตริ ยห์ รื อพระราชวงศ์17

ภาพที่ 3 ซองพลูทองคา สมัยอยุธยาจากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ


ที่มา: กรมศิลปากร, เครื่องทองกรุ วดั ราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน, 49.

17
บุ ญ เตื อ น ศรี วรพจน์ และประภัส สร โพธิ์ ศรี ทอง, เครื่ อ งทองรั ต นโกสิ น ทร์ .
(กรุ งเทพฯ: โครงการสื บสานมรดกวัฒนธรรมไทย, 2542), 69.
15

4) พานทองคา (ภาพที่ 4) ทรงกลี บบัว ทาเป็ นลายกลีบบัวและลายกระจัง


ขอบพาน ด้านล่างทาเป็ นลาย ไข่ปลาหรื อลายเม็ดประคา

ภาพที่ 4 พานทองคา สมัยอยุธยาจากกรุ พระปรางค์วดั มหาธาตุ


ที่มา: กรมศิลปากร, เครื่องทองสมัยอยุธยา, 110.

5) ตลับทองคาทรงกลม (ภาพที่ 5) บางชิ้นตัวตลับเกลี้ยงไม่มีลวดลาย ฝาดุน


เป็ นรู ปสัตว์มงคล เช่น คชสี ห์ ราชสี ห์ประกอบลายดอกไม้

ภาพที่ 5 ตลับทองคาทรงกลม จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ


ที่มา: กรมศิลปากร, เครื่องทองกรุ วดั ราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน, 84.
16

6) ตลับ ทองค าทรงแปดเหลี่ ย ม (ภาพที่ 6) ตรงกลางฝาดุ น เป็ นลายหงส์


ล้อมรอบด้วยลายกระหนกขอบฝาและตัวดุนเป็ นลายดอกไม้และลายตาข่ายในช่องแปดเหลี่ยม

ภาพที่ 6 ตลับทองคาทรงเหลี่ยม จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ


ที่มา : กรมศิลปากร. เครื่องทองกรุ วดั ราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน, 90.

7) ขันทองคา ขนาดเล็กทรงกลม ไม่มีลาย ลักษณะคล้ายบาตร


8) ถาดทองคา (ภาพที่ 7) ทรงรี ยาวคล้ายใบไม้ ขอบบนด้านนอกเป็ นลายหงส์
ในกลีบบัว มุมทั้งสองข้างทาเป็ นลายหงส์ 2 ตัว ชนกัน ขอบสลักลายเป็ นเม็ดประคา18

ภาพที่ 7 ถาดทองคาทรงกลม จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ


ที่มา: กรมศิลปากร, เครื่องทองกรุ วดั ราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน, 84.

18
จิราภรณ์ อรัณยะนาคและคนอื่นๆ, ผูเ้ รี ยบเรี ยง, เครื่ องทองกรุ วัดราชบูรณะ ศิลปะ
ของแผ่นดิน, 159.
17

9) ภาชนะรู ป หงส์ (ภาพที่ 8) ทาด้ว ยทองคาเป็ นรู ป หงส์ คู ข้ าหมอบบน


ฐานสี่ เหลี่ยมส่ วนหลังทาเป็ นช่ องสาหรับบรรจุของ ปลายจะงอยปากมีรูสามารถถอดออกจากกัน
ได้19 สามารถแยกออกจากันได้ 3 ชิ้ น คือ ฐานลาตัว และส่ วนที่เป็ นคอหงส์ ภายในตัวหงส์ กลวง
ส่ วนหัวมี หงอนซึ่ งทาเป็ นลายกนก ส่ วนบนของลาตัวหรื อฝาภาชนะหายไป20 อาจเป็ นเครื่ องใช้
สาหรับการรดน้ า หรื อพิธีการอภิเษกในพระราชพิธีสาคัญ

ภาพที่ 8 ภาชนะรู ปหงส์ทองคา จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ


ที่มา : กรมศิลปากร. เครื่องทองกรุ วดั ราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน, 77.

จากตั ว อย่ า งข้ า งต้ น เป็ นลั ก ษณะและรู ปแบบของเครื่ องอุ ป โภคที่ ใ ช้ ใ น
ชีวติ ประจาวันทัว่ ไปในลักษณะของสารับหมาก อันแสดงถึงวัฒนธรรมการกินหมากของคนไทยใน
สมัยโบราณ ใช้วสั ดุ ที่มีค่าตามฐานะของผูส้ ร้างหรื อผูค้ รอบครอง มีการตกแต่งลวดลายและสี สัน
ของอัญมณี เพื่อความสวยงามอันเป็ นลักษณะพื้นฐานที่ได้ส่งอิทธิ พลต่อลักษณะเครื่ องราชูปโภค
ทองคาในสมัยต่อมา

19
จิราภรณ์ อรัณยะนาคและคนอื่นๆ, ผูเ้ รี ยบเรี ยง, เครื่ องทองกรุ วัดราชบูรณะ ศิลปะ
ของแผ่นดิน, 157.
20
สุ เนตร ชุตินธรานนท์, เครื่องทองกรุ งศรีอยุธยา อมตะศิลป์ แผ่นดินสยาม, 106.
18

1.3.2 ลักษณะลวดลาย
หลักฐานเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาตอนต้น 21 ที่พบจากกรุ ปรางค์
ประธานวัดมหาธาตุและวัดราชบูรณะ พบว่าเครื่ องราชู ปโภคทองคาเหล่านี้ มีลวดลายหลากหลาย
ประเภท เช่น ลายกระหนก ลายกระจังตาอ้อย ส่ วนใหญ่นิยมสลักลายพรรณพฤกษาธรรมชาติ ได้แก่
ลายกลีบดอกไม้ ลายใบไม้ ลายกลีบบัวคว่าบัวหงาย ลายดอกพุดตาน หรื อลายดอกไม้ เป็ นต้น และ
พบการสลักลายตามลักษณะรู ปทรงของภาชนะ เช่น พานทองคาทรงกลีบบัว ตลับทองคาทรงแปด
เหลี่ยม ลายสลัก รู ป เทวดายอดฝาพระสุ วรรณภิงคาร (ภาพที่1 ) ที่ทาเป็ นเศีย รจตุรพัก ตร์ (เศีย ร
พรหม) นอกจากนี้ยงั มีลายรู ปสัตว์มงคล เช่น สิ งห์ หรื อราชสี ห์ คชสี ห์ นาคและหงส์ เป็ นต้น และ
บางชิ้นมีลายดอกโบตัน๋ สันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลศิลปะจีนเข้าไปผสม
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาบางชิ้นสลักดุนลายเฉพาะที่ขอบภาชนะ
บางชิ้ นสลักลายทั้งชิ้ นโดยใช้ลายไข่ป ลาหรื อลายประคาเป็ นเส้นแบ่ง หรื อเส้ นขอบของภาชนะ
ส่ วนลวดลายใช้เทคนิคหุ ม้ กระเปาะประดับอัญมณี จะตกแต่งเฉพาะบริ เวณขอบปากหรื อก้นภาชนะ
เท่านั้น ดังนั้นอาจจะกล่าวได้ว่าลักษณะรู ปแบบ เทคนิ คและลวดลายเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัย
อยุธยาได้ส่งอิทธิ พลให้กบั เครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้นต่อไป

1.4 เทคนิควิธีการสร้ างเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยอยุธยา


1.4.1 เทคนิคสลักลายดุนนูน
เนื่ องจากเครื่ องราชู ปโภคทองค าสมัยอยุธยาหลงเหลื อหลัก ฐานให้ศึ กษา
จานวนน้อย จากหลักฐานโบราณวัตถุพบว่า เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาตอนต้นใช้วิธีการ
เคาะขึ้นรู ปและเชื่ อมประสานแต่ละชิ้ นเข้าด้วยกันจนเป็ นรู ปทรงที่ตอ้ งการ สาหรับตัวลายนิยมใช้
วิธีการสลักดุ นนู น หรื อดุ นลาย โดยทาให้แผ่นทองคาเป็ นลอยนู นตามลวดลายที่ตอ้ งการ ไม่พบ
เทคนิ ค การลงยาที่ ผิวเครื่ องทอง แต่พ บเทคนิ คการฝั ง หรื อประดับ อัญมณี บนเครื่ องประดับ และ
ภาชนะทองคาบางชิ้นซึ่ งเป็ นเครื่ องราชูปโภค ตัวอย่างเช่น กระโถนทองคาประดับอัญมณี (ภาพ 2)
ที่ขอบปากกระโถนและขอบด้านล่างมีกระเปาะลายฝังหิ นสี หรื ออัญมณี โดยการทากระเปาะขึ้นรู ป
ก่อนแล้วฝังอัญมณี ให้ในกระเปาะ เป็ นเทคนิคที่ช่วยยึดอัญมณี ให้ติดกับผิวภาชนะทองคา เรี ยกว่า
การหุ้ มกระเปาะ 22 พบมากในเครื่ องทองประดับอัญมณี หลากหลายประเภทจากกรุ พระปรางค์

21
ผูว้ ิจยั พบเฉพาะหลักฐานเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาตอนต้นเท่านั้น จึงไม่
อาจสรุ ปลักษณะลวดลายของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาตอนปลายได้
22
พัสวีสิริ เปรมกุ ลนันท์, “งานประณี ตศิลป์ ประเภทเครื่ องโลหะ” (เอกสารคาสอน
รายวิชา 310 336 การช่ างไทย), 23.
19

วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรี อยุธยา สันนิษฐานว่าลักษณะเทคนิ คดังกล่าวอาจจะเป็ นต้นแบบ


ของเทคนิคการลงยาสี ในเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา
1.4.2 เทคนิคการลงยา
เป็ นเทคนิควิธีการประดับตกแต่งเครื่ องทองของไทยอีกอย่างหนึ่ ง ที่มีกรรมวิธี
คล้ายคลึงกับเครื่ องถม โดยการนาเอาหินแร่ บางชนิดที่หลอมละลายได้มาหลอมละลาย เพื่อให้ได้ยาสี
และนายาสี ลงตกแต่งในช่องลายที่แกะไว้ มีผสู้ ันนิษฐานว่า มีแหล่งกาเนิดในตะวันออกกลาง มา
จากชาวอาหรับและชาวเปอร์เซีย ที่เดินทางเข้ามาติดต่อค้าขาย แต่จะเริ่ มมีการทาเครื่ องลงยาสี มาแต่
ครั้งใดไม่มีหลักฐานแน่ชดั 23 นอกจากนี้ยงั มีผอู้ ธิบายถึงที่มาของเทคนิคการลงยาสี วา่
การประดับสี ลงบนสิ่ งของภาชนะ เครื่ องใช้ในราชสานักนิยมใช้หินสี
หรื ออัญมณี มีค่า เช่น ทับทิม เพชร พลอยสี ต่าง ๆ มาประดับเรี ยงรายเป็ นดอก เป็ นใบ ประกอบ
กันอย่า งงดงามเหมาะสมแต่ อ ญ ั มณี มีร าคาแพง ช่ า งจึ งหาวิ ธีการนาสิ่ งของชนิ ด อื่ นขึ้ น
ทดแทน ได้แก่ แก้วสี ซึ่ งไทยอาจรั บเทคนิ ควิธีการมาจากต่ างชาติ จึ งใช้แก้วสี ต่าง ๆ มาบด
ละเอียดแล้วใช้ความร้อนจากการเผาไฟช่วยหลอมละลายมาประดับบนลวดลายต่าง ๆ ให้เกิด
ความสวยงามอย่างมาก และจึงกลายมาเป็ นการลงยาสี ต่อมาแล้วสี เริ่ มจะหมดไป ช่างจึงคิดค้น
วิธีนาวัตถุชนิดใหม่ เรี ยกว่า “วัตถุลงยา” มาแทนหิ นสี และแก้วสี มีสีเพียง 2 สี เท่านั้น คือสี แดง
และสี เขียว24
เทคนิคการลงยาสี โดยทัว่ ไปแต่เดิมมีเพียงสองสี ดงั กล่าวเท่านั้น พบหลักฐานที่น่าจะเป็ นเครื่ องทอง
ลงยาที่เก่าที่สุดของไทยจากเครื่ องทองสมัยอยุธยา ที่ได้จากกรุ ปรางค์ประธานวัดมหาธาตุ พบเพียง
1 ชิ้ น เป็ นเทคนิ คการลงยาสี โดยทัว่ ไปและพบหลักฐานเอกสารสมัยอยุธยาตอนปลายที่กล่ าวถึ ง
เครื่ องทองลงยาราชาวดี เป็ นเครื่ อ งราชบรรณาการอี ก ด้ว ย เทคนิ ค การตกแต่ ง ด้ว ยการลงยาสี
ในเครื่ องราชู ปโภคทองคาของไทยมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา อาจกล่ าวได้ว่าช่ างทองอยุธยาอาจรู้ จกั
เทคนิ ค วิธี ก ารลงยาดัวยกันกันมี 2 แบบ คือ เทคนิ ค การลงยาสี โดยทัว่ ไป และเทคนิ ค การลงยา
ราชาวดี

23
โครงการสื บสานมรดกวัฒนธรรมไทย, มรดกช่ างศิลป์ ไทย (กรุ งเทพ: องค์การค้าของ
คุรุสภา, 2542), 435 – 443.
24
กรมศิลปากร, ช่ างศิ ลป์ ไทย (กรุ งเทพฯ: อมริ นทร์ พริ้ นติ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ ง, 2537), 155 -
156.
20

1.4.2.1 เทคนิคการลงยาสี โดยทัว่ ไป


เป็ นเทคนิคการลงยาสี พ้ืนฐานซึ่ งมีที่มาจากสี ของอัญมณี ที่ใช้ประดับ
ตกแต่งเครื่ องทองคือสี แดง และสี เขียว มีขอ้ สังเกตว่าลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยา
ตอนต้นส่ วนใหญ่นิยมใช้เทคนิ ควิธีการสลักดุ นลายสลัก และการทากระเปาะหุ ้มและฝั งอัญมณี
ประดับลายที่ภาชนะ ดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้นว่าเทคนิคดังกล่าวเป็ นต้นแบบของเทคนิคการลงยาสี
ประดับที่พ้นื ผิวเครื่ องราชูปโภคทองคา
จากหลักฐานโบราณวัตถุพบเครื่ องทองลงยาเพียงชิ้ นเดียว เป็ นตลับ
รู ปสิ งโตทองคาลงยาสี (เขียว) และประดับอัญมณี จากกรุ ปรางค์ประธานวัดมหาธาตุ สอดคล้องกับ
หลักฐานเอกสารสมัยอยุธยาในคาให้การชาวกรุ งเก่า ได้กล่าวถึง การพระราชทานเครื่ องราชูปโภค
ทองคาลายสลัก เป็ นเครื่ องยศเจ้า นายหรื อขุนนางชั้นสู งสมัย อยุธยาตอนต้น ว่า “เจ้าพระยามหา
อุปราช พระราชทานเครื่ องยศประจาตาแหน่ง เป็ น พานหมากทองคา 2 ชั้น เครื่ องทองคนโททองคา
สลักลาย ขันทองสลักลาย ฯลฯ” 25 พบว่ามีการพระราชทานเฉพาะเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก
เท่านั้น
เครื่ องทองลงยาน่ าจะเริ่ มเป็ นที่รู้จกั ในราชสานักไทยมาตั้งแต่สมัย
อยุธยาตอนต้นแล้ว เพียงแต่ยงั ไม่เป็ นที่นิยมเท่านั้น จึงกล่าวได้ว่าในสมัยอยุธยาตอนต้นไม่นิยม
เครื่ องทองลงยาสี ห รื อไม่ ถ นัด การใช้ เ ทคนิ ค การลงยาสี ส าหรั บ เทคนิ ค วิ ธี ก ารลงยาสี บ น
เครื่ องราชูปโภคทองคาน่าจะเป็ นที่นิยมในราชสานักไทยสมัยอยุธยาตอนปลายเป็ นต้นมา
1.4.2.2 เทคนิคการลงยาราชาวดี
เป็ นเทคนิคการลงยาสี ฟ้าหรื อสี ไข่นกการเวก มีผศู้ ึกษาและอธิ บาย
ไว้ว่า “การลงยาราชาวดี คือ การลงยาชนิ ดหนึ่ งสาหรับเคลือบผิวทองคาให้เป็ นสี ฟ้าหรื อสี พลอย
ขี้ นกการเวกหรื อพลอยสี ฟ้ า” 26 ดัง นั้นเทคนิ ค การลงยาสี ก ับ เทคนิ คการลงยาราชาวดี มี ล ัก ษณะ
เหมือนกันต่างกันเพียงสี เทคนิ คการลงยาสี แบบดั้งเดิมมีเพียง 2 สี เท่านั้นคือ สี แดงและสี เขียว ส่ วน
ลงยาราชาวดี เป็ นเทคนิ คการลงยาสี ใหม่คือสี ฟ้า ซึ่ งไม่มีมาก่อน จากหลักฐานเอกสารสมัยอยุธยา
ตอนปลาย เช่น เอกสารจดหมายเหตุ ลาลูแบร์ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กล่าวถึงเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาลงยาราชาวดีไว้วา่

25
คาให้ การชาวกรุ งเก่ า, (กรุ งเทพฯ: ไทย, พระยาเจริ ญราชธน (มิน้ เลาหเสรษฐี)
พิมพ์แจกในงานศพอิ่ม จ.จ. ผูม้ ารดา พ.ศ.2457), 226 – 227.
26
กรมศิลปากร, ช่ างศิลป์ ไทย, 156.
21

เครื่ อ งราชู ป โภคของพระมหากษัต ริ ย ์ส ยามนั้น เกื อ บจะอย่ า ง


เดียวกันกับของราษฎร แต่เป็ นของดีมีค่ามากขึ้นกว่าสามัญชนใช้...เห็นพานพระขันหมาก
สองชั้นทาด้วยทองคาลงยาราชาวดี หลงเป็ นเงินทาทองและเรี ยกเตียบอย่างไพร่ เพราะเคย
ได้ยินเรี ยกเตียบในเครื่ องยศขุนนาง27

และในประชุ มพงศาวดารภาคที่ 18 เรื่ องจดหมายเหตุในแผ่นดิ นสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช


(พ.ศ.2199 – 2231) มีในเรื่ องทูตานุ ทูตของสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชออกไปกรุ งฝรั่ งเศส
ครั้งสุ ดท้ายกล่าวถึง ทูตานุ ทูตสยามเดินทางไปถวายพระราชสาสน์ต่อพระสันตะปาปา ณ กรุ งโรม
และได้ก ล่ า วถึ ง เครื่ อ งราชู ป โภคทองค าลงยาราชาวดี ว่า “...ราชทู ตเชิ ญ พานแว่นฟ้ าทองค ารั บ
ราชศาส์น.. ม้วนบรรจุไว้ในผอบทองคาลงยาราชาวดีอย่างใหญ่ ผอบนั้นตั้งอยูใ่ นหีบถมตะทอง...28
นอกจากนี้ตาราแบบธรรมเนียมในราชสานักครั้งกรุ งศรี อยุธยาตาม
พระวินิจฉัยของสมเด็จกรม พระยาดารงราชานุภาพว่าแต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลายช่วงรัชกาล
พระเจ้าบรมโกศ ว่าด้วย พระตาราทรงเครื่ องต้นไปพระราชทานพระกฐินทรงเครื่ อง 13 อย่าง และ
ได้กล่ าวถึ งเครื่ องราชู ปโภคทองคาลงยาราชาวดี ว่า “...ทรงทองพระกรลงยาราชาวดี ประดับ1
ทรงทองพระบาทลงยาราชาวดีประดับพลอย1...” 29
จากหลัก ฐานดัง กล่ า วข้า งต้น แสดงให้เ ห็ น ว่า ในสมัย อยุธ ยา
ตอนปลาย เครื่ องประดับหรื อเครื่ องใช้ของพระมหากษัตริ ยม์ ีเทคนิคการลงยาราชาวดีแล้ว จึงอาจ
กล่าวได้วา่ เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาราชาวดีเกิดขึ้นและเป็ นที่นิยมในราชสานักไทยมาตั้งแต่สมัย
อยุธยาตอนปลาย และได้ส่งอิทธิ พลให้กบั เครื่ องทองลงยาราชาวดีในสมัยรัตนโกสิ นทร์เป็ นต้นมา

27
ซี มอง เดอ ลาลูแบร์ ,จดหมายเหตุลาลูแบร์ แปลจาก A new historical relation of the
Kingdom of Siam by Monsieur de la Loubere, แปลโดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิ ป
ประพันธพงศ์ (พระนคร: คุรุสภา, 2505), 146 – 147.
28
ประชุ ม พงศาวดารภาคที่ 18 เรื่ อ งทู ต านุ ทูต ของสมเด็จ พระนารายณ์ อ อกไปกรุ ง
ฝรั่งเศสครั้งสุ ดท้ าย, (พระนคร: คุรุสภา,2507), 340.
29
ตาราแบบธรรมเนียมในราชสานักครั้ งกรุ งศรีอยุธยากับพระวิจารณ์ ของสมเด็จกรม
พระยาดารงราชานุภาพ, (พระนคร: กรมศิลปากร, 2493 พิมพ์พระราชทานในงานพระศพพระเจ้า
บรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไล พ.ศ. 2493), 56 – 57.
22

2. เครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ (รัชกาลที่ 1 – 4)


เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ ายอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุ งเทพฯ
ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.2325 ทรงมี พ ระราชด าริ จ ะสร้ า งพระนครให้ เ หมื อ นครั้ งกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา จึ ง ทรง
พระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการรวบรวมพระราชประเพณี และข้อกาหนดต่าง ๆ เพื่อเป็ นแบบแผน
สาหรับราชสานัก นโยบายต่าง ๆ เจริ ญรอยตามแบบอย่างสมัยอยุธยา สอดคล้องกับคาอธิ บายของ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ที่ทรงอธิบายไว้วา่
“เครื่ องราชูปโภค...สังเกตได้โดยสิ่ งของ คื อ พระมณฑปที่ สรงกระยาสนาน
เป็ นต้น เห็ นว่าสร้ างสาหรั บพระราชพิ ธีบรมราชาภิ เษก และบัญชี เขี ยนไว้
ในระหว่างจดหมายเหตุ ปี ขาล พ.ศ.2325 กับ พ.ศ.2326 จึงเข้าใจว่าสร้างเมื่อจะทา
พระราชพิธีปราบดาภิเษก เมื่อปี ขาล พ.ศ.2325”30
ดังนั้นการสร้ างเครื่ องราชู ปโภคทองคาเพื่อเป็ นเครื่ องแสดงพระเกี ยรติยศและเป็ นเครื่ องอุปโภค
สาหรับพระมหากษัตริ ย ์ ตลอดจนใช้สาหรับเป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานให้แก่เจ้านายและขุน
นาง เป็ นธรรมเนี ยมปฏิบตั ิที่ราชสานักไทยสมัยรัตนโกสิ นทร์ ได้สืบทอดและฟื้ นฟูลกั ษณะรู ปแบบ
เหมือนเมื่อครั้งบ้านเมืองยังดีในสมัยอยุธยา จนเกิดเป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์
2.1 เครื่องราชู ปโภคทองคาสาหรับพระมหากษัตริย์
พระบาทสมเด็จพระพุ ทธยอดฟ้ าจุ ฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ
ให้สร้างเครื่ องราชูปโภคต่าง ๆ เป็ นเครื่ องอุปโภคสาหรับพระมหากษัตริ ย ์ โดยเครื่ องราชูปโภคสมัย
รั ตนโกสิ นทร์ ที่ เป็ นเครื่ องแสดงความเป็ นพระเจ้า แผ่นดิ นนั้นมี 4 อย่า ง คื อ พานพระขันหมาก
พระมณฑปรัตนกรัณฑ์ พระสุ พรรณศรี บวั แฉก และพระสุ พรรณราช และมีการสร้างสารับเล็กขึ้น
ในรัชกาลที่ 4 31 เครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระมหากษัตริ ย ์ทาด้วยทองคาลงยาทั้งสิ้ น จึงอาจ
กล่าวได้ว่า เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ เริ่ มมีการสร้างขึ้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 1
เป็ นต้นมา

30
ยิ้ ม ปั ณ ฑยางกู ร และคนอื่ น , ผูร้ วบรวม, ประชุ ม หมายรั บ สั่ ง ภาคที่ 2 สมั ย
กรุ งรัตนโกสิ นทร์ (กรุ งเทพฯ: คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สานัก
นายกรัฐมนตรี , 2525), 107.
31
กรมศิลปากร, ศิลปวัตถุกรุ งรัตนโกสิ นทร์ , (กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์พิฆเณศ จากัด, 2525
จัดพิมพ์เป็ นที่ระลึกในโอกาสสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี ), 150.
23

2.2. เครื่ อ งราชู ป โภคทองค าส าหรั บ พระราชทานเป็ นเครื่ อ งยศแก่ เ จ้ า นายและ


ขุนนาง
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ยังทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ
ให้สร้ างเครื่ องราชู ปโภคทองคาขึ้นสาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องประกอบพระราชอิสริ ยยศทั้งที่
เป็ นส่ วนของเจ้านายและขุนนางชั้นสู ง ที่เรี ยกว่าเครื่ องยศ เพื่อแสดงยศตาแหน่ง ตลอดจนถึงแสดง
บาเหน็จความดีความชอบของผูน้ ้ นั ตามราชประเพณี ที่สืบเนื่องมาจากสมัยอยุธยา
ในสมัยรัชกาลที่ 1 – 4 เครื่ องราชูปโภคทองคาที่สาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องยศ
ได้แก่ พานทองคา โต๊ะทองคา สาหรับนาเป็ นเครื่ องยศใช้ในงานสาคัญต่าง ๆ เช่ น งานเสด็จออก
มหาสมาคม ซึ่ ง โบราณเรี ย กว่า เสด็ จออกงานใหญ่ เครื่ อ งราชู ป โภคในหมวดเครื่ อ งอุ ป โภคที่
พระราชทานเป็ นเครื่ องยศแก่เจ้านายและขุนนางชั้นสู ง ผูม้ ีความชอบในราชการแผ่นดินตลอดจน
ข้า หลวงฝ่ ายใน ได้ พ ระราชทานลดหลั่น กัน ตามศัก ดิ์ และความดี ค วามชอบ ที่ เ ป็ นเครื่ อ งทอง
ซึ่งมีผศู้ ึกษาได้อธิ บายว่า
เครื่ องอุปโภคทองคาลงยาราชาวดี เป็ นเครื่ องยศสาหรับ เป็ นเครื่ องยศสาหรับขัต-
ติยราชสกุลตั้งแต่พระองค์เจ้าต่างกรม ชั้นสมเด็จกรมพระยาขึ้นไป จนถึงสมเด็จพระอัครมเหสี
เว้นแต่ สิ่งของบางประเภท เช่ น กากระบอก และที่ ชา เครื่ องยศสองอย่างเป็ นทองคาไม่มี
การทาด้วยทองคาลงยา แต่ ผูม้ ี คุณต่ อแผ่นดิ น จนได้มีอิสริ ยยศเป็ นสมเด็จเจ้าพระยา
ก็ได้รับพระราชทานเครื่ องยศทองคาลงยาราชาวดีดว้ ย เครื่ องอุปโภคชนิดทองคาลายสลัก
. เป็ นเครื่ องยศสาหรั บพระราชทานตั้งแต่ พระองค์เจ้าต่ างกรมชั้นพระลงมาถึ งราช
สกุลผูม้ ีบรรดาศักดิ์เป็ นพระยา สาหรับพระยาผูม้ ิได้สืบสายในราชสกุลหรื อราชินิกลุ ตั้งแต่ช้ นั
4 ขึ้ นไปแล้ว หากพระราชทานพานหมากเป็ นเครื่ องยศ พระราชทานพานสี่ เหลี่ ยมมิ ใช่
พานกลม คนโทน้ า กาน้ า กระโถน ก็จะพระราชทานแบบทองเกลี้ ยงแทนแบบทองลาย
สลัก พระยาที่ได้รับพระราชทานพานหมากทองคาเป็ นเครื่ องยศนั้น ก็ได้รับการเรี ยกขานว่า
“พระยาพานทอง” หากได้รับพระราชทานแต่ โต๊ะทองคา กาน้ าทองคา ก็ได้รับการเรี ยก
ขานว่าเป็ น “พระยาโต๊ะทอง” มีศกั ดิ์นอ้ ยกว่า พระยาพานทอง 32

แสดงให้เห็ นว่าเครื่ องราชู ปโภคทองคาแต่ละชนิ ดจะใช้พระราชทานต่างกันตามลาดับชั้นยศและ


ความชอบ แม้ ใ นสมัย รั ช กาลที่ 4 เป็ นระยะเริ่ มเปิ ดประเทศติ ด ต่ อ กั บ ชาติ ต ะวัน ตก เริ่ มมี
การพระราชทานเป็ นเครื่ องประดับ ที่ เป็ นเครื่ องหมายแสดงเกี ย รติย ศ ภายหลังเครื่ องยศเหล่ า นี้

32
หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์, “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน,”
ใน ศรุ ตานุสรณ์ , 218 - 219.
24

เปลี่ ย นจากเครื่ องราชู ปโภคเป็ นเหรี ยญตราเรี ยกว่า “เครื่ องราชอิ สริ ย าภรณ์ ”33 เครื่ องราชู ปโภค
ทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ในช่ วงรัชกาลที่ 1 – 4 ที่ใช้สาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องยศแก่เจ้านาย
และขุนนางชั้นสู ง ไม่พบหลักฐานเอกสารที่กล่าวถึงการสร้างเครื่ องราชูปโภคทองคา

2.3 ลักษณะรู ปแบบเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์


พิจารณาจากงานศิลปกรรมสมัยรัตนโกสิ นทร์ ประเภทอื่น ๆ ประกอบสันนิษฐาน
ว่าลักษณะรู ปแบบเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ รั ชกาลที่ 1 – 4 ได้รับอิทธิ พ ลสื บ
เนื่องมาจากสมัยอยุธยา มีประเด็นศึกษา 2 ประเด็น คือ ลักษณะรู ปทรง และ ลวดลาย
2.3.1 ลักษณะรู ปทรง
เครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ มีตวั อย่างลักษณะรู ปทรงของ
เครื่ องราชู ป โภคทองค าให้ ศึ ก ษาได้ ท้ ัง 2 ประเภท คื อ เครื่ องราชู ป โภคทองค าส าหรั บ
พระมหากษัตริ ย ์ และเครื่ องราชู ปโภคทองคาส าหรับ พระราชทานเป็ นเครื่ องยศแก่ เจ้า นายและ
ขุนนาง
2.3.1.1 ลักษณะรู ปทรงของเครื่องราชู ปโภคทองคาสาหรับพระมหากษัตริย์
เครื่ องราชู ปโภคกลุ่มนี้ ทาด้วยทองคาลงยา มีเครื่ องอุปโภคสาคัญ 4 อย่าง ที่วางทอดข้างพระที่นงั่
หรื อที่ประทับ อันแสดงพระเกี ยรติยศ ประกอบด้วย34
1) พานพระขัน หมากทองคาลงยา (ภาพที่ 9) เป็ นพานสองชั้น
ทรงสี่ เหลี่ ย มย่อมุ ม ชั้นล่ า งเป็ นพานคล้า ยตะลุ่ ม สลัก ภาพครุ ฑ ทั้ง สี่ ด้า น ชั้นบนเป็ นพานคล้า ย
แว่นฟ้ า ส่ วนล่ างสลักเป็ นลายครุ ฑและเทพนมมีตวั นาคค้ าอยู่ท้ งั 4 มุม มีซองพลูและตลับหมาก
2 สารับ สารั บใหญ่สร้ างในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก (รัชกาลที่ 1) กรม
พระราชวังบวรสถานภิมุขทรงเป็ นผูอ้ านวยการสร้าง โดยได้สร้ างหุ่ นไม้ข้ ึ นทดลองจนเป็ นที่พอ
พระทัยก่อน แล้วจึงทาของจริ งซึ่ งเป็ นทองคาลงยา และอีกสารับหนึ่งเป็ นสารับเล็ก สร้างในรัช กาล
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 4)

33
กรมศิลปากร, เรื่องเครื่องยศ, 4 – 5.
34
เทวาธิราช ป. มาลากุล, เรื่องราชู ปโภคและพระราชฐาน, 1.
25

ภาพที่ 9 พานพระขันหมากทองคาลงยาสมัยรัชกาลที่ 1

2) พระมณฑปรัตนกรัณฑ์ทองคาลงยา (ภาพที่ 10) เป็ นภาชนะทรง


มณฑปมีฝาครอบสาหรับใส่ พระสุ ธารส สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1

ภาพที่ 10 พระมณฑปรัตนกรันฑ์ทองคาลงยา สมัยรัชกาลที่ 1


26

3) พระสุ พรรณศรี บวั แฉกทองค าลงยา (ภาพที่ 11) เป็ นกระโถน


ขนาดเล็กรู ปบัวแฉก ใช้กบั พานพระขันหมากองค์ใหญ่และมณฑปย่อมุม

ภาพที่ 11 พระสุ พรรณศรี บวั แฉก (กระโถนทองคาลงยา) สมัยรัชกาลที่ 1

4) พระสุ พรรณราชทองคาลงยา (ภาพที่ 12) เป็ นกระโถนขนาดใหญ่


ปากบาน มีขอ้ สังเกตว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาไม่พบกระโถนที่มีลกั ษณะปากบาน
การทากระโถนที่มีลกั ษณะปากบานใหญ่น่าจะเป็ นลักษณะพิเศษของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัย
รัตนโกสิ นทร์

ภาพที่ 12 พระสุ พรรณราช (กระโถนทองคาปากแตร) สมัยรัชกาลที่ 1


27

2.3.1.2 ลักษณะรู ปทรงของเครื่องราชู ปโภคทองคาสาหรับพระราชทานเป็ นเครื่องยศ


เครื่ องราชู ปโภคทองคากลุ่ มนี้ ใช้สาหรับ พระราชทานแก่ เจ้า นาย
และขุนนางที่มีช้ นั ยศตั้งแต่ช้ นั พระยาขึ้นไป มีตวั อย่างเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีลกั ษณะรู ปทรง
ตัวอย่างที่น่าสนใจ ดังนี้
1) เจี ย ดทองคาลายสลัก (ภาพที่ 13) เป็ นภาชนะสาหรั บ ใส่ ข อง
ลัก ษณะคล้า ยหี บ หมากแต่ มี เ ชิ ง ใช้พ ระราชทานเป็ นเครื่ อ งยศตั้ง แต่ ส มัย อยุ ธ ยา แต่ ใ นสมัย
รัตนโกสิ นทร์ ไม่นิยมใช้พระราชทาน ภายหลังเมื่อมีพานหมากขึ้นพระราชทานแทน เจียดจึงเลิกใช้
ไป35

ภาพที่ 13 เจียดทองคา
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

35
บุญเตือน ศรี วรพจน์ และประภัสสร โพธิ์ ศรี ทอง, เครื่องทองรัตนโกสิ นทร์ , 107.
28

2) พานหมากหรื อพานพระศรี ท องคาลงยา (ภาพที่ 14) สาหรับ


พระมหากษัตริ ย ์ ประกอบด้วยพานพระศรี พร้ อมเครื่ องใส่ หมากพลู สาหรับในวันพระซึ่ ง เป็ น
วันทรงศีลตามประเพณี พระมหากษัตริ ยจ์ ะไม่ทรงใช้เครื่ องทอง จึงมีเครื่ องพานพระศรี นากอีกชุ ด
หนึ่ งสาหรับใช้ในวันพระ 36 พานหมากหรื อพานพระศรี มีท้ งั ประเภททองคาลงยาหรื อทองคาลาย
สลัก ตามลาดับชั้นยศ พร้อมเครื่ อง ประกอบด้วย ซองบุหรี่ ซองพลู มณฑปหรื อตลับ (ผอบ) 1 คู่
มังสี 1 คู่ ตลับภู่ และมีดเจียนหมาก พานหมากหรื อพานพระศรี เป็ นเครื่ องอุปโภคที่สาคัญ เพราะคน
ไทยนิยมกินหมากในชีวติ ประจาวัน

ภาพที่ 14 พานหมากหรื อพานพระศรี ทองคาลงยา


ที่มา: สานักทรั พย์สิ นมี ค่า ของแผ่นดิ น กรมธนารักษ์

36
บุญเตือน ศรี วรพจน์ และประภัสสร โพธิ์ ศรี ทอง, เครื่องทองรัตนโกสิ นทร์ , 101.
29

3) กระโถนทองคาลงยา (พระสุ พรรณศรี ) (ภาพที่ 15) มีท้ งั ประเภท


ทองค าลงยาและทองค าลายสลัก ใช้ ส าหรั บ พระราชทานตามล าดับ ชั้ นยศ กระโถนสมัย
รัตนโกสิ นทร์ มีขนาดเล็ก ทรงปลี ปากกระโถนแคบไม่มีฝา สลักลายหรื อลงยาสี ท้ งั ชิ้น

ภาพที่ 15 กระโถนทองคาลงยา (พระสุ พรรณศรี )


ที่มา: หม่อมราชวงศ์ริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์, เครื่องราชอิสริยยศพระบรมราชวงศ์ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ , 97.

4) ผอบทองคาลงยา (ภาพที่ 16) มีขนาดเล็ก เป็ นเครื่ องประกอบ


ในชุ ดพานพระศรี ห รื อ พานหมาก มีท้ งั ประเภททองคาลงยาและทองคาลายสลัก ใช้พระราชทาน
ตามชั้นยศ ผอบทรงมณฑปเหลี่ยมสาหรับพระราชทานเจ้านายหรื อขุนนางฝ่ ายหน้า (ชาย) ผอบทรง
กลม สาหรั บพระราชทานเจ้านายหรื อข้า หลวงฝ่ ายใน (ผูห้ ญิง) ฝายอดปริ กเป็ นชั้นนิ ยมประดับ
อัญมณี สลักลายหรื อลงยาทั้งชิ้น

ภาพที่ 16 ผอบทองคาลงยา
ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์, เครื่องราชอิสริ ยยศ พระบรมราชวงศ์ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ , 86.
30

5) ซองพลู ท องค า ซองบุ ห รี่ ท องค า (ภาพที่ 17) ทรงกรวยแบน


ขอบหยักเป็ นกลีบบัว มีท้ งั ประเภททองคาลงยาและทองคาลายสลัก ตามลาดับชั้นยศ เป็ นเครื่ อง
ประกอบในชุดพานพระศรี หรื อพานหมาก

ภาพที่ 17 ซองพลูทองคาลงยา ซองบุหรี่ ทองคาลงยา


ที่มา: โครงการสื บสานมรดกวัฒนธรรมไทย, เครื่องทองรัตนโกสิ นทร์ , 210.
31

6) คนโทน้ าหรื อพระเต้าทองคา (ภาพที่ 18) ทรงกลม สาหรับใส่ น้ า


มีท้ งั ประเภททองคาลงยาและทองคาลายสลัก ตามลาดับชั้นยศ สลักลายหรื อสลักลายลงยาทั้งชิ้ น
ลาตัวคนโทกลม ไม่มีพวย ส่ วนคอสู ง ที่คอคนโทรัดด้วยปลอกแบบกาไล ฝาสลักลายแบบยอดปริ ก
มีสร้อยโยงลากฝาปิ ดถึงคอคนโทเป็ นลายลูกโซ่

ภาพที่ 18 คนโทหรื อพระเต้าทองคาลงยา


ที่มา: โครงการสื บสานมรดกวัฒนธรรมไทย, เครื่องทองรัตนโกสิ นทร์ , 186.
32

7) โต๊ะ ทองค าลายสลัก ไม่มีล งยา เพราะส าหรับ พระราชทาน


ขุนนางระดับ ชั้นพระยา มีลกั ษณะคล้ายโตกพื้นตื้น สาหรับใช้วางของ มีหลายขนาด โต๊ะใหญ่ใช้
สาหรับวางเครื่ องชุ ดคาวหวาน โต๊ะเล็กใช้สาหรับวางภาชนะ หรื อ กาน้ า ลักษณะเครื่ องราชูปโภค
ประเภทนี้ ไม่พบในเครื่ องราชู ปโภคสมัยอยุธยา น่ าจะลักษณะพิเศษของรู ปทรงเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์
8) กาน้ าทองคาลายสลัก (ภาพที่ 19) ไม่นิยมลงยา เพราะสาหรับใส่
ของร้อน ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ สร้ างเป็ น 2 แบบ คือ กาทรงมัณฑ์ (กลม) และกาทรงกระบอก 37
กาทรงมัณฑ์ สาหรับพระราชทานขุนนาง และกาทรงกระบอก สาหรับพระราชทานเจ้านาย

ภาพที่ 19 กาน้ าทองคาลายสลัก


ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์, เครื่องราชอิสริยยศ พระบรมราชวงศ์ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ ,
153.

37
กรมศิลปากร, เรื่องเครื่องยศ, 7.
33

9) หีบหมากทองคา (ภาพที่ 20) มีท้ งั ประเภททองคาลงยาและทองคา


ลายสลัก เริ่ มมีใช้ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 38
ลักษณะเป็ นกล่องสี่ เหลี่ยมผืนผ้ามีฝาปิ ดสลักลายหรื อสลักลายลงยาทั้งหมด บางชิ้นบนฝาหี บสลัก
พระราชลัญจกรประจารัชกาลอยู่ตรงกลาง เช่ น ตราพระมหามงกุฎ ประจารัชกาลที่ 4 และได้ส่ง
อิทธิ พลต่อลักษณะหี บหมากทองคาในรัชกาลต่อมา ดังปรากฏ ตราจุลมงกุฎ พระราชลัญจกรประจา
รัชกาลที่ 5 และตราวชิราวุธบนหลังช้างสามเศียรพระราชลัญจกรประจารัชกาลที่ 6 ทาให้สามารถ
กาหนดอายุสมัยได้ชดั เจนขึ้น

ภาพที่ 20 หีบหมากทองคาลงยา
ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์, เครื่องราชอิสริยยศ พระบรมราชวงศ์ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ , 74.

38
กรมศิลปากร, เรื่องเครื่องยศ, 7.
34

เปรียบเทียบลักษณะรู ปแบบเครื่องราชู ปโภคทองคา


จากลัก ษณะรู ป แบบเครื่ องอุป โภคทองค าเหล่ า นี้ ขา้ งต้น แสดงให้เห็ นว่า เครื่ อง
ราชู ปโภคสมัยรั ตนโกสิ นทร์ รับอิ ทธิ พลด้านรู ปแบบมาจากเครื่ องราชูปโภคสมัยอยุธยา ผสมกับ
ความนิ ยมและอิทธิ พลจากต่างชาติที่เข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยนั้น รู ปแบบลักษณะบางอย่างต่าง
จากสมัยอยุธยา ตลอดจนเกิดเครื่ องอุปโภคประเภทใหม่ที่ไม่พบในกลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัย
อยุธยา เช่ น โต๊ะทองคา หี บหมากหรื อกล่องพร้อมตลับทองคา เป็ นต้น และหากพิจารณาลักษณะ
รู ป ทรงเครื่ องราชู ป โภคสมัย รั ตนโกสิ นทร์ เปรี ย บเที ย บกับ เครื่ องราชู ป โภคทองคาที่ พ บจากกรุ
ปรางค์ประธานวัดมหาธาตุและวัดราชบูรณะ ซึ่ งมีช่วงระยะเวลาที่ห่างกันแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการ
ของเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามรสนิยมและเห็นความเปลี่ยนแปลงของเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาในแต่ละยุคสมัย สังเกตพบว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ บางชนิ ด
จะมีลกั ษณะแตกต่างจากเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยา โดยเปรี ยบเทียบกันจากหลักฐานที่พบ
ดังนี้
พานทองคา พานสมัย อยุธยามีรูปทรงเป็ นรู ปดอกบัว ตัวพานสลัก เป็ นกลี บบัว
เช่นเดียวกับพานสมัยรัตนโกสิ นทร์ แต่มีลกั ษณะรู ปทรงป้ อมเตี้ยกว่า
กระโถน ลักษณะกระโถนสมัยรัตนโกสิ นทร์ ทรงปลีไม่มีฝาปิ ดแต่กระโถนสมัย
อยุธยาทรงกลมป้ อมและมีฝาปิ ด ขณะที่กระโถนทองคาในสมัยรัตนโกสิ นทร์ มีลกั ษณะ 2 รู ปแบบ
คือ กระโถนทรงปลี มีขนาดเล็กปากกระโถนแคบ กับกระโถนทรงป้ อมมีขนาดใหญ่ปากกระโถน
กว้างคล้ายปากแตร
ซองพลูสมัยรัตนโกสิ นทร์ เป็ นทรงกรวยแบน บางชิ้นมีขอบปากหยักสลักดุนลาย
ลงยาทั้งชิ้น ส่ วนซองพลูสมัยอยุธยาเป็ นทรงกรวยกระบอกกลมป้ อม ตกแต่งด้วยการสลักลายดุน
นูนที่ขอบปากและลาตัวบางจุดเท่านั้น
คนโท เป็ นภาชนะใส่ น้ าเย็น จากหลักฐานที่พบในคนโทสมัยอยุธยา ลาตัวมีพวย
สาหรับ ริ นน้ า ใช้เทคนิคการสลักลายดุนนูน ส่ วนคนโทสมัยรัตนโกสิ นทร์ ลาตัวไม่มีพวย สลักลาย
ลงยาทั้งตัวคนโท
ผอบ เป็ นภาชนะขนาดเล็ก จากหลักฐานที่พบผอบสมัยอยุธยา มีลกั ษณะรู ปทรง
กลมป้ อมเตี้ย ฝายอดปริ ก ใช้เทคนิคสลักลายดุนนูน ส่ วนผอบสมัยรัตนโกสิ นทร์ มี 2 แบบ คือผอบ
ทรงกลมก้นมี เชิ ง ทาให้ผอบสมัยรัตนโกสิ นทร์ มีรูปทรงสู งกว่า ฝายอดปริ ก ลักษณะผอบทรงนี้
สาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องยศแก่เจ้านายฝ่ ายใน และผอบทรงเหลี่ยมย่อมุม ลาตัวย่อมุม ก้นมีเชิง
ย่ อ มุ ม รั บ กับ ล าตัว ฝายอดทรงมณฑปย่ อ มุ ม เช่ น เดี ย วกับ ล าตัว ลัก ษณะผอบทรงนี้ ส าหรั บ
พระราชทานเป็ นเครื่ องยศแก่เจ้านายฝ่ ายหน้า ผอบทั้งสองแบบ มีท้ งั เทคนิคสลักลายดุนนูนและสลัก
35

ลายลงยาขึ้นอยูก่ บั ฐานะของผูไ้ ด้รับพระราชทาน หากเป็ นผอบสลักลายดุนนูนสาหรับพระราชทาน


ให้แก่เจ้านายตั้งแต่ช้ นั พระองค์เจ้าลงมาและขุนนาง ส่ วนผอบสลักลายลงยาสาหรับพระราชทาน
เจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าขึ้นไปและสาหรับพระมหากษัตริ ยเ์ ท่านั้น
หากเปรี ยบเที ยบลักษณะรู ปแบบของเครื่ องราชูปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องอุปโภค
ส าหรั บ พระมหากษัต ริ ย์ ก ั บ เครื่ องยศส าหรั บ พระราชทานแก่ เ จ้า นายและขุ น นางในสมัย
รัตนโกสิ นทร์ พบว่ามีลกั ษณะรู ปแบบและรู ปทรงบางอย่างแตกต่างกัน ซึ่ งช่ างอาจจะต้องการให้
ความส าคัญแก่ เครื่ องราชู ปโภคสาหรั บพระมหากษัตริ ยใ์ ห้มีความพิเศษและแตกต่า งจากเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาสาหรับใช้พระราชทานเป็ นเครื่ องยศแก่เจ้านายและขุนนาง สิ่ งที่พบได้อย่างชัดเจน
ได้แก่
พาน สาหรับพระมหากษัตริ ยจ์ ะสร้างด้วยทองคาสลักดุนลายลงยา เป็ นพานสอง
ชั้นลักษณะพานแว่นฟ้ า ที่แตกต่างจากพานของเจ้านายและขุนนางที่สร้างด้วยทองคาเช่นกันแต่ทา
เป็ นพานเพี ย งชั้นเดี ย ว ส าหรั บ การตกแต่ ง ลวดลายที่ ล ะเอี ย ดสวยงามกว่า พานที่ เป็ นเครื่ องยศ
พระราชทานเป็ นเครื่ องยศ
กระโถนซึ่งเป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระมหากษัตริ ยม์ ี 2 ขนาดกระโถน
ขนาดเล็กเรี ยกว่าพระสุ พรรณศรี เป็ นกระโถนทองคาลายสลักลงยาลักษณะรู ปทรงปลี มีขอบปาก
แฉก แตกต่างจากกระโถนที่เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานแม้วา่ เป็ นกระโถนทองคาลงยาแต่มี
ขอบปากเรี ย บ แสดงให้ เ ห็ น ลัก ษณะที่ แ ตกต่ า งของเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าทั้ง สองประเภท
นอกจากนี้ ยงั มี กระโถนขนาดใหญ่ที่เป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระมหากษัตริ ยเ์ รี ยกว่า
พระสุ พรรณราช มี ลกั ษณะเป็ นกระโถนปากบานคล้ายปากแตร อันเป็ นลัก ษณะที่ไม่ ปรากฏใน
เครื่ องราชูปโภคทองคาที่ใช้เป็ นเครื่ องยศ
ส าหรั บ ขัน น้ า มี ฝ าครอบในเครื่ อ งราชู ป โภคส าหรั บ พระมหากษัต ริ ย ์เ รี ย กว่ า
พระมณฑปรัตนกรัณฑ์ทองคาลงยา มีลกั ษณะรู ปทรงคล้ายกับผอบทรงกลีบมะเฟื องขนาดใหญ่ฝา
ครอบเป็ นยอดปริ ก ตัวขันเป็ นกลีบมะเฟื อง มีพานรอง มีลกั ษณะรู ปทรงที่แตกต่างจากอันเป็ นขันน้ า
ในเครื่ องราชู ปโภคทองคาสาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องยศที่เป็ นขันเกลี้ยงบางชิ้ นไม่มีฝาครอบ
มี ท้ งั ทองค าสลัก ลายลงยาและทองค าเกลี้ ย ง ลัก ษณะเครื่ องราชู ป โภคทองคาทั้ง สองประเภทที่
แตกต่างกันทั้งสองประเภท จากการสังเกตพบว่ากลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยาป็ นภาชนะ
ในชุ ดสารับหมากที่จดั อยู่ในชุ ดของถาดหมาก ซึ่ งแตกต่างจากชุ ดกินหมากในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ที่
จัดในรู ป ของชุ ดพานหมากแล้วแสดงให้เห็ นพัฒนาการและความแตกต่า งของเครื่ องราชู ปโภค
ทองคา ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสิ นทร์อย่างชัดเจน
36

2.3.2 ลักษณะลวดลายบนเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์


ลวดลายที่ป รากฏในเครื่ อ งราชู ป โภคทองคาสมัย รัช กาลที่ 1 – 4 ได้รับ
อิทธิ พลมาจากสมัยอยุธยาตอนปลาย และมีการดัดแปลงประยุกต์ ให้เหมาะสมกับเครื่ องราชูปโภค
แต่ละชิ้ นตามความตั้งใจของช่างและความนิยมของในยุคสมัยนั้น ลายที่ปรากฏโดยรวมเป็ นลายที่
เลียนแบบธรรมชาติเป็ นส่ วนใหญ่ มักจะมีการผูกลายเรี ยงร้อยในลักษณะขดสลับ ทับซ้อนกันไปจน
เต็มพื้นที่ท้ งั ทางซ้ายและทางขวา บางลายคล้ายกับลวดลายที่สืบทอดมาตั้งแต่อดีต จาพวกลายเถา
แบบต่ า ง ๆ เช่ น ลายก้า นต่ อ ดอก ทั้ง ใบเทศ ดอกไม้แ ละใบไม้39 โดยการน าเอาลวดลายมาจัด
องค์ประกอบ ผูกหรื อจัดวางตาแหน่งของลวดลายอย่างต่อเนื่อง เช่น ลายก้านต่อดอก ลายพุดตานใบ
เทศ ลายก้า นขด เป็ นต้น ประเภทของลวดลายไทยเกิ ด ขึ้ น ได้จ ากการน าเอาลวดลายมาจัด
องค์ประกอบเข้าเป็ นลวดลาย การนาตัวลายมาผูกหรื อจัดวางอย่างต่อเนื่อง แยกประเภทตามลักษณะ
รู ปทรงที่เกิดจากการจัดวางและจากต้นเค้าจากธรรมชาตินามาใช้ประดับตกแต่งอย่างเหมาะสม
ลักษณะที่มาของลวดลายบนเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัย รั ตนโกสิ นทร์
รัชกาลที่ 1 – 4 มีผสู้ ันนิษฐานว่า
ส่ วนหนึ่ง ลวดลายที่ปรากฏนามาจากงานจิตรกรรมไทยในศิลปะ
ไทย เช่น ลายก้านขด ลายประจายาม ลายรักร้อย ลายบัวคว่าบัวหงาย ลายเครื อเถา ลายเกลียว
ลายก้านต่อดอกก้านแย่งรวมถึงลายที่เป็ นการประดิษฐ์ดดั แปลงจากลายดอกไม้ กิ่งไม้ ก้าน
ดอกต่าง ๆ เพื่อให้บรรจุลงมาพื้นที่ได้อย่างสวยงาม ในงานเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตน
โกสิ นทร์จะพบลายก้านต่อดอก ลายดอกไม้ ใบไม้ ที่มีความเกี่ยวเนื่องขดกัน ผูกกัน มองดู
อ่อนช้อย ที่มีหลักฐานปรากฏ 40
นอกจากนี้ ยงั มีผูใ้ ห้ข ้อคิ ดเห็ นเกี่ ยวกับลวดลายบนเครื่ องทองไว้ว่า
“การแกะสลักลายลงบนเครื่ องทองมีขอ้ จากัดในเรื่ องพื้นที่ เพราะเป็ นวัตถุที่มีขนาดค่อนข้างเล็ก
ลวดลายที่สลักลงไปมี จานวนน้อย ถ้าเป็ นดอกมักเป็ นดอกใบเทศ ลายเปลว และลายใบเทศ แต่มี
การวางสลับให้ลวดลายเหล่านั้นกลมกลืนกันไปอย่างพิสดารได้มาก” 41
จึงพอสรุ ปได้วา่ ลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ใน
กลุ่ ม เครื่ องราชู ป โภคทองค าส าหรั บ พระมหากษัตริ ย ์และกลุ่ ม เครื่ องราชู ป โภคทองค าส าหรั บ
พระราชทานเป็ นเครื่ องยศ มี ล ัก ษณะลายคล้า ยกัน ตั้ง แต่ ล วดลายพื้ น ฐานซึ่ งเป็ นลายไทยที่

39
อภิ ช าต สารมาศ, “การศึ ก ษาวิเ คราะห์ เครื่ อ งราชู ปโภคและเครื่ อ งประกอบพระ
อิสริยยศ ประเภทการถมลงยาในสมัยรัตนโกสิ นทร์ รัชกาที่ 1 – 5”, 31.
40
กรมศิลปากร, เรื่องเครื่องยศ, 40.
41
กองวัฒนธรรม กระทรวงศึกษาธิการ, เครื่องเงิน เครื่องทอง, 12.
37

สื บเนื่องมาจากสมัยอยุธยา ตลอดจนมีการปรับปรุ งลวดลายตามความนิยมพร้อมกับรับอิทธิ พลจาก


ศิลปะจากต่างชาติ โดยยังไม่มีการศึกษาหรื อแบ่งกลุ่มลายในแต่ละรัชกาลไว้อย่างชัดเจน ในช่ วง
รัชกาลที่ 1 - 2 เป็ นรู ปแบบลายไทยประเพณี ที่รับมาจากสมัยอยุธยาตอนปลาย ต่อมาในช่ วงสมัย
รัชกาลที่ 3 – 4 มีการติดต่อสัมพันธ์กบั ต่างชาติทาให้รูปแบบลวดลายจึงเริ่ มมีอิทธิ พลศิลปะจีนและ
ตะวัน ตกเริ่ มเข้า ผสม ซึ่ งลวดลายที่ เ กิ ด ขึ้ นในช่ ว งนี้ บางส่ ว นได้ส่ ง อิ ท ธิ พ ลต่ อ ลวดลายบน
เครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรั ชกาลที่ 5 ในช่ วงเวลาต่อมา ซึ่ งมีลกั ษณะลวดลายที่พฒั นารู ปแบบ
ที่แตกต่างออกไป อันเป็ นผลจากกลุ่มฝี มือช่ างที่เปลี่ยนไปและการรับอิทธิ พลจากศิลปะตะวันตก
พร้ อ มกับ คติ จี น เข้า ไปผสม ท าให้ ก ลุ่ ม ลวดลายบนเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5
มีลกั ษณะที่แตกต่างจากลายบนเครื่ องราชูปโภคสมัยรัตนโกสิ นทร์ ที่สร้างขึ้นในรัชกาลก่อน ซึ่ งจะ
กล่าวต่อไป
2.4 เทคนิควิธีการสร้ างเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์
เทคนิ ค วิ ธี ก ารสร้ า งเครื่ องราชู ป โภคทองค าสมัย รั ต นโกสิ นทร์ โดยทั่ว ไป
รับรู ปแบบเทคนิ คจากสมัยอยุธยา โดยเริ่ มตั้งแต่การเคาะขึ้นรู ปแผ่นทองคาในการทาเป็ นรู ปพรรณ
และเชื่อมประกอบชิ้นส่ วนต่าง ๆ เข้าด้วยกันตามรู ปร่ างที่ตอ้ งการ มีผศู้ ึกษาและอธิบายว่า
การทาเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าที่ มีรู ป แบบและลัก ษณะเฉพาะในเรื่ องของ
ลวดลายและ การลงยา มีวิธีการสร้างสรรค์ที่เริ่ มจากการทารู ปพรรณที่ มีการหลอมแผ่รีด
การเคาะขึ้นรู ปให้ได้รูปตามต้องการและถูกต้องตามราชประเพณี ที่สืบทอดกันมา ชิ้นงาน
ที่ ปรากฏจะมี ข้ นั ตอนการทารู ปพรรณ รู ปทรงที่ ตอ้ งใช้ชานาญ ทักษะที่ สั่งสมกันมาเป็ น
เวลานาน การทางานที่มิใช้เพียงแค่ให้ชิ้นงานออกมาเสร็ จ แต่เป็ น การทางานที่เพิ่มความ
ศรัทธา ความเทิ ดทูนในสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ เพื่อให้ชิ้นงานมีความสมบูรณ์ สวยงาม
เหมาะกับผูใ้ ช้งาน สาหรับวิธีการทาลวดลายลงบนผิวรู ปพรรณในงานประเภทนี้ จะนิ ยม
การสลัก – ดุน วัตถุประสงค์เพื่อให้เกิ ดการนูนมองดูเป็ นมิติและเป็ นขอบกั้นสาหรับการ
ลงยาในพื้นที่น้ นั ๆ เพื่อมิให้ยาสี ไหลไปบริ เวณที่ไม่ตอ้ งการ 42
ดัง นั้น เทคนิ ค วิธี ก ารสร้ า งสรรค์ต กแต่ง ลวดลายบนเครื่ อ งราชู ป โภคทองค า
สมัยรัตนโกสิ นทร์ มี 2 เทคนิคหลัก คือ เทคนิคการสลักดุนนูน และเทคนิคการลงยาสี
2.4.1 เทคนิคการสลักดุนนูนหรือทองคาลายสลัก
เทคนิ ค การสลัก ดุ น นู น หรื อ ดุ น ลายบนเครื่ อ งทองหรื อ เครื่ อ งราชู ป โภค
ทองคาเป็ นวิธีที่นิยมและมีการใช้สืบเนื่องต่อกันมา ดังปรากฏหลักฐานเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัย

42
อภิ ช าต สารมาศ, “การศึ ก ษาวิเ คราะห์ เ ครื่ อ งราชู ปโภคและเครื่ อ งประกอบพระ
อิสริยยศ ประเภทการถมลงยาในสมัยรัตนโกสิ นทร์ รัชกาที่ 1 –5”, 63.
38

อยุธยาตอนต้น และถื อว่าเป็ นเทคนิ คเบื้ องต้นในการของการตกแต่งลวดลายบนเครื่ องราชู ปโภค


ทองคามาก่อนการพัฒนาสร้างสรรค์ลวดลายด้วยเทคนิคการลงยามีผอู้ ธิ บายว่า “วิธีการสลักดุนลาย
ยังคงเป็ นเทคนิ คการทาเครื่ องทองที่นิยมทาสื บมาจนถึงสมัยรัตนโกสิ นทร์ ซ่ ึ งการดุ นลายทองคา
ในปั จจุบนั มักดุ นลายตามลวดลายของแม่พิมพ์หินที่แกะลายไว้แล้ว และบางครั้งยังมีการสลักลาย
หรื อย้าลายจากด้านนอกร่ วมกับการดุนลายจากด้านในเพื่อให้ลายคมชัดยิง่ ขึ้น”43
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ที่ใช้เทคนิ คสลักลายดุนนูนหรื อ
ทองคาลายสลัก มักใช้เป็ นเครื่ องอุปโภคที่สัมผัสกับของร้อน เช่น ชุดที่ชาทองคาที่ประกอบด้วยถาด
รองทองคา ปั้นชาทองคา จานรองปั้นชาทองคา และจุ๋นทองคา (จานรองถ้วยฝาหยก) หรื อเป็ นเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาที่ใช้สาหรับพระราชทานเจ้านายตั้งแต่ช้ นั พระองค์เจ้าลงมาและขุนนาง เช่น พาน
ทองคาสลักลายดุ นนูน คนโททองคาสลักลายดุนนูนหรื อทองคาลายสลัก เป็ นต้น เทคนิ ควิธีการ
สร้างสรรค์ลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ จึงเป็ นตัวกาหนดแบ่งประเภทของ
เครื่ องยศที่ได้รับพระราชทานตามฐานันดรศักดิ์อีกด้วย ดังนั้นเทคนิคการสลักดุนนูนจึงเป็ นเทคนิค
วิธีการดั้งเดิมที่ยงั นิ ยมใช้ในการสร้างสรรค์ลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาในเครื่ องราชูปโภค
ทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์
2.4.2 เทคนิคการลงยาหรือทองคาลงยา
การสร้ างสรรค์ลวดลายบนเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ น้ ัน
นอกจากการสลักลายดุ นนูนแล้วยังมีการเน้นและเพิ่มสี สันโดยการลงยาสี ลงบนลวดลายที่ตอ้ งการ
และเป็ นการแสดงฐานะของผูค้ รอบครองเครื่ องราชู ปโภคทองค าลายสลัก ลงยามี ศ ัก ดิ์ สู ง กว่า
เครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลักธรรมดา สาหรับเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลักลงยาโดยขั้นตอน
การสลักลายคล้ายกับการสลักลายบนเครื่ องทองลายสลัก เครื่ องทองลายสลักลงยานั้น ต้องสลัก
ลายเส้ นและดุ นลายยกขอบลายขึ้นมาเป็ นขอบกันเพื่อให้สามารถลงยาในพื้นที่น้ นั ๆ ได้ โดยยาสี
จะไม่ไหลออกไปสู่ บริ เวณอื่น ลายที่ลงยาจึงดูเด่นชัดขึ้น
นอกจากนี้กล่าวกันว่าเป็ นลักษณะพิเศษของเครื่ องทองสมัยรัตนโกสิ นทร์ ใน
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ในราชสานักไทยมี เครื่ องทองลงยา สี ฟ้า
(Royal Blue) หรื อ สี พ ลอยขี้ นกการเวก ซึ่ งเป็ นสี ที่ รัชกาลที่ 1 ทรงโปรดปรานมาก จึ งได้รั บ

43
พัสวีสิริ เปรมกุ ลนันท์, “งานประณี ตศิล ป์ ประเภทเครื่ องโลหะ” (เอกสารคาสอน
รายวิชา 310 336 การช่างไทย), 22.
39

การขนานนามว่า เครื่ องทองลงยาราชาวดี44 การลงยาราชาวดีเป็ นกรรมวิธีการลงยาด้วยสี ที่ได้จาก


หิ นแก้วธรรมชาติ ทาเป็ นสี ฟ้าสี เดียวและมีใช้เฉพาะในราชสานักเท่านั้น45 การทาเครื่ องลงยามีความ
เป็ นที่นิยมและรุ่ งเรื องในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 โดยมีพระเจ้าบรม
วงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุ ภาพ (พระองค์เจ้าปราโมช) ทรงเป็ นผูก้ ากับการช่ างแขนงนี้ 46 ดังนั้น
เทคนิ คการสร้างลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ มีลกั ษณะรู ปแบบคล้ายกับ
เครื่ องราชู ป โภคทองค าสมัย อยุธ ยา และมี ก ารลงยาสี เพื่อเพิ่มสี สันให้ส วยงามแทนการประดับ
อัญมณี ที่มีอยู่อย่างจากัด โดยนิ ยมการลงยาสี แดงและสี เขียว เป็ นสี ซ่ ึ งมีที่มาจากสี ของอัญมณี ที่ใช้
ประดับตกแต่งเครื่ องทองมาก่อน ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้นมีการพัฒนาในเรื่ องการใช้สีประดับ
ตกแต่งที่มีสีสันมากกว่าเดิม โดยเฉพาะการลงยาราชาวดี มีสีฟ้า หรื อสี ไข่นกการเวกเป็ นที่นิยมตั้งแต่
สมัยรัชกาลที่ 1 เป็ นต้นมา เครื่ องราชู ปโภคทองคาในช่ วงสมัยนี้ มีเทคนิ ควิธีการสร้ างลวดลาย
2 แบบ ที่สืบทอดมาจากสมัยอยุธยา คือ เทคนิ คการลงยาสี โดยทัว่ ไป (ภาพที่ 21) และเทคนิ คการ
ลงยาราชาวดี (ภาพที่ 22)

ภาพที่ 21 เทคนิคลงยาสี โดยทัว่ ไป ภาพที่ 22 เทคนิคลงยาราชาวดี


ที่มา : โครงการสื บสานมรดกวัฒนธรรมไทย, ที่มา : กรมศิลปากร, ช่ างศิลป์ ไทย, 153.
เครื่องทองรัตนโกสิ นทร์ , 56.

44
สมหมาย เที ย บเที ย ม, บรรณาธิ การ, ช่ างศิ ล ป์ ไทย: การอนุ รั ก ษ์ เผยแพร่
ศิลปวัฒนธรรมของกรมศิลปากร (กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร, 2537), 156.
45
นิตย์รดี เรี ยบร้อยเจริ ญ, ผูร้ วบรวมและเรี ยบเรี ยง, ทรัพย์ สินมีค่าของแผ่ นดินความงาม
อันทรงคุณค่ า (กรุ งเทพฯ: อมริ นทร์พริ้ นติ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง,2554), 207.
46
พัสวีสิริ เปรมกุ ลนันท์, “งานประณี ตศิล ป์ ประเภทเครื่ องโลหะ” (เอกสารคาสอน
รายวิชา 310 336 การช่างไทย), 28.
40

2.4.2.1 เทคนิคการลงยาสี โดยทัว่ ไป


เครื่ อ งราชู ป โภคทองค าสมัย รั ต นโกสิ น ทร์ นิ ย มการเพิ่ ม สี สั น ให้
รู ปพรรณด้วยการลงยาแทนการประดับด้วยอัญมณี หรื อหิ นสี ที่นิยมใช้กนั มากในเครื่ องราชูปโภค
ทองคาสมัยอยุธยาตอนต้น ต่อมาเมื่อมีการติดต่อสัมพันธ์กบั ต่างชาติ การประดับตกแต่งเครื่ องทอง
ด้วยวิธี การลงยา หรื อ ลงยาสี จึงเริ่ มเป็ นที่รู้จกั และเป็ นที่นิยมในราชสานักสมัยอยุธยาตอนปลาย
เทคนิคการลงยาสี บนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ น่าจะเป็ นเทคนิควิธีการเดียวกันกับ
เทคนิ ค การลงยาสี บ นเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัย อยุธ ยาตอนปลาย ลัก ษณะเทคนิ คการลงยาสี
โดยทัว่ ไปเป็ นวิธีการประดับตกแต่งโลหะด้วยการนาเอาแร่ บางชนิดที่หลอมละลายได้ เช่ น แก้วสี
ต่าง ๆ มาหลอมละลาย แล้วนาไปถมในร่ องที่แกะลวดลายไว้ การลงยาทาได้หลายสี เดิมสี ที่นิยม
เป็ นหลัก ได้แก่ สี แดงและสี เขี ย ว 47 ดังที่ ก ล่ าวไปแล้วในเทคนิ คการลงยาสี ใ นเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาสมัยอยุธยา เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาสี ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ จึงมีลกั ษณะรู ปแบบที่น่าจะ
สื บทอดมาจากเครื่ องทองในสมัยอยุธยาตอนปลาย กลายเป็ นเทคนิ คที่นิยมมากในทาเครื่ องทอง
ในราชสานัก และเป็ นตัวแบ่งระดับชั้นของผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับเป็ น
เครื่ องยศโดยสั ง เกตว่ า มี ก ารก าหนดให้ เ ครื่ องราชู ป โภคทองค าลงยาเป็ นเครื่ องใช้ ส าหรั บ
พระมหากษัตริ ยเ์ ท่านั้นหรื อใช้พระราชทานเป็ นเครื่ องยศแสดงฐานะและเกียรติยศสาหรับเจ้านาย
ชั้นสู งระดับชั้นเจ้าฟ้ า48
2.4.2.2 เทคนิคการลงยาราชาวดี
จากการติดต่อสัมพันธ์กบั ต่างชาติ เทคนิคการลงยาสี แบบทัว่ ไปจึงมี
การพัฒ นาเทคนิ ค การลงยาราชาวดี ซ่ ึ งเป็ นสี ที่ แ ตกต่ า งจากยาสี ใ นเทคนิ ค การลงยาสี ท ั่ว ไป
โดยเทคนิ คลงยาราชาวดีจะลงยาสี ฟ้า ส่ วนเทคนิคลงยาโดยทัว่ ไปจะลงยาสี แดง สี เขียว และสี อื่น ๆ
ที่มีการพัฒนาเพิ่มสี ข้ ึนภายหลัง ทั้งสองเทคนิ คมีลกั ษณะเดี ยวกันเพียงแต่ต่างกันที่สีของยาสี ที่ใช้
ตกแต่งบนภาชนะ นอกจากนี้ยงั มีขอ้ แตกต่างระหว่างเทคนิควิธีการลงยาทั้ง 2 แบบ กล่าวคือเทคนิค
การลงยาต้องใช้กบั ภาชนะโลหะเท่านั้น โดยเทคนิคการลงยาสี โดยทัว่ ไปใช้ได้กบั โลหะทั้ง 3 ชนิ ด
คือ ทองแดง เงินและทองคา ส่ วนเทคนิ คลงยาราชาวดีตอ้ งใช้กบั โลหะเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ เงิน
กับทองคา เทคนิ คการลงยาราชาวดีในราชสานักไทยปรากฏหลักฐานเอกสารตั้งแต่ในสมัยอยุธยา

47
พัสวีสิริ เปรมกุ ลนันท์, “งานประณี ตศิล ป์ ประเภทเครื่ องโลหะ” (เอกสารคาสอน
รายวิชา 310 336 การช่างไทย), 27.
48
หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์, “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน,”
ใน ศรุ ตานุสรณ์ , 218 - 219.
41

ตอนปลาย เป็ นต้นมา ในสมัยรัชกาลที่ 1 ราชสานักไทยนิยมเครื่ องทองลงยาราชาวดี เป็ นการลงยา


ด้วยสี ที่ได้จากหิ นแก้วธรรมชาติซ่ ึ งมีสีฟ้าหรื อสี ไข่นกการเวกเป็ นสี ที่แปลกและแตกต่างจากยาสี
ทัว่ ไป มีผอู ้ ธิ บายว่า “เครื่ องราชู ปโภคทองคาที่สาคัญ ได้แก่ พานพระขันหมากใหญ่ และพระโกศ
พระอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมราชชนก ก็ลว้ นแต่เป็ นเครื่ องลงยาราชาวดีท้ งั สิ้ น”49 เครื่ องทองลงยา
ราชาวดีจึงเป็ นลักษณะเด่นของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ รัชกาลที่ 1 ก็วา่ ได้ และ
กลายเป็ นเทคนิ คการลงยาที่เป็ นเอกลักษณ์อย่างหนึ่ งของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์
เนื่ องจากเทคนิ คลงยาราชาวดีมกั ปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคาทุกประเภทสมัยรัตนโกสิ นทร์
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เป็ นต้นมา

3. ปัจจัยทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อเทคนิคและลวดลายเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5


ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็ นยุคสมัยที่สยามประเทศเปิ ดรับอารยธรรมตะวันตกอย่างเต็มที่
เพื่อพัฒนาชาติบา้ นเมืองให้เจริ ญก้าวหน้าทัดเทียมโลกตะวันตก และรอดพ้นจากลัทธิ ล่าอาณานิคม
ของชาติตะวันตก การพัฒนาบ้านเมืองส่ งผลให้ศิลปวิทยาการ ตลอดจนงานศิลปกรรมและช่างฝี มือ
ได้มีการพัฒนาให้มีความหลากหลายขึ้นทั้งรู ปแบบ และวิธีการสร้างสรรค์ผลงาน รวมทั้งมีการทานุ
บารุ งและมีการพัฒนาศิลปวิทยาการทุก ๆ ด้าน และจากการที่ พระองค์เสด็จเยือนยุโรป 2 ครั้ง ในปี
พ.ศ.2440 และ พ.ศ.2450 ทรงนาแนวคิดที่ ทรงเห็นจากชาติตะวันตกมาพัฒนาบ้านเมือง และจาก
การเสด็จประพาสยุโรปทรงนาเครื่ องทองกลับจากต่างประเทศ ขณะเดียวกันได้ทรงสั่งทาเครื่ องทอง
จากยุโรปด้วย จะเห็ นได้วา่ เครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยรัชกาลที่ 5 บางชิ้ นแสดงให้เห็นลักษณะ
รู ปแบบและลวดลายซึ่ ง ได้รับอิทธิ พลจากศิลปะตะวันตกเข้ามาผสม พร้อมกับรับอิทธิ พลทางคติ
ความเชื่อลวดลายและสัญลักษณ์มงคลจากจีนที่เคยมีมาในรัชกาลก่อน โดยรวมแล้วยังคงรักษาแบบ
แผนศิลปะไทยดั้งเดิมไว้ แม้วา่ ในรัชสมัยนี้ จะมีการเปลี่ยนแปลงการพระราชทานเครื่ องราชูปโภค
เป็ นเครื่ องประกอบพระอิ ส ริ ย ยศแล้ว เปลี่ ย นเป็ นการพระราชทานเครื่ องราชอิ ส ริ ย าภรณ์ แ บบ
ตะวันตกแทน แต่ยงั คงสร้ างเครื่ องราชูปโภคทองคาเพื่อใช้เป็ นเครื่ องยศหรื อสิ่ งของพระราชทาน
ตามประเพณี ในราชสานักไทยที่เคยมีมาแต่โบราณและใช้เป็ นเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์
ลัก ษณะรู ป แบบ เทคนิ ค และลวดลายของเครื่ อ งราชู ปโภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5
โดยทัว่ ไปมีลกั ษณะรู ปแบบเช่นเดียวกับเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ที่สร้างในรัชกาล
ก่ อ น แต่ ล ัก ษณะพิ เ ศษหรื อ รายละเอี ย ดบางประการที่ แ สดงถึ ง ลัก ษณะเฉพาะ อัน เป็ นผลจาก

49
วิทย์ พิณคัณเงิน, “เครื่ องถมเครื่ องลงยาของไทย,” ใน ศิลปกรรมและการช่ างของไทย
และโบราณสถานบางแห่ งของไทย. (กรุ งเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2503), 222.
42

การติดต่อสัมพันธ์ กบั ต่างชาติในช่ วงเวลานั้น ในสมัยรัชกาลที่ 5 เครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับ


พระมหากษัตริ ยย์ งั คงใช้สืบทอดมาจากรัชกาลก่อนในการแสดงพระเกียรติยศในพระราชพิธีสาคัญ
ตามโบราณราชประเพณี ส่ วนเครื่ องราชู ปโภคทองคาสาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องยศยังคงใช้
เครื่ องราชู ปโภคทองคาที่มีอยู่แต่เดิม และมีการสร้างขึ้นเพิ่มเติมโดยยังคงสื บทอดลักษณะรู ปทรง
เดิ ม แต่มีการปรับประยุกต์ลวดลายและเทคนิ คการลงยาสี ตามความนิยมที่เปลี่ยนไป จากหลักฐาน
ภาพถ่ายเจ้านายในพระราชพิธีโสกันต์ในสมัยรัชกาลที่ 5 พบว่ายังมีการวางเครื่ องราชูปโภคทองคา
ประกอบพระอิ ส ริ ย ยศเจ้า นายที่ เ ข้า พระราชพิ ธี โ สกัน ต์ แสดงให้ เ ห็ น ว่า ยัง คงมี ก ารสร้ า งและ
พระราชทานเป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายองค์สาคัญหรื อใช้ประกอบยศเจ้านายในพระ
ราชพิธีสาคัญ แม้วา่ จะมีการพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์แบบตะวันตกแทนการพระราชทาน
เครื่ องราชอิสริ ยยศที่มีมาแต่โบราณ แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุ ณา
โปรดเกล้าฯ ให้มีการนาเครื่ องราชูปโภคทองคานามาใช้เป็ นเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์
จุลจอมเกล้า เพื่อรักษาธรรมเนียมประเพณี เดิมในราชสานักไทย เครื่ องราชูปโภคทองคาจึงถูกใช้เป็ น
เครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์จุลจอมเกล้าเป็ นต้นมา

3.1 เครื่องราชู ปโภคทองคาในเครื่องประกอบเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้ า


ในสมัย รั ช กาลที่ 5 พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้า เจ้า อยู่หั ว ทรงสถาปนา
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์จุลจอมเกล้า เพื่อพระราชทานแก่ขา้ ราชการและราชตระกูลในปี พ.ศ.241650
นอกจากใช้เครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศในตาแหน่ง
หรื อในพระราชพิธีสาคัญเท่านั้นแล้ว ยังนากลับมาใช้เป็ นเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ โดย
การนาเครื่ องราชู ป โภคทองค าที่ ส ร้ า งไว้ใ นรั ช กาลก่ อนและสร้ า งขึ้ นเพิ่ ม เติ ม เพื่อใช้เป็ นเครื่ อ ง
ประกอบของเครื่ องราชอิ สริ ยาภรณ์จุลจอมเกล้า เท่านั้น โดยกาหนดแบ่งเครื่ องยศออกเป็ น 3 ชั้น
ดังนี้ 51
ชั้นที่ 1 ปฐมจุ ลจอมเกล้าวิเศษ และปฐมจุ ลจอมเกล้า ประกอบด้วย พานหมาก
ทองคาลายสลัก (ทรงกลม) เครื่ องพร้อม คนโทน้ าเป็ นลายสลักพร้อมพานรอง กาน้ าทองคาลาย
สลักพร้อมโต๊ะทองคา หีบบุหรี่ พร้อมพานรอง กระโถนทองลายสลัก (ภาพที่ 23 และภาพที่ 24)

50
สานักเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี , เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ ไทย ฉบับสานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี (กรุ งเทพฯ: สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี , 2523), 6.
51
กรมศิลปากร, เรื่องเครื่องยศ, 5.
43

ภาพที่ 23 เครื่ องราชู ปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานผูม้ ีบรรดาศักดิ์เป็ นเจ้าพระยา


หรื อผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า (ฝ่ ายหน้า) ถ้าผูร้ ับพระราชทาน
เป็ นราชสกุลเปลี่ยนพานหมากเป็ นพานกลม (เครื่ องกลม) คนโทน้ า กาน้ า และกระโถนเปลี่ยนเป็ น
ชนิดทองคาลายสลัก
ที่มา: หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์ “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิ น ” ใน
ศรุ ตานุสรณ์ , 256
44

ภาพที่ 24 เครื่ อ งราชู ป โภคทองค าที่ เ ป็ นเครื่ อ งยศส าหรั บ พระราชทานท่ า นผู้ห ญิ ง ในสมเด็ จ
เจ้าพระยาสมัยก่อน หรื อผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า (ฝ่ ายใน) กาน้ า
ที่พระราชทานบางราย เป็ นกาน้ าทรงมัณฑ์พร้อมถาดรอง
ที่มา: หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์ “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิ น ” ใน
ศรุ ตานุสรณ์ , 257.
45

ชั้นที่ 2 ทุ ติยจุ ล จอมเกล้า วิเศษ และทุ ติย จุล จอมเกล้า ประกอบด้วย พานหมาก
ทองคาลายสลัก (ทรงกลม) เครื่ องพร้อมคนโทน้ าทองคาลายสลักพร้อมพานรอง กาน้ าทองคาลาย
สลักพร้อมโต๊ะทองคา กระโถนทองคาลายสลัก (ภาพที่ 25 และภาพที่ 26)

ภาพที่ 25 เครื่ องราชู ปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานผูม้ ีบรรดาศักดิ์เป็ นพระยา


หรื อผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้า (ฝ่ ายหน้า) ถ้าผูไ้ ด้รับพระราชทาน
เป็ นบุคคลทัว่ ไปจะเปลี่ยนเป็ นพานทองคาเหลี่ยม
ที่มา: หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์ “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิ น ” ใน
ศรุ ตานุสรณ์ , 258.
46

ภาพที่ 26 เครื่ องราชู ป โภคทองค าที่เป็ นเครื่ องยศส าหรั บพระราชทานท่า นผูห้ ญิ งในเจ้า พระยา
สมัยก่อน หรื อผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้า (ฝ่ ายใน) ถ้าสตรี น้ นั เป็ น
ราชสกุล กาน้ าและกระโถน เป็ นทองคาลายสลัก หากมิไ ด้เป็ นราชสกุล กาน้ ากับ กระโถนเป็ น
ทองคาเกลี้ยง
ที่มา: หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์ “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิ น ” ใน
ศรุ ตานุสรณ์ , 259
47

ชั้นที่ 3 ตติยจุลจอมเก้าวิเศษ ประกอบด้วย โต๊ะทองคา กาน้ าลายสลัก (ภาพที่ 27)

ภาพที่ 27 เครื่ องราชูปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานผูม้ ีบรรดาศักดิ์เป็ นพระยา


หรื อผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ชุดขวา กาน้ าทรงมัณฑ์
ทองคาลายสลักพร้อมโต๊ะ สาหรับพระราชทานผูเ้ ป็ นราชสกุล ชุดซ้าย กาน้ าทรงมัณฑ์ทองคาเกลี้ยง
สาหรับพระราชทานบุคคลทัว่ ไป
ที่มา: หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์ “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน ” ใน
ศรุ ตานุสรณ์, 260.

เครื่ องยศตามรายการข้างต้นนี้ สาหรับพระราชทานเจ้านายหรื อข้าราชการฝ่ ายหน้า


ถ้าพระราชทานให้แก่ผมู ้ ิใช่ราชตระกูล จะเปลี่ยนพานหมากจากทรงกลมเป็ นสี่ เหลี่ยม และเปลี่ยน
คนโท กาน้ า และกระโถนจากลายสลักเป็ นพื้นเรี ยบ ไม่มีลายสลัก และต่อมาในปี เดียวกัน พ.ศ.2416
ได้ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้า ฯ ให้ท ากล่ องและหี บ ตราจุ ล จอมเกล้า ขึ้ นพระราชทานแก่ ผูท้ ี่ รั บ
พระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์จุลจอมเกล้า ตามชั้นต่าง ๆ สาหรับเจ้านายและข้าราชบริ พาร
ฝ่ ายในด้วย52 ต่อมามีการสร้างเครื่ องราชูปโภคเพิ่มเติมเพื่อใช้เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานแก่
เจ้านายฝ่ ายในที่มีจานวนมากขึ้น ในปี พ.ศ.2421 53 แสดงให้เห็นว่ายังมีการสร้างเครื่ องราชูปโภค
52
หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์, “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน,”
ในศรุ ตานุสรณ์ , 254.
53
สมภพ จันทรประภา, สมเด็จพระศรีสวรินทิราฯ (กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์เรื อนแก้วการ
พิมพ์, 2543), 15 – 16.
48

สาหรับใช้เป็ นเครื่ องยศสื บมาอย่างต่อเนื่ อง และยังมีการพระราชทานเครื่ องยศตามโบราณราช


ประเพณี เรื่ อยมา แม้จะได้มีการสร้างเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ข้ ึนมาสาหรับพระราชทานเป็ นบาเหน็จ
ความชอบอี ก ประเภทหนึ่ ง แล้ว ก็ ต าม แต่ ก็ ย งั ปรากฏว่า ได้มี ก ารพระราชทานเครื่ อ งยศกัน อยู่
ในพระราชบัญญัติเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์สาหรับตระกูลจุลจอมเกล้า ร.ศ.112 (พ.ศ.2436) ก็ยงั มี
บทบัญญัติระบุไว้ในมาตรา 6 ความว่า “ดวงตราชั้นที่ 2 สาหรับพระราชทานพระองค์เจ้าต่างกรม
และยัง ไม่ ได้ต้ งั กรม แลข้า ราชการที่ไ ด้รับ พานทอง” เป็ นการแสดงว่า ข้า ราชการนั้นต้องได้รับ
พระราชทานเครื่ องยศชั้นพานทอง แล้วจึงพระราชทาน ตราทุติยจุลจอมเกล้า54 ภายหลังจึงได้เลิก
ประเพณี การพระราชทานเครื่ องยศ เครื่ องราชูปโภคทองคาที่เคยเป็ นของพระราชทานแสดงเครื่ อง
ยศแสดงเกียรติยศของข้าราชการและราชตระกูลในสมัยก่อนนั้น
จากการติ ดต่ อและการรั บ อิ ท ธิ พ ลจากชาติ ตะวันตกเข้า มาปรั บ ปรุ ง และพัฒนา
ประเทศในช่ วงสมัยรั ชกาลที่ 5 มีผลทาให้ประเพณี การพระราชทานเครื่ องยศที่เครื่ องราชูปโภค
ทองคาแก่ เจ้านายและข้าราชการที่ เคยมี มาแต่ โบราณได้ยกเลิ กไปเพื่อให้ทนั สมัยตามอย่างชาติ
ตะวัน ตก จะเห็ น ได้ ว่ า พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว จึ ง ได้ ท รงสถาปนา
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์จุลจอมเกล้าขึ้นพร้อมกับยังพระราชทานเครื่ องราชูปโภคเป็ นเครื่ องประกอบ
เครื่ องราชอิ สริ ยาภรณ์ เพื่อรั กษาราชประเพณี เดิมและให้ใช้เป็ นแบบแผนมาจนทุกวันนี้ ในสมัย
รัชกาลที่ 5 กฎเกณฑ์การใช้เครื่ องทองและเครื่ องทองลงยาสี ต่าง ๆ จึงไม่ได้ถูกจากัดให้เป็ นเครื่ องใช้
หรื อเครื่ องประดับเฉพาะในราชสานักอีกต่อไป ทรงโปรดฯให้ราษฎรสามารถมีเครื่ องประดับด้วย
ทองคาตามฐานะ55

4. เครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการสร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับใช้เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศฯ
ของเจ้านายเพิ่มเติม มีผศู ้ ึกษาและอธิบายลักษณะรู ปแบบโดยทัว่ ไปของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัย
รัชกาลที่ 5 ไว้วา่
ในสมัยรั ชกาลที่ 5 เป็ นช่ วงเวลาที่ เครื่ องประดับและเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาซึ่ งถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็ นเครื่ องยศหรื อเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ได้
มี ก ารพัฒ นาในเรื่ อ งรู ป แบบ ลวดลาย วิ ธีก าร ทาที่ มีก ารผสมผสานระหว่า งงาน

54
หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์, “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน,”
ใน ศรุ ตานุสรณ์ , 224.
55
วัฒนะ จูฑะวิภาต, รายงานการวิจัยเรื่องศิลปหัตถกรรมทองลายโบราณของช่ างทอง
สุ โขทัย (กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุ รกิจบัณฑิตย์, 2548), 28.
49

ประณี ตศิ ลป์ ของไทยกับอิ ทธิ พลศิ ลปะตะวันตก ทาให้มีความเป็ นสากลมากขึ้ น แต่
ยังคงกลิ่นอายความเป็ นไทยอยู่ 56
จากค าอธิ บ ายดัง กล่ า วแสดงให้ เ ห็ น ว่ า เครื่ องราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5
มีการรับอิทธิ พลศิลปะต่างชาติผสมกับงานศิลปะไทยได้อย่างลงตัว จนเป็ นเอกลักษณ์ของเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ที่แตกต่างเครื่ องราชูปโภคทองคาที่สร้างในรัชกาลก่อน ๆ โดย
มีประเด็นศึกษาตามหัวข้อ ดังต่อไปนี้
4.1 ลักษณะรู ปแบบเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
เครื่ องราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5 มี ล ัก ษณะรู ป แบบโดยทัว่ ไปเช่ นเดี ย วกันกับ
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ รัชกาลก่อน (รัชกาลที่ 1 – 4) โดยอธิ บายได้เป็ น 2 หัวข้อ
ดังนี้
4.1.1 ลักษณะรู ปทรง
เครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 มีลกั ษณะรู ปทรงที่ไม่แตกต่างจาก
เครื่ องราชูปโภคสมัยรัตนโกสิ นทร์ ทว่ั ไป โดยมีผศู้ ึกษากล่าวว่า “ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็ นยุคสมัยที่มี
การรับอิทธิ พล รับธรรมเนียม ศิลปวัฒนธรรมและวิทยาการ มาจากตะวันตกลวดลายและรู ปแบบ
จึงรับอิทธิ พลเข้ามาผสมในงาน เป็ นการรับอิทธิพลตะวันตก แต่ยงั คงรักษาความเป็ นไทยเอาไว้” 57
จากข้อความข้างต้นแสดงให้เห็ นว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยรัชกาล
ที่ 5 มี ล ักษณะรู ปแบบโดยรวมสื บ ทอดลัก ษณะศิลปกรรมไทยที่มีล ักษณะรู ปแบบแตกต่างและ
หลากหลาย ส่ วนลวดลายยัง ปรากฏลัก ษณะรู ป แบบศิ ล ปะตะวัน ตกเข้า ไปผสมอยู่ด้ว ย โดยมี
ลัก ษณะเป็ นลายเครื อ เถาไม้ เครื อ เถาดอกไม้ มี ล ัก ษณะคล้า ยใบไม้แ บบฝรั่ ง หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า
ใบอะแคนตัส แทรกปะปนอยูใ่ นลวดลาย
มี ขอ้ สังเกตบางอย่างพบว่าเครื่ องราชู ป โภคบางชิ้ นที่พ ระราชทานเป็ น
เครื่ องยศจะปรากฏตราจุลมงกุฎซึ่ งตราพระราชลัญจกรประจารัชกาลที่ 5 เช่น บนฝากาทรงกระบอก
(ภาพที่ 28) ฝาหี บ หมาก (ภาพที่ 29) เป็ นต้น เป็ นการสื่ อให้ เ ห็ น ตัว บุ ค คลและยุ ค สมัย ใน
การสร้ า งสรรค์ชิ้ นงานนั้น ได้รับ อิ ท ธิ พ ลตะวันตกเช่ นเดี ย วกับ ในงานสถาปั ตยกรรมที่ ก ารท า
สั ญ ลั ก ษณ์ ห รื อดวงตราประจ าของผู้เ ป็ นเจ้า ของอาคารมาท าเป็ นลวดลายตกแต่ ง อาคาร

56
อภิ ช าต สารมาศ, “การศึ ก ษาวิ เ คราะห์ เ ครื่ อ งราชู ป โภคและเครื่ อ งประกอบ
พระอิสริยยศ ประเภทการถมลงยาในสมัยรัตนโกสิ นทร์ รัชกาลที่ 1 – 5”, 20.
57
เรื่ องเดียวกัน, 141.
50

ตามความนิยมของชาวยุโรปสมัยนั้น58 นอกจากนี้ ยงั พบว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยนี้ มีลกั ษณะ


เครื่ องทองลงยาสี ช มพู ซึ่ ง อาจเป็ นสี ที่ ทรงโปรดปราน เนื่ องจากเป็ นสี ประจาวันอังคารซึ่ งเป็ น
วันพระราชสมภพ ตามคติความเชื่อเรื่ องสี ประจาวัน 59 ดังปรากฏจากงานศิลปกรรมสมัยรัชกาลที่ 5
ที่มีการใช้สีชมพูเป็ นหลัก เช่ น ผนังพระอุโบสถวัดราชบพิธสถิ ตมหาสี มาราม ซึ่ งเป็ นวัดประจา
รั ชกาลที่ 5 เครื่ องทองลงยาสี ชมพูจึงเป็ นลักษณะเด่ นในรัชสมัยนี้ 60 (ภาพที่ 30) อาจกล่ าวได้ว่า
ลักษณะข้างต้นเป็ นลักษณะพิเศษของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ในช่วงรัชกาลที่ 5

ภาพที่ 28 ตราจุลมงกุฎบนฝากาทองคาทรงกระบอก
ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์. เครื่องราชอิสริยยศพระบรมราชวงศ์ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ , 169.

58
“ศิลปกรรมไทยในสมัยรัชกาลที่ 5,” สารกรมศิลปากร 11, 3 (มีนาคม 2541): 7.
59
คติความเชื่ อเรื่ องสี ประจาวันเป็ นความเชื่อที่มาจากคติของเทพนพเคราะห์ประจาวัน
วันอังคารมีพระอังคารเป็ นเทพนพเคราะห์ประจาวัน มีเพทายเป็ นอัญมณี ประจาวัน ซึ่ งมีสีแดงสลัว
หรื อสี ชมพู จึงใช้สีของอัญมณี เป็ นสี ประจาวัน
60
พัสวีสิริ เปรมกุลนันท์, “งานประณี ตศิลป์ ประเภทเครื่ องโลหะ” (เอกสารคาสอน
รายวิชา 310 336 การช่างไทย), 28.
51

ภาพที่ 29 ตราจุลมงกุฎบนฝาหีบหมากทองคาลงยา
ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์. เครื่องราชอิสริยยศพระบรมราชวงศ์ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ , 90.

ภาพที่ 30 ลายเครื อเถาบนเครื่ องทองลงยาสี ชมพู


52

4.1.2 ลักษณะลวดลาย
ลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่5 ลักษณะลวดลายที่ปรากฏ
อย่า งชัด เจนแบ่ ง ออก เป็ น 2 แบบลายหลัก คื อ ลายไทยและลายเลี ย นแบบพรรณพฤกษาใน
ธรรมชาติ 61
4.1.2.1 ลายไทย ยัง ใช้แบบเดิ ม เช่ นเดี ย วกับ ลวดลายบนเครื่ องราชู ป โภค
ทองค าในรั ช กาลก่ อน ตัวอย่า ง ลายไทยที่ ป รากฏในเครื่ องราชู ป โภคหรื อเครื่ องประกอบพระ
อิสริ ยยศประกอบด้วย ลายกระหนก กระจังตาอ้อย ลายใบเทศ ลายขอบ ลายเชิง และลายบัว ปรากฏ
บริ เวณขอบปากของภาชนะเช่น ขัน คนโท ซองพลู ผอบทรงมณฑป พระสุ พรรณศรี (กระโถนเล็ก)
ในลักษณะหน้ากระดานเรี ยงร้ อยจนรอบบรรจบกัน ใช้พ้ืนที่น้อย นอกจากนี้ ยงั พบลายไทยรู ปเทพ
เจ้า บุคคลและสัตว์ต่าง ๆ ที่ปรากฏบนเครื่ องเงินเครื่ องทอง ได้แก่ 62
รู ปธรรมชาติและรู ปเหมือนจริ งต่าง ๆ เช่น ทิวทัศน์ทว่ั ไป สัตว์
ต้นไม้ สถานที่สาคัญ
รู ปประวัติศาสตร์ รู ปเทพเจ้า เช่น เทพบุตร เทพธิดาทัว่ ไป
รู ปสัตว์จากป่ าหิมพานต์และเทพนิยาย เช่น ราชสี ห์ คชสี ห์ หงส์
ครุ ฑ นาค เป็ นลายที่มีมาแต่โบราณ
รู ปตัวละครในวรรณคดี เช่น รามเกียรติ์
รู ปสัตว์ 12 ราศี
ลักษณะลายดังกล่าวนี้ปรากฏบนเครื่ องทองลายสลักและเครื่ องทอง
ลงยา สาหรับเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 มักปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก
โดยมี ล ัก ษณะคล้ า ยกับ ลายที่ ป รากฏบนเครื่ อ งกระเบื้ อ งหรื อ เครื่ องถ้ว ยในสมัย อยุ ธ ยาและ
รัตนโกสิ นทร์ ตอนต้นน่าจะได้รับอิทธิ พลจากลายบนภาชนะที่ทาด้วยวัสดุอื่นในสมัยเดียวกัน ทั้งนี้
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ที่สลักลวดลายไทยมักจะมีประวัติการสร้างในสมัยรัชกาลที่
5 หรื อมีลกั ษณะที่แสดงถึงเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 อย่างชัดเจน

61
อภิ ช าต สารมาศ, “การศึ ก ษาวิเ คราะห์ เครื่ อ งราชู ปโภคและเครื่ อ งประกอบพระ
อิสริยยศ ประเภทการถมลงยาในสมัยรัตนโกสิ นทร์ รัชกาที่ 1 – 5”, 138.
62
ส่ ง ศรี ประพัฒ น์ ท อง, บรรณาธิ ก าร, ประณี ต ศิ ล ป์ ไทย. (กรุ งเทพฯ: กอง
พิพิธภัณฑสถานแห่ งชาติ กรมศิลปากร, 2536 จัดพิมพ์เนื่ องมหามงคลเฉลิมพระเกี ยรติ 100 ปี วัน
พระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั 8 พ.ย. 2536 ), 21 – 22.
53

4.1.2.2 ลายเลียนแบบพรรณพฤกษาในธรรมชาติ เป็ นลายประยุกต์มีลกั ษณะ


เป็ นลายพืชพันธุ์ไม้ต่าง ๆ ที่เป็ นมงคล โดยการผูกลายในลักษณะเครื อเถา ร้อยเรี ยงเลื้อยขดสลับกัน
ไปแบบสมดุ ล ซ้า ยขวา (ภาพที่ 30) ได้แก่ ลายดอกพุดตานใบเทศ ลายก้า นต่ อดอก ลายรั ก ร้ อย
ลายเครื อเถาดอกไม้ ลายเครื อเถาใบเทศ ลายเถาเลื้อย ลายดอกใบเทศ เป็ นต้น มักสลักบริ เวณลาตัว
ของภาชนะหรื อบริ เวณที่มีพ้นื ที่มาก ลักษณะลวดลายดังกล่าวเป็ นการรับอิทธิพลและรู ปแบบมาจาก
ศิลปะตะวันตกทั้งการติดต่อค้าขายและการทูตกับชาติตะวันตกที่สืบเนื่ องมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4
รวมทั้งยังได้รับอิ ทธิ พลจี นจากการติดต่อค้าขาย เห็ นได้จากลายเครื่ องถ้วย เครื่ องกระเบื้ องหรื อ
เครื่ องลายคราม เป็ นต้น และลวดลายพรรณพฤกษาบนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 และ
มักเป็ นลวดลายที่มีการลงยาสี ชมพู เป็ นการแสดงให้เห็นคุณลักษณะของเครื่ องราชู ปโภคทองคา
สมัยรั ชกาลที่ 5 นอกจากนี้ มีขอ้ สังเกตว่า บางลวดลายยังมีลกั ษณะคล้ายกับลายที่ปรากฏในงาน
ศิลปกรรมประเภทอื่นในสมัยเดี ยวกัน เช่ น ลายเครื อเถาดอกไม้ ลายเครื อเถาใบเทศ ลายเถาเลื้ อย
ลายดอกใบเทศ ภายในพระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสี มาราม และวัดเทพศิรินทราวาส ซึ่ งเป็ น
งานศิลปกรรมสมัยรัชกาลที่ 5 เช่นกัน สามารถใช้ศึกษาเปรี ยบเทียบกับลวดลายบนเครื่ องราชูปโภค
ทองคาได้

4.2 เทคนิควิธีการ
การสร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 โดยทัว่ ไปน่าจะใช้เทคนิควิธีการ
เดียวกับเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ (รัชกาลที่ 1 – 4) โดยมีเทคนิควิธีการสร้างสรรค์
เครื่ องราชูปโภคทองคา 3 แบบวิธีการ ได้แก่
4.2.1 เทคนิคการสลักลายดุนนูน หรือทองคาลายสลัก
เป็ นเทคนิควิธีการเดียวกันที่สืบเนื่องจากการสลักลายดุนนูนในสมัยอยุธยา
และสมัยรัตนโกสิ นทร์ ในรัชกาลก่อน และใช้ในการแบ่งระดับชั้นของผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องยศ
หรื อประเภทการใช้งานของเครื่ องราชูปโภคทองคา ดังที่อธิ บายในเทคนิคการสลักลายดุนนูนหรื อ
ทองคาลายสลักในเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์
4.2.2 เทคนิคการสลักลายลงยา หรือทองคาลงยา
เครื่ องราชู ป โภคทองคาสมัย รั ชกาลที่ 5 ใช้เทคนิ คการลงยาเช่ นเดี ยวกับ
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ที่มีท้ งั เทคนิคการลงยาสี และเทคนิคการลงยาราชาวดี อัน
เป็ นเอกลักษณ์ของเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 1 ดังที่กล่าวไป
แล้ว ข้า งต้น จากการพัฒ นาเทคนิ ค ช่ า งลงยารู้ จกั การผสมยาสี เ กิ ด สี ใ หม่ เพิ่ ม ขึ้ นและการติ ดต่ อ
สัม พันธ์ กบั ต่ า งชาติ มี ก ารรั บ เทคนิ คใหม่ เข้ามาในงานช่ า งทองหลวงของไทย เครื่ องราชู ป โภค
54

ทองคาที่สร้างในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 จึงมีการลงยาสี ชมพูเพิ่มขึ้นอีกหนึ่ งสี ซึ่ งเป็ นสี ที่ไม่เคยปรากฏ


ในเครื่ องราชูปโภคทองคามาก่อน สันนิ ษฐานว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาใช้เทคนิคการลงยาสี ชมพู
น่าจะมาจากคติความเชื่อเรื่ องสี ประจาวันเกิด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระราช
สมภพในวันอังคาร ซึ่งมีสีชมพูเป็ นสี ประจาวัน เครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีประวัติการสร้างในสมัย
รัชกาลที่ 5 หรื อเครื่ อ งราชู ปโภคทองคาที่มีสัญลักษณ์ แสดงถึ งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยูห่ วั มักปรากฏลักษณะดังกล่าวอยูด่ ว้ ย จึงกล่าวได้วา่ การลงยาสี ชมพูจึงเป็ นลักษณะเฉพาะของ
เครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยนี้
4.2.3 เทคนิคการสลักร่ องลายลงยา
จากการศึกษาพบเทคนิคการสร้างลวดลายอีกวิธีการหนึ่งแตกต่างจากเทคนิค
การสลักดุนนูนและการสลักลายลงยาที่ใช้สร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ในรัชกาล
ก่ อ น โดยเครื่ องราชู ป โภคทองค าชิ้ น ที่ ใ ช้ เ ทคนิ ค การสร้ า งสรรค์ ล วดลายดัง กล่ า วปรากฏ
ตราจุลมงกุฎและใช้เทคนิคการลงยาสี ชมพู แสดงถึงการสร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่ งไม่เหมือนกับ
เทคนิ ควิธีการในกลุ่มเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ทว่ั ไป เทคนิ ควิธีการดังกล่ าวคือ
การสร้ างลวดลายการลงยาแบบถมลายหรื อเหยียบลายดังเช่ น ลายบนหี บหมากทองคาลงยามีตรา
จุลมงกุฎ (ภาพที่ 31) โดยการสลักเซาะลายให้เป็ นร่ องลายในลักษณะที่ให้พ้ืนลายต่าลงกว่าพื้นผิว
ภายนอก เมื่อกลายเป็ นร่ องแล้วใช้ลงน้ ายาที่ตอ้ งการให้เต็มร่ องลายเสมอพื้นผิวนอกลาย เมื่อลงยา
เต็มลวดลายแล้วก็จะขัดผิวให้เรี ยบเสมอกัน สันนิษฐานว่าน่าจะเป็ นการสร้างลวดลายวิธีของเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่ งมักปรากฏเทคนิคการสร้างลวดลายเช่นในงานเครื่ องทองที่
มี ห ลัก ฐานการสร้ า งในสมัย รั ช กาลที่ 5 อย่า งชัด เจน เช่ น หี บ หมากทองค าลงยาประดับ เพชร
ตรงกลางฝาหี บสลักอักษรว่า “ศก 86 จุฬาลงกรณ์ ถึงศก 116”63 เป็ นงานช่ างฝี มือสมัยรัชกาลที่ 5
ที่ ไ ด้รับ อิ ท ธิ พ ลจากตะวันตก ดัง นั้นการศึ ก ษาเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5 เกี่ ย วกับ
ลักษณะรู ปแบบ เทคนิ ควิธีการและลวดลาย ทาให้ทราบลักษณะเด่นเฉพาะของเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 แสดงถึงความแตกต่างและการเปลี่ยนแปลงของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัย
รัตนโกสิ นทร์ อันมีเหตุปัจจัยที่มีอิ ทธิ พลต่อการสร้างสรรค์เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
ซึ่ ง เป็ นลักษณะพิ เศษที่ แตกต่า งจากเครื่ องราชู ป โภคทองค าสมัย รัตนโกสิ นทร์ ใ นรั ชกาลอื่ นได้
ชัดเจนยิง่ ขึ้น

63
กรมศิลปากร, “ประณีตศิลป์ ไทย” (กรุ งเทพฯ : รุ่ งศิลป์ การพิมพ์, 2536), 73.
55

ภาพที่ 31 ตราจุลมงกุฎสลักบนฝาหีบหมากทองคาลงยา
ที่มา: โครงการสื บสานมรดกวัฒนธรรมไทย, เครื่องทองรัตนโกสิ นทร์ , 2

5. ลักษณะเฉพาะเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
เมื่อพิจารณาจากงานประณี ตศิลป์ ของไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 มีลกั ษณะที่รักษาสื บทอด
รู ปแบบลวดลายจากงานศิลปกรรมไทยในรัชกาลก่อน และส่ วนหนึ่งมีอิทธิพลศิลปะตะวันตกเข้ามา
ผสม ซึ่ งมีปัจจัยจากการติดต่อและรับอารยธรรมจากชาติตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ 5 ดังนั้นเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ได้รับอิทธิ พลดังกล่าวเข้าไปผสมอยูด่ ว้ ย เครื่ องราชูปโภคทองคา
ที่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 มีลกั ษณะพิเศษ 3 ประการ คือ
ประการที่ 1 การประดับ อักษรพระปรมาภิไ ธย่อ จปร.หรื อพระราชลัญจกรประจา
รัชกาล (ตราจุลมงกุฎ) ด้านบนฝาเครื่ องราชูปโภคทองคา เช่ น หี บหมาก กาทรงกระบอก เป็ นต้น
และยังปรากฏในงานประณี ตศิลป์ อื่น ๆ ที่สร้างขึ้นในสมัยเดียวกัน เช่น เครื่ องถ้วย เครื่ องกระเบื้อง
และเครื่ องโลหะอื่น ๆ ในกลุ่มของเครื่ องราชูปโภค บางชิ้นมีการสั่งทาจากต่างประเทศ เช่น กล่อง
พระศรี ดีบุกเลี่ยมทองคาพร้องลูกหี บ มีพระปรมาภิไธยย่อ จปร.ลงยา ทาจากห้างเบนซัน ลอนดอน
ประเทศอัง กฤษ 64 ซึ่ งจัดแสดงอยู่ ณ พระที่ นง่ั วิมานเมฆ พระราชวังดุ สิต นอกจากนี้ การประดับ
พระราชลัญจกรประจารัชกาลประกอบด้วยพระเกี้ยวหรื อจุลมงกุฎอยูต่ รงกลาง ขนาบข้างด้วยฉัตร
ทั้ง สองข้า ง เป็ นการแสดงความหมายถึ ง ผู้ส ร้ า งหรื อผู้ค รอบครอง โดยสลัก ดุ น ลายเป็ นรู ป

64
เขมทัต วิศวโยธิน, เครื่องทองและเครื่องเงิน, 9.
56

พระจุ ล มงกุ ฎ บนฝาภาชนะ (ภาพที่ 31) ในลัก ษณะเดี ย วกั น กั บ พระราชลัญ จกรบนงาน
สถาปั ตยกรรม เช่ น หน้าบันพระอุโบสถวัดเทพศิรินทราวาส หน้าบันพระอุโบสถวัดราชบพิธฯ
เป็ นต้น ซึ่ ง ทั้ง สองแห่ ง มี ป ระวัติว่า เป็ นวัดที่ ส ร้ า งขึ้ นในสมัย รั ช กาลที่ 5 ท านองเดี ย วกัน เครื่ อ ง
ราชูปโภคทองคาที่มีการสลักหรื อประดับลายด้วยอักษรย่อหรื อตราพระราชลัญจกรประจารัชกาล
ประการที่ 2 การลงยาสี ชมพู การลงยาสี บนเครื่ องราชูปโภคทองคาตั้งแต่สมัยอยุธยา
จนถึงสมัยรัตนโกสิ นทร์นิยมใช้ยาสี แดงและสี เขียวเป็ นหลัก ในสมัยรัชกาลที่ 1 ยังมีเครื่ องทองลงยา
สี ฟ้าหรื อสี พลอยขี้ นกการเวกเพิ่ มขึ้นซึ่ งรู้ จกั ในชื่ อ เครื่ องทองลงยาราชาวดี เป็ นเอกลักษณ์ ของ
เครื่ องทองสมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น สาหรับเครื่ องทองลงยาสมัยรัตนโกสิ นทร์ มีลกั ษณะการลงยา
สี ชมพูซ่ ึ งไม่ปรากฏมาก่อนในเครื่ องราชูปโภคทองสมัยรัตนโกสิ นทร์ ส่ วนใหญ่พบในเครื่ องทอง
ลงยาที่ทราบประวัติวา่ สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่น เครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระบรม
โอรสาธิ ราชฯ และเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทั้งนี้ ยงั พบในเครื่ องทองลงยาที่มีตราจุลมงกุฎ หรื ออักษรย่อพระปรมาภิไธย จปร.ปรากฏอยู่ดว้ ย
ตลอดจนเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ ที่เกิ ดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการลงยาสี ชมพูประดับอยู่ดาราหรื อ
ดวงตราของเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ในชุดนั้น และยังสังเกตพบว่า เครื่ องทองลงยาสี ชมพูมกั ไม่พบใน
เครื่ องราชูปโภคหรื อเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศที่มีตราพระราชลัญจกรในรัชกาลอื่น ซึ่ งลักษณะ
การลงยาสี ชมพูที่ได้รับอิทธิ พลการผสมยาสี ใหม่อนั เป็ นเทคนิคจากชาติตะวันตก ที่รู้จกั ใช้หรื อผสม
ยาสี ให้ออกเป็ นสี ชมพูมาก่อนแล้ว
นอกจากนี้ การใช้สีชมพูในการประดับตกแต่งเครื่ องราชูปโภคทองคาที่สร้างในสมัย
รัชกาลที่ 5 ยังสัมพันธ์กบั วันอังคารอันเป็ นวันพระราชสมภพหรื อสี พระราชนิ ยม ซึ่ งพบในงาน
ศิลปกรรมในสมัยรัชกาลที่ 5 ดังนั้นการลงยาสี ชมพูจึงเป็ นลักษณะเด่นของเครื่ องราชูปโภคทองคา
ในรัชสมัยนี้
ประการที่ 3 ลักษณะลวดลายที่มีอิทธิ พลของศิลปะต่างชาติเข้ามาผสม เนื่ องจากใน
สมัยรัชกาลที่ 5 เป็ นช่ วงที่ ไทยติดต่อสัมพันธ์กบั ชาติตะวันตกทุกด้าน ศิลปะตะวันตกได้เข้ามามี
อิทธิ พลต่อศิ ลปะรั ตนโกสิ นทร์ ในช่ วงสมัยนี้ เป็ นอย่างมาก จากการสังเกตงานศิลปกรรม พบว่า
ลวดลายประดับในงานศิลปกรรม มีลกั ษณะเป็ นลายเครื อเถาไม้หรื อดอกไม้ เลียนแบบธรรมชาติ
อย่างสวยงาม ขณะเดี ยวกันคติความเชื่ อเกี่ ยวกับลวดลายมงคลในศิลปะจีนได้เข้ามามีอิทธิ พลใน
ศิลปะไทย โดยสอดแทรกลวดลายสัญลักษณ์มงคลที่แทนคาอวยพรตามคติความเชื่อของจีน เช่น รู ป
สัตว์มงคล พืชพรรณและผลไม้มงคล เป็ นต้น อันเป็ นอิทธิ พลศิลปะจีนที่เข้ามาก่อนหน้านี้ ทาให้
ลักษณะลวดลายที่ปรากฏบนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 มีลกั ษณะที่รับรู ปแบบมาจาก
ตะวัน ตกพร้ อ มกับ น าลวดลายสั ญ ลัก ษณ์ ม งคลตามคติ ค วามเชื่ อ ของจี น เข้า ไปผสมอยู่ ด้ว ย
57

แม้อิทธิ พลศิลปะตะวันตกจะเข้าผสมผสานในงานศิลปกรรมเป็ นอย่างมากก็ตาม แต่ยงั คงรักษา


รู ปแบบลวดลายไทยพร้ อมกับสอดแทรกลวดลายสัญลักษณ์ มงคลจีน ลักษณะลวดลายที่ปรากฏ
แสดงให้เห็นว่าไม่ยดึ ติดกับกระแสอิทธิ พลศิลปะแบบใดแบบหนึ่ ง และเป็ นไปตามรสนิยมของช่าง
ไทยในสมัยนั้นจนกลายเป็ นลักษณะของลวดลายในเครื่ องราชูปโภค ที่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5
จากคุณลักษณะพิเศษ 3 ประการของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ดังกล่าว
ข้างต้น ได้แสดงให้เห็นลักษณะรู ปแบบ เทคนิคและลวดลายหลากหลายที่ไม่พบในเครื่ องราชูปโภค
ของไทยมาก่ อน ทั้งการลงยาสี ชมพู ตลอดจนลวดลายประดับบนเครื่ องทองซึ่ งพบลวดลายไทย
ประเพณี และลวดลายไทยประยุก ต์เลี ยนแบบพรรณพฤกษาธรรมชาติซ่ ึ งเป็ นอิทธิ พลจากศิลปะ
ต่างชาติที่เข้ามาติดต่อกับไทยในสมัยรัตนโกสิ นทร์ เช่น ลายดอกไม้ ใบไม้ ลายเครื อเถาดอกไม้ ลาย
ดอกไม้ใบเทศ เป็ นต้น ตลอดจนเทคนิควิธีการสร้างลวดลายที่แตกต่างไปจากเดิม โดยอาจพบตรา
จุ ลมงกุฎหรื อการลงยาสี ชมพูอยู่ในงานชิ้ นเดี ยวกัน ทั้งนี้ ในการศึกษาวิเคราะห์เครื่ องราชู ปโภค
ทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ใช้คุณลักษณะเฉพาะสาคัญดังกล่าว เพื่ออธิ บายลักษณะรู ปแบบ ลวดลาย
และเทคนิคของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ อันจะกล่าวถึง
ในบทต่อไป
จากการสังเกตพบว่ากลุ่ มเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยอยุธยาป็ นภาชนะในชุ ดสารับ
หมากที่จดั อยูใ่ นชุดของถาดหมาก ซึ่ งแตกต่างจากชุดกินหมากในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ที่จดั ในรู ปของ
ชุดพานหมากแล้วแสดงให้เห็นพัฒนาการและความแตกต่างของเครื่ องราชูปโภคทองคา ตั้งแต่สมัย
อยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสิ นทร์ อย่างชัดเจน
บทที่ 3
เครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
ในศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 แห่ งกรุ งรัตนโกสิ นทร์


ตั้ง แต่ ปี พ.ศ.2411 – 2453 เป็ นยุคที่ บ้า นเมื องมี ค วามเปลี่ ย นแปลงหลายด้ า นพร้ อ มกับ กระแส
วัฒนธรรมตะวันตกที่เข้ามามีอิทธิ พลต่อศิลปวัฒนธรรมไทยในสมัยนั้น จากสาเหตุขา้ งต้น แม้ว่า
เครื่ องราชูปโภคทองคามีลกั ษณะรู ปแบบโดยรวมที่สืบทอดมาจากรัชกาลก่อน แต่ก็มีลกั ษณะพิเศษ
บางประการที่แตกต่างออกไป ซึ่ งในสมัยรัชกาลนี้ มีการพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์แบบ
ตะวันตกแทนการพระราชทานเครื่ องราชอิสริ ยยศ แต่ยงั คงรักษาธรรมเนียมการพระราชทานเครื่ อง
ยศด้ ว ยเครื่ องราชู ป โภคทองค าส าหรั บ เจ้า นายหรื อข้า ราชการชั้ นสู ง เป็ นเครื่ องประกอบ
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ ดังปรากฏหลักฐานเอกสาร ที่กล่าวถึงการสร้างพระราชทานเครื่ องราชูปโภค
ทองค าเป็ นเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิ สริ ยาภรณ์ จุล จอมเกล้า ในปี พ.ศ.2416 1 และสร้ างเครื่ อง
ราชู ปโภคทองคาสาหรั บพระราชทานเจ้านายฝ่ ายในเพิ่มเติม ในปี พ.ศ.24212 แสดงให้เห็ นว่า มี
การสร้างเครื่ องราชูปโภคสื บมา แต่ไม่พบหลักฐานการสร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาในรัชกาลต่อมา
เนื่องจากมีการปฏิบตั ิตามธรรมเนียมประเพณี การพระราชทานและส่ งคืนเครื่ องยศแก่พระคลังหลวง
หรื อพระคลังมหาสมบัติเมื่อพ้นจากตาแหน่ งจึงอาจนาเครื่ องราชูปโภคที่มีอยู่นากลับมาใช้อีก ซึ่ ง
เครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 6 แม้จะมีตรามหาวชิ ราวุธซึ่ ง เป็ นพระราชลัญจกรประจา
รัชกาลปรากฏอยูด่ ว้ ย เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าเป็ นตราที่นามาติดใหม่บนเครื่ องราชูปโภคเดิมที่มีอยู่
ก่อนแล้ว
ปั จจุ บ นั เครื่ องประกอบอิ ส ริ ย ยศหรื อเครื่ องราชู ป โภคทองค าที่ ส ร้ า งขึ้ นตั้ง แต่ ส มัย
รัชกาลที่ 1 เก็บรักษาและดูแลโดยสานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ และได้คดั เลือกชิ้น
สาคัญและสมบูรณ์ นาออกจัดแสดงภายในศาลาเครื่ องราชอิ สริ ย ยศ เครื่ องราชอิส ริ ยาภรณ์ และ
เหรี ย ญกษาปณ์ จานวน 227 ชิ้ น เครื่ องราชู ป โภคทองคาเหล่ านี้ เคยใช้เป็ นเครื่ องประกอบพระ

1
สานักเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี , เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ ไทย ฉบับ สานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี (กรุ งเทพฯ: สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ,2523), 93.
2
สมภพ จันทรประภา, สมเด็จพระศรีสวรินทิราฯ (กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์เรื อนแก้วการ
พิมพ์, 2543), 15 – 16.
58
59

อิสริ ยยศเจ้านายและขุนนางชั้นสู งมาก่อน ส่ วนใหญ่เครื่ องราชู ปโภคทองคาเหล่านี้ ไม่พบประวัติ


การสร้าง มีการจัดแสดงปะปนกัน มีลกั ษณะรู ปแบบและลวดลายที่หลากหลาย ไม่สามารถระบุ
อายุสมัยได้อย่างชัดเจน โดยมีเครื่ องราชูปโภคทองคาประกอบพระอิสริ ยยศ บางชุด ที่มีประวัติระบุ
ไว้อย่างชัดเจนว่าสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่น เครื่ องประกอบพระราชอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี และเครื่ องประกอบพระราชอิสริ ยยศสมเด็จพระบรมโอรสา
ธิ ราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (ชุ ดนี้ ปัจจุบนั ไม่ได้นาออกจัดแสดง) โดยใช้ลวดลายและเทคนิ คของ
เครื่ องราชูปโภคในเครื่ องประกอบพระราชอิสริ ยยศทั้งสองชุดดังกล่าว ใช้เป็ นต้นแบบในการศึกษา
เปรี ยบเที ย บกับ เครื่ องราชู ปโภคทองค าชิ้ นอื่นๆ ที่ จดั แสดงอยู่ภายในศาลาเครื่ องราชอิ สริ ย ยศฯ
ประกอบกับการพิจารณาจากลักษณะของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ตามที่ได้อธิ บาย
ไปในบทที่ 2 โดย มีคุณลักษณะสาคัญ 2 ประการที่เป็ นลักษณะเฉพาะหรื อจุดสังเกต คือ การประดับ
ตราจุลมงกุฎ หรื อมีการตกแต่งลวดลายด้วยการลงยาสี ชมพู อันเป็ นสี ประจาวันพระราชสมภพหรื อ
สี พระราชนิ ยมในพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว แม้ว่าบางชิ้ นไม่พบลักษณะพิเศษ
ดังกล่าว แต่มีลกั ษณะรู ปแบบและลวดลายเหมือนกันกับเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีลกั ษณะเฉพาะ
บางชิ้นก็มีประวัติการสร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 อย่างชัดเจน ลักษณะเหล่านี้ สามารถใช้เป็ นฐานข้อมูล
ประกอบในการศึกษาวิเคราะห์ได้
การศึกษาครั้งนี้ ได้ตรวจสอบลักษณะรู ปแบบเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีประวัติ การ
สร้างที่ ชดั เจนและชิ้ นที่มีลกั ษณะเฉพาะของเครื่ องราชูปโภคทองคาในรัชสมัยนี้ เพื่อให้ทราบว่า
เครื่ องราชู ปโภคทองคาที่จดั แสดงชิ้ นใดเป็ นงานฝี มือสมัยรัชกาลที่ 5 โดยศึกษาเปรี ยบเทียบงาน
ศิ ลปะในสมัยเดี ย วกันและวิเคราะห์จากลักษณะรู ปแบบ ลวดลายและเทคนิ ค ที่ป รากฏโดยแบ่ ง
ออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
1. กลุ่ มเครื่ องราชู ปโภคทองคาในชุ ดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีประวัติว่าสร้ างขึ้ นในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้นามาใช้เป็ นกลุ่ ม
ต้นแบบในการศึกษาเปรี ยบเทียบลักษณะรู ปแบบ ลวดลายและเทคนิคของเครื่ องราชูปโภคทองคา
ชิ้นอื่นๆที่จดั แสดงอยูภ่ ายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
2. กลุ่มเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่จดั แสดงตามลักษณะประเภทและจัดอยู่ในชุดเครื่ อง
ประกอบพระอิสริ ยยศหรื อชุ ดเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ โดยไม่ทราบประวัติความ
เป็ นมา แต่มีลกั ษณะเฉพาะปรากฏอยูด่ ว้ ย
60

1. กลุ่มเครื่องราชู ปโภคทองคาในชุ ดเครื่องประกอบพระอิสริยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ


สยามบรมราชกุมารี
1.1 ความสาคัญ
เครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี
(ภาพที่ 32) ที่เป็ นเครื่ องราชู ปโภคทองคาในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศชุ ดนี้ มีประวัติวา่ สร้างขึ้น
ในสมัยรัชกาลที่ 53 ใช้เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายในสาหรับทอดไว้ในพระราชพิธี
สาคัญ เช่ น พระราชพิธีโสกันต์ ดังปรากฏหลักฐานเก่ าสุ ดที่พบในภาพเครื่ องประกอบอิสริ ยยศ
เจ้านายฝ่ ายใน ทอดไว้ขา้ งพระที่ นั่งขณะฉายพระรู ปพระองค์เจ้าศรี วิลยั ลักษณ์ ทรงเครื่ องต้นใน
พระราชพิธีโสกันต์ พ.ศ. 24214 (ภาพที่ 33) และเจ้านายฝ่ ายในทุกพระองค์ ที่ใช้เครื่ องราชูปโภค
กลุ่มลายลักษณะเดี ยวกันนี้ เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ ต่อมาในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระราชทานเป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี
พระบรมราชิ นีในรัชกาลที่ 7 5 ในรัชกาลปั จจุบนั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุ ลยเดชฯ
พระราชทานเป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 25206 ในคราวสถาปนาพระอิส ริ ยยศให้สูงขึ้น ถือว่าเป็ นตาแหน่ งสู งสุ ดของ
เจ้านายฝ่ ายในที่ไม่เคยมีมาก่อนในราชสานักไทย การพระราชทานเครื่ องราชูปโภคทองคาเพื่อเป็ น
เครื่ องยศหรื อเครื่ องประกอบยศสาหรับเจ้านายในรัชกาลปั จจุบนั ยังคงใช้พระราชทานเป็ นเครื่ อง
ประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ และเป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศของเจ้านายที่มีตาแหน่งสาคัญ
และมีการเลื่ อนพระอิสริ ยยศให้สูงขึ้นเท่านั้น เพื่อรักษาธรรมเนี ยมการพระราชทานเครื่ องยศตาม
ราชประเพณี ที่เคยมีมาแต่โบราณ

3
หม่ อ มราชวงศ์ สุ ริ ยวุ ฒิ สุ ขสวัส ดิ์ , เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย ยศ พระบรมราชวงศ์ กรุ ง
รัตนโกสิ นทร์ (กรุ งเทพฯ: บริ ษทั รี เจนซี่บรั่นดีไทย จากัด, 2539), 82.
4
กรมศิ ล ปากร, สมุ ด ภาพจดหมายเหตุ พ ระราชโอรสและพระราชธิ ด าใน
พระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ยุวราชสกุลวงศ์ (กรุ งเทพฯ: สานักหอจดหมายเหตุ
แห่งชาติ), 107.
5
หม่ อ มราชวงศ์ สุ ริ ยวุ ฒิ สุ ขสวัส ดิ์ , เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย ยศ พระบรมราชวงศ์ กรุ ง
รัตนโกสิ นทร์ , 82.
6
เรื่ องเดียวกัน, 81.
61

ปั จจุบนั เครื่ องราชู ปโภคทองคาในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศชุ ดนี้ สมเด็จพระเทพ


รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้สานักทรัพย์สินมี ค่าของแผ่นดิน
กรมธนารักษ์ เก็บรักษาและนามาจัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศ เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ และ
เหรี ยญกษาปณ์ ในพระบรมมหาราชวัง

2
8
10
5
3
6 7 9
1

14 11 12
16 1 1
19 13
18 17
15

ภาพที่ 32 เครื่ องราชูปโภคทองคาในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯสยามบรมราชกุมารี
หมายเลข 1 – 13 กลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา
หมายเลข 14 – 19 กลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลักหรื อสลักลายดุนนูน

เครื่ องราชูปโภคทองคาในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ


สยามบรมราชกุมารี ทั้งหมดจานวน 27 ชิ้ น7 เป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคา จานวน 26 ชิ้ น (ยกเว้น
ถ้วยฝาหยก 1 ชิ้น) ได้แก่
พานกลีบบัวทองคาลงยา จานวน 3 ชิ้น
ขันน้ าเสวยทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น
ซองพลูทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น
ผอบทองคาลงยา จานวน 3 ชิ้น
จอกหมากทองคาลงยา จานวน 2 ชิ้น
ตลับภู่ทองคาลงยาพร้อมไม้แคะพระกรรณทองคา จานวน 1 ชิ้น
และไม้แคะพระทนต์ทองคา

7
ส่ วนจัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิ น สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนา
รักษ์, “รายการทรัพย์สินจัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ,” 14 สิ งหาคม 2556.
62

มีดด้ามหุม้ ทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น


หีบหมากทองคาลงยาประดับเพชรซีก จานวน 1 ชิ้น
ตลับทองคาลงยา จานวน 3 ชิ้น
ขันสรงพระพักตร์ทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น
พานรองขันทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น
จอกน้ าทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น
กากระบอกทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น
ถาดรองกาทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น
ป้ านชาทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น
จานทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น
จุ๋นทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น
ถาดชาทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น
กระโถนทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น

ภาพที่ 33 เครื่ องราชูปโภคทองคาที่ทอดไว้ขา้ งพระที่นงั่ พระองค์เจ้าศรี วิลยั ลักษณ์ ทรงเครื่ องต้นใน


การสมโภชเวียนเทียนในพระราชพิธีโสกันต์ พ.ศ.2421
ที่ ม า: กรมศิ ล ปากร, สมุ ด ภาพจดหมายเหตุ พ ระราชโอรสและพระราชธิ ด าในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว: ยุวราชสกุลวงศ์ , (กรุ งเทพฯ: สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ), 107.
63

1.2 ประเภทของเครื่องราชู ปโภคทองคา


เมื่อพิจารณาลักษณะรู ปแบบลวดลายและเทคนิคของเครื่ องราชูปโภคทองคาแต่ละ
ชิ้ นในเครื่ องประกอบพระอิ สริ ยยศฯ ชุ ดนี้ ไม่ เหมื อนกันทั้งชุ ด ในการศึกษาครั้ งนี้ ได้ตรวจสอบ
ลักษณะรู ปแบบ ลวดลายและเทคนิค รวมทั้งวิเคราะห์ลกั ษณะรู ปแบบเครื่ องราชูปโภคทองคากลุ่มนี้
โดยแบ่ ง การศึ ก ษาวิเคราะห์ ต ามลัก ษณะของรู ป แบบเทคนิ ค การสร้ า งออกเป็ น 2 ประเภท คื อ
เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา และเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก
1.2.1 เครื่องราชู ปโภคทองคาลงยา
มีลกั ษณะรู ปแบบ ลวดลายและเทคนิค ที่ปรากฏดังนี้
1.2.1.1 ลักษณะรู ปแบบ
เครื่ องราชู ป โภคทองค าลงยาในชุ ดเครื่ องประกอบพระอิ ส ริ ย ยศ
(ภาพที่ 32) ประกอบด้วย
1) พานกลีบบัวทองคาลงยา จานวน 3 ชิ้ น (ภาพที่ 32 หมายเลข 1)
แต่ละชิ้นมีลวดลายและขนาดต่างกันตามลักษณะการใช้งาน เป็ นพานกลีบบัวทองคาสลักลายลงยา
เป็ นขอบปากพานทรงกลม ขอบปากและเชิงประดับอัญมณี สีแดง ตัวพานและฐานพานเป็ นกลีบบัว
ซ้อนทับกันเป็ นชั้น ลักษณะของกลีบบัวจะเป็ นบัวคว่าและบัวหงาย ลายบัวเป็ นลายที่นิยมนามา
เป็ นส่ วนโค้งของภาชนะ เช่น เชิงพานและงานประกอบลาย มีการลงยาสี ต่าง ๆ ที่ตวั ลายและพื้นลาย
ตามความถนัดและความนิ ยมของช่างผูส้ ร้าง พานมีส่วนประกอบ 4 ส่ วน ได้แก่ ตัวพาน อกไก่ อก
รอง และตี นพาน (ฐานพาน) แต่ ล ะส่ ว นถอดประกอบได้ ปากพานและฐานพานจะผายออกมี
ลักษณะรู ปทรงกลมผ่าซี ก พื้นผิวพานตกแต่งด้วยการสลักดุนลายลงยา โดยการลงยาสี ชมพูที่ตวั
ลายหลักสาคัญ ลงยาสี แดงและสี เขียวที่ตวั ลายประกอบ
2) ขันน้ าเสวยทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้ น (ภาพที่ 32 หมายเลข 2)
เครื่ องราชูปโภคที่แสดงและกาหนดว่าใช้เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายใน เป็ นขันใส่
น้ าดื่มแบบมีฝาครอบ จุกฝาครอบทาเป็ นรู ปผลทับทิม ผลไม้มงคลของจีน ตัวขันและฝาครอบเป็ น
ลายสลักลงยาแบบเดียวกัน ลงยาสี ชมพูที่ตวั ลายหลัก
3) ซองพลูท องคาลงยา จานวน 1 ชิ ้ น (ภาพที่ 32 หมายเลข 3)
เป็ นส่ วนหนึ่งของเครื่ องประกอบใน ชุดพานพระศรี หรื อพานหมาก สาหรับใส่ ใบพลู ขอบปากของ
ซองพลูทาเป็ นแบบหยัก ด้านหลังฝาท้ายลงยาทั้งตัวลายและพื้นลาย โดยการสลักลายและลงยาสี
ชมพูที่ตวั ลายหลัก
4) ผอบทองคาลงยา จานวน 3 ชิ้น (ภาพที่ 32 หมายเลข 4) เป็ นส่ วน
หนึ่งของเครื่ องประกอบในชุดพานพระศรี หรื อพานหมาก สาหรับใส่ เครื่ องหมาก ทั้ง 3 ชิ้นเป็ นผอบ
64

ยอดปริ กซ้อนกันสี่ ช้ นั ฝังอัญมณี สีขาว มีลกั ษณะรู ปทรงกลม ครึ่ งบนเป็ นส่ วนฝาที่ดา้ นเป็ นยอดปริ ก
ครึ่ งล่างเป็ นส่ วนฐาน พื้นผิวตกแต่งด้วยการสลักลายลงยาสี ชมพูลวดลายเหมือนกันทั้ง 3 ชิ้น
5) จอกหมากทองคาลงยา จานวน 2 ชิ้น (ภาพที่ 32 หมายเลข 5) เป็ น
ส่ วนหนึ่ งของเครื่ องประกอบในชุ ดพานพระศรี หรื อพานหมาก เป็ นภาชนะสาหรับใส่ เครื่ องหมาก
เช่น ยาฝอย กานพลู หมากสด เวลาใช้งานจะมีกรวยใบตองสดคลุมที่ปากจอก มีรูปทรงแบ่งเป็ นสอง
ส่ วน ชิ้ นส่ วนแรกมีรูปทรงครึ่ งวงกลมตั้งหงายขึ้ น ส่ วนปากมีขนาดกว้างแบบปากกลม ตัวจอกมี
ลักษณะมน ชิ้นส่ วนที่สองเป็ นส่ วนฐานมีรูปทรงครึ่ งวงกลมในลักษณะคว่าแต่มีขนาดเล็กกว่าส่ วน
ด้านบน เป็ นเครื่ องทองลงยาสี ชมพู ลวดลายเหมือนกันทั้งสองชิ้น และเป็ นลายเดียวกันกับชื้ นอื่นใน
ชุดพานหมากหรื อพานพระศรี ในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศชุดนี้
6) ตลับภู่ทองคาลงยาพร้ อมไม้พระกรรณทองคาและไม้พระทนต์
ทองคา (ภาพ32 หมายเลข 6) จานวน 1 ชิ้น เป็ นส่ วนหนึ่ งของเครื่ องประกอบในชุดพานพระศรี หรื อ
พานหมาก เป็ นภาชนะสาหรับใส่ สีผ้ ึงทาปาก ฝาเป็ นแบบยอดปริ ก ตัวตลับสลักลายลงยาสี ชมพู
สี แดง และสี เขียวที่ตวั ลายและลงยาสี แดงบนพื้นลาย มีสายสร้อยร้อยตัวตลับและฝา พร้อมทั้งไม้
แคะพระกรรณ (หู) และไม้แคะพระทนต์ (ฟัน) ทาด้วยทองคา
7) มี ดด้ามหุ ้มทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้ น (ภาพที่ 32 หมายเลข 7)
เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของเครื่ องประกอบในชุ ดพานพระศรี หรื อพานหมาก ส าหรับเจียนหมาก ด้ามมี ด
ทองคาสลักลายลงยาสี ชมพูและสี เขียวที่ตวั ลายหลักและลงยาสี แดงที่พ้ืนลาย
8) หี บหมากทองคาลงยาประดับอัญมณี สีขาว จานวน 1 ชิ้น (ภาพที่
32 หมายเลข 8) เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศประเภทหนึ่ ง อยูใ่ นหมวดเครื่ องราชูปโภคเป็ นหี บ
ซึ่ ง ภายในจะบรรจุ ตลับ สาหรั บบรรจุเครื่ องหอมประกอบในการเสวยหมาก หี บหมากใช้คู่ ก ับ
พานรอง หี บหมากชิ้ นนี้ มีรูปทรงสี่ เหลี่ยมผืนผ้า มีชิ้นส่ วนสองชิ้ น คือ ส่ วนตัวหี บและส่ วนฝาหี บ
ผิวของภาชนะสลัก ลายลงยาสี แดง สี เขี ย ว สี ขาว และสี ชมพู บนฝาหี บมี ตราจุ ล มงกุ ฎประดับ
ด้วยอัญมณี สีขาว พื้นผิวตกแต่งด้วยการสลักลายลงยาสี ในลักษณะที่แตกต่างจากเครื่ องราชูปโภค
ทองคาชิ้นอื่น
9) ตลับทองคาลงยา จานวน 3 ชิ้น (ภาพที่ 32 หมายเลข 9) บรรจุอยู่
ในหี บหมาก เป็ นตลับรู ปทรงรี ทาด้วยทองคาลงยา สาหรับใส่ เครื่ องหอมประกอบการเสวยหมาก
โดยมีเทคนิคการสลักลายลงยาแบบเดียวกับหีบหมากทองคาลงยา
10) ขัน สรงพระพัก ตร์ ท องค าลงยา จ านวน 1 ชิ้ น (ภาพที่ 32
หมายเลข 10) เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศฝ่ ายในใช้สาหรับสรงพระพักตร์ ส่ วนปากของขันมี
65

ลักษณะเปิ ดกว้าง ตัวขันสลักลายลงยา โดยใช้เทคนิ คการตกแต่ง พื้นผิวด้วยการเหยีย บลายโดย


การสลักร่ องลายแล้วลงยาสี ในร่ องลายที่กาหนดไว้ โดยลงยาสี แดง สี เขียว สี ขาวและสี ชมพู
11) พานรองขันทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น (ภาพที่ 32 หมายเลข 11)
เป็ นพานกลีบบัวแบบขอบหยักหรื อเรี ยกอีกอย่างว่า พานบัวแฉก ไม่มีการทาขอบเป็ นหน้ากระดาน
ประดับอัญมณี เหมือนกับพานหมากหรื อพานพระศรี กลีบบัวบนตัวพานเป็ นบัวหงาย 4 ชั้นซ้อนกัน
ไป ส่ วนฐานพานเป็ นบัวคว่า 3 ชั้นซ้อนกัน พาน มีสี่ส่วน คือ ส่ วนตัวพาน อกไก่ อกรองและตีน
พาน (ฐานพาน) พื้นผิวสลักลายลงยาสี แดง ลักษณะตัวลายดุนนูนสู งแตกต่างจากเครื่ องราชูปโภค
ทองคาชิ้นอื่น ๆ ในชุดนี้
12) จอกน้ า ทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้ น (ภาพที่ 32 หมายเลข 12)
จอกน้ าเสวยหรื อเรี ยกว่า จอกลอย เป็ นจอกน้ าทองคาในชุดขันน้ าพานรอง ใช้ภายในขันครอบฝาปิ ด
เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศทาด้วยทองคาลงยา ตัวลายมีการลงยาสี ชมพู มีลกั ษณะลวดลาย
เดียวกับลายบนขันน้ าเสวยทองคาลงยา ลักษณะรู ปแบบคล้ายกับขันสรงพระพักตร์ ทองคาลงยา แต่
มีขนาดเล็กกว่า เป็ นแบบทรงกลมผ่าครึ่ ง
13) กระโถนทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้ น (ภาพที่ 34 หมายเลข
13) กระโถนขนาดเล็กหรื อเรี ยกว่าพระสุ พรรณศรี เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศในงานพระราช
พิธีจะทอดอยูเ่ บื้องหน้าโต๊ะด้านข้างพระราชอาสน์ มีลกั ษณะเป็ นกระโถนทรงปลี ส่ วนปากจะผาย
ออก สลัก ลายลงยาสี ที่ ตวั ลายสี ช มพูและสี เขี ยว ส่ วนพื้ นลายลงยาสี แดง ขอบปากและฐานล่ า ง
ประดับทับทิมโดยรอบ
จะเห็ นได้ว่า เครื่ องราชู ปโภคทองคาลงยามีลกั ษณะรู ปแบบที่สื บ
เนื่ องมาจากเครื่ องราชูปโภคทองคาในรัชกาลก่อน ที่ตวั ลายหลักเน้นลายการลงยาสี ชมพู เป็ นการ
ลงยาสี ใหม่ในเครื่ องทองสมัยรัตนโกสิ นทร์ ซึ่ งพบมากในกลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาหรื องานช่าง
สมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่ งการลงยาสี ชมพูหรื อ การใช้สีชมพูเป็ นสี หลักในการตกแต่งหรื อสร้างสรรค์งาน
ศิ ล ปกรรมในรั ช สมัย นี้ อาจสั ม พัน ธ์ ก ับ สี พ ระราชนิ ย มหรื อ สี ป ระจ าวัน พระราชสมภพของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั การใช้สีประจาวันเกิดเป็ นสี หลักของการสร้างสรรค์งาน
ศิลปกรรม ได้รับอิทธิ พลจากศิลปะตะวันตก การลงยาสี ชมพูปรากฏมากในเครื่ องราชูปโภคสมัย
รัชกาลที่ 5 ซึ่ งพบในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศฯชุดนี้ และยังสอดคล้องกับประวัติการสร้างเครื่ อง
ราชูปโภคกลุ่มนี้
1.2.2.2 ลวดลาย
ลวดลายที่ปรากฏในเครื่ องราชู ปโภคทองคาลงยาบางชิ้ นมีลกั ษณะ
การลงยาสี ชมพูที่ตวั ลายหลักสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของเครื่ องราชู ปโภคทองคารัชสมัยนี้
66

มีขอ้ สังเกตว่าการลงยาสี ชมพูมกั พบเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีประวัติการสร้าง การลงยาสี ชมพู


เป็ นยาสี ใหม่ และกลายเป็ นสี ที่นิยม สะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับผูส้ ร้างหรื อราชสานัก
ในยุคนั้น เช่ นเดี ยวกับการสลักตราจุลมงกุฎหรื อพระปรมาภิ ไธยย่อ จปร. สอดคล้องกับหลักฐาน
เกี่ ย วกับ เครื่ องราชู ป โภคทองค าที่ มี ก ารประดับ พระบรมสาทิ ส ลัก ษณ์ พ ระบาทสมเด็ จ พระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัวล้อมด้วยลายเครื อเถาดอกไม้แบบตะวันตก เป็ นตัวอย่างของเครื่ องราชูปโภค
ทองคาที่อธิ บายได้ว่าเป็ นงานที่สร้ างขึ้นในรัชสมัยนี้ สันนิษฐานว่าลักษณะดังกล่าวได้รับอิทธิ พล
จากศิลปะตะวันตก ดังนั้นลวดลายที่ปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาชุดนี้ ได้สะท้อนให้เห็น
ความสัมพันธ์กบั ต่างชาติ ที่มีอิทธิ พลต่อลวดลายบนเครื่ องทองในช่ วงเวลานั้น ตลอดจนแสดงให้
เห็ นการพัฒนาด้า นลวดลาย ซึ่ ง แตกต่ า งจากลวดลายไทยแบบเดิ ม ที่ป รากฏในเครื่ องราชู ปโภค
ทองคารัชกาลก่อน นอกจากนี้เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาบางชิ้นไม่มีการลงยาสี ชมพู แต่มีลกั ษณะ
ลวดลายที่ต่างไปจากลวดลายบนเครื่ องราชู ปโภคทองคาลงยาสี ชมพู แสดงให้เห็ นความแตกต่าง
ระหว่างรู ปแบบของลวดลายไทยประเพณี กบั ลายไทยประยุกต์ที่เกิ ดขึ้นในช่ วงรัชกาลนี้ จากการ
ตรวจสอบพบว่าลวดลายบนเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศฯ ชุ ดนี้ เฉพาะประเภทเครื่ องราชูปโภค
ทองคาลงยา สามารถจาแนกลวดลายออกเป็ น 3 แบบลาย ดังนี้
แบบลายที่ 1 ลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิม เป็ นลายหลักใน
เครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศชุ ดนี้ ปรากฏบนพานพระศรี ผอบ จอกหมาก ซองพลู ขันน้ าเสวยฝา
ครอบพร้อมพานรองและจอกลอย ลักษณะเป็ นลายเครื อเถาดอกไม้ ผูกลายเลียนแบบธรรมชาติที่
เป็ นเครื อเถาวัลย์ จุดเด่นของลายนี้อยูท่ ี่ตวั ลายดอกไม้กลีบยาวลงยาสี ชมพู ใบเรี ยวยาว มีผลลูกไม้ลง
ยาสี เขียว มีกา้ นดอกยาวเลื้อยเป็ นเครื อเถา พื้นลายลงยาสี แดง (ภาพที่ 34)

ภาพที่ 34 ลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิม


67

พิจารณาจากลวดลายที่ปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคากลุ่มนี้ พบว่าเป็ นลายประยุกต์และผูกลาย


ขึ้นใหม่ ลักษณะลายแตกต่างจากลวดลายที่ปรากฏบนเครื่ องราชูปโภคทองคาทัว่ ไป ไม่พบลายนี้ ใน
เครื่ อ งราชู ป โภคชิ้ นอื่ น ๆ ที่ จดั แสดงในศาลาเครื่ องราชอิ ส ริ ย ยศฯ สัน นิ ษ ฐานว่า ลัก ษณะลาย
ดังกล่าวเป็ นลายที่ประยุกต์ข้ ึนสาหรับใช้เป็ นลายประดับเครื่ องราชูปโภคทองคาชุ ดนี้ มีประวัติว่า
สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 58
จากการตรวจสอบลักษณะตัวลายสลักเป็ นดอกไม้กลีบยาวลงยาสี
ชมพู สังเกตว่าลักษณะเช่นนี้ คล้ายกับ ลายช่อดอกราเพย ที่ปรากฏบนเงินพดด้วงที่ระลึก ที่สร้างขึ้น
เมื่อ พ.ศ.2423 (ภาพที่ 35) ในการบาเพ็ญพระราชกุศลถวายแด่กรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์
พระบรมราชชนนี เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระชนมพรรษานับวันเท่า
พระบรมราชชนนีเมื่อสิ้ นพระชนม์9 ลายเครื อเถาดอกไม้ที่ปรากฏจึงน่าจะหมายถึงดอกราเพย ส่ วน
ความหมายของดอกราเพยมาจากพระนามเดิมของพระราชชนนีวา่ “รำเพย” ได้นามาเป็ นลายเครื่ อง
อิสริ ยยศของเจ้านายฝ่ ายใน เนื่องจากพบลายแบบนี้ในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศชุดนี้ เท่านั้น เป็ น
ลายเฉพาะในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายใน ทั้งนี้ ไม่พบลายนี้ ในเครื่ องราชูปโภคทองคาใน
ชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายหน้า หรื อเครื่ องราชูปโภคทองคาชุดอื่น ๆ

ภาพที่ 35 ลายช่อดอกราเพยบนเงินพดด้วงที่ระลึกในสมัยรัชกาลที่ 5

8
ส่ วนจัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิ น สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนา
รักษ์, “รายการทรัพย์สินจัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ,” 14 สิ งหาคม 2556.
9
กรมธนารั ก ษ์ , เหรี ย ญกษาปณ์ กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ พ.ศ.2325 – 2525 (กรุ ง เทพฯ:
กรมธนารักษ์, 2525), 221.
68

สาหรับการลงยาสี ชมพูที่ตวั ลายหลัก เป็ นลักษณะพิเศษของเครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยนี้ ดงั ที่


กล่ าวแล้วในบทที่ 2 ส่ วนลายผลลูกไม้ลงยาสี เขียวที่แทรกปนในลายมีล ักษณะคล้ายผลทับทิ ม
เช่ น เดี ย วกับ ที่ จุ ก ฝาครอบขัน น้ า เสวย (ภาพที่ 36) ท าเป็ นรู ป ผลทับ ทิ ม ในลัก ษณะเหมื อ นจริ ง
มี ค วามหมายมงคลในคติ ค วามเชื่ อของจี น การท าผลไม้เสมื อ นจริ งเป็ นรู ปแบบที่ ไ ด้รับมาจาก
อิทธิ พลจากศิลปะตะวันตก ซึ่ งเข้ามามีอิทธิ พลในงานศิลปกรรมไทยสมัยรัชกาลที่ 5 เป็ นอย่างมาก
จึงเรี ยกลายเครื อเถาบนเครื่ องราชู ปโภคทองคากลุ่ มนี้ ว่า “ลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิม ”
ลวดลายนี้จึงปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายใน

ภาพที่ 36 ฝาจุกขันน้ าเสวยทาเป็ นรู ปผลทับทิม ผลไม้มงคลในคติความเชื่อของจีน


ในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ลักษณะลายเครื อเถาที่ปรากฏบนเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาชุดนี้


คล้ายกับลวดลายเครื อเถาใบเทศบนเพดานพระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตหาสี มาราม (ภาพที่ 37) ตาม
ประวัติสร้างขึ้นในปี พ.ศ.241210 และลวดลายเครื อเถาก้านขดบนเพดานพระอุโบสถวัดเทพศิรินทรา
วาส (ภาพที่ 38) ตามประวัติสร้ างขึ้ นในปี พ.ศ.242111 วัดทั้งสองแห่ งนี้ สร้ างในสมัยรัชกาลที่ 5
นอกจากนี้ลายดังกล่าวคล้ายกับลวดลายเครื อเถาบนฉลองพระองค์ครุ ยปั กลาย จปร. เป็ นเครื่ องยศที่
สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 (ภาพที่ 39) ซึ่ งจัดแสดงอยู่ภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ มีลกั ษณะ
ลายเครื อเถาดอกไม้เลื้อยหรื อใบอะแคสตัสแบบตะวันตกนี้ เป็ นแบบเดียวกับลายเครื อเถาดอกไม้ที่
ปรากฏบนเครื่ องราชูปโภคทองคากลุ่มนี้

10
กรมศิลปากร, ประวัติวดั ราชบพิธสถิตมหาสี มาราม. พิมพ์ครั้งที่ 3 (กรุ งเทพฯ: บริ ษทั
อมริ นทร์ พริ้ นติ้ง กรุ๊ พ จากัด, 2531), 6.
11
ประวัติวดั เทพศิรินทราวาส, (กรุ งเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย), 2542. 3.
69

ภาพที่ 37 ลายเครื อเถาใบเทศบนเพดานพระอุโบสถวัดราชบพิธฯ สมัยรัชกาลที่ 5

ภาพที่ 38 ลายเครื อเถาก้านขดบนเพดาน ภาพที่ 39 ลายเครื อเถาพรรณพฤกษาบนฉลอง


พระอุโบสถวัดเทพศิรินทราวาส สมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ครุ ยปักลาย จปร. สมัยรัชกาลที่ 5
จัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ

เมื่อพิจารณาลักษณะลวดลายพบว่า เป็ นลวดลายเดียวกันกับเครื่ อง


ประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านาย ฝ่ ายใน โดยพบหลักฐานภาพถ่ ายพระราชพิธีโสกันต์พระองค์เจ้า
ศรี วิลยั ลักษณ์ เมื่อ พ.ศ.2421 (ภาพที่ 33) สันนิษฐานว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาชุดดังกล่าวอาจเป็ น
ชุ ดเดียวกันกับเครื่ องราชูปโภคทองคากลุ่มนี้ ซ่ ึ งมีลวดลายเดียวกัน และเป็ นลายที่เกิดขึ้นในช่วงต้น
สมัยรัชกาลที่ 5 รวมทั้งหลักฐานภาพถ่ายเจ้านายฝ่ ายในสมัยรัชกาลที่ 5 หลายพระองค์ที่มีการทอด
เครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีลายเดียวกันนี้ ในพระราชพิธีโสกันต์ ซึ่ งสอดคล้องกับหลักฐานเอกสาร
ประกาศพระราชโองการสมัยรัชกาลที่ 5 ให้จดั สร้างเครื่ องยศเพื่อพระราชทานให้แก่เจ้านายฝ่ ายใน
70

เพิม่ เติมใน พ.ศ.242112 สันนิ ษฐานว่าเครื่ องยศสาหรับฝ่ ายในดังกล่าวอาจจะมีลวดลายเครื อเถาดอก


ร าเพยและผลทับ ทิ ม เช่ น เดี ย วกัน กับ ที่ ป รากฏในเครื่ อ งราชู ป โภคทองค ากลุ่ ม นี้ ซึ่ งเป็ นเครื่ อ ง
ราชูปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายใน เนื่ องจากในเครื่ องราชูปโภคทองคากลุ่มลายนี้ มีขนั น้ าเสวยทองคา
ลงยาพร้อมฝาครอบและจอกลอย สาหรับใช้เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายในเท่านั้น
ดังนั้นลวดลายเครื อเถาลักษณะนี้ จดั อยู่ในกลุ่มลายประยุกต์ที่เป็ นเอกลักษณ์ของลวดลายบนเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่ งสอดคล้องกับประวัติเครื่ องราชู ปโภคทองคาชุ ดนี้ สร้างดังที่
กล่าวไปแล้วข้างต้น
แบบลายที่ 2 ลายเถาดอกไม้ ลายนี้ ป รากฏในเครื่ อ งราชู ป โภค
ทองคาชุ ด เครื่ อ งประกอบพระอิส ริ ย ยศฯชุ ด นี้ 3 ชิ ้ น ได้แ ก่ มีด ด้า มหุ ้ม ทองคาลงยา ตลับ ภู่
ทองคาลงยา และกระโถนทองคาลงยา (พระสุ พ รรณศรี ) ลัก ษณะนาลวดลายในธรรมชาติ
ดอกไม้ ใบไม้ มาผูก เรี ย งร้ อยจัดวางลงในพื้นที่อย่า งเหมาะสม ประกอบด้วยดอกไม้ 5 กลี บ
ลงยาสี ชมพู เกสรลงยาสี แดง ใบไม้เรี ยวยาวและก้านลงยาสี เขียว พื้นภาพลงยาสี แดง (ภาพที่ 40)

ภาพที่ 40 ลายเถาดอกไม้ (ลงยาสี ชมพู)


ลักษณะดังกล่าวมีผเู ้ รี ยกว่า “ลายดอกชมพู่เกสรแดง”13 เป็ นลายที่ปรากฏจัดอยูใ่ นกลุ่มเครื่ องทองลง
ยาสี ชมพูอีกลายหนึ่งที่เป็ นเอกลักษณ์ของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัย นี้ สังเกตว่ามีลายผลลูกไม้ลง
ยาสี ชมพูแทรกปนอยู่ใน ช่ อดอกไม้ ลักษณะคล้ายกับผลลูกไม้ในแบบลายที่ 1 (ลายเครื อเถาดอก
ราเพยและผลทับทิม ) อาจหมายถึ ง ผลทับทิม ซึ่ งสอดแทรกผลไม้มงคลตามคติความเชื่ อของจีน
เช่ นกัน ส่ วนพื้นลายลงยาสี แดงตามรู ปแบบที่นิยมในเครื่ องราชู ปโภคทองค าลงยา ลักษณะลาย
ดังกล่าวเป็ นแบบลายเดี ยวกับลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ

12
สมภพ จันทรประภา, สมเด็จพระศรีสวรินทิราฯ, 15 – 16.
13
หม่ อ มราชวงศ์ สุ ริ ยวุ ฒิ สุ ข สวัส ดิ์ , เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย ยศ พระบรมราชวงศ์ กรุ ง
รัตนโกสิ นทร์ , 44.
71

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร มีประวัติวา่ สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 514 ปั จจุบนั


ไม่ ไ ด้น าออกจัด แสดง เป็ นชุ ด เครื่ อ งราชู ป โภคทองค าที่ ส ร้ า งขึ้ น โดยกลุ่ ม ช่ า งฝี มื อ เดี ย วกัน
นอกจากนี้ ลกั ษณะลายดังกล่าวนี้ ยงั เป็ นลวดลายแบบเดียวกับลายที่ปรากฏอยูบ่ นฝักพระแสงดาบ
ญี่ ปุ่ นที่ พ ระบาทสมเด็ จพระจุ ล จอมเกล้า เจ้า อยู่หัว พระราชทานให้แก่ ส มเด็จเจ้าฟ้ าประชาธิ ป ก
ศักดิเดชน์ ในพระราชพิธีโสกันต์ใน พ.ศ.244815 (ภาพที่ 41)

ภาพที่ 41 ลายเถาดอกไม้บนฝักพระแสงดาบญี่ปุ่นทองคาลงยาสี ชมพู สมัยรัชกาลที่ 5


จัดแสดงภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ

เมื่อพิจารณาจากลายดอกไม้ที่เป็ นตัวลายหลัก เป็ นลักษณะลายดอกไม้ใบไม้ อาจได้รับแรงบันดาล


ใจมาจากศิลปะตะวันตกคล้ายกับลายดอกไม้ที่ปรากฏบนเครื่ องถ้วยชุ ดจักรี (ภาพที่ 42) ซึ่ งสั่งทา
จากประเทศฝรั่งเศสเพื่อนามาพระราชทานเป็ นของที่ระลึกในงานถวายพระเพลิงพระศพพระอรรค
ชายา และพระราชโอรส พระราชธิ ดา ในปี พ.ศ.243016 ซึ่ งเป็ นลายดอกไม้แบบตะวันตก โดยมีการ
สลัก ลายผลทับ ทิ ม อัน เป็ นผลไม้ม งคลตามความเชื่ อ ของจี น มาประกอบในลวดลาย อัน สื่ อ
ความหมายสวัสดิ ม งคล ความอุดมสมบูรณ์และความเจริ ญรุ่ งเรื อง จึง กล่า วได้ว่า ลักษณะแบบ

14
ส่ วนจัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิ น สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนา
รักษ์, “รายการทรัพย์สินจัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ,” 14 สิ งหาคม 2556.
15
ณัฏฐภัทร นาวิกชีวนิ , พระราชพิธีโสกันต์ (กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, 2518), 114.
16
ณัฏฐภัทร จันทวิช, “เครื่ องถ้วยจักรี ” บ้ านและสวน 12, 140 (เมษายน 2531): 169.
72

ลายที่ 2 นี้ จึงเป็ นลายที่ได้รับอิทธิ พลตะวันตกและมีการสอดแทรกคติความเชื่ อจีน ประกอบกับ


การลงยาสี ชมพูแสดงถึ งลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 อย่างชัดเจน

ภาพที่ 42 ลายดอกไม้แบบตะวันตกบนเครื่ องถ้วยชุดจักรี พ.ศ.2430 สมัยรัชกาลที่ 5


ที่มา : สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

เมื่อพิจารณาจากลักษณะลายดอกไม้ที่ปรากฏในเครื่ องราชูปโภคในกลุ่มลายนี้ เป็ นลายดอกไม้ใบไม้


ธรรมชาติที่ได้รับอิทธิ พลจากศิลปะตะวันตก พบหลักฐานปรากฏในช่วงปลายรัชกาล จากภาพถ่าย
ที่มีการทอดเครื่ องราชู ปโภคทองคาลักษณะลายแบบนี้ ในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายใน
พระราชพิธีโสกันต์เจ้านายสมัยรัชกาลที่ 5 เช่ น พระราชพิธีโสกันต์สมเด็จเจ้าฟ้ าจุฑาธุ ชธราดิลก
กรมขุนเพชรบูรณ์ อินทราชัย ราว พ.ศ.2447 (ภาพที่ 72) และยังปรากฏในพระราชพิธี โสกันต์
เจ้านายในปี ถัดไป เช่น ภาพสมเด็จเจ้าฟ้ าประชาธิ ปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุ โขทัยธรรมราชา (รัชกาล
ที่ 7) ทรงฉลองพระองค์เครื่ องต้นในพระราชพิธีโสกันต์ พ.ศ. 2448 เป็ นต้น โดยสังเกตว่ากลุ่มลาย
ลักษณะนี้ พบในเครื่ องราชู ปโภคทองคาในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายหน้าเท่านั้น
ตั้งแต่ พ.ศ.2447 เป็ นต้นไป ซึ่ งในภาพถ่ายเจ้านายพระราชพิธีโสกันต์ก่อนปี พ.ศ.2447 ไม่พบเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาที่มีลวดลายลักษณะนี้ เป็ นกลุ่มลายเครื่ องราชูปโภคทองคาที่สร้างขึ้นใหม่ทดแทน
ของเดิมในช่วงปลายรัชกาล
มีขอ้ สังเกตว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีแบบลายเถาดอกไม้ พบ
ปะปนในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซ่ ึ งเป็ น
เครื่ องยศเจ้า นายฝ่ ายใน สั นนิ ษ ฐานว่า ในสมัย หลัง อาจมี ก ารนามาจัดใหม่ ข องเดิ ม ที่ ช ารุ ด โดย
คัดเลือกเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่มีสภาพสมบูรณ์ดีนามาจัดเครื่ องประกอบให้ครบถ้วนสมบูรณ์
แทน แสดงให้เห็ นว่าในการใช้พระราชทานเป็ นเครื่ องยศแก่ เจ้านายในรัชกาลปั จจุบนั โดยไม่
เคร่ งครัดในเรื่ องลายในชุดเดียวกันอีก
73

แบบลายที่ 3 ลายก้านต่อดอกใบเทศ เป็ นลายที่มีพ้ืนฐานทัว่ ไปมา


ตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยการนาใบเทศมาวางเรี ยงต่อกันในลักษณะกลีบดอกไม้ นิยมใช้เป็ นลายบังคับ
ประดับ กลี บ บัว รอบพาน (ภาพ 43) แบบลายนี้ ในเครื่ องราชู ป โภคทองค าเครื่ อ งประกอบ
พระอิ สริ ยยศชุ ดนี้ ได้แก่ หี บหมากทองคาลงยา ตลับทองคาลงยา ขันสรงพระพักตร์ ทองคาลงยา
พานรองทองคาลงยา และพานรองหี บทองคาลงยา สาหรับหี บหมากทองคาลงยามีการลงยากลี บ
ดอกใบเทศสี ชมพู และมีตราจุลมงกุฎบนฝาหี บ อันเป็ นลักษณะของเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัย
รัชกาลที่ 5 สอดคล้องกับประวัติการสร้างเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศชุ ดนี้ ส่ วนเครื่ องราชูปโภค
ทองคาชิ้ นอื่ นในกลุ่ มลายนี้ พบว่าไม่ปรากฏลักษณะของเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
ที่ชัดเจนโดยลักษณะลายก้านต่อดอกใบเทศที่พ บในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศชุ ดนี้ มีเทคนิ ค
การลงยาสี บนพื้นผิว 2 แบบ คือ

ภาพที่ 43 ลายก้านต่อดอกใบเทศ

การสลัก ดุ นขอบลายลงยา โดยการลงยาบนพื้ น ลายทั้ง หมดและ


ลงยาที่ ต วั ลายขอบลายดุ น นู น เพื่ อ ให้ย าสี อ ยู่ใ นลายที่ กาหนด ใช้ต วั ลายกระจัง ใบเทศผูก ลาย
เป็ นดอกไม้ ยอดของใบเทศมี ค วามพลิ้ วไหวดู เป็ นธรรมชาติ (ภาพที่ 44)

ภาพที่ 44 การสลักดุนขอบลายลงยา
74

ลักษณะลายแบบนี้ปรากฏในพานกลีบบัวทองคาลงยา บริ เวณกลีบบัวรอบตัวพานมีการทาลวดลาย


โดยการวางดอกซ้อนต่อกันตามแนวยาวของกลีบบัว จัดลงในพื้นที่อย่างเหมาะสมลงตัว กลายเป็ น
ลัก ษณะลายก้ า นต่ อ ดอกใบเทศ เมื่ อ พิ จ ารณาจากลายลายก้ า นต่ อ ดอกใบเทศที่ ป รากฏใน
เครื่ องราชู ปโภคทองคากลุ่มนี้ เป็ นลายที่พบในเครื่ องราชู ปโภคชิ้ นอื่น ๆ ทัว่ ไปที่จดั แสดงอยู่ใน
ศาลาเครื่ องราชอิ สริ ยยศฯ และคล้ายกับลายบนพานทองคาลงยา คู่หนึ่ งฝี มือช่ างสมัยรัชกาลที่ 2
ที่ จ ัด แสดง ณ พระที่ น่ัง วิ ม านเมฆ พระราชวัง ดุ สิ ต 17 (ภาพที่ 4 5) ดัง นั้น ลัก ษณะลายดัง กล่ า ว
ตลอดจนลักษณะรู ปแบบ เทคนิคและการวางลวดลาย น่าจะเป็ นลายที่มีมาก่อนสมัยรัชกาลที่ 5

ภาพที่ 45 พานทองคาลงยาสลักลายก้านต่อดอกใบเทศ สมัยรัชกาลที่ 2


ที่มา: เขมทัต วิศวโยธิน, เครื่ องทองและเครื่ องเงิน (กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์อกั ษรสัมพันธ์,2526), 13.

การสลัก ร่ อ งลายลงยาหรื อ การเหยีย บลาย โดยการสลัก พื้ น ผิว


เป็ นร่ อ งลายตามต้อ งการและลงยาเสมอผิว รอบลาย หรื อ เรี ย กอีก อย่า ง การเหยีย บลาย
ส่ วนพื้นลายโดยรอบไม่ลงยา ตัวยาสี จะอยู่บนลวดลายเท่านั้น (ภาพที่ 46)

17
เขมทัต วิศวโยธิน, เครื่องทองและเครื่องเงิน, 13.
75

ภาพที่ 46 การสลักร่ องลายลงยาหรื อเทคนิคการเหยียบลาย

เทคนิควิธีการดังกล่าวทาให้เหลือพื้นลายมาก ลักษณะลายใช้ใบเทศผูกลายเป็ นดอกไม้เช่นเดียวกัน


กับแบบที่ 1 แต่ต่างกันที่เทคนิ คการลงยา ลักษณะเทคนิคการลงยาบนลายดังกล่าวแบบเดียวกับลาย
บนหี บหมากทองคาลงยาในชุ ดเดี ยวกันโดยปรากฏเทคนิคการลงยาสี ชมพูและตราจุลมงกุฎอยูบ่ น
ฝาหี บ ซึ่ งเป็ นลัก ษณะเฉพาะเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5 อี ก ทั้ง ลัก ษณะการลงยา
เหมือนกับเทคนิ คการลงยาบนหี บหมากทองคาลงยาประดับเพชรที่เป็ นเครื่ องยศที่พระบาทสมเด็จ
พระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ เจ้าจอมมารดามรกฎ18 (ภาพที่ 47) และไม่พบลักษณะ
ดังกล่าวในเครื่ องราชูปโภคชิ้นอื่น ๆ จึงสันนิษฐานว่าลักษณะเทคนิคการสลักร่ องลายลงยาดังกล่าว
น่าจะเป็ นเทคนิ คที่ใช้ในเครื่ องราชูปโภคที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 เครื่ องราชูปโภคทองคาใน
กลุ่ ม ลายก้านต่ อดอกใบเทศที่ ใ ช้เทคนิ คการลงยาโดยการสลักร่ องลาย จัดอยู่ใ นกลุ่ มของเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ได้

18
กรมศิลปากร. ประณีตศิลป์ ไทย, 73.
76

ภาพที่ 47 หีบหมากทองคาลงยาประดับเพชรพร้อมตลับทองคาลงยา
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั พระราชทานแก่เจ้าจอมมารดามรกฎ ในปี พ.ศ.2441
ที่มา: กรมศิลปากร, ประณี ตศิลป์ ไทย (กรุ งเทพฯ: รุ่ งศิลป์ การพิมพ์, 2536), 73.

ลายก้ า นต่ อ ดอกใบเทศนี้ เป็ นลายที่ มี ม าก่ อ นและนิ ย มใช้ ก ั น มาต่ อ เนื่ อ งมา ไม่ ใ ช่ เ ป็ นคุ ณ
ลักษณะเฉพาะของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 จึงจาเป็ นต้องใช้เทคนิคการสร้างลวดลาย
มาช่วยกาหนดอายุสมัย ซึ่ งเทคนิ คการสลักร่ องลายหรื อการเหยียบลาย อันเป็ นเทคนิคที่ปรากฏใน
เครื่ องราชูปโภคทองคา ในชุดเดียวกันที่มีลกั ษณะของการลงยาสี ชมพูและตราจุลมงกุฎประกอบอยู่
ด้วย (ภาพที่ 29) ดัง นั้นเครื่ องราชู ปโภคทองค ากลุ่ มลายก้า นต่อดอกใบเทศที่ ใช้เทคนิ ค ดัง กล่ า ว
จัดอยูใ่ นกลุ่มของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
1.2.2 เครื่องราชู ปโภคทองคาลายสลัก
เนื่องจากเป็ นเครื่ องอุปโภคที่ตอ้ งสัมผัสความร้อน ไม่นิยมลงยาเคลือบผิว
หรื อประดับลวดลายจึงออกมาในรู ปแบบของเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก จากการตรวจสอบ
เครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศฯชุ ดนี้พบว่ามีประเภทเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก จานวน 6 ชิ้ น
ได้แก่ กาทรงกระบอกทองคาลายสลัก พร้อมถาดรองทองคาลายสลัก จานวน 2 ชิ้น ที่ชาทองคาลาย
สลัก ประกอบด้วยถาดรองทองคารู ปทรงสี่ เหลี่ ยมมุมตัด ป้ านชาทองคาลายสลักพร้ อมถาดรอง
ทองคากลมลายสลัก และจุ๋นหรื อจานรองถ้วยฝาหยกทองคาขอบสู งโค้งแอ่นกลางขอบหยักเป็ นรู ป
ดอกไม้แปดกลี บ จานวน 4 ชิ้ น ได้ทาการศึกษาวิเคราะห์ลกั ษณะรู ปแบบ ลวดลายและเทคนิ คที่
ปรากฏ ดังนี้
77

1.2.2.1 ลักษณะรู ปแบบ


เครื่ องราชูปโภคทองคาในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จ
พระเทพรัต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุม ารี ประเภทเครื ่ อ งราชูป โภคทองค าลายสลัก
ประกอบด้วยเครื่ องอุปโภคที่มีลกั ษณะรู ปแบบ (ภาพที่ 32) ดังนี้
1) กากระบอกทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น (ภาพที่ 32 หมายเลข
14) เป็ นกาน้ าทรงกระบอกแบบจีน19 หูกาเรี ยกว่า หลักใส่ หูแบบทองเหลือง โดยขันตะปูเกลียว ที่หวั
ทาเหมือนเม็ดมะยม ตัวกาสลักลายเต็มพื้นที่ส่วน ปากพวยกามีฝาปิ ดพร้อมสายสร้อยทองคาโยงกับ
หูกา
2) ถาดรองกาทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น (ภาพที่ 32 หมายเลข
15) เป็ นถาดรองทรงกลม ปากขอบถาดผายออกสลักลาย ใต้ถาดมีขารอง 3 ขา
3) ป้ านชาทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น (ภาพที่ 32 หมายเลข 16)
เป็ นกาน้ าชาทรงกลมแป้ น สลักลายทั้งภาชนะ หูกาทาด้วยหินหยกสี ขาว
4) จานทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น (ภาพที่ 32 หมายเลข 17) เป็ น
จานรองป้ านชาทรงกลมแบน สลักลายเต็มใบ
5) จุ๋นทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น (ภาพที่ 32 หมายเลข 18) เป็ น
จานรองถ้วยฝาหยก มีรูปทรงแบบดอกแปดกลีบ ขอบถาดสู งโค้งแอ่นกลางเหมือนอานม้า สลักลาย
ที่ขอบทั้งแปดกลีบ
6) ถาดชาทองคาลายสลัก จานวน 1 ชิ้น (ภาพที่ 32 หมายเลข 19)
เป็ นถาดรองชุดที่ชา ในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ ถาดรองเป็ นถาดรู ปทรงสี่ เหลี่ยมผืนผ้าปลาย
มุมตัดทั้งสี่ มุม ขอบถาดสลักลาย มีขารองถาด 4 ขา
เครื่ องราชู ปโภคทองคาประเภทนี้ มีลกั ษณะรู ปแบบโดยทัว่ ไปที่
สื บเนื่ องมาจากเครื่ องราชูปโภคทองคาที่สร้างขึ้นในรัชกาลก่อน โดยไม่ปรากฏลักษณะสาคัญของ
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 อย่างชัดเจน เช่ นการลงยาสี ชมพู นอกจากชิ้นที่มีการสลัก
ตราพระราชลัญจกรหรื อตราจุลมงกุฎประดับอยูด่ ว้ ย การศึกษาวิเคราะห์เครื่ องราชูปโภคทองคาลาย
สลักประเภทนี้ จึงต้องพิจารณาจากลักษณะของลวดลายและเทคนิค การสร้างที่ปรากฏเป็ นรายชิ้น
ประกอบไปด้วย

19
หม่ อ มราชวงศ์ สุ ริ ยวุ ฒิ สุ ข สวัส ดิ์ , เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย ยศ พระบรมราชวงศ์ กรุ ง
รัตนโกสิ นทร์ , 93.
78

1.2.2.2 ลวดลาย
พิจารณาลักษณะลวดลายที่ปรากฏในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศฯ
ชุดนี้ ประเภทเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก จานวน 6 ชิ้น มี 3 แบบลาย ได้แก่
แบบลายที่ 1 ลายเถาดอกไม้ ลายนี้ ปรากฏในชุ ดเครื่ องประกอบ
พระอิสริ ยยศฯชุ ดนี้ ได้แก่ กาน้ าทรงกระบอกทองคา ป้ านชาทองคา และถาดรองที่ชาทองคาทรง
สี่ เหลี่ยมมุมตัด เมื่อพิจารณาลักษณะรู ปแบบและการวางลายของแบบลายนี้ มีลกั ษณะเดียวกับลาย
เถาดอกไม้ลงยาสี ชมพู (ภาพที่ 40) ในประเภทเครื่ องราชู ปโภคทองคาลงยา ชุ ดเครื่ องประกอบ
อิสริ ยยศชุ ดเดียวกัน จึงจัดอยูใ่ นกลุ่มลายแบบเดียวกัน แตกต่างเพียงการลงยาเท่านั้น เนื่ องจากเป็ น
กลุ่มเครื่ องอุปโภคที่สัมผัสกับความร้อนจึงไม่มีการลงยา
ลักษณะลายประกอบด้วย ก้านดอกไม้ห้ากลีบ วางในแนวตั้งคล้าย
การจัดเป็ นช่ อ ใบเรี ยวยาว และมีผลลูกไม้ลกั ษณะคล้ายผลทับทิมแทรกปนอยู่ (ภาพที่ 48) ภายใน
ผลทับทิมมีการสลักให้เห็ นเม็ดทับทิมให้เห็นอยูภ่ ายใน น่าจะเป็ นการสื่ อความหมายโดยใช้ผลไม้
แทนสัญลักษณ์ความเป็ นสิ ริมงคล หรื อการอวยพรให้มีลูกมาก คล้ายเมล็ดของผลทับทิม 20 หรื อสื่ อ
หมายถึงความเจริ ญงอกงาม และที่ฝากาสลักลายดอกโบตัน๋ ซึ่ งดอกโบตัน๋ สะท้อนถึงคติความเชื่อใน
สัญลักษณ์แห่งสิ ริมงคลของจีน ความสง่างามและความร่ ารวยมัง่ คัง่ 21

ภาพที่ 48 ลายเถาดอกไม้ลายสลักหรื อสลักลายดุนนูน

20
พรพรรณ จันทโรนานนท์ , ฮก ลก ซิ่ ว โชค ลาภ อายุ ยืน พิม พ์ค รั้ งที่ 2 (กรุ งเทพ:
สานักพิมพ์มติชน, 2537), 14.
21
ธัช ชัย ยอดพิ ชัย , ลวดลายปู น ปั้ น สั ญ ลัก ษณ์ แ ห่ ง สิ ริ ม งคลที่วั ด แจงร้ อ น ธนบุ รี
(กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545), 27.
79

ส่ วนลักษณะลายดังกล่าวเป็ นลายแบบเดียวกับลายบนกาทรงกระบอกทองคาลายสลักในชุ ดเครื่ อง


ประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
(ภาพที่ 49) ซึ่ งมี ตราจุ ลมงกุฎสลักอยู่บนฝากา จากสังเกตพบว่าลักษณะลายแบบนี้ มกั ปรากฏใน
เครื่ องราชูปโภคชิ้นที่มีการลงยาสี ชมพูและชิ้นที่มีการสลักตราจุลมงกุฎปรากฏอยูด่ ว้ ย ซึ่ งลักษณะ
ดังกล่าวสัมพันธ์กบั ลักษณะของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเชื่ อว่าลักษณะลายเถา
ดอกไม้น้ ีเป็ นลักษณะลายแบบหนึ่งที่นิยมใช้ประดับตกแต่งเครื่ องราชูปโภคทองคาที่สร้างในสมัยนี้
และยังพบว่าลักษณะลายเถาดอกไม้บนเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลักมีการสลักลายใบไม้แน่ น
ทึ บ กว่า ลายเดี ย วกันที่ มี ก ารลงยา โดยพื้นลายมี พ้ืนที่ น้อยกว่า ลายเดี ย วกันที่ ใ ช้เทคนิ ค การลงยา
ลักษณะลายเถาดอกไม้ที่ ปรากฏในเครื่ องราชู ป โภคทองคาลายสลักกลุ่ มนี้ เป็ นเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 และเกิดขึ้นในช่วงปลายรัชกาลเช่นเดียวกับลายเถาดอกไม้ใน
เทคนิคทองคาลงยา

ภาพที่ 49 กาทรงกระบอกทองคาสลักลายเถาดอกไม้บนฝากาสลักตราจุลมงกุฎในชุดเครื่ อง
ประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ
จัดแสดงภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
80

แบบลายที่ 2 ลายดอกไม้จี น ลัก ษณะเป็ นลายพรรณพฤกษาใน


ธรรมชาติ เช่นเดียวกับลายดอกไม้ใบไม้ทวั่ ไป สลักขอบหยักเป็ นกลีบดอกไม้ 4 กลีบซ้อนกัน 2 ชั้น
เกสรตรงกลางสลักเป็ นรู ปดาวสี่ แฉก (ภาพที่ 50) มีลกั ษณะคล้ายกับดอกไม้ใบหญ้า (ภาพที่ 51)

ภาพที่ 50 ลายเถาดอกไม้จีน ภาพที่ 51 ลายเครื อดอกไม้ใบหญ้าในศิลปะจีน


ที่มา: พรพรรณ จันทโรนานนท์, ฮก ลก ซิ่ ว
โชค ลาภ อายุยนื พิมพ์ครั้งที่ 2, 278.

เป็ นลายสิ ริมงคล ให้ร่ ารวย เป็ นหมื่นปี 22 เป็ นลายมงคลตามคติความเชื่อของจีน โดยวางลายกระจัด
กระจายไม่เป็ นระเบียบ มีผลเป็ นฝั กยาว แทรกปะปนอยู่กบั กิ่งไม้ หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ เป็ น
ลวดลายที่สอดแทรกความหมายมงคล ลักษณะลายดังกล่าวน่าจะได้รับอิทธิ พลจากศิลปะจีน ซึ่ งเข้า
มาปรากฏในงานศิลปกรรมไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 ที่แฝงด้วยคติความเชื่ อและความหมายของ
ลวดลายมงคลต่าง ๆ ยังคงตกทอดมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 กลุ่มลายนี้ ปรากฏในเครื่ องราชูปโภค
ทองคาในชุ ดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศชุ ดนี้ เพียงชิ้ นเดียว คือ ถาดทองคารองกาทรงกระบอก
มีลกั ษณะเป็ นถาดกลมแบน ขอบถาดยกสู งเล็กน้อยและมีการสลักลวดลายที่ขอบถาด (ภาพที่ 52)

22
พรพรรณ จันทโรนานนท์, ฮก ลก ซิ่ว โชค ลาภ อายุยนื , 278.
81

ภาพที่ 52 ถาดรองกาทองคาสลักลายเถาดอกไม้จีน
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์
เมื ่อ เปรี ย บเทีย บลัก ษณะลวดลายดัง กล่ า วพบว่า เป็ นลาย
ดอกไม้จีน ที่ มีลกั ษณะลายดอกหรื อการวางลายคล้า ยกับ เครื่ องราชู ปโภคประเภทอื่น ๆ หลาย
ชิ้ นที่ปรากฏหลักฐานการสร้ างในสมัยรัชกาลที่ 5 อย่างชัดเจน และจัดแสดงในศาลาเครื่ องราช
อิสริ ยยศฯ ได้แก่ ลวดลายเครื อเถาดอกไม้จีนบนฝั กพระแสงดาบทองคาลายสลัก (ภาพที่ 53)

ภาพที่ 53 ลายเถาดอกไม้จีนบนฝักพระแสงดาบ สมัยรัชกาลที่ 5 มีอกั ษรย่อ จปร.


82

และลวดลายเถาดอกไม้จี นบนหี บ หมากเงิ น ลงยาและกล่ องหมากเงิ นถมตะทอง ในชุ ดเครื่ อ ง


ประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษสาหรับฝ่ ายใน (ภาพที่ 54) ซึ่ งเครื่ องราชูปโภค
ทั้งสองชิ้ นมีพระปรมาภิไธยย่อ จปร. ปรากฏอยู่ อันเป็ นหลักฐานที่แสดงให้เห็น อายุสมัยได้อย่าง
ชัดเจน นอกจากนี้ ลวดลายดังกล่าวยังคล้ายกับลายบนกาน้ าเงินลายสลักกะไหล่ ทอง (ภาพที่ 55)
ที่จดั แสดง ณ พระที่นง่ั วิมานเมฆ พระราชวังดุสิต อันเป็ นพิพิธภัณฑ์ที่เก็บรักษาเครื่ องเงิ นเครื่ อง
ทองสมัยรัชกาลที่ 5
จากลักษณะรู ปแบบของลวดลายที่พบมาสามารถนาศึกษาเปรี ยบเทียบหรื อกาหนดอายุ
สมัยกับลวดลายที่ปรากฏบนเครื่ องราชูปโภคที่ชุดนี้ ได้ ลักษณะลายนี้ จึงเป็ นลายประดิ ษฐ์ใหม่ที่
ได้รับอิทธิพลจากศิลปะจีนในสมัยรัชกาลที่ 5

ภาพที่ 54 ลายเถาดอกไม้จีนบนหีบหมากเงินลงยา ภ า พ ที่ 55 ก า น้ า ท อ ง ค า ส ลั ก ล า ย เ ถ า


มีพระปรมาธิไธยย่อ จปร. บนฝาหีบ สมัยรัชกาล ดอกไม้ จี น สมั ย รั ช กาลที่ 5 จั ด แสดง
ที่ ๕ ในชุดเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ ณ พระที่นง่ั วิมานเมฆ พระราชวังดุสิต
ทุติยจุลจอมเกล้า ที่ ม า: เขมทัต วิศ วโยธิ น , เครื่ อ งทองและ
เครื่องเงิน, 33
83

แบบลายที่ 3 ลายดอกพุดตานใบเทศ ในเครื่ องราชู ป โภคชุ ดนี้ ที่


ปรากฏลายนี้ ได้แก่ ถาดรองป้ านชาทรงกลมทองคา ถาดรองถ้วยฝาหยกทองคารู ปทรงแปดเหลี่ยม
โดยมีลกั ษณะการสลักดุนเป็ นลายดอกพุดตานใบเทศทัว่ ทั้งภาชนะทั้งชิ้นมีการใช้ลายซ้ าต่อเนื่ องกัน
ในทิศทางต่าง ๆ วางลายจนเต็มพื้นที่ผิวภาชนะ ในกระบวนลายอย่างไทย ตัวลายหลักเป็ นกลุ่มช่ อ
แต่ละช่อมีลกั ษณะเป็ นดอกพุดตานตรงกลาง ล้อมด้วยใบเทศปลายใบสลักเป็ นแฉก (ภาพที่ 56)

ภาพที่ 56 ลายดอกพุดตานใบเทศ

ลายดอกพุ ด ตานเป็ นลายดอกไม้มงคล ตามคติ ความเชื่ อของจี น


เป็ นสัญลักษณ์ แห่ งความมัน่ คัง่ ความร่ ารวย และเกี ยรติยศ23 ช่ างไทยนิ ยมนามาใช้ในงานประดับ
ตกแต่ง ซึ่ งปรากฏในงานศิลปกรรมไทยมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยพบในเครื่ องราชูปโภคทองคาลาย
สลักลายดอกพุดตานที่ฝาภาชนะ ได้จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ (ภาพที่ 57)

23
ธิติมา อังกุรวัชรพันธุ์, ภาพสั ญลักษณ์มงคล ฮก ลก ซิ่ว : คติความเชื่ อแบบจีนในงาน
ศิลปกรรมสมัยรั ชกาลที่ 3 สารนิ พนธ์ หลักสู ตรปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 17.
84

ภาพที่ 57 เครื่ องราชูปโภคทองคาสลักลายดอกพุดตานที่ฝาภาชนะสมัยอยุธยา


จากกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ
ที่มา: กรมศิลปากร, เครื่องทองกรุ วดั ราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน,90.

หลัก ฐานจากเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าในสมัย รั ต นโกสิ น ทร์ พ บกระโถนทองค าลายสลัก ที่ ต ัว
กระโถนสลักลายดอกพุดตานใบเทศในลักษณะเดียวกัน ซึ่งเป็ นเครื่ องยศของเจ้าพระยาบดินทรเดชา
(สิ งห์ สิ งหเสนี) ขุนนางสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั (ภาพที่ 58) ปั จจุบนั จัดแสดงอยู่
ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ภาพที่ 58 กระโถนทองคาสลักลายดอกพุดตานใบเทศ สมัยรัชกาลที่ 3


85

และพบจอกหมากทองคาสมัยรัชกาลที่ 3 มีการลงยาที่ขอบและเชิ ง บริ เวณตัวจอกสลักลายดอก


พุดตานใบเทศเช่นเดียวกัน (ภาพที่ 59) 24

ภาพที่ 59 จอกหมากทองคาลงยา สมัยรัชกาลที่ 3


ที่มา: เขมทัต วิศวโยธิน, เครื่องทองและเครื่องเงิน จัดแสดง ณ พระที่นั่งวิมานเมฆ พระราชวังดุสิต
พุทธศักราช 2526, 13.

และยังพบลายเดียวกันในงานเครื่ องถมในสมัยรัชกาลที่ 3 เช่นกัน ในปิ่ นโตแบบจีนถมทองลายดอก


พุดตานใบเทศ25 (ภาพที่ 60)

ภาพที่ 60 ปิ่ นโตถมทองลายดอกพุดตานใบเทศ สมัยรัชกาลที่ 3


ที่มา: เสนอ นิลเดชและคณะ, เครื่องถม จัดแสดง ณ พระทีน่ ั่งวิมานเมฆ พระราชวังดุสิต พุทธศักราช 2525, 28.

24
เขมทัต วิ ศ วโยธิ น , เครื่ อ งทองและเครื่ อ งเงิ น จั ด แสดง ณ พระที่นั่ ง วิม านเมฆ
พระราชวังดุสิต พุทธศักราช 2526, 13.
25
เสนอ นิ ลเดชและคณะ, เครื่องถม จัดแสดง ณ พระที่นั่งวิมานเมฆ พระราชวังดุสิต
พุทธศักราช 2525. , 28.
86

นอกจากนี้ ลวดลายดอกพุดตานใบเทศยังปรากฏในกาทรงกระบอกทองคา ที่ฝากาทรงกระบอก


ทองคาใบนี้ มีตรามหามงกุฎ (ภาพที่ 61) อันเป็ นพระราชลัญจกรประจาพระบาทสมเด็จพระจอม
เกล้าเจ้าอยู่หัว รั ชกาลที่ 4 ที่จดั แสดงภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ลักษณะลายแบบนี้ จึงเป็ น
หลักฐานอย่างหนึ่ งที่แสดงว่าเป็ นลายที่นิยมมาก่อนสมัยรัชกาลที่ 5

ภาพที่ 61 กาทรงกระบอกทองคา ลายดอกพุดตานใบเทศ ฝาสลักตรามหามงกุฎ


สมัยรัชกาลที่ 4 ในชุ ดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายในพระราชพิธีโสกันต์
จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์, เครื่ องราชอิสริ ยยศ พระบรมราชวงศ์กรุ งรัตนโกสิ นทร์ ,
153.
87

และพบว่ามีก ารนาลายดอกพุดตานใบเทศนี้ ม าใช้ในเครื่ องราชูป โภคทองคาสมัย รัชสมัย นี้ ดว้ ย


ดัง ปรากฏในกาทรงกระบอกทองค าฝากาสลัก ตราจุล มงกุฎ เป็ นลายดอกพุด ตานใบเทศซึ่ ง มี
ลักษณะลายเดี ยวกัน ในเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า (ฝ่ ายหน้า) (ภาพที่
62) เป็ นชุดเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก สันนิษฐานว่าเป็ นลายที่นิยมใช้งานศิลปกรรมสื บเนื่อง
มา จึงจัดเป็ นกลุ่มแบบลายที่มีมาในรัชกาลก่อน
กลุ่ ม เครื่ อ งราชู ป โภคทองค าที่ มี ล วดลายแบบนี้ จึ ง ไม่ ส ามารถ
กาหนดอายุได้ชดั เจนว่าเป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 นอกจากชิ้นที่มีพระราชลัญจกร
ประจารัชกาลปรากฏร่ วมอยูด่ ว้ ยจึงจะสามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน

ภาพที่ 62 กาทรงกระบอกทองคา ลายดอกพุดตานใบเทศ ฝาสลักตราจุลมงกุฎ สมัยรัชกาลที่ ๕


ในเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์, เครื่องราชอิสริยยศ พระบรมราชวงศ์ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ ,
169.
88

1.3 เทคนิควิธีการ
จากการศึ ก ษาลักษณะเครื่ องราชู ปโภคทองค าในเครื่ องประกอบพระอิ ส ริ ย ยศ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี พบว่ามีเทคนิคการสร้างตัวภาชนะคล้ายกัน โดย
การเคาะขึ้นรู ปภาชนะเป็ นรู ปทรงที่ตอ้ งการแล้วเชื่ อมบัดกรี ประสานรอยต่อของแต่ละชิ้นส่ วนเข้า
ด้วยกัน จากนั้นจึงสลักลาย – ดุนลาย หรื อย้าร่ องลาย สาหรับการตกแต่งลวดลายบนพื้นผิวด้วยการ
ลงยา จะขึ้นอยูก่ บั ลักษณะการใช้งาน หรื อลาดับชั้นยศของเจ้านายหรื อขุนนางที่ได้รับพระราชทาน
นอกจากนี้พบว่าลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคากลุ่มนี้ มีเทคนิคการสร้างสรรค์ลวดลายประดับ
บนพื้นผิว 3 แบบ ได้แก่
การสลักลายนูนลงยา (ภาพที่ 63) เป็ นเทคนิ คการลงยาแบบดั้งเดิม สันนิษฐานว่า
เป็ นเทคนิคที่สืบทอดมาจากสมัยอยุธยา และนิ ยมใช้สร้างลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัย
รัตนโกสิ นทร์ ตอนต้น โดยการสลักลวดลายลงบนโลหะให้ขอบลายนูนสู งขึ้น เพื่อให้ยาสี ที่ลงไปอยู่
ในลวดลายที่ กาหนด สั งเกตว่าพื้นหลังลายเหลื อพื้นที่ว่างระหว่างตัวลายนิ ยมลงยาสี แดงเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาที่ตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคสลักลายนูนลงยาใช้เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ
สาหรับเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าขึ้นไป

ภาพที่ 63 การสลักลายดุนนูนลงยา
89

การสลักดุนนูนไม่ลงยา (ภาพที่ 64) เป็ นเทคนิคแบบเดียวกับการสลักลายนูน ลง


ยา แต่ลกั ษณะตัวลายดุนนูนลายชัดเจนกว่า โดยทัว่ ไปนิยมใช้เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศของ
เจ้า นายชั้นพระองค์เจ้า ลงมา หรื อส าหรั บ เครื่ องราชู ปโภคทองค าที่ ต้อ งสั ม ผัส ความร้ อน เช่ น
กาทรงกระบอกทองคา ถาดรองกาทองคา และชุดที่ชาทองคา ลวดลายที่ปรากฏดูหนาแน่น ส่ วนพื้น
หลังแทบไม่เหลือพื้นที่วา่ งเปล่า

ภาพที่ 64 การสลักลายดุนนูน

การสลักร่ องลายลงยา (ภาพที่ 65) เป็ นเทคนิ คการสลักลายที่ไม่ปรากฏในเครื่ อง


เครื่ องราชูปโภคทองคาในรัชกาลก่อน ลักษณะเทคนิคดังกล่าว มักพบในเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มี
ลักษณะรู ปแบบของเครื่ องราชูปโภคสมัยรัชกาลที่ 5 เช่ นมีการสลักลายตราจุลมงกุฎหรื อพระราช
ลัญจกรประจารัชกาลประดับที่ฝาของภาชนะ หรื อใช้เทคนิคการลงยาสี ชมพูตกแต่งลวดลาย การลง
ยาโดยการสลักร่ องลายให้ลึกแล้วลงยาสี ตามร่ องลายให้เสมอผิวเครื่ องทอง พื้นผิวจึงเรี ยบเสมอกัน
ลักษณะเทคนิคแบบนี้พบน้อยมาก ในเครื่ องราชูปโภคชิ้นอื่น ๆ ที่จดั แสดงอยูภ่ ายในศาลาเครื่ องราช
อิสริ ยยศฯ โดยเครื่ องราชู ปโภคทองคาชิ้ นที่มีลกั ษณะเทคนิ คการสลักร่ องลายลงยาจะมีลกั ษณะ
ลวดลายแบบเดียวกันทั้งหมด และบางชิ้นมีการลงยาสี ชมพู นอกจากนี้ ลวดลายที่ปรากฏยังคล้ายกับ
ลวดลายบนเครื่ องทองที่ส ร้ างในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่ งได้รับอิทธิ พลจากศิ ลปะตะวันตกที่นิยมใน
รัชสมัยนี้ สันนิ ษฐานได้ว่าลักษณะเทคนิ คการสลักร่ องลายลงยาเป็ นเทคนิ คการสร้างลวดลายบน
เครื่ องทองที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5
90

ภาพที่ 65 การสลักร่ องลายลงยาหรื อการเหยียบลาย

จากการตรวจสอบลักษณะรู ปแบบลวดลายและเทคนิคข้างต้น จึงสามารถสรุ ปได้


ว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี ชุดนี้ มิใช่ เป็ นเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ทั้งหมด มีเพียงบางชิ้นที่มีลกั ษณะ
คล้ายกับเครื่ องราชู ปโภคทองคาในรัชกาลก่ อน เห็ นได้จากเครื่ องราชู ปโภคทองคาในชุ ด เครื่ อง
ประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายปั จจุบนั ที่มีลกั ษณะลวดลายและเทคนิ คต่างกัน สันนิษฐานว่าเครื่ อง
ราชู ป โภคทองค าแต่ล ะชิ้ นหรื อแต่ล ะแบบลายอาจจะมีที่ ม าหรื อสร้ างขึ้ นต่ างเวลาและวาระกัน
ตลอดจนความถนัดหรื อความนิ ยมโดยใช้ช่างฝี มือต่างกัน โดยพิจารณาและวิเคราะห์จากลักษณะ
รู ปแบบลวดลายและเทคนิ คของเครื่ องราชูปโภคแต่ละชิ้ นในชุ ดนี้ สันนิ ษฐานว่าเครื่ องราชูปโภค
ทองคาในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศฯชุดนี้ บางชิ้นอาจมีการนาเครื่ องราชูปโภคที่มีอยูใ่ นพระ
คลังมหาสมบัติ แล้วนากลับมาใช้เพิม่ เติมในสมัยหลัง โดยคัดเลือกนามาจากเครื่ องราชูปโภคทองคา
สมัยก่อนที่มีอยูเ่ ดิมและสภาพสมบูรณ์ซ่ ึ งเก็บรักษารวมกันไว้ในพระคลังมหาสมบัตินามาประกอบ
เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศฯ จึงมีลวดลายและเทคนิ คที่ไม่เหมือนกันทั้งชุ ดเช่ นในสมัยเมื่อ
แรกสร้ าง เนื่ องจากบางชิ้ นไม่ป รากฏในภาพถ่ า ยเก่ าในสมัยรั ช กาลที่ 5 ตามที่ วิเคราะห์ ไ ปแล้ว
ข้างต้น
91

2. กลุ่มเครื่องราชู ปโภคทองคาชิ้นอืน่ ๆ
2.1 ความสาคัญ
เครื่ องราชู ปโภคทองคาที่จดั แสดงภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ที่มี การจัด
แสดงในกลุ่มเครื่ องอุปโภคประเภทต่าง ๆ และจัดแสดงในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศหรื อเป็ น
เครื่ องประกอบเครื่ องราชอิ สริ ยาภรณ์ แต่ เดิ มเครื่ องราชู ปโภคทองค ากลุ่ มนี้ ถูก สร้ างขึ้ นและใช้
สิ่ งของพระราชทานให้แก่เจ้านายและขุนนางตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เป็ นต้นมา ส่ วนใหญ่ไม่ทราบ
ประวัติการสร้างชัดเจน จึงไม่สามารถกาหนดอายุได้ สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์
ได้ค ัด เลื อ กชิ้ น ที่ ส าคัญ และมี ส ภาพสมบูร ณ์ น าออกจัด แสดงในศาลาเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย ยศฯ ให้
นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศได้ชม เชื่อว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ได้
จัดแสดงปะปนกับเครื่ องอุปโภคประเภทต่าง ๆ และเป็ นเครื่ องประกอบยศในชุ ดอื่น ๆ ดังนั้นใน
การศึกษาครั้งนี้ ได้พิจารณาจากเครื่ องราชูปโภคทองคาชิ้ นที่มีลกั ษณะการลงยาสี ชมพูและชิ้ นที่มี
การสลักตราจุลมงกุฎอันเป็ นพระราชลัญจกรประจารัชกาล มาใช้ในการศึกษาวิเคราะห์

2.2 ประเภทของเครื่องราชู ปโภคทีใ่ ช้ ศึกษา


จากการสารวจเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีลกั ษณะของเครื่ องราชูปโภคสมัยรัชกาล
ที่ 5 พบว่ามีจานวน 11 ชิ้น ซึ่ งใช้เป็ นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา โดยแบ่งศึกษาวิเคราะห์ตามลักษณะ
ของเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5 ตามที่ อ ธิ บ ายแล้ว ในบทที่ 2 โดยแบ่ ง ออกเป็ น
2 ประเภท คือ เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา (สี ชมพู) จานวน 6 ชิ้น และเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มี
ตราจุลมงกุฎหรื อพระราชลัญจกรประจารัชกาล จานวน 5 ชิ้น
2.2.1 เครื่องราชู ปโภคทองคาลงยา (สี ชมพู)
ผู้วิ จ ัย ได้ศึ ก ษาและตรวจสอบลัก ษณะรู ป แบบและลวดลายของเครื่ อง
ราชู ป โภคทองค าลงยาสี ช มพู ใ นกลุ่ ม นี้ พบว่า มี ล ัก ษณะการลงยาสี ชมพู มี ค วามสอดคล้อ งกับ
ลักษณะเฉพาะของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
ในการศึ ก ษาเครื่ องราชู ป โภคทองค าลงยาสี ช มพูที่ จ ัดแสดงอยู่ก ับ เครื่ อ ง
อุปโภคประเภทต่าง ๆ หรื อจัดแสดงอยูใ่ นเครื่ องยศชุดอื่น ๆ ผูว้ ิจยั ได้สารวจคัดเลือกชิ้นที่มีลกั ษณะ
เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาสี ชมพู มาวิเคราะห์จานวน 6 ชิ้น ได้แก่ ผอบทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น
ตลับภู่ทองคาลงยา จานวน 2 ชิ้น มีดด้ามทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น มังสี ทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้ น
และคนโททองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น ลักษณะการลงยาสี ชมพูที่ปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคา
กลุ่มนี้ สันนิ ษฐานว่า กลุ่ มตัวอย่างเครื่ องราชู ปโภคชุ ดนี้ เป็ นเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่สร้ างขึ้นใน
92

สมัยรัชกาลที่ 5 โดยวิเคราะห์จากลักษณะรู ปแบบ ลวดลายและเทคนิคของเครื่ องราชูปโภคทองคา


เพื่อสนับสนุนข้อสันนิษฐานดังกล่าว
2.2.1.1 ลักษณะรู ปแบบ
ในกลุ่ มเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่จดั แสดงภายในศาลาเครื่ องราช
อิสริ ยยศฯ ประเภทเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาสี ชมพู ได้คดั เลือกตัวอย่างศึกษาวิเคราะห์ จานวน
6 ชิ้น โดยมีลกั ษณะรู ปแบบ ดังต่อไปนี้
1) ผอบทองคาลงยา (ภาพที่ 66) จานวน 1 ชิ้น เป็ นเครื่ องประกอบ
พระอิ ส ริ ย ยศเจ้า นายฝ่ ายหน้า ในชุ ดพานพระศรี ส าหรั บ ใส่ หมากแห้ง ยาเส้ น หรื อหมากหอม
ตัวผอบมีลกั ษณะเป็ นรู ปทรงมณฑป เชิงสี่ เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสอง ส่ วนฐานเป็ นแบบสี่ เหลี่ยมย่อมุม
ไม้สิบสอง รับกับตัวผอบ ฝาผอบคล้ายยอดมณฑป ส่ วนยอดสุ ดทาเป็ นรู ปดอกบัวคล้ายกับบัวหัวเสา
มีการสลักดุ นลายและลงยาสี ท้ งั ภาชนะ โดยพื้นลายลงยาสี แดงและตัวลายลงยาสี ชมพู สี แดงและ
สี เขียว

ภาพที่ 66 ผอบทองคาลงยาสี ชมพู


จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
93

2) ตลับภู่ทองคาลงยาพร้ อมไม้พระกรรณทองคาและไม้พระทนต์
ทองคา (ภาพที่ 67 และภาพที่ 68) จานวน 2 ชิ้น เป็ นส่ วนหนึ่ งของเครื่ องประกอบในชุดพานพระศรี
หรื อพานหมาก เป็ นภาชนะสาหรับใส่ สีผ้ ึงทาปาก ฝาเป็ นแบบยอดปริ ก ตัวตลับสลักลายลงยา มี
สายสร้ อยร้ อยตัวตลับและฝา พร้ อมทั้งไม้แคะพระกรรณ (หู ) และไม้แคะพระทนต์ (ฟั น) ทาด้วย
ทองคา ทั้ง 2 ชิ้นมีลวดลายต่างกัน แต่มีลกั ษณะการลงยาสี ชมพูที่ตวั ลายหลักเหมือนกัน

ภาพที่ 67 ตลับภู่ทองคาลงยาสี ชมพู (ชิ้นที่ 1) ภาพที่ 68 ตลับภู่ทองคาลงยาสี ชมพู (ชิ้นที่ 2)


จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ

3) มีดด้ามหุ ้มทองคาลงยา (ภาพที่ 69) จานวน 1 ชิ้ น เป็ นส่ วนหนึ่ ง


ของเครื่ องประกอบในชุดพานพระศรี หรื อพานหมาก สาหรับเจียนหมาก ด้ามมีดทองคาสลักลายลง
ยาสี ชมพูและสี เขียวที่ตวั ลาย ลงยาสี แดงที่พ้ืนลาย

ภาพที่ 69 มีดด้ามทองคาลงยาสี ชมพู จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ


ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์
94

4) มังสี ทองคาลงยา (ภาพที่ 70) จานวน


1 ชิ้ น หรื อจอกหมากทองค าลงยาขอบปาก
มีลกั ษณะเป็ นบัวปากแฉกเป็ นเครื่ องประกอบในชุด
พานพระศรี สาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องยศ ฝ่ าย
หน้า ใช้ใส่ หมากดิ บสดเจียนแล้ว หรื อหมากแห้ง
สร้างลวดลายโดยเทคนิ คสลักลายดุนนูนและลงยา
ตัวลายลงยาสี ชมพู และสี เขียว พื้นลายลงยาสี แดง

ภาพที่ 70 มังสี ทองคาลงยาสี ชมพู จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ


ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

5) คนโททองคาลงยา (ภาพที่ 71) จานวน


1 ชิ้ น เรี ย กอี ก อย่า งว่า พระสุ ว รรณภิ ง คารหรื อ
น้ า เต้า เป็ นภาชนะส าหรั บ ใส่ น้ า เสวย ท าด้ว ย
ทองคาสลักลายลงยาพื้นสี แดง สาหรับตัวลายลง
ยาสี ช มพู แ ละสี เ ขี ย ว เป็ นภาชนะที่ มี ล ัก ษณะ
รู ปแบบเฉพาะ มีรูปลักษณะ 2 ส่ วน คือ ส่ วนที่ใช้
สาหรับเก็บน้ าหรื อตัวภาชนะ และส่ วนฝาปิ ด –
เปิ ด ซึ่ งอยู่ ด้ า นบน โดยที่ ฝาของคนโทมี
โซ่ (สายสร้อย) โยงเป็ นตัวยึดไว้ เพื่อมิให้ฝาสู ญ
หายในการเปิ ด – ปิ ดแต่ละครั้ง ส่ วนฝาทาเป็ น
ยอดปริ ก ทาซ้อนสองชั้น

ภาพที่ 71 คนโททองคาลงยาสี ชมพู จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ


ที่มา: บุ ญเตือน ศรี วรพจน์ และประภัสสร โพธิ์ ศรี ทอง, เครื่ องทองรัตนโกสิ นทร์ . (กรุ งเทพฯ:
โครงการสื บสานมรดกวัฒนธรรมไทย, 2542), 186.
95

2.2.1.2 ลวดลาย
จากการศึ ก ษาเครื่ องราชู ป โภคทองค าในส่ ว นนี้ พบว่ า เครื่ อง
ราชูปโภคทองคาลงยาสี ชมพู มีลวดลายแบ่งได้ 2 แบบลาย ได้แก่
แบบลายที่ 1 ลายเถาดอกไม้ ลวดลายนี้ พบในผอบทองค าลงยา
จานวน 1 ชิ้ น (ภาพที่ 66) และ ตลับภู่ทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้ น (ภาพที่ 67) มีลกั ษณะลายแบบ
เดี ย วกับ ลายเถาดอกไม้บ นกระโถนทองค าลงยาในชุ ด ประกอบพระอิ ส ริ ย ยศสมเด็ จ พระเทพ
รั ต นราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี และลายเดี ย วกับ เครื่ องราชู ป โภคในเครื่ องประกอบ
พระอิสริ ยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่ งมีประวัติว่าสร้ างขึ้นในสมัย
รัชกาลที่ 5 ลักษณะตัวลายหลักเป็ นลายดอกไม้ลงยาสี ชมพู ลายใบไม้ลงยาสี เขียว ลายก้านลงยาสี น้ า
เงิ น ส่ วนพื้นลายลงยาสี แดง ลักษณะเป็ นลายเถาดอกไม้สลับใบไม้ และมีผลไม้มงคล (ผลทับทิม)
แทรกปนอยู่ตามกิ่ งก้าน ลักษณะลายดังกล่าวมีเทคนิ คการลงยาสี ชมพูอนั เป็ นลักษณะเฉพาะของ
เครื่ องราชู ปโภคทองคาในรัชสมัยนี้ เป็ นลายประยุกต์ที่ได้รับอิทธิ พลจากศิลปะตะวันตกและจีน
ผสมผสานอยูด่ ว้ ย ดังนั้นจึงเชื่อว่าลวดลายเครื อเถาดอกไม้ใบไม้ เป็ นลายในเครื่ องราชูปโภคทองคา
สมัยรัชกาลที่ 5

ภาพที่ 72 เครื่ องราชูปโภคทองคาลายเถาดอกไม้ สมัยรัชกาลที่ 5


ที่ ม า: กรมศิ ล ปากร, สมุ ด ภาพจดหมายเหตุ พ ระราชโอรสและพระราชธิ ด าในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว: ยุวราชสกุลวงศ์ , 34.
96

จากหลักฐานลายนี้ เริ่ มปรากฏในภาพถ่ ายเจ้านาย พบเครื่ องราชู ปโภคทองคาในเครื่ องประกอบ


พระอิ ส ริ ยยศสมเด็ จ เจ้า ฟ้ าจุ ฑ าธุ ช ธราดิ ล ก ทรงเครื่ องต้น ในพระราชพิ ธี โ สกั น ต์ แ ละรั บ
พระสุ พรรณบัฏ ในปี พ.ศ.244726 (ภาพที่ 72) แสดงให้เห็นว่าลายเถาดอกไม้เป็ นลวดลายเฉพาะ
และสันนิ ษฐานได้ว่าเป็ นลวดลายในเครื่ องยศสาหรับฝ่ ายหน้าที่เกิ ดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ในช่ วง
ปลายรัชกาล
แบบลายที่ 2 ลายเครื อเถาดอกใบเทศ กลุ่มลายนี้พบใน ตลับภู่ทองคา
ลงยา จานวน 1 ชิ้ น (ภาพที่ 68) มีดด้ามทองคาลงยา จานวน 1 ชิ้ น (ภาพที่ 69) มังสี ทองคาลงยา
จานวน 1 ชิ้น (ภาพที่ 70) และคนโททองคาลงยา จานวน 1 ชิ้น (ภาพที่ 71) โดยลักษณะตัวลายหลัก
เป็ นดอกใบเทศกลี บ ยาวใบแฉกลงยาสี ช มพู คล้า ยกับ ใบอะแคนตัส 27 เป็ นอิ ท ธิ พ ลจากศิ ล ปะ
ตะวันตก มี ใบเทศลงยาสี เขี ยวแทรกปนอยู่ใต้ดอกลายหลัก ก้านดอกลงยาสี เขียวยาวต่อไขว้กนั
ลักษณะคล้ายลายก้านแย่ง ลวดลายซ้ ากันจนรอบภาชนะ ส่ วนพื้นลายลงยาสี แดง (ภาพที่ 73)

ภาพที่ 73 ลายเครื อเถาดอกใบเทศ

26
กรมศิ ล ปากร, สมุ ด ภาพจดหมายเหตุ พ ระราชโอรสและพระราชธิ ด าใน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว: ยุวราชสกุลวงศ์ . 34.
27
ใบไม้ในศิลปะตะวันตก
97

ลักษณะดอกลายมีสีชมพูคล้ายกับลายเครื อเถาไม้ บนเพดานภายใน


พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสี มาราม (ภาพที่ 37) และวัดเทพศิรินทราวาส (ภาพที่ 38) ลวดลาย
ในงานประดับภายในพระอุโบสถของวัดทั้งสองแห่ งเป็ นงานศิลปกรรมสมัยรัชกาลที่ 5 นอกจากนี้
เมื่อเปรี ยบเที ยบกับลายบนเครื่ องราชู ปโภคทองคา พบว่า มีความคล้ายคลึ ง กับลายบนหี บหมาก
ทองคาลงยาสี ชมพูสมัยรัชกาลที่ 5 ที่มีตราจุลมงกุฎประดับอยูบ่ นฝาหี บ (ภาพที่ 74) (ปั จจุบนั ชิ้นนี้
ไม่ได้นาออกจัดแสดง) ซึ่ งมีการลงยาสี ชมพูที่ตวั ลายใบอะแคนตัส หรื อลายดอกไม้ใบเทศกลีบยาว
ใบแฉกเหมื อนกัน ซึ่ งเป็ นหลักฐานชิ้ นหนึ่ งที่สามารถยืนยันว่าเป็ นลวดลายหนึ่ งที่นิยมใช้ตกแต่ง
เครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 และจากการตรวจสอบลวดลายเครื่ องราชูปโภคทองคาที่
จัด แสดงในศาลาเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย ยศฯ ทั้ง หมดพบว่า ลัก ษณะลายเช่ นนี้ ปรากฏในกลุ่ ม เครื่ อ ง
ราชูปโภคทองคาลงยาสี ชมพูเท่านั้น จึงอาจกล่าวได้วา่ ลวดลายเครื อเถาดอกใบเทศลงยาสี ชมพู เป็ น
กลุ่มลายที่เกิดขึ้นในสมัยนี้ เครื่ องราชูปโภคทองคากลุ่มนี้จึงเป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาล
ที่ 5 ด้วยเช่นกัน

ภาพที่ 74 ลายเครื อเถาดอกใบเทศบนหีบหมากทองคาลงยาสี ชมพูฝาหีบสลักตราจุลมงกุฎ


สมัยรัชกาลที่ 5
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์
98

นอกจากนี้ มีขอ้ สังเกตว่าลักษณะลายนี้ ปรากฏในคนโททองคาลงยา และมังสี ทองคาลงยาซึ่ งเป็ น


เครื่ องราชู ปโภคทองคาสาหรับพระราชทานแก่เจ้านายฝ่ ายหน้า อีกทั้งจากหลักฐานภาพถ่ ายสมัย
รัชกาลที่ 5 พบว่ากลุ่มลายลักษณะนี้ ปรากฏเฉพาะในเครื่ องราชูปโภคทองคาในชุดเครื่ องประกอบ
พระอิสริ ยยศเจ้า นาย (ฝ่ ายหน้า ) เท่า นั้น โดยพบหลักฐานภาพถ่ ายเก่ า สุ ดในพระราชพิธีโสกันต์
พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช ในปี พ.ศ.2427 (ภาพที่ 75) และพบในเครื่ องราชูปโภคทองคาในเครื่ อง
ประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จเจ้าฟ้ าบริ พตั รสุ ขุมพันธ์ในพระราชพิธีรับพระสุ พรรณบัตร ในปี พ.ศ.
2434 (ภาพที่ 76) จึงอาจกล่าวได้วา่ ลักษณะลายดังกล่าวน่าจะเป็ นกลุ่มลายหนึ่ งในเครื่ องราชูปโภค
สาหรับฝ่ ายหน้าในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ใช้ในพระราชพิธีสาคัญก่อนปี พ.ศ.2447 ซึ่ งจะกล่าวประเด็นนี้
ต่อไปในบทที่ 4

ภาพที่ 75 เครื่ องราชูปโภคทองคาลายเครื อเถาดอก ภาพที่ 76 เครื่ องราชูปโภคทองคา


ใบเทศในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศพระองค์ ลายเครื อเถาดอกใบเทศในชุดเครื่ องประกอบ
เจ้ า จิ ร ประวัติ ว รเดช ในพระราชพิ ธี โ สกั น ต์ พระอิสริ ยยศสมเด็จเจ้าฟ้ าบริ พตั รสุ ขมุ พันธ์
พ.ศ.2427 ในพระราชพิธีรับพระสุ พรรณบัตร พ.ศ.2434
ที่ ม า: กรมศิ ล ปากร, สมุ ด ภาพจดหมายเหตุ ที่มา : กรมศิ ลปากร, สมุ ด ภาพจดหมายเหตุ
พระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จ พระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว : ยุวราชสกุลวงศ์ , 135. พระจุ ลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว : ยุวราชสกุลวงศ์ ,
81.
99

2.2.2 เครื่องราชู ปโภคทองคาทีม่ ีตราจุลมงกุฎหรือพระราชลัญจกรประจารัชกาลที่ 5


เครื่ องราชูปโภคทองคาที่สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 นอกจากปรากฏลักษณะ
การลงยาสี ชมพูในเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาแล้วนั้น สาหรับเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก
นอกจากพิจารณาลวดลายการสร้ างประกอบแล้ว สามารถสังเกตจากตราจุลมงกุฎหรื อพระราช
ลัญ จกร สลัก บนพื้ นผิ ว เครื่ อ งทอง มาช่ วยก าหนดอายุส มัย ในส่ ว นนี้ ผูว้ ิจ ัย ได้ค ัด เลื อ กเครื่ อ ง
ราชูปโภคทองคาที่มีตราจุลมงกุ ฎหรื อพระราชลัญจกรประจารัชกาล มาวิเคราะห์ตรวจสอบ โดย
พบว่ามีท้ งั ประเภทเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา และเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก จานวน 5 ชิ้น
ได้แก่ กาทรงกระบอกทองคาลายสลัก จานวน 3 ชิ้ น และหี บหมากหรื อหี บพระศรี ทองคาลงยา
สี แดง จานวน 2 ชิ้น เป็ นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิเคราะห์ลวดลายเพื่อตรวจสอบและยืนยันว่าเป็ น
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
2.2.2.1 ลักษณะรู ปแบบ
จากการตรวจสอบลักษณะรู ปแบบเครื่ องราชูปโภคทองคาที่จดั แสดง
ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ พบว่ามีเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่ปรากฏตราจุลมงกุฎหรื อพระราช
ลัญจกรประจารัชกาลที่ 5 ดังนี้
1) กาทรงกระบอกทองคาลายสลัก พบกาทรงกระบอกทองคาลาย
สลัก จานวน 3 ชิ้น ซึ่ งเป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระราชทานแก่เจ้านายมีลกั ษณะรู ปแบบ
เดียวกันเหมือนกันทั้ง 3 ชิ้น เป็ นกาน้ าทรงกระบอกแบบจีน ตัวกาสลักลายเต็มพื้นที่ ส่ วนปากพวย
กามีฝาปิ ดพร้อมสายสร้อยทองคาโยงกับหูกา สลักดุนลายทัว่ ทั้งภาชนะ แต่ละชิ้นมีลวดลายที่ตวั กา
ไม่ เ หมื อ นกัน แต่ ที่ ฝ ากามี ก ารสลัก ลายตราจุ ล มงกุฎ เหมื อ นกัน ชิ้ น ที่ 1 สลัก ลายธรรมชาติ
และวิถี ชี วิต เป็ นเครื่ องประกอบพระอิ ส ริ ย ยศเจ้า นายชั้นเจ้า ฟ้ าฝ่ ายใน (ภาพที่ 77)
100

ภาพที่ 77 กาทรงกระบอกทองคาลายสลัก ลายธรรมชาติและวิถีชีวติ ฝาสลักตราจุลมงกุฎ


จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

ชิ้นที่ 2 สลักลายเถาดอกไม้ ในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี


พระวรราชาทิ นัด ดามาตุ (ภาพที่ 78) และชิ้ น ที่ 3 ลายดอกพุ ด ตานใบเทศ ในเครื่ อ งประกอบ
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ ายหน้าสาหรับบุรุษ (ภาพที่ 79)

ภาพที่ 78 กาทรงกระบอกทองคาลายสลัก ลายเถาดอกไม้ ฝาสลักตราจุลมงกุฎจัดแสดง ณ ศาลา


เครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์
101

ภาพที่ 79 กาทรงกระบอกทองคาลายสลัก ลายดอกพุดตานใบเทศ ฝาสลักตราจุลมงกุฎ


จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์. เครื่ องราชอิสริ ยยศ พระบรมราชวงศ์กรุ งรัตนโกสิ นทร์ ,
169.

2) หีบพระศรี ทองคาลงยา พบหี บพระศรี หรื อหี บหมากทองคาลงยา


สี แดง สลักตราจุลมงกุฎในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านาย จานวน 2 ชิ้น (ภาพที่ 80 และภาพที่
81) จัด เป็ นเครื่ อ งประกอบพระอิ ส ริ ย ยศ หมวดเครื่ อ งราชู ป โภค เป็ นรู ป ทรงสี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้า
มีชิ้นส่ วนสองชิ้น คือ ส่ วนตัวหี บและส่ วนฝาหี บ พื้นลายของภาชนะสลักลายลงยาสี แดงเป็ นสี หลัก
ตัวลายลงยาสี แดงและสี เขียว ส่ วนด้านบนฝาหี บมีตราจุลมงกุฎสลักอยู่ตรงกลาง แสดงให้เห็นว่า
เป็ นเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่สร้ างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ลักษณะลวดลายที่ปรากฏบนหี บพระศรี
หรื อหี บหมากทั้งสองชิ้นนี้เหมือนกัน โดยหีบหมากทองคาลงยาดังกล่าวจัดแสดงอยูใ่ นชุดประกอบ
พระอิสริ ยยศเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าฝ่ ายหน้า
102

ภาพที่ 80 หีบพระศรี หรื อหีบหมากทองคาสลักลายลงยาฝาสลักตราจุลมงกุฏ


จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

ภาพที่ 81 หีบพระศรี หรื อหีบหมากทองคาสลักลายลงยาฝาสลักตราจุลมงกุฏ


จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์
103

2.2.2.2 ลวดลาย
ลวดลายในเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าที่ ป รากฏตราจุ ล มงกุ ฎ หรื อ
พระราชลัญจกรประจารัชกาล ที่จดั แสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ในเครื่ องราชูปโภคทองคา
กลุ่มนี้พบว่ามี 4 แบบลาย ได้แก่
แบบลายที่ 1 ลายเถาดอกไม้ เครื่ องราชูปโภคทองคากลุ่มนี้มีลายเถา
ดอกไม้ ได้แก่ กาทรงกระบอกทองคาลายสลักอยูใ่ นชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศพระเจ้าวรวงศ์
เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ ที่ตวั กาสลักลายเครื อเถาดอกไม้ใบไม้ ฝากาสลัก
ลายตราจุลมงกุฎปรากฏอยูด่ ว้ ย (ภาพที่ 78) นอกจากตราจุลมงกุฎ ที่เป็ นหลักฐานยืนยันอายุสมัยแล้ว
ลวดลายที่ปรากฏบนตัวกาเป็ นลายเถาดอกไม้มีลกั ษณะเป็ นลายเดียวกันกับลายเถาดอกไม้ลงยาสี
ชมพู สาหรับในเครื่ องราชูปโภคทองคากลุ่มนี้เป็ นเครื่ องทองลายสลัก เนื่องจากเป็ นเครื่ องอุปโภคที่
สัมผัสกับของร้อน ลายนี้ ปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีลกั ษณะสัมพันธ์กบั เครื่ องราชูปโภค
ทองค าสมัยรัชกาลที่ 5 ที่ มีการลงยาสี ชมพู และมี การสลักตราจุ ลมงกุฎอันเป็ นพระราชลัญจกร
ประจารัชกาล กลุ่มลายลักษณะนี้พบทั้งในเครื่องราชู ปโภคทองคาลงยาและเครื่องราชู ปโภคทองคา
ลายสลัก ส่ วนลักษณะลายได้อธิ บายไปแล้วข้างต้น จากการตรวจสอบลวดลายเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาที่มีลายลักษณะนี้ ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ทั้งหมด พอสรุ ปได้ว่าเป็ นลายเถาดอกไม้
เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5
แบบลายที่ 2 ลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ ลักษณะลวดลายเป็ น
เครื อ เถาดอกไม้ ตัว ลายดอกไม้ค ล้า ยกับ ดอกพุ ด ตานตกแต่ ง ลายด้ว ยการลงยาสี โ ดยตัว ลาย
ดอกพุดตานและพื้นลายลงยาสี แดง ลายใบเทศลงยาสี เขี ย ว ผูกลายเป็ นเครื อเถาเลี ยนแบบและ
ใกล้เคียงธรรมชาติอนั เป็ นอิทธิ พลศิลปะจีน และแทรกใบเทศอย่างไทยดูอ่อนช้อยสวยงาม นามา
จัดวางในพื้นที่อย่างลงตัว โดยการซ้ าลายโดยรอบตัวและบนฝาหี บ ลักษณะลายที่มีอิทธิ พลศิลปะ
จี น พร้ อมกับ รั กษารู ป แบบศิ ลปะไทย ลักษณะลายดังกล่ าวจัดเป็ นกลุ่ มลายประยุกต์หรื อลายที่
ผูกขึ้นใหม่สมัยรัชกาลที่ 5 พบเฉพาะในงานประดับตกแต่งเครื่ องราชูปโภคทองคา ซึ่ งสอดคล้องกับ
หลักฐานที่ปรากฏบนฝาหี บเป็ นตราจุลมงกุฎ เนื่องจากลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ (ภาพที่ 82)
ปรากฏเฉพาะในกลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาที่มีตราจุลมงกุฎปรากฏอยูด่ ว้ ยเท่านั้น ได้แก่ หี บ
หมากทองคาลงยา มีตราจุลมงกุฎบนฝาหีบ เหมือนกันทั้ง 2 ชิ้น (ภาพที่ 80 และภาพที่ 81) แต่ละชิ้น
จัดแสดงอยูใ่ นชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าทั้ง 2 ชุด อาจกล่าวได้วา่ เป็ นลวดลาย
บนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เช่นกัน
104

ภาพที่ 82 ลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศบนเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา


หีบหมากทองคาลงยาฝาหีบสลักตราจุลมงกุฎ สมัยรัชกาลที่ 5 จัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: บุญเตือน ศรี วรพจน์ และประภัสสร โพธิ์ ศรี ทอง, เครื่องทองรัตนโกสิ นทร์ , 216.
นอกจากนี้มีขอ้ สังเกตว่าลักษณะลวดลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศบนหี บหมากทองคาทั้ง 2 ชิ้น มี
ลักษณะลายเหมือนกับลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาบางชิ้ นที่อยู่ในชุ ดเดียวกัน ได้แก่ ผอบ
ทรงเหลี่ยมทองคาลงยา (ภาพที่ 83) คนโททองคาลงยา (ภาพที่ 84)

ภาพที่ 83 ผอบทรงเหลี่ยม (ทรงมณฑป) ทองคาลงยา


จัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์
105

ภาพที่ 84 คนโททองคาลงยา
จัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

และยัง พบลวดลายเดี ยวกันนี้ ในเครื่ องราชู ป โภคทองค าลายสลักหรื อสลักลายดุ นนู นในเครื่ อง
ประกอบ พระอิสริ ยยศชุ ดเดี ยวกัน ซึ่ งเป็ นเครื่ องราชู ปโภคที่ตอ้ งสัมผัสกับของร้ อน เช่ น ป้ านชา
ทองค าลายสลัก และถาดรองที่ ช าทองค าลายสลัก (ภาพที่ 85) เป็ นต้น ลายดัง กล่ า วมี ล ัก ษณะ
เดียวกันเครื่ องราชู ปโภคทองคาในกลุ่มลายนี้ น่าจะเป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยเดียวกัน ซึ่ ง
พบทั้งในเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาและทองคาลายสลัก
106

ภาพที่ 85 ป้ านชาทองคาสลักลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ ในชุดที่ชาทองคาสลักลายเดียวกันทั้งชุด


เครื่ องราชูปโภคทองคาชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายหน้า
จัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

แบบลายที่ 3 ลายธรรมชาติและวิถีชีวิต ลักษณะลายสลักแสดงภาพ


ธรรมชาติ และวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ (ภาพที่ 86) ลายนี้ ปรากฏบนกาทรงกระบอกทองคาลายสลัก
พร้อมถาดรองกาทองคาลายสลัก ในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านาย ฝ่ ายใน บริ เวณด้านบนฝา
กาปรากฏตราจุลมงกุฎ ลักษณะลายแสดงภาพธรรมชาติประกอบด้วยภาพสัตว์ชนิดต่าง ๆ

ภาพที่ 86 ลายธรรมชาติและวิถีชีวติ บนเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก


จัดแสดง ณ ศาลเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์
107

ได้แก่ นก กา กระรอก กระต่าย งู หนู เป็ ด กบ ปลา วัว กวาง รังผึ้ง พังพอน ปะปนอยูก่ บั ดอกไม้
ผลไม้และพืชพันธุ์ไม้นานาชนิด ตลอดจนภาพคนตกปลาที่แสดงวิถีชีวิตของชาวบ้าน ลักษณะลาย
ดังกล่าวสื่ อความหมายมงคล น่าจะได้รับอิทธิ พลจากศิลปะจีน ที่เข้ามามีอิทธิ พลในศิลปกรรมสมัย
รัตนโกสิ นทร์ ต้ งั แต่สมัยรัชกาลที่ 3
ลัก ษณะลายธรรมชาติ ค น สั ตว์และพื ช อิ ท ธิ พ ลศิ ล ปะจี น ในงาน
ศิลปกรรมไทย เริ่ มปรากฏหลักฐานชัดเจนในสมัยอยุธยาตอนต้น เช่น ภาพเขียนอิทธิ พลศิลปะจีน28
บนผนังกรุ ปรางค์ประธานวัดราชบูรณะ ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ปรากฏลักษณะลายธรรมชาติใ ช้เป็ น
ภาพประกอบหรื อลายแทรกในงานจิตรกรรมฝาผนังวัดราชสิ ทธารามสมัยรัชกาลที่ 129 มาจนสมัย
รัชกาลที่ 3 ซึ่งเป็ นช่วงที่ศิลปะจีนมีอิทธิพลในงานศิลปกรรมไทยอย่างมาก ตัวอย่างลายธรรมชาติยงั
ปรากฏที่เป็ นงานประดับหน้าบันพระอุโบสถวัดราชโอรสฯ (ภาพที่ 87)

ภาพที่ 87 ลายธรรมชาติ ประดับบนหน้าบันพระอุโบสถวัดราชโอรสฯ


อิทธิพลจากศิลปะจีน สมัยรัชกาลที่ 3

28
ธิ ติมา อังกุรวัชรพันธุ์ , ภาพสั ญลักษณ์ มงคล ฮก ลก ซิ่ ว: คติความเชื่ อแบบจีนในงาน
ศิลปกรรมสมัยรัชกาลที่ 3, 8.
29
เรื่ องเดียวกัน, 10.
108

สาหรับการประดับตกแต่งลวดลายธรรมชาติและวิถีชีวิตบนเครื่ องอุปโภคหรื อภาชนะพบหลักฐาน


ตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลายเป็ นต้นมาโดยพบเครื่ องถ้วย เครื่ องกระเบื้องที่มีลายสัตว์ ต้นไม้ และ
สัญลักษณ์มงคล 30 ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 3 ลวดลายแบบจีนบนเครื่ องถ้วยหรื อเครื่ องอุปโภคได้
นิ ย มมากขึ้ น และยัง มี ก ารผูก ลายหลวงขึ้ นในสมัย นี้ โดยมี ลายดอกไม้จีน รู ป นกขนาดเล็ก และ
กระรอกประกอบลาย 31 ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับลายธรรมชาติและวิถีชีวิตในแบบลายนี้ที่ปรากฏ
บนเครื่ องราชูปโภคทองคา ซึ่งสื่ อความหมายมงคลอันเป็ นอิทธิพลจากศิลปะจีนเช่นกัน
จากการส ารวจเครื่ องราชู ป โภคทองค าที่ จดั แสดงอยู่ภายในศาลา
เครื่ องราชอิสริ ยยศฯ พบกาทรงกระบอกทองคาลายสลักที่มีลายเดียวกันนี้ (นอกจากชิ้นที่ได้กล่าว
ไปแล้วข้างต้น) ที่ฝากาสลักตราจุลมงกุฎแล้ว ยังมีกาทรงกระบอกลายเดียวกันอีก 2 ชิ้นที่ฝากาแต่ละ
ชิ้ น สลั ก พระราชลั ญ จกรต่ า งกั น ชิ้ น หนึ่ งมี ต ราพระจุ ฑ ามณี อัน เป็ นพระราชลั ญ จกรใน
พระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกล้าเจ้าอยูห่ วั (ภาพที่ 88)

ภาพที่ 88 ลายธรรมชาติและวิถีชีวติ บนเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก ฝากาสลักตราพระจุฑามณี


(สมัยรัชกาลที่ 4) จัดแสดง ณ ศาลเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ

30
ธิ ติมา อังกุรวัชรพันธุ์ , ภาพสั ญลักษณ์ มงคล ฮก ลก ซิ่ว : คติความเชื่ อแบบจีนในงาน
ศิลปกรรมสมัยรัชกาลที่ 3, 20.
31
เรื่ องเดียวกัน.
109

และอี กชิ้ นหนึ่ งสลักตรามหามงกุฎอันเป็ นตราพระราชลัญจกรในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า


เจ้าอยู่หัว (ภาพที่ 89) กาทรงกระบอกทองคา 2 ชิ้ นดังกล่ าว จึงเป็ นเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัย
รัชกาลที่ 4 ดังนั้นลักษณะลวดลายธรรมชาติและวิถีชีวติ แบบนี้เป็ นลายที่ได้รับอิทธิ พลจากศิลปะจีน
ตั้งแต่ก่อนสมัยรัชกาลที่ 5

ภาพที่ 89 ฝาสลักตรามหามงกุฎ บนกาทรงกระบอกทองคาสลักลายธรรมชาติ สมัยรัชกาลที่ ๔


จัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ

แบบลายที่ 4 ลายดอกพุดตานใบเทศ จากการสารวจเครื่ องราชูปโภค


ทองคาที่จดั แสดงอยูภ่ ายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ พบลักษณะลายแบบเดียวกับจานรองป้ านชา
ทองคาในชุดเครื่ องราชอิสริ ยยศ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ภาพที่ 90)

ภาพที่ 90 จานรองป้ านชาทองคาลายดอกพุดตานใบเทศ


ในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จัดแสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์
110

และลายในเครื่ องราชู ปโภคทองคาลายสลักบางชิ้ นในชุ ดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ พระเจ้า


วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ ซึ่ งอยูใ่ นกลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาลาย
ดอกพุดตานใบเทศที่มีตราจุลมงกุฎปรากฏบนฝา และกาทรงกระบอกทองคาลายสลักในชุดเครื่ อง
ประกอบเครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ ายหน้า เนื่องจากที่ฝากาสลักตราจุลมงกุฎ แสดง
ให้เห็นว่าเป็ นเครื่ องราชูปโภคที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 สอดคล้องกับการใช้เป็ นเครื่ องประกอบ
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์จุลจอมเกล้า ซึ่ งได้รับการสถาปนาขึ้นในสมัยรัชกาลนี้เช่นกัน
ลักษณะลวดลายเป็ นลายดอกพุดตานใบเทศ ตัวลายดอกมีลกั ษณะ
เป็ นดอกพุดตานตามกระบวนลายอย่างศิลปะไทย แต่ละกิ่ งดอกมีลายใบเทศแทรกปนอยู่ตามดอก
พุดตาน โดยวางลายสลักดุนเต็มพื้นที่ทว่ั ภาชนะทั้งชิ้น มีการใช้ลกั ษณะลายซ้ าต่อเนื่องกันไปทัว่ ทุก
ทิศทางจนเต็มพื้นผิวภาชนะ (ภาพที่ 56) ลายดอกพุดตานเป็ นตัวลายหลักลักษณะดอกลายคล้ายกับ
ดอกพุดตานที่พบในงานศิ ลปกรรมไทยทัว่ ไปจึงเรี ยกกลุ่ มลายดอกที่ปรากฏในเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาว่า ลายดอกพุดตาน เป็ นลวดลายที่สื่อความหมายมงคลตามที่กล่าวไปแล้วข้างต้น
นอกจากนี้ สังเกตพบว่า กาทรงกระบอกทองคาลายสลักลายแบบ
เดียวกันนี้ จดั แสดงภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ อีกชิ้นหนึ่ งในชุ ดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศ
เจ้านายฝ่ ายหน้าในพระราชพิธีโสกันต์ เป็ นเครื่ องราชู ปโภคทองคาลายสลักเป็ นลายดอกพุดตาน
ใบเทศเช่นเดียวกัน แต่ลายสลักที่ฝากาสลักเป็ นตรามหามงกุฎซึ่ งเป็ นพระราชลัญจกรประจารัชกาล
ที่ 4 ตามที่อธิ บายแล้วข้างต้น ดังนั้นจากหลักฐานดังกล่าวช่วยสนับสนุนว่า ลายดอกพุดตานใบเทศ
เป็ นแบบลายเดิมที่เคยใช้ประดับลวดลายเครื่ องราชูปโภคทองคาในก่อนสมัยรัชกาลที่ 5

2.3 เทคนิควิธีการ
จากการศึ ก ษาวิเคราะห์ เครื่ องราชู ปโภคทองคากลุ่ ม นี้ มี ท้ งั ประเภท
เครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลักลงยาและเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก พบว่ามีเทคนิควิธีการ
สร้างสรรค์งานเหมือนกัน โดยเริ่ มจากการเคาะขึ้นรู ปตามแบบหรื อรู ปทรงภาชนะที่ตอ้ งการ จากนั้น
ใช้บดั กรี เชื่ อมประสานรอยต่อของส่ วนประกอบแต่ละชิ้ น และตกแต่งพื้นผิวภาชนะด้วยการสลัก
ดุ นหรื อการเซาะร่ องลายแล้วเพิ่ม สี สันด้วยลงยา หรื อการสลัก ดุ นลายอย่า งเดี ย ว ขึ้ นอยู่เครื่ อง
อุ ป โภคแต่ ล ะประเภท และยัง สั ม พัน ธ์ ก ั บ ระดับ ฐานะชั้น ยศหรื อความส าคัญ ของผู้ไ ด้ รั บ
พระราชทานเป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศหรื อผูค้ รอบครอง
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ถูกกาหนดรู ปแบบเทคนิคการสร้าง
เครื่ องราชู ปโภคทองคาแต่ละประเภทที่สืบเนื่ องมาจากรัชกาลก่ อน กลายเป็ นธรรมเนี ยมปฏิ บตั ิ
ในการพระราชทานเครื่ องราชู ป โภคทองค าในลัก ษณะเทคนิ ค ต่ า งๆ ตามชั้นยศ ในหลัก เกณฑ์
111

เบื้องต้นตามธรรมเนี ยมที่ ปฏิ บตั ิ สืบมาเครื่ องราชู ปโภคทองคาลงยาใช้สาหรับพระราชทานเป็ น


เครื่ องยศที่มีศกั ดิ์สูงกว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาที่ใช้เทคนิคทองคาลายสลักหรื อสลักลายดุนนูน
การตกแต่งลวดลายโดยเทคนิคการลงยาในขั้นแรกก่อนการลงยาสี ต้องมีการสลัก
ลายดุนนูนที่พ้ืนผิวภาชนะตามความต้องการของผูส้ ร้าง การสลักลายนั้นต้องยกขอบลายให้สูงขึ้น
เพื่อให้เกิดพื้นที่ลายเป็ นบริ เวณสาหรับลงยาสี ต่าง ๆ ตามต้องการ ทั้งนี้ เทคนิคดังกล่าวมีพฒั นาการ
มาจากการประดับอัญมณี เพื่อเพิม่ สี สันให้แก่เครื่ องทองโดยการทาลวดลายเป็ นกระเปาะสาหรับหุ ้ม
ประดับอัญมณี ตามลวดลายที่ตอ้ งการ ดังปรากฏหลักฐานเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยอยุธยา จากกรุ
พระปรางค์วดั มหาธาตุและกรุ วดั ราชบูรณะ จนเมื่อมีการติดต่อสัมพันธ์กบั ต่างชาติทาให้รู้จกั เทคนิค
การตกแต่งภาชนะทองคาด้วยการลงยาสี ในเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ โดยเฉพาะ
การลงยาสี ชมพู ตรงลายหลักอันเป็ นการเน้นความสาคัญของตัวลายหลัก ซึ่ งมีลกั ษณะของลายใน
ศิลปะตะวันตก ลักษณะลายในศิลปะตะวันตกเริ่ มปรากฏในงานศิลปกรรมไทยตั้งแต่สมัยรัชกาล
ที่ 4 และเริ่ มปรากฏนามาเป็ นลวดลายประดับตกแต่งบนเครื่ องราชูปโภคทองคา ซึ่ งนิยมกันมากขึ้น
ในสมัยรัชกาลที่ 5 การลงยาสี ชมพูสันนิษฐานว่าเป็ นอิทธิ พลจากศิลปะตะวันตกเข้ามาผสมอยูด่ ว้ ย
ซึ่งเพิ่มเติมจากยาสี เพียงสี เขียว สี แดง หรื อสี ราชาวดี ที่เคยมีมาในรัชกาลก่อน
นอกจากนี้ ยงั สังเกตพบว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยามีการสลักดุนขอบลายให้
สู งขึ้นกว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก ทั้งนี้ เพื่อกาหนดให้ยาสี ที่ลงในตัวลายที่กาหนด การวาง
ลายไม่หนาแน่ นมากทาให้มีพ้ืนลายมาก ส่ วนเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลักจะสลักดุนขอบลาย
ไม่สูง เนื่ องจากไม่มีการลงยา การวางลายดูหนาแน่นกว่า จึงเหลือพื้นลายน้อย โดยในกลุ่มตัวอย่าง
ของเครื่ องราชูปโภคทองคาในกลุ่มที่ 2 นี้ พบว่าไม่มีชิ้นใดแสดงให้เห็นเทคนิคการสร้างหรื อการลง
ยาที่เป็ นลักษณะเฉพาะของเครื่ องราชูปโภคสมัยรัชกาลที่ 5 ดังนั้นเทคนิควิธีการสร้างลวดลายบน
เครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัย รัชกาลที่ 5 ที่ จดั แสดงในศาลาเครื่ องราชอิส ริ ยยศฯ ประเภทต่ าง ๆ
มีลกั ษณะเดียวกันกับเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลอื่น ๆ ที่จดั แสดงอยูร่ ่ วมกัน
บทที่ 4
การวิเคราะห์ ลกั ษณะรู ปทรง ลวดลายและเทคนิคเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
ในศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์

ในการศึ กษาวิเคราะห์ครั้ งนี้ ผูว้ ิจยั ได้เลื อกกลุ่มเครื่ องราชู ปโภคทองคาในชุ ดเครื่ อง
ประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่มีประวัติการสร้ างใน
สมัยรัชกาลที่ 5 และกลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาชิ้ นอื่นๆ ที่จดั แสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ตามที่ อ ธิ บ ายแล้ว ในบทที่ 3 ในบทนี้ ผูว้ ิ จ ัย ได้วิเ คราะห์ ล ัก ษณะรู ป ทรง ลวดลายและเทคนิ ค
ในภาพรวมด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ลักษณะรู ปแบบเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่องราชอิสริยยศฯ
จากการตรวจสอบลักษณะรู ปแบบและรู ปทรง พบว่า เครื่ องราชูปโภคทองคาเหล่านี้
บางประเภทที่มีลกั ษณะรู ปทรง 2 แบบ ซึ่ งมีผอู้ ธิ บายไว้วา่ รู ปทรงของเครื่ องราชูปโภคทองคาบาง
ประเภทที่มีลกั ษณะแตกต่างกันนั้น เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแบ่งเครื่ องราชูปโภคทองคาที่แสดง
ฐานะชนชั้นของผูไ้ ด้รับพระราชทาน โดยลักษณะดังกล่าวเป็ นธรรมเนียมที่ถือปฏิบตั ิสืบต่อกันมา
ทุกรัชกาล1 ได้แก่
1) พานทองค า (ภาพที่ 91) มี ล ัก ษณะรู ป ทรง 2 แบบ คื อ พานทรงกลมส าหรั บ
พระราชทานแก่เจ้านายและพระบรมวงศานุ วงศ์ และพานทรงเหลี่ยมสาหรับพระราชทานขุนนาง
ภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ไม่ได้นาพานทรงเหลี่ยมสมัยรัชกาลที่ 5 มาจัดแสดง

ภาพที่ 91 พานทรงกลมสาหรับเจ้านาย

1
นายเสนอ ศุกรเกยูร. พนักงานพิเศษ ฝ่ ายราชูปโภค สานักพระราชวัง . สัมภาษณ์ , 30
กรกฎาคม 2556.
112
113

2) จอกหมากทองคาหรื อมังสี ทองคา (ภาพที่ 92 และภาพที่ 93) เป็ นเครื่ องประกอบใน


ชุดพานหมากหรื อพานพระศรี มีรูปทรง 2 แบบ คือ จอกหมากทรงกลม สาหรับพระราชทานเจ้านาย
ฝ่ ายใน และจอกหมากขอบปากหยักเป็ นแฉก เรี ยกว่า มังสี สาหรับพระราชทานเจ้านายหรื อขุนนาง
ฝ่ ายหน้า

ภาพที่ 92 จอกหมากทรงกลมสาหรับฝ่ ายใน ภาพที่ 93 มังสี (จอกหมาก)สาหรับฝ่ ายหน้า


ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน
กรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์

3) ผอบทองคา (ภาพที่ 94 และภาพที่ 95) เป็ นเครื่ องประกอบในชุ ดพานหมากหรื อ


พานพระศรี มีลกั ษณะ 2 แบบ คือ ผอบทรงกลมฝายอดปริ ก สาหรับพระราชทานเจ้านายฝ่ ายใน
และผอบทรงเหลี่ยมย่อมุมฝายอดมณฑป สาหรับพระราชทานเจ้านายฝ่ ายหน้าและขุนนางชั้นสู ง

ภาพที่ 94 ผอบทรงกลมสาหรับเจ้านายฝ่ ายใน ภาพที่ 95 ผอบทรงเหลี่ยมสาหรับฝ่ ายหน้า


ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน
กรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์
114

4) กาน้ าทองคา (ภาพที่ 96และภาพที่ 97) มีลกั ษณะรู ปทรง 2 แบบ คือ กาน้ าทองคา
ทรงกระบอกสาหรับพระราชทานเจ้านาย ส่ วนกาน้ าทองคาทรงมัณฑ์สาหรับพระราชทานขุนนาง

ภาพที่ 96 กาน้ าทรงกระบอกสาหรับเจ้านาย ภาพที่ 97 กาน้ าทรงกลม (ทรงมัณฑ์) สาหรับขุนนาง


ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน
กรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์

ธรรมเนี ย มการพระราชทานเครื่ อ งราชู ป โภคทองคาเป็ นเครื่ อ งยศสาหรั บ เจ้า นาย


และขุนนางในสมัย รั ช กาลที่ 5 มี ก ารพระราชทานเครื่ อ งราชู ป โภคทองคาที่ มี ล ัก ษณะรู ป ทรง
ต่ า งกัน ตามลาดับ ชั้น หรื อ ฐานะของผู ไ้ ด้รั บ พระราชทาน ซึ่ ง ได้สื บ ทอดธรรมเนี ย มดัง กล่ า ว
มาจากรั ช กาลก่ อ น โดยพบกาทรงมัณ ฑ์ ท องคาลายสลัก ในชุ ด เครื่ อ งยศที่ พ ระบามสมเด็จ
พระนั่ง เกล้า เจ้า อยู่หัว พระราชทานแก่ เ จ้า พระยาบดิ น ทร์ เ ดชา (สิ ง ห์ สิ ง หเสนี ) จัด แสดงอยู่
ภายในพิ พิ ธ ภัณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พระนคร (ภาพที่ 98) หลัก ฐานดัง กล่ า วแสดงให้เ ห็ น ว่า
ในสมัย รั ช กาลที่ 3 มี ก ารใช้ก าทรงมัณฑ์ หรื อทรงกลมเป็ นเครื่ องยศสาหรั บ ขุนนาง
115

ภาพที่ 98 กาทรงมัณฑ์ (ทรงกลม) ทองคาลายสลักในเครื่ องยศของเจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิ งห์ สิ งหเสนี)

นอกจากนี้ หลักฐานภาพถ่ ายเจ้านายพร้ อมเครื่ องราชูปโภคที่เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศใน


พระราชพิธีโสกันต์ ในสมัยรัชกาลที่ 5 (ภาพที่ 99 และภาพที่ 100)

ภาพที่ 99 เครื่ องราชู ปโภคทองค าในเครื่ อง ภาพที่ 100 เครื่ องราชู ป โภคทองค าในเครื่ อง
ประกอบพระอิสริ ยยศพระราชพิธีโสกันต์ ประกอบพระอิสริ ยยศ พระราชพิธีโสกันต์สมเด็จ
สมเด็จเจ้าฟ้ าสมมติวงศ์วโรทัย (เจ้านายฝ่ ายหน้า) เจ้าฟ้ าวไลยลงกรณ์ (เจ้านายฝ่ ายใน) พ.ศ. 2439
พ.ศ. 2437
ที่มา: กรมศิลปากร. สมุดภาพจดหมายเหตุพระ ที่ ม า : กรมศิ ล ปากร. สมุ ด ภาพจดหมายเหตุ
ราชโอรสและพระราชธิ ดาในพระบาทสมเด็ จ พระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว: ยุวราชสกุลวงศ์ , 52. พระจุลจอมเกล้าเจ้ าอยู่หัว: ยุวราชสกุลวงศ์ , 58.
116

เมื่ อพิ จ ารณาลัก ษณะรู ป ทรงและประเภทของเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าในภาพถ่ า ย


ดัง กล่ า ว พบว่าคนโททองค าสาหรับ ใช้ประกอบพระอิ สริ ย ยศเจ้านายฝ่ ายหน้า และขันน้ าเสวย
ทองคาสาหรับใช้ประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายใน แสดงให้เห็ นว่าในสมัยรัชกาลที่ 5 ยังคง
รั กษาธรรมเนี ย มการพระราชทานเครื่ องราชู ป โภคทองคาต่างประเภทกันตามฐานะของผูไ้ ด้รับ
พระราชทานที่เคยมีมาในรัชกาลก่อน และธรรมเนียมดังกล่าวยังคงปรากฏสื บเนื่องต่อมาในรัชกาล
ปั จจุบนั โดยมีการพระราชทานเครื่ องราชูปโภคทองคาเป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศแก่เจ้านาย
ฝ่ ายหน้าและเจ้านายฝ่ ายในที่มีลกั ษณะรู ปทรงต่างกัน ดังปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคาชุ ดพาน
พระศรี ในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (ฝ่ ายหน้า)
(ภาพที่ 101)

ภาพที่ 101 ชุดพานพระศรี สาหรับเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าฝ่ ายหน้า


ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์, เครื่ องราชอิสริ ยยศพระบรมราชวงศ์กรุ งรัตนโกสิ นทร์ , 67.
117

และในชุ ดพานพระศรี เครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราช


กุมารี (ฝ่ ายใน) (ภาพที่ 102)

ภาพที่ 102 ชุดพานพระศรี สาหรับเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าฝ่ ายใน


ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์. เครื่ องราชอิสริ ยยศพระบรมราชวงศ์กรุ งรัตนโกสิ นทร์ , 84.

เครื่ องราชูปโภคบางประเภทในชุ ดเครื่ องประกอบบนพานพระศรี ที่ มีรูปทรงต่างกัน


และเมื่อพิจารณาเครื่ องราชู ปโภคทองคาในชุ ดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศทั้ง 2 สองชุ ดดังกล่าว
ซึ่ งเป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายหน้าและเจ้านายฝ่ ายใน ลักษณะรู ปทรงของเครื่ อง
ราชู ป โภคทองค าบางชนิ ดต่ างกัน บางชนิ ดประเภทหรื อรู ปทรงใช้ส าหรับพระราชทานเฉพาะ
เจ้านายฝ่ ายหน้าหรื อฝ่ ายในเท่านั้น หรื อสาหรับพระราชทานสาหรับเจ้านายหรื อขุนนาง เท่านั้น
ตามที่ได้อธิบายแล้วข้างต้น
118

2. ลวดลายเครื่องราชู ปโภคทองคาลงยาสมัยรัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่องราชอิสริยยศฯ


ในการศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ล ัก ษณะลวดลายในกลุ่ ม ตัว อย่ า งเครื่ อ งราชู ป โภคทองค า
ที่จดั แสดงในศาลาเครื่ องราชอิ สริ ยยศฯ พบว่ามีลวดลายหลากหลายประเภท ในการศึกษาครั้งนี้
สามารถแบ่ ง ได้ว่า มี ท้ งั ลวดลายเกิ ด ขึ้ นในสมัย รั ช กาลที่ 5 และลวดลายมี ม าก่ อนที่ ย งั นิ ย มใช้
สื บเนื่ องต่อมา บางลวดลายไม่สามารถบอกที่มาได้อย่างชัดเจน จากกลุ่มตัวอย่างเครื่ องราชูปโภค
ทองคา 2 กลุ่ม ตามที่ได้อธิ บายในบทที่ 3 แล้วนั้น ในบทนี้ผวู้ จิ ยั ได้ศึกษาวิเคราะห์ลวดลายในเครื่ อง
ราชู ป โภคทองคาสมัย รัช กาลที่ 5 ในภาพรวมเพิ่ ม เติ ม ตลอดจนศึก ษาที่ มาและความหมายของ
ลวดลายที่ปรากฏในกลุ่มตัวอย่างในบางประเด็นที่ยงั ไม่ได้กล่าวไว้ในบทที่ 3 โดยเปรี ยบเทียบกับ
ลวดลายในงานศิ ล ปกรรมร่ ว มสมัย เพื่ อ ให้เ ข้า ใจลัก ษณะและหน้า ที่ ก ารใช้ล วดลายในเครื่ อ ง
ราชูปโภคทองคาแต่ละชนิดประเภทได้ชดั เจนขึ้น
จากการศึกษาและตรวจสอบลักษณะลวดลายในกลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาที่เลือกมา
ศึกษา สามารถแบ่งตามลักษณะลวดลายเป็ น 3 กลุ่มลาย ได้แก่ กลุ่ มลายประยุกต์ กลุ่ มลายไทย
ทัว่ ไปหรื อลายไทยประเพณี และกลุ่มลายอิทธิพลศิลปะจีน
2.1. กลุ่ ม ลายประยุก ต์ คือ ลายไทยประยุก ต์ที่มีพ้ื นฐานจากลายไทยโดยมี อิทธิ พล
ต่างชาติเข้าไปผสมตามความนิ ยมของช่างผูส้ ร้างในสมัยนั้น จัดเป็ นกลุ่มลายที่มีการผูกลายขึ้นใหม่
ในสมัยรัชกาลที่ 5 สาหรั บใช้เป็ นลายเฉพาะในกลุ่ มเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระราชทาน
เจ้านายฝ่ ายหน้าหรื อฝ่ ายใน
กลุ่ มลายเหล่านี้ เป็ นลวดลายที่ปรากฏเฉพาะในเครื่ องราชูปโภคทองคารัชกาลนี้
เท่านั้น ผูว้ จิ ยั ใช้ลวดลายจากเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ มา
ศึกษาเปรี ยบเทียบกับงานศิลปกรรมสมัยเดียวกัน พร้อมทั้งได้ตรวจสอบหลักฐานภาพถ่ายเจ้านายที่
มีก ารทอดเครื่ องราชู ปโภคทองค าเป็ นเครื่ องประกอบพระอิส ริ ย ยศในสมัย นั้น พบว่า กลุ่ มลาย
ประยุกต์หรื อลวดลายเฉพาะแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ
กลุ่มลายประยุกต์ในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายใน คือ ลายเครื อเถาดอก
ราเพยและผลทับทิม
กลุ่มลายประยุกต์ในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายหน้า พบจานวน 2 ลาย
ได้แก่ ลายเถาดอกไม้ และลายเครื อเถาดอกใบเทศ
กลุ่มลายประยุกต์ในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายหน้าและฝ่ ายใน คือ ลาย
เครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ
119

2.1.1 กลุ่มลายประยุกต์ ในเครื่องราชู ปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายใน


จากการตรวจสอบลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาทั้งหมดที่จดั แสดง
ภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ พบว่าลวดลายเครื่ องราชูปโภคทองคา สาหรับพระราชทานฝ่ ายใน
มีเพียงลวดลายเดียวคือ ลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิม
ลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิม ลวดลายนี้ ปรากฏในเครื่ องราชูปโภค
ในกลุ่มเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพียงชุ ด
เดี ยวเท่านั้น ซึ่ งเป็ นลายที่ปรากฏในกลุ่ มเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีประวัติการสร้ างชัดเจน และ
ปรากฏในภาพถ่ายเจ้านายสมัยรัชกาลที่ 5 หลายพระองค์ อีกทั้งตัวลายดอกไม้ตกแต่งด้วยเทคนิ ค
การลงยาสี ชมพู ลักษณะเด่นของลายนี้นอกจากสลักรู ปดอกไม้กลีบยาวในลักษณะคล้าย ดอกราเพย
ซึ่งเป็ นลายหลักและสัมพันธ์กบั การใช้ลายนี้เป็ นเครื่ องราชูปโภคสาหรับฝ่ ายในแล้วตามที่อธิ บายไว้
ในบทที่ 3 ยังมีการสลักลายเป็ นรู ปผลทับทิมประกอบในลวดลายนี้ ทับทิมเป็ นผลไม้มงคลตามคติ
ความเชื่อของจีน มีลกั ษณะเป็ นผลกลมขนาดเล็ก ปลายผลมีกลีบ 2 แฉกแทนลักษณะที่บริ เวณปลาย
ผลทับทิม ภายในผลทับทิมมีลายสลักเป็ นเม็ดทับทิมขนาดเล็ก เต็มวงกลม ตามคติความเชื่อของจีน
ลักษณะลายผลทับทิมแทนความหมายในเรื่ องความอุดมสมบูรณ์ และ การมีบุตรจานวนมาก2
ลวดลายนี้ จึงเป็ นลายมงคลและแทนการอวยพรแก่ผไู้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชูปโภคทองคาชุ ด
ลวดลายนี้ สัมพันธ์กบั การพระราชทานเป็ นเครื่ องยศสาหรับเจ้านายฝ่ ายใน
นอกจากนี้ยงั พบเครื่ องราชูปโภคทองคาลายดอกบัวหรื อ ลายกอบัว (ภาพที่
103) เป็ นชุ ดพานพระศรี ทองคาลงยาพร้อมเครื่ องสลักลายกอบัวเหมือนกันทั้งชุด มีผอู้ ธิ บายว่าเป็ น
งานสมัยต้นรัชกาลที่ 53

2
อชิ รัช ญ์ ไชยพจน์พ านิ ช , อิทธิ พ ลศิ ลปะจี นในงานจิ ต รกรรมแบบนอกอย่ า งสมั ย
รัชกาล ที่ 3. วิทยานิพนธ์หลักสู ตรปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์ ศิลปะ) บัณฑิ ต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 37.
3
ธงทอง จันทรางศุ , ของสวยของดี ครั้งแผ่ นดินพระพุทธเจ้ าหลวง, (กรุ งเทพฯ: เอส.
ซี .พริ้ นท์แอนด์แพค,2553), 213.
120

ภาพที่ 103 เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาลายกอบัว สาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องประกอบ


พระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายใน สมัยรัชกาลที่ 5
ที่มา: ธงทอง จันทรางศุ, ของสวยของดี ครั้งแผ่นดินพระพุทธเจ้าหลวง, 213.

ลายกอบัว ตามคติจีนดอกบัวหมายถึงการอวยพรให้มีบุตรมากหรื อลูกชาย


4
มากหรื อมีบุตรเร็ ววัน ซึ่ งสัมพันธ์กบั การพระราชทานเครื่ องราชูปโภคทองคาลายนี้ แก่เจ้านายฝ่ าย
ในเช่ นกันและมีลกั ษณะความหมายเดียวกับลายผลทับทิม เป็ นมงคลตามความเชื่ อของจีนเข้าไป
ประกอบเป็ นลวดลายอย่างลงตัวแสดงให้เห็นว่าความนิยมลายมงคลจีนในสมัยรัชกาลที่ 5
ลัก ษณะลายเครื อเถาที่ ป รากฏแสดงให้ เ ห็ น รู ปแบบศิ ล ปะตะวัน ตก
สันนิ ษฐานว่าลักษณะลายเครื อเถาดอกไม้แบบนี้ เกิ ดขึ้นในรัชกาลก่อน โดยพบลายเครื อเถาพรรณ
พฤกษาประดับสถูปจาลองสมัยรัชกาลที่ 4 จัดแสดงอยู่ภายในพิพิธภัณฑสถานแห่ งชาติ พระนคร
(ภาพที่ 104) ซึ่ งมีลกั ษณะลายคล้ายกัน ดังนั้นลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิมที่พบในเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 อาจจะได้รับแรงบันดาลใจจากลวดลายเครื อเถาพรรณพฤกษาที่
เกิดในสมัยรัชกาลที่ 4

4
พรพรรณ จันทโรนานนท์. ฮก ลก ซิ่ว โชค ลาภ อายุยนื , 20.
121

ภาพที่ 104 ลายเครื อเถาดอกไม้บนสถูปจาลองสมัยรัชกาลที่ 4


จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

นอกจากตัวลวดลายที่ พ้ืนผิวเครื่ องราชู ป โภคแล้ว ยังมีก ารตกแต่งจุ กฝา


ครอบขันน้ าเสวยทองคาเป็ นรู ปผลไม้เหมือนจริ ง ในลักษณะช่อผลทับทิม เป็ นการตกแต่งรู ปผลไม้
มงคลเป็ นคติความเชื่ อของจี น ในลักษณะการทารู ปเหมือนจริ งไม่เคยปรากฏในเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาของไทย จึ งน่ าจะเป็ นลักษณะพิเศษอย่างหนึ่ งของเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
โดยมีการตกแต่งลายด้วยการลงยาสี ชมพู เมื่อพิจารณาตามลักษณะรู ปแบบแล้ว พบว่าเป็ นลวดลาย
เฉพาะเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายในอย่างชัดเจน เนื่ องจากพบลวดลายนี้ ที่ขนั ครอบ
ทองค าลงยา จอกหมากและผอบทองคาทรงกลมยอดฝาปริ ก ซึ่ งใช้เป็ นเครื่ องราชู ปโภคทองคา
122

สาหรับพระราชทานเจ้านายฝ่ ายในเท่านั้น ลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิมเป็ นลายสาหรับ


เครื่ องราชูปโภคทองคาฝ่ ายในที่เกิดขึ้นในสมัยต้นรัชกาลที่ 5
2.1.2 กลุ่มลายประยุกต์ ในเครื่องราชู ปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายหน้ า
จากการตรวจสอบลักษณะรู ปทรงและประเภทของเครื่ องราชูปโภคทองคา
สาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศแก่เจ้านายฝ่ ายหน้า ที่จดั แสดงในศาลาเครื่ อง
ราชอิสริ ยยศฯ เช่น จอกหมากหรื อมังสี ผอบทรงเหลี่ยม และคนโท พร้อมกับพิจารณาจากภาพถ่าย
เจ้านายฝ่ ายหน้าในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่มีการทอดเครื่ องราชูปโภคทองคาประกอบพระอิสริ ยยศ พบว่า
มีลวดลายเฉพาะสาหรับฝ่ ายหน้า โดยปรากฏขึ้นต่างช่วงระยะเวลากัน พบหลักฐานชัดเจน จานวน
2 ลาย ได้แก่
ลายเครื อเถาดอกใบเทศ จากลักษณะลวดลายตามที่ได้วิเคราะห์ไว้แล้วใน
บทที่ 3 แล้วนั้นว่าเป็ นลายที่ใช้ประดับเครื่ องราชูปโภคทองคาเจ้านายฝ่ ายหน้า สังเกตพบว่าลวดลาย
นี้ มีการวางลายในลักษณะลายก้านต่อดอก และลายก้านแย่ง ขึ้นอยู่กบั ลักษณะพื้นที่ผิวของเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาเช่นเดียวกับลายอื่นๆ ตัวลายดอกใบเทศลงยาสี ชมพู พบในเครื่ องราชูปโภคทองคา
ที่จดั แสดงภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ จานวน 3 ชิ้น ได้แก่ คนโททองคาลงยา มีดด้ามทองคา
ลงยา ตลับภู่ท องค าลงยา และมังสี ทองคาลงยา ซึ่ ง มี ลกั ษณะลวดลายคล้ายกับลายบนหี บ หมาก
ทองคาลงยาสี ชมพูที่ฝาหี บสลักตราจุลมงกุ ฎ อันแสดงให้เห็นลักษณะเฉพาะของเครื่ องราชูปโภค
ทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 อย่างชัดเจน ลวดลายนี้พบเฉพาะในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับเจ้านาย
ฝ่ ายหน้าเท่านั้น ได้แก่ คนโททองคาลงยาและมังสี ทองคาลงยา สังเกตว่าไม่พบลวดลายนี้ ในลาย
เครื่ องราชู ปโภคทองคาลายสลักหรื อเทคนิ คการสลักลายดุนนูนและลงยาสี ทว่ั ไปอันเป็ นลักษณะ
ของเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าในรั ช กาลก่ อ น ลวดลายเครื อเถาดอกใบเทศ พบเฉพาะในเครื่ อ ง
ราชูปโภคที่มีการใช้เทคนิ คการลงยาสี ชมพู เท่านั้น จากหลักฐานที่พบตามที่ได้อธิ บายในบทที่แล้ว
จึงจัดเป็ นลวดลายที่เกิดขึ้นในช่วงต้น-กลางสมัยรัชกาลที่ 5
ลายเถาดอกไม้ ลักษณะลายหลักประกอบด้วยลายดอกไม้กลมแทรกปน
กับใบไม้เรี ยวยาวมีการสลักลายลูกไม้ ผลกลมคล้ายกับผลทับทิมในลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคา
สาหรับฝ่ ายใน แทรกปะปนอยูใ่ นลายดอกไม้โดยลงยาสี ชมพู ตามที่ได้อธิบายไว้ในบทที่ 3 นอกจาก
ลายผลทับทิมจะสื่ อความหมายถึงการอวยพรให้มีลูกจานวนมากแล้วนั้น ลายผลทับทิมในชุดเครื่ อง
ราชูปโภคฝ่ ายหน้าเป็ นการอวยพรให้มงั่ คัง่ ร่ ารวย ในความหมายของความอุดมสมบูรณ์ เช่นเดียวกัน
จากการตรวจสอบลวดลายบนเครื่ องราชู ปโภคทองคาในศาลาเครื่ องราช
อิสริ ยยศฯ ทั้งหมดพบว่าลายเถาดอกไม้เป็ นลวดลายที่ใช้ตกแต่งเครื่ องราชู ปโภคทองคาในกลุ่ ม
ประเภทหรื อรู ปทรงสาหรับพระราชทานเป็ นเครื่ องยศฝ่ ายหน้าเท่านั้น ได้แก่ ผอบทรงเหลี่ยมฝายอด
123

มณฑป พบจานวน 2 ชิ้น โดยไม่พบลายนี้ในผอบทรงกลมยอดฝาปริ กของฝ่ ายใน และลวดลายนี้ ใช้


เทคนิคการสร้างลวดลายด้วยทองคาสลักลายดุนนูนหรื อทองคาลายสลัก และเทคนิคทองคาลงยาสี
ชมพู ซึ่ งเป็ นลักษณะเฉพาะของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 โดยลักษณะลวดลายเถา
ดอกไม้ลงยาสี ชมพูดงั กล่าวนี้ คล้ายกับลวดลายบนพระแสงดาบญี่ปุ่นสมัยรัชกาลที่ 5 (ภาพที่ 105)
ซึ่งใช้เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสาหรับเจ้านายฝ่ ายหน้าเท่านั้น และไม่พบลวดลายนี้ ในเครื่ อง
ราชู ปโภคทองคาที่มีหลักฐานว่าเป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาในรัชกาลก่อน จึงกล่าวได้ว่าลายเถา
ดอกไม้เ ป็ นลวดลายเฉพาะส าหรั บ ตกแต่ ง ในเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5 ส าหรั บ
พระราชทานเจ้านายฝ่ ายหน้า สอดคล้องหลักฐานภาพถ่ายเจ้านายสมัยรัชกาลที่ 5 พบลวดลายนี้ ใน
เครื่ องราชูปโภคทองคาที่วางทอดประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายหน้าในช่วงปลายรัชกาลเป็ นต้น
มา ตามที่วเิ คราะห์และอธิบายในบทที่ 3

ภาพที่ 105 ลายเครื อเถาดอกไม้ใบไม้บนพระแสงดาบญี่ปุ่น สมัยรัชกาลที่ 5


จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: กรมธนารักษ์, ธารงไว้ในแผ่นดิน: กรมธนารักษ์กบั การดูแลทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน,
(กรุ งเทพฯ: ศิริวฒั นา อินเตอร์ พริ้ นท์ จากัด (มหาชน), 2548), 15.

นอกจากนี้เมื่อตรวจสอบและพิจารณาจากภาพถ่ายเจ้านายฝ่ ายหน้า ที่มีการ


ทอดเครื่ องประกอบ พระอิสริ ยยศในพระราชพิธีโสกันต์ก่อนปี พ.ศ. 2447 แล้วพบว่า มีลวดลายใน
ชุดเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายหน้าอีกจานวน 2 แบบลาย คือ
แบบลายที่ 1 พิ จ ารณาจากภาพถ่ า ยสมัย รั ช กาลที่ 5 ที่ ป รากฏเครื่ อง
ราชู ปโภคทองคาฝ่ ายหน้า ในช่วงต้นรัชกาล พบว่าลวดลายไม่ชดั เจน สังเกตว่าลวดลายไม่เด่นชัด
อาจไม่มีการลงยาสี ชมพู โดยพิจารณาเปรี ยบเทียบกับภาพถ่ายเก่าอื่น ๆ ที่มีเครื่ องราชูปโภคทองคา
ลงยาสี ชมพูจะปรากฏลายเด่นชัดกว่าลายที่ลงยาสี ทว่ั ไป ลายจึงกลืนไปกับสี ยาที่ใช้ในการตกแต่ง
ซึ่ งลักษณะลายลงยาสี ทวั่ ไปดังกล่าวปรากฏในเครื่ องราชูปโภคที่เป็ นเครื่ องยศเจ้านายฝ่ ายหน้าใน
124

สมัยรัชกาลที่ 5 ก่อนปี พ.ศ. 2447 หลายชุด ตัวอย่างเช่น ในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จ


เจ้า ฟ้ ามหาวชิ รุณ หิ ศ ใน พระราชพิธี โสกันต์ ปี พ.ศ. 2433 (ภาพที่ 106) และสมเด็จ เจ้าฟ้ ามหา
วชิราวุธ ในปี พ.ศ. 2435 (ภาพที่ 107)

ภาพที่ 106 เครื่ องราชูปโภคทองคา สมัยรัชกาล ภาพที่ 107 เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาล


ที่ 5 ในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จเจ้าฟ้ า ที่ 5 ในเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จเจ้าฟ้ า
มหาวชิรุณหิ ศ (เจ้านายฝ่ ายหน้า ) ในพระราชพิธี มหาวชิ ราวุธ (เจ้านายฝ่ ายหน้า ) ในพระราชพิธี
โสกันต์ ปี พ.ศ.2433 โสกันต์ ปี พ.ศ.2435
ที่มา: ม.ร.ว.สุ ริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์. เครื่ องราชอิสริ ยยศ
ที่มา: กรมศิลปากร. สมุดภาพจดหมายเหตุพระ
พระบรมราชวงศ์กรุ งรัตนโกสิ นทร์ , 48. ราชโอรสและพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั : ยุวราชสกุลวงศ์, 15.
เมื่อพิจารณาแล้วจึงเป็ นไปได้วา่ ลวดลายแบบนี้ น่าจะใช้เทคนิคการลงยาสี
ทัว่ ไป ประเด็นนี้มีขอ้ สันนิษฐานเกี่ยวกับลวดลายแบบนี้ 2 ประการคือ
1.อาจจะเป็ นเครื่ องราชูปโภคในรัชกาลก่อนที่นามาใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5
เป็ นเครื่ องราชู ปโภคทองคาในเทคนิ คลงยาสี ทวั่ ไป โดยไม่ปรากฏลักษณะของเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ชัดเจน
2.อาจจะเป็ นลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ เป็ นลายใหม่ที่เกิดขึ้นในสมัย
รัชกาลที่ 5 ตามที่อธิบายแล้วในบทที่ 3 เนื่องจากเป็ นลายที่ใช้เทคนิคการลงยาสี แดง ในภาพถ่ายเก่า
จึงไม่สามารถเห็นรายละเอียดของลวดลายได้อย่างชัดเจน
125

แบบลายที่ 2 จากหลักฐานภาพถ่ายลักษณะลายมีเทคนิ คการลงยาสี ชมพู


เนื่ องจากตัวลายหลักในลวดลายนี้ ชดั เจนกว่าลายที่ลงยาสี ทว่ั ไปที่เป็ นยาสี แดงและสี เขียวซึ่ ง เป็ น
โทนสี เข้ม ลวดลายดังกล่าวน่าจะเป็ นลายในกลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาสี ชมพูในกลุ่มลายที่
เรี ยกว่า “ลายเครื อเถาดอกใบเทศ” ลายดังกล่าวปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคาในเครื่ องยศของ
เจ้านายฝ่ ายหน้าสมัยรัชกาลที่ 5 ในช่วงก่อนปี พ.ศ.2447 เช่นกัน โดยพบหลักฐานในภาพถ่ายเจ้านาย
พร้อมเครื่ องราชูปโภคทองคา ตามที่กล่าวแล้วในบทที่ 3
จากหลัก ฐานที่ ป รากฏจึ ง พอสั น นิ ษ ฐานได้ว่ า ลวดลายทั้ง สองแบบ
ดังกล่าวน่าจะเป็ นลายในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับเจ้านายฝ่ ายหน้าสมัยรัชกาลที่ 5 ในช่วงก่อน
พ.ศ.2447 จึ ง กล่ า วได้ ว่ า ในรั ช สมัย นี้ มี ล วดลายเฉพาะในเครื่ องราชู ป โภคทองค าส าหรั บ
พระราชทานเป็ นเครื่ องยศแก่เจ้านายฝ่ ายหน้ามากกว่าหนึ่งแบบลาย
2.1.3 กลุ่มลายประยุกต์ ในเครื่องราชู ปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายหน้ าและฝ่ ายใน
จากการตรวจสอบลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาในศาลาเครื่ องราช
อิสริ ยยศฯ ที่มีลกั ษณะของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 พบลวดลายหนึ่งที่พบในเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาประเภทและรู ปทรงที่ใช้สาหรับพระราชทานฝ่ ายหน้าและฝ่ ายใน คือ ลายเครื อเถา
ดอกพุดตานใบเทศ
ลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ จากการตรวจสอบพบว่าลายนี้ พบในเครื่ อง
ราชู ปโภคทองคาลงยาและเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก ลวดลายนี้ สาหรับในเครื่ องราชูปโภค
ทองค าลงยาไม่ พ บการลงยาสี ช มพู บางชิ้ นปรากฏตราจุ ล มงกุ ฎ อยู่ด้ว ย พบในเครื่ องประกอบ
พระอิสริ ยยศเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ าฝ่ ายหน้าในพระราชพิธีโสกันต์ มีท้ งั เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา และ
เครื่ องราชู ปโภคทองคาลายสลักในชุ ดนี้ พบหี บหมากทองคาลงยาด้านบนฝาหี บสลักตราจุลมงกุฎ
โดยมีลกั ษณะรู ปแบบการสร้างลวดลาย การวางลายและการลงยาสี ของเครื่ องราชูปโภคทองคาแต่
ละชิ้ นในชุ ดนี้ มีลวดลายแบบเดี ยวกัน น่ าจะเป็ นฝี มือช่างกลุ่มเดียวกันที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5
ตามหลักฐานตราจุลมงกุฎที่สลักบนฝาหีบ โดยเฉพาะในชิ้นที่ใช้เทคนิคทองคาลงยา พื้นลายลงยาสี
แดงทั้งหมด โดยตัวลายลงยาสี แดงและสี เขีย วขอบเส้ นลายดุ นนู นเป็ นลวดลายเครื อเถาดอกไม้
ประกอบใบเทศ
ลวดลายนี้ ใช้เทคนิ คการลงยาสี ทว่ั ไป (สี แดงและสี เขียว) แสดงให้เห็นว่า
เทคนิ คการลงยาสี ทว่ั ไปก็ยงั ในนิ ยมใช้อยู่ในเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 โดยไม่ได้ใช้
เทคนิ คการลงยาสี ชมพูเพียงอย่างเดียว อันเป็ นลักษณะเฉพาะของเครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัย
รัชกาลที่ 5 ตามที่กล่าวแล้วข้างต้นนั้น
126

ลักษณะรู ปทรงและประเภทของเครื่ องราชู ปโภคทองคาในชุ ดนี้ มีเครื่ อง


ประกอบที่ยืนยันว่าเป็ นเครื่ องยศเจ้านายฝ่ ายหน้า ได้แก่ คนโททองคาลงยา ผอบทรงเหลี่ยมทองคา
ลงยา และมังสี ทองคาลงยา 5 นอกจากนี้ ยงั พบลวดลายนี้ ในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายใน
ได้แก่ ผอบทรงกลมทองคาลงยา และจอกหมากทองคาลงยา สลักลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ
(ภาพที่ 108)

ภาพที่ 108 ลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศบนผอบทรงกลมทองคาลงยา (ด้านซ้าย)


และจอกหมากทองคาลงยา (ด้านขวา) จัดแสดงอยู่ ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

จากลักษณะดังกล่าวจึงกล่าวได้ว่า ลวดลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศนี้


เป็ นกลุ่ มลายที่ ไม่ได้ถูกกาหนดในลวดลายเครื่ องราชู ปโภคที่กาหนดใช้เป็ นเครื่ องยศของฝ่ ายใด
โดยเฉพาะ โดยพบลายนี้ ในกลุ่ มเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่ในชุ ดเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่มีชิ้นที่
สลักตราจุลมงกุ ฎ เพียงชิ้ นเดี ยวในชุ ดนี้ เท่านั้น ส่ วนชิ้ นอื่น ๆ ในชุ ดเดี ยวกัน แม้ว่าจะไม่ปรากฏ
ลัก ษณะของเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5 ก็ ต าม แต่ จ ากลัก ษณะลวดลายที่ ป รากฏ
เหมือนกันกับลายบนหี บหมากที่ปรากฏหลักฐานอย่างชัดเจน พออนุมานได้วา่ เป็ นเครื่ องราชูปโภค
ทองคาที่ปรากฏลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศนี้ น่าจะเป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
เนื่ องจากกลุ่ มลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศนี้ ไม่พบในเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่ สร้ างขึ้ นใน
รัชกาลก่อน จึงเป็ นลวดลายที่ประดิษฐ์ข้ ึนในสมัยรัชกาลที่ 5 และใช้สาหรับพระราชทานแก่เจ้านาย
ฝ่ ายหน้าและฝ่ ายใน

5
จอกหมากชนิดหนึ่งในชุดพานหมากหรื อพานพระศรี ลักษณะขอบปากหยักเป็ นแฉก
ใช้เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานแก่เจ้านายหรื อขุนนางฝ่ ายหน้า
127

เมื่ อพิ จารณาลวดลายสัง เกตพบว่า ตัวลายดอกคล้า ยดอกพุดตานในงาน


ศิลปกรรมไทยทัว่ ไป โดยการนามาผูกเป็ นลายเครื อเถา เนื่องจากลวดลายในเครื่ องราชูปโภคทองคา
สมัยรัชกาลที่ 5 มักสอดแทรกคติความหมายมงคลจีนดังที่ปรากฏในลายอื่น ๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
ลายดอกพุดตานอาจมีความหมายมงคลตามคติความเชื่ออย่างจีน หมายถึงสัญลักษณ์แห่ งความมัง่ คัง่
ยศศักดิ์6 ความหมายดังกล่าวสอดคล้องกับการอวยพรโดยทัว่ ไป เป็ นการสื่ อความหมายของการอวย
พรพร้อมกับการพระราชทานยศ
นอกจากมี ก ารก าหนดหรื อแบ่ ง รู ป ทรงของภาชนะส าหรั บ พระทานแก่
เจ้านายฝ่ ายหน้าหรื อฝ่ ายใน แล้ว ในสมัยรัชกาลที่ 5 ยังมีการกาหนดหรื อแบ่งลวดลายบางลายบน
เครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระราชทานแก่เจ้านายฝ่ ายหน้าหรื อฝ่ ายในไว้อย่างชัดเจน อันเป็ น
ลักษณะพิ เศษประการหนึ่ ง ของเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัย รัชกาลที่ 5 มี ขอ้ สังเกตว่า กลุ่ ม ลาย
ประยุกต์มีการกาหนดเฉพาะสาหรับฝ่ ายหน้าหรื อฝ่ ายใน จะนิ ยมใช้เทคนิ คลายสลักลงยาสี ชมพู
ได้แก่ ลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิม ลายเครื อเถาดอกใบเทศ และลายเถาดอกไม้ ตามที่ได้
อธิ บายแล้วข้างต้น อันเป็ นลักษณะพิเศษของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ขณะที่เครื่ อง
ราชู ปโภคสมัยก่ อนรัชกาลที่ 5 ไม่พบหลักฐานการแบ่งลายตามกลุ่มของผูร้ ับพระราชทานอย่าง
ชัด เจน ดัง นั้น พอสรุ ป ได้ว่ า ลวดลายบางกลุ่ ม ลายในเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลที่ 5
มีการแบ่งลวดลายสาหรับพระราชทานแก่เจ้านายฝ่ ายหน้าหรื อฝ่ ายในไว้อย่างชัดเจน

2.2 กลุ่มลายไทยทั่วไปหรื อลายไทยประเพณี คือ ลายไทยทัว่ ไปที่ปรากฏในเครื่ อง


ราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ในทุกรัชสมัยตามรสนิยมของช่างไทยโบราณตั้งแต่สมัยอยุธยา
– ต้นรัตนโกสิ นทร์ กลุ่มลายนี้ เป็ นลายไทยพื้นฐานที่นิยมใช้เป็ นลายประดับตกแต่งงานศิลปกรรม
ไทยทัว่ ไปและตามลักษณะรู ปทรงเป็ นลายที่นิยมสื บเนื่ องมาจากรัชกาลก่ อน จากการตรวจสอบ
ลวดลายเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีลกั ษณะของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ที่จดั แสดง
ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ พบกลุ่มลายไทยประเพณี ที่ปรากฏในเครื่ องราชูปโภคสมัยรัชกาลนี้
จานวน 2 ลาย ได้แก่ ลายดอกพุดตานใบเทศ และลายก้านต่อดอกใบเทศ

6
พรพรรณ จันทโรนานนท์. ฮก ลก ซิ่ว โชค ลาภ อายุยนื , 22.
128

ลายดอกพุดตานใบเทศ จากการตรวจสอบลวดลายในเครื่ องราชูปโภคทองคา


ทั้งหมดที่จดั แสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ พบว่ามีการสลักลายดอกพุดตานใบเทศหลายชิ้น มัก
พบกลุ่ ม ลายนี้ พบในเครื่ อ งราชู ป โภคทองค าลายสลัก หรื อ สลัก ลายดุ น นู น เท่ า นั้น เช่ น กา
ทรงกระบอกทองคาสลักลายดุนนูนที่มีการสลักตราจุลมงกุฎ ที่ฝากา จัดอยู่ในชุ ดเครื่ องประกอบ
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ปฐมจุลจอมเกล้าฝ่ ายหน้า ลวดลายนี้ จดั เป็ นลายไทยประเพณี ปรากฏหลักฐาน
ที่ พ บในเครื่ อ งราชู ป โภคทองค ารั ช กาลก่ อ น ตามที่ ไ ด้อ ธิ บ ายและยกตัว อย่ า งแล้ว ในบทที่ 3
ตัวอย่างเช่ นกาทรงกระบอกทองคาสลักลายดอกพุดตานใบเทศ ฝากาสลักตรามหามงกุฎ ในชุ ด
เครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายหน้าในพระราชพิธีโสกันต์ ซึ่ งเป็ นชุดที่มีเครื่ องราชูปโภค
ทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ปนอยู่ดว้ ย7 มีลกั ษณะลายเดียวกัน แสดงให้เห็นว่านิยมใช้เป็ นลายประดับ
ตกแต่งเครื่ องราชูปโภคทองคามาก่อนหน้านี้ แล้ว นอกจากนี้ ยงั พบเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก
ลายดอกพุดตานใบเทศนี้ที่ปรากฏตราสัญลักษณ์จุลมงกุฎร่ วมอยูด่ ว้ ย แสดงให้เห็นว่าเป็ นกลุ่มลายที่
ยังนิยมใช้ตกแต่งเครื่ องราชูปโภคทองคาต่อเนื่องมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5
ลายก้านต่อดอกใบเทศ ส่ วนใหญ่มกั พบลายนี้ ในพานทรงกลมกลีบบัว เนื่องจาก
ลักษณะตัวรู ปทรงกลีบบัวรอบพานเป็ นตัวบังคับลายให้ออกมาในลักษณะลายก้านต่อดอก ลวดลาย
นี้ จึงไม่สามารถกาหนดอายุสมัยได้อย่างชัดเจน เนื่องจากเป็ นลายที่นิยมใช้ประดับเครื่ องราชูปโภค
ทองคามาแล้วตั้งแต่ในรัชกาลก่อน จัดเป็ นลายพื้นฐานลายหนึ่ งในงานศิลปกรรมไทย ที่ได้รับความ
นิ ยมในการสร้างสรรค์ลวดลายให้ปรากฏบนงานช่างฝี มือไทยมาตั้งแต่สมัยโบราณ ลักษณะลายใช้
ใบเทศมาผูกเป็ นลายลักษณะคล้ายกับกลีบดอกไม้ ประกอบต่อซ้อนกันตามพื้นที่ของผิวลายและ
ลัก ษณะรู ป ทรงของภาชนะ เป็ นลายพื้ น ฐานทัว่ ไปมัก พบในเครื่ องราชูป โภคทองคาเกื อ บทุก
ประเภท เช่ น พานรองทองคา หี บหมากทองคา คนโททองคา ผอบทองคา ขันน้ าทองคา เป็ นต้น

7
เครื่ องราชูปโภคทองคาในชุ ดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายฝ่ ายหน้าชุดนี้ มิได้
เป็ นเครื่ องประกอบพระอิส ริ ยยศเจ้านายพระองค์ในรั ชกาลปั จจุบนั เครื่ องราชู ปโภคทองคาชุ ด
ดังกล่ าวเป็ นชุ ดที่ คดั เลื อกเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีอยู่นาจัดขึ้นเพื่อจัดแสดง ส่ วนประกอบของ
เครื่ องราชู ปโภคทองคาของเจ้านายฝ่ ายหน้าเท่านั้น เครื่ องราชู ปโภคในชุ ดนี้ จึงมีลกั ษณะลวดลาย
และเทคนิ คที่ ไม่เหมื อนกันทั้งชุ ด แต่อาจมีสี ใกล้เคี ยงกัน และมีลกั ษณะรู ปทรงแตกต่างกันตาม
หน้าที่ของเครื่ องราชูปโภคชิ้นนั้น
129

ภาพที่ 109 ลายก้านต่อดอกใบเทศ บนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์


ในเทคนิคสลักลายดุนนูนลงยา
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

ภาพที่ 110 ลายก้านต่อดอกใบเทศ บนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์


ในเทคนิคสลักร่ องลายลงยา
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์
130

ภาพที่ 111 ลายก้านต่อดอกใบเทศบนเครื่ องราชูปโภคทองคา (พาน)สมัยรัตนโกสิ นทร์


ในเทคนิคสลักลายดุนนูน
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

พบในเครื่ องราชูปโภคทองคาทั้งเทคนิคสลักดุนนูนลงยา (ภาพที่ 109) และสลักร่ องลายลงยา (ภาพ


ที่ 110) และเทคนิ คทองลายสลักหรื อสลักลายดุนนูน (ภาพที่ 111) ในทุกรัชกาล ลวดลายนี้ พบใน
เครื่ องราชูปโภคทองคาที่ใช้เทคนิคการสลักลายดุนนูนลงยาและลายสลัก และยังพบลวดลายนี้ ใน
เครื่ องราชูปโภคทองคาที่ตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการเหยียบลายลงยา ดังตัวอย่างเช่น หี บหมาก
ทองคาลงยา ในชุดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี
โดยพบเทคนิ คการลงยาสี ชมพูปนอยู่ดว้ ย และมีตราจุลมงกุฎปรากฏอยู่บนฝาหี บดังกล่าว เป็ นการ
แสดงถึงลักษณะของเฉพาะสมัยรัชกาลที่ 5 อย่างชัดเจน แสดงให้เห็นว่าลวดลายนี้ ยงั คงนิยมใช้ใน
งานประดับตกแต่งเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลนี้อีกด้วย

2.3 กลุ่ ม ลายอิ ท ธิ พ ลศิ ล ปะจี น คื อ กลุ ่ ม ลายประยุก ต์ที ่ ไ ด้ผ สมอิ ท ธิ พ ลจาก
ศิ ล ปะจี น
สอดแทรกสัญลักษณ์มงคลจีนทาเป็ นรู ปดอกไม้ ต้นไม้ ธรรมชาติ สัตว์ และบุคคล
ในตัวลาย เข้ามาผสมเป็ นอวยพรแก่ ผูไ้ ด้รับพระราชทานหรื อเป็ นสิ ริมงคลสาหรับผูค้ รอบครอง
น่ าจะปรากฏในเครื่ องราชู ปโภคทองคาตั้งแต่ส มัยรัชกาลที่ 3 มาแล้วซึ่ งเป็ นยุคที่ มีการติ ดต่อค้า
ค้าขายกับจีน จากการตรวจสอบลวดลายในเครื่ องราชูปโภคทองคาที่จดั แสดงในศาลาเครื่ องราช
อิ ส ริ ยยศฯ ซึ่ งเป็ นเครื่ องยศพระราชทานแก่ เ จ้า นายและขุ น นาง เป็ นกลุ่ ม ลายที่ ไ ม่ ก าหนด
เฉพาะเจาะจงว่าเป็ นลายสาหรับฝ่ ายหน้าหรื อฝ่ ายใน โดยพบว่ากลุ่มลายในลักษณะนี้ ยงั พบในเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 จานวน 2 ลาย มีท้ งั ลายในเครื่ องราชูปโภคทองคาในรัชกาลก่อน
และลวดลายในเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ได้แก่
131

ลายดอกไม้จีน ตัวลายหลักคล้ายกับดอกไม้จีนซึ่ งเป็ นลายเลียนแบบธรรมชาติวาง


ลายอย่างไม่เป็ นระเบียบ ตัวลายดอกไม้สลักกลีบดอกหยักเป็ น 4 กลีบ ตามที่อธิ บายไว้ในบทที่ 3
เป็ นลายที่ ไ ด้รั บ อิ ท ธิ พ ลศิ ล ปะจี น ลัก ษณะคล้า ยดอกไม้จี น ที่ พ บในงานประดับ ตกแต่ ง เครื่ อ ง
กระเบื้องจีนหรื อเครื่ องลายครามสมัยรัชกาลที่ 5 (ภาพที่ 112)

ภาพที่ 112 เครื่ องกระเบื้องลายครามลายดอกไม้จีน สมัยรัชกาลที่ 5


ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

ลายดอกไม้มงคลจีน นิยมใช้ในการอวยพรในลวดลายนี้ แสดงลักษณะของดอกไม้


บานอยูบ่ นกิ่งไม้ มีช่อใบเรี ยวยาว ตามคติความเชื่อของจีนลายดอกไม้ดงั กล่าวสื่ อความหมายที่เป็ น
สิ ริมงคล ตามที่กล่าวไปแล้วข้างต้น จัดเป็ นกลุ่มลายหนึ่งที่สอดแทรกความหมายมงคล ลายนี้พบให้
เครื่ องราชูปโภคทองคาในเครื่ องยศสาหรับฝ่ ายหน้าและฝ่ ายใน จากการตรวจสอบลวดลายเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาที่จดั แสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ที่มีการตกแต่งลวดลายนี้ พบว่า ลายนี้ มกั
พบในเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่มีเทคนิ คสลักลายดุนนูนเท่านั้น เช่ น กาทองคาทรงกระบอกสลัก
ลายดุนนูน ถาดรองกาทรงกระบอก ซึ่ งเป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคาที่ใช้สาหรับพระราชทานให้แก่
เจ้านายทั้งฝ่ ายหน้าและฝ่ ายใน (ภาพที่ 113) คล้ายลายนี้ บนฝักพระแสงดาบทองคาลายสลัก มีการ
สลักพระปรมาภิไธยย่อ จปร.ปรากฏอยูด่ ว้ ย (ภาพที่ 53) ซึ่ งเป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสาหรับ
พระราชทานแก่เจ้านายฝ่ ายหน้า พบลายดอกไม้จีนแบบนี้ ในเครื่ องราชูปโภคที่ไม่ใช่ ทองคา เช่ น
หี บ หมากเงิ นลงยาและกล่ องหมากเงิ นถมตะทองในชุ ดเครื่ องประกอบเครื่ องราชอิ ส ริ ย าภรณ์
132

ทุติย จุ ลจอมเกล้า วิเศษส าหรั บ ฝ่ ายใน (ภาพที่ 54) ซึ่ งมี พระปรมาภิ โธยย่อ จปร.บนฝา เป็ นลาย
ดอกไม้จีนและมีลายสัตว์แทรกปนอยู่ เปรี ยบเทียบกับงานจิตรกรรมไทยที่มีอิทธิ พลจากศิลปะจีนใน
ลักษณะการเขียนลายพรรณพฤกษาที่แทรกภาพสัตว์แสดงถึงอิทธิ พลศิลปะจีนอย่างชัดเจน8 และยัง
พบกาทรงกระบอกทองคา (ภาพที่ 55) ที่จดั แสดง ณ พระที่นงั่ วิมานเมฆ พระราชวังดุสิต เป็ นงาน
ช่างสมัยรัชกาลที่ 59 ในบทที่ 3โดยลักษณะกาทรงกระบอกทองคาที่พบนี้ ใช้เป็ นเครื่ องยศสาหรับ
พระราชทานแก่เจ้านาย กาน้ าทองคาเป็ นเครื่ องราชูปโภคที่มีกาหนดรู ปทรงสาหรับพระราชทาน
ให้แก่เจ้านาย เท่านั้น ตามที่อธิ บายในเรื่ องของรู ปทรงไว้แล้วข้างต้น ลักษณะลายดังกล่าวเป็ นลายที่
ใช้ใ นเครื่ อ งยศส าหรั บ พระราชทานแก่ เ จ้า นายเท่ า นั้น โดยไม่ ก าหนดส าหรั บ ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ ง
โดยเฉพาะ

ภาพที่ 113 ลายดอกไม้จีน บนกาทรงกระบอกทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ในเทคนิคสลักลายดุนนูน


จัดแสดงอยู่ ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์

8
อชิ รัช ญ์ ไชยพจน์พ านิ ช , อิทธิ พ ลศิ ลปะจี นในงานจิ ต รกรรมแบบนอกอย่ า งสมั ย
รัชกาลที่ 3, 60.
9
เขมทัต วิศวโยธิน, เครื่องทองและเครื่องเงิน, 33.
133

จากหลักฐานตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นว่าลักษณะลายนี้ น่าจะเป็ นลายที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5


เนื่ องจากไม่พบกลุ่มลายนี้ ในเครื่ องราชูปโภคทองคาในรัชกาลก่อน โดยลายนี้ มกั ปรากฏในเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาที่มีลกั ษณะของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ปรากฏร่ วมอยูด่ ว้ ย จึงกล่าว
ได้วา่ ลวดลายนี้เป็ นลายที่ประดิษฐ์ข้ ึนใหม่ที่ได้อิทธิพลจากศิลปะจีนในสมัยรัชกาลที่ 5
ลายธรรมชาติและวิถีชีวิต จากการตรวจสอบลวดลายนี้ ในเครื่ องราชูปโภคทองคา
ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ พบว่าลวดลายนี้ (ภาพที่ 86) ปรากฏบนตัวกาทองคาทรงกระบอกสลัก
ลายพร้อมถาดรองทองคาลายสลัก ที่มีลกั ษณะปรากฏของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
โดยพบตราจุลมงกุฎสลักอยูบ่ นฝากา และยังพบลวดลายเดี ยวกันนี้ บนตัวกาทรงกระบอกทองคาใน
สมัย รั ช กาลที่ 4 ซึ่ ง มี ตราพระจุ ฑ ามณี (ภาพที่ 88) และตราพระมหามงกุ ฎ (ภาพที่ 89) ซึ่ งเป็ น
พระราชลัญจกรสมัยรัชกาลที่ 4 จากหลักฐานดังกล่ าวจึงเป็ นพอสันนิ ษฐานได้ว่า กลุ่มลายนี้ เกิ ด
ขึ้นมาตั้งแต่รัชกาลก่อน และยังนิยมใช้ประดับเครื่ องราชูปโภคทองคาสื บเนื่องมาจนถึงสมัยรัชกาล
ที่ 5 พบในเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลักหรื อเทคนิคสลักลายดุนนูนเท่านั้น
ลักษณะลายนี้ ยงั คล้ายกับลวดลายธรรมชาติน้ ี ในเครื่ องยศที่เป็ นเครื่ องราชูปโภค
ทองคาลายสลักที่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ เจ้าพระยาบดิ นทรเดชา
เป็ นกาน้ าทรงมัณฑ์ตามรู ปแบบที่เป็ นเครื่ องยศสาหรับพระราชทานแก่ขุนนาง ซึ่ งปรากฏลวดลาย
ธรรมชาติมีพรรณพฤกษา และสัตว์ ปะปนกันเป็ นลายเต็มพื้นที่ตวั กา โดยมีลกั ษณะลายคล้ายกัน
(ภาพ 98) ลักษณะลายดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าลายนี้ ใช้ตกแต่งเครื่ องราชูปโภคทองคามาแล้วตั้งแต่
สมัยรัชกาลที่ 3 จึงกล่าวได้วา่ กลุ่มลายธรรมชาติน้ ีเป็ นลายที่มีมาก่อนและใช้ตกแต่งเครื่ องราชูปโภค
ทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 สื บต่อมา
จากการวิเคราะห์ลกั ษณะลวดลายต่าง ๆ ที่ปรากฏข้างต้นจะเห็นได้วา่ ลวดลายใน
เครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 มีความสัมพันธ์กบั ความหมายอันเป็ นมงคลมีประเด็นที่
น่าสนใจ 2 ประการ คือ
ประการแรก การใช้ลายเป็ นตัวกาหนดหน้าที่ของเครื่ องราชูปโภคทองคาชุ ดนั้น
พบว่าลวดลายในกลุ่ มลายประยุกต์หรื อลายที่เกิ ดขึ้ นในสมัยรั ชกาลที่ 5 นั้นสัมพันธ์กบั ลักษณะ
รู ปทรงของเครื่ องราชูปโภคทองคาประเภทที่มีล ักษณะรู ปทรงที่ต่างกันสาหรับพระราชทานฝ่ าย
หน้าหรื อฝ่ ายใน ตามที่ ได้ก ล่ าวไปแล้วข้า งต้น กลุ่ มลายประยุกต์บางกลุ่ ม ลายปรากฏเฉพาะใน
เครื่ องราชู ป โภคทองค าส าหรั บ พระราชทานเจ้า นายฝ่ ายใน ได้แก่ ลายเครื อเถาดอกราเพยและ
ผลทับทิม หรื อบางกลุ่มลายปรากฏเฉพาะในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับเจ้านายฝ่ ายหน้า ได้แก่
ลายเครื อเถาดอกไม้ใบไม้ ลายเครื อเถาใบเทศก้านแย่ง ขณะที่บางกลุ่มลายพบในเครื่ องราชูปโภค
134

ทองคาสาหรับฝ่ ายหน้าและฝ่ ายในโดยไม่ได้กาหนดแบ่งประเภทรู ปทรง ลวดลาย มีความหมายอวย


พรแบบกลางๆโดยไม่ มี ก ารแบ่ ง กลุ่ ม ของผูไ้ ด้รั บ พระราชทาน จึ ง กล่ า วได้ว่า ลัก ษณะรู ป ทรง
ลวดลายและความหมายของลวดลายบางกลุ่ มลายในเครื่ องราชู ปโภคทองคาในสมัยรัชกาลที่ 5
มีความสัมพันธ์กนั อันเป็ นลักษณะพิเศษอย่างหนึ่ งของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยนี้ ดังนั้นเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาในรัชกาลนี้ มีการแบ่งหรื อกาหนดลวดลายสาหรับเครื่ องราชูปโภคทองคาฝ่ ายใด
ไว้อย่างชัดเจน อันเป็ นลักษณะพิเศษที่ไม่พบในลวดลายเครื่ องราชูปโภคทองคาในรัชกาลก่อน
ประการที่ 2 การใช้ลวดลายแทนความหมายอันเป็ นมงคลในการประดับตกแต่ง
เครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยรัชกาลที่ 5 กลุ่มลายประยุกต์และกลุ่มลายที่ได้รับอิทธิ พลจากศิลปะ
จีนที่ประดิษฐ์ในรัชสมัยนี้ เช่น ลายดอกพุดตาน ลายดอกไม้จีน ลายผลทับทิม เป็ นต้น รวมทั้งกลุ่ม
ลายอิทธิ พลจีนที่ใช้ในเครื่ องราชู ปโภคทองคาในรัชกาลก่อน เช่ น ลายธรรมชาติ นอกจากใช้เป็ น
ลายสาหรับประดับตกแต่งเครื่ องราชูปโภคทองคาแล้วยังมีความหมายมงคลแฝงอยู่ ให้เกิดความเป็ น
สิ ริมงคลแก่ผคู ้ รอบครองหรื อเจ้านายผูไ้ ด้รับพระราชทานด้วย
โดยสรุ ป แล้วลัก ษณะลวดลายที่ ป รากฏในกลุ่ ม เครื่ องราชู ป โภคทองค าเหล่ า นี้
ทาให้เชื่อว่า เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาสมัยรัชกาลที่ 5 มีการกาหนดหรื อแบ่งบางลวดลายประดับ
ตกแต่งของเครื่ องราชูปโภคสาหรับเป็ นเครื่ องยศฝ่ ายหน้าหรื อฝ่ ายในไว้อย่างชัดเจน ขณะเดียวกัน
เมื่ อ ตรวจสอบกลุ่ ม เครื่ อ งราชู ป โภคทองค าที่ ไ ม่ มี ล ัก ษณะเฉพาะ ไม่ พ บหลัก ฐานที่ แ สดงว่า มี
การแบ่ ง แยกลวดลายส าหรั บ เป็ นลายในเครื่ องราชู ป โภคฝ่ ายหน้ า หรื อฝ่ ายในอย่ า งชัด เจน
ในการสลักลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ แต่เดิมมีการสลักลายเพื่อให้เกิ ด
ความสวยงาม หรื ออาจสอดแทรกความหมายมงคลลงไปบ้าง แต่ไม่มีการแบ่งลวดลายสาหรับฝ่ าย
ใดโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ลกั ษณะเทคนิควิธีการสร้างลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคายังสามารถ
ใช้แบ่งระดับฐานะของเจ้านายหรื อขุนนางผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชู ปโภคประเภทนั้นเป็ น
เครื่ องยศ ไม่ว่า จะเป็ นเทคนิ คการลงยาหรื อการสลัก ลายดุ นนู น ขณะเดี ยวกันการสร้ างลวดลาย
ประดับบนเครื่ องราชูปโภคทองคาในสมัยรัชกาลที่ 5 บางกลุ่มลายยังสื่ อความหมายอันเป็ นมงคล
ตามคติความเชื่อจีนที่นิยมสื บมา มีความหมายที่ดีเป็ นมงคล ดังปรากฏในลวดลายเครื่ องราชูปโภค
ทองค าสมัย นี้ ดัง นั้น การพระราชทานเครื่ องราชู ปโภคทองค าที่ ส ลัก ลายมงคลเปรี ย บเสมื อ น
การพระราชทานยศไปพร้อมกับคาอวยพรเพื่อความเป็ นสิ ริมงคลแก่ผไู้ ด้รับพระราชทาน ลวดลาย
บนเครื่ องราชู ป โภคทองค าเหล่ า นี้ บางลาย นอกจากเป็ นเครื่ องก าหนดหรื อแบ่ ง แยกฐานะของ
ผูไ้ ด้รับ พระราชทานแล้ว ยัง ได้สื่ อความหมายความเป็ นสิ ริ ม งคลแก่ ผูไ้ ด้รับ พระราชทานหรื อ
ผูค้ รอบครองอีกด้วย
135

3. เทคนิควิธีการสร้ างเครื่องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่องราชอิสริยยศฯ


เทคนิ ควิธีการสร้ างเครื่ องราชู ปโภคทองคาในแต่ละชนิ ดประเภท มีลกั ษณะเทคนิ ค
วิธีการสร้างเหมือนกันทุกสมัย โดยเริ่ มจากการนาแผ่นทองคามาเคาะขึ้นรู ปทาเป็ นรู ปพรรณสัณฐาน
และใช้วิธีเชื่ อมประกอบชิ้ นส่ วนต่าง ๆ จนเป็ นรู ปทรงภาชนะที่ตอ้ งการ ซึ่ งพบว่าเครื่ องราชูปโภค
ทองคาแต่ละชนิ ดประเภทและรู ปทรงมีเทคนิ คการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิ ควิธีการหลักทัว่ ไป
2 แบบ คือ การสร้างลวดลายประดับด้วยการสลักลาย และการสร้างลวดลายประดับด้วยการสลัก
ลายและตกแต่งด้วยการลงยาสี
จากการศึ ก ษาครั้ งนี้ พบว่า เทคนิ ควิธีก ารสร้ างลวดลายเครื่ องราชู ปโภคทองค าสมัย
รัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ มีเทคนิควิธีการหลักในการสร้างลวดลาย 2 ประเภท ได้แก่
3.1.เทคนิคการสลักลายดุนนูน
เป็ นเทคนิควิธีการสร้างสรรค์ลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาขั้นพื้นฐาน ซึ่ งยัง
ปรากฏใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ใช้สาหรับตกแต่งเครื่ องราชูปโภคทองคาที่ เป็ นภาชนะสัมผัสของร้อน
เช่น กาทรงกระบอกทองคา กาทรงมัณฑ์ทองคาพร้อม ปั้ นชาทองคา ถาดรองกาทองคา จานรองปั้ น
ชาทองคา ถาดรองชุ ดที่ชาทองคา และจุ๋นทองคา (จานรองถ้วยฝาหยกทองคา) เป็ นต้น และยังใช้
สาหรับเครื่ องราชู ปโภคทองคาสาหรับเป็ นเครื่ องยศพระราชทานแก่เจ้านายชั้นพระองค์เจ้าลงมา
จนถึ งขุนนางชั้นสู ง โดยเฉพาะเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 จะใช้เป็ นเครื่ องประกอบ
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์จุลจอมเกล้าทุกระดับชั้นและทุกฝ่ าย ซึ่ งกาหนดใช้มาตั้งแต่ช่วงต้นรัชกาล เมื่อ
พ.ศ. 2416 เป็ นต้นมา พบในลวดลายทุกสมัย

3.2 เทคนิคการสลักลายลงยาสี
เทคนิควิธีการนี้เรี ยกชื่อเต็ม เรี ยกว่า เครื่ องราชูปโภคทองคาสลักลายลงยา โดย
เริ่ มจากการร่ างลายที่ตอ้ งการ แล้วสลักลายตามที่ร่างไว้โดยการสลักดุนลายให้นูนสู งขึ้นเพื่อให้เกิด
ร่ องลายสาหรับลงยาสี ในร่ องลายที่กาหนดไว้ และป้ องกันมิให้ยาสี ที่ลงที่พ้ืนลายปะปนกับยาทีที่ตวั
ลาย เมื่อสลักเป็ นลวดลายตามต้องการแล้ว จึงลงยาสี ตามต้องการ จากการตรวจสอบเทคนิคโดยมี
เทคนิควิธีการหลัก 2 แบบ คือ
แบบที่ 1 เทคนิคการสลักลายดุนนูนลงยา เป็ นเทคนิคการลงยาสี แบบดั้งเดิมที่
มี ม าก่ อ นสมัย รั ช กาลที่ 5 พบได้ใ นเครื่ องราชู ป โภคทองค าลงยาสมัย รั ตนโกสิ น ทร์ ทุ ก รั ช กาล
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ยังคงนิยมใช้เทคนิคแบบนี้ ในการสร้างสรรค์ลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคา
โดยการลงยาสี มี 2 ลักษณะ ได้แก่
136

การลงยาสี ทว่ั ไป (สี แดงและสี เขียว) เป็ นเทคนิ ควิธีการลงยาทัว่ ไปที่มีมาแต่


เดิมตั้งแต่ก่อนสมัยรัชกาลที่ 5 โดยนิยมลงยาสี แดงเป็ นพื้นลายและตัวลายหลักหรื อตัวลายดอก และ
ลงยาสี เขียวประกอบที่ลายใบไม้หรื อก้านดอกเครื อเถา พบในกลุ่มลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ
(ภาพ 90) เทคนิคการลงยาสี ไม่ได้กาหนดในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับพระราชทานฝ่ ายใด
การลงยาสี ชมพู เป็ นลักษณะเฉพาะของเครื่ องราชูป โภคทองคาในรัชสมัยนี้
มักพบในเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีประวัติการสร้างชัดเจนหรื อสลักตราจุลมงกุฎอยูด่ ว้ ย การลงยา
สี ชมพูมีความหมายและความนิยมมาตลอดรัชกาลตามที่กล่าวไปแล้วข้างต้น ซึ่ งมีลกั ษณะเดียวกัน
กับการลงยาสี ทวั่ ไป โดยพื้นลายยาสี แดงและที่ตวั ลายหลัก ลงยาสี ชมพู นอกจากนี้ อาจมีการลงยาสี
อื่นประกอบในลาย เช่น สี เขียว สี ขาวและสี ฟ้า ลักษณะเช่นนี้ พบในกลุ่มลายประยุกต์หรื อลวดลาย
ที่ประดิ ษฐ์ข้ ึนใหม่ เช่ น ลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิม ลายเถาดอกไม้ ลายเครื อเถาใบเทศ
ก้านแย่ง เทคนิ ควิธีการนี้ ม กั ปรากฏในเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรั ชกาลที่ 5 ไม่มีก ารก าหนด
สาหรับพระราชทานฝ่ ายใดโดยเฉพาะ
แบบที่ 2 เทคนิ คการสลักร่ องลายลงยาหรื อเทคนิ คการเหยียบลาย มีลกั ษณะ
เทคนิคการตกแต่งลวดลายบนพื้นผิวที่แตกต่างจากเทคนิคทั้งสองแบบข้างต้น โดยมีการสลักพื้นผิว
เครื่ องทองเป็ นร่ องลายตามต้องการแล้วลงยาสี ในร่ องลายที่สลักไว้ให้เรี ยบเสมอพื้นผิวเดิม ตัวยาสี
จะปรากฏเฉพาะบริ เวณที่เป็ นลายเท่านั้น พื้นลายเป็ นผิวทองคาเรี ยบเสมอกับตัวลาย เป็ นเทคนิคการ
ลงยาสี ที่พบในเครื่ องราชูปโภคทองคาที่จดั แสดงภายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ เพียงไม่กี่ชิ้น

ภาพที่ 114 ตลับภู่ทรงกลมทองคาลงยา สมัยรัชกาลที่ 5 เทคนิคการสลักร่ องลายลงยา


จัดแสดง ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
137

พบเครื่ องราชูปโภคทองคาที่ใช้เทคนิคนี้ในเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีการลง


ยาสี ชมพูและมีตราจุลมงกุฎปรากฏอยูด่ ว้ ย ได้แก่ หีบพระศรี หรื อหีบหมากทองคาลงยา ที่ฝาหี บสลัก
ตราจุลมงกุฎ ตลับภู่ทรงกลม (ภาพที่ 114) ที่มีลกั ษณะเทคนิคการลงยาแบบเดียวกับตลับภู่ทองคา
ลงยารู ปทรงลิ้ นจี่ (ภาพที่ 115) ที่ มีประวัติว่าสร้ างในสมัยรัชกาลที่ 5 และขันน้ าสรงพระพักตร์
ทองคาลงยา (ภาพที่ 116) ในชุ ดเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี ซึ่ งมีประวัติวา่ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5

ภาพที่ 115 ตลับภู่ทองคาลงยารู ปผลลิ้นจี่ สมัยรัชกาลที่ 5 เทคนิคการสลักร่ องลายลงยา


ที่มา: ธงทอง จันทรางศุ, ของสวยของดี ครั้งแผ่นดินพระพุทธเจ้าหลวง, 213.

ภาพที่ 116 ขันสรงพระพักตร์ ทองคาลงยา เทคนิคการสลักร่ องลายลงยา


จัดแสดงอยู่ ณ ศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ
ที่มา: หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์, เครื่ องราชอิสริ ยยศ พระบรมราชวงศ์กรุ งรัตนโกสิ นทร์ , 96.
138

จากตัวอย่างดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ลักษณะการสลักร่ องลายลงยาหรื อการ


เหยียบลายลงยาจะอยู่ในกลุ่ มเครื่ องราชูปโภคทองคาที่ สัมพันธ์กบั ลักษณะของเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 จึงอาจกล่าวได้วา่ เทคนิ คการลงยาแบบนี้เป็ นลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่ งของ
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ก็วา่ ได้
มีขอ้ สังเกตว่าเทคนิคการลงยาในเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ที่จดั
แสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯเป็ นการลงยาสี ท้ งั พื้นลายและตัวลายเต็มพื้นที่ท้ งั ชิ้นงาน เหลือแต่
ส่ วนที่เป็ นทองคาตรงเส้นลายที่สลักดุนนูนขึ้นเพื่อให้เกิดเป็ นร่ องลายและป้ องกันไม่ให้ยาสี ในตัว
ลายกับพื้นลายปนกัน ส่ วนใหญ่นิยมลงยาสี แดงเป็ นพื้นลายตัวลายตัดด้วยเส้นสี ทองซึ่ งเป็ นพื้นผิว
ทองคาที่ ถูกดุ นนู น ส่ วนตัวลายนอกจากลงยาสี แดงและสี เขียวอันเป็ นสี พ้ืนฐานแล้วยังพบว่าใน
รัชกาลนี้นิยมใช้สีชมพูที่ตวั ลายหลักอีกด้วย จนกลายเป็ นเอกลักษณ์ของเครื่ องราชูปโภคทองคาใน
ยุคนี้ การลงยาเต็มพื้นผิวทั้งหมดพบทั้งในกลุ่มเทคนิคการลงยาสี ทวั่ ไปและกลุ่มเทคนิคลงยาสี ชมพู
เมื่อนาเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาสมัยรัชกาลที่ 5 เปรี ยบเทียบกับบางชิ้นที่ไม่มีประวัติการสร้างซึ่ ง
สันนิ ษฐานว่าสร้ างในรัชกาลก่อน หรื อนามาเปรี ยบเทียบกับชิ้ นที่มีประวัติการสร้ างอย่างชัดเจน
เช่น จอกหมากทรงกลมลงยาสมัยรัชกาลที่ 3 (ภาพที่ 61) จึงกล่าวได้วา่ เทคนิคการลงยาสี เต็มพื้นที่
น่าจะลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งของเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
การสร้ า งเครื่ องราชู ป โภคทองค าแต่ ล ะประเภทด้วยเทคนิ ค วิธี ก ารทั้ง สอง
ประเภทนั้นนอกจากเป็ นการเพิ่มความสวยงามแล้ว เพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแบ่งระดับชั้นของเครื่ อง
ราชู ปโภคขึ้ นอยู่กบั ระดับชั้นยศของเจ้านายหรื อขุนนางหรื อผูไ้ ด้รับพระราชทาน สอดคล้องกับ
หลักธรรมเนียมการพระราชทานเครื่ องราชูปโภคทองคาซึ่ งมีผอู้ ธิ บายเกี่ยวกับลักษณะเทคนิ คการ
สร้างเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาราชาวดี ใช้เป็ นเครื่ องยศสาหรับขัตติยราชสกุลตั้งแต่พระองค์เจ้า
ต่างกรม ชั้นสมเด็จกรมพระยาขึ้นไป ส่ วนเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก เป็ นเครื่ องยศสาหรับ
พระราชทานตั้ง แต่ พ ระองค์เจ้า ต่ า งกรมชั้น พระลงมาถึ ง ราชสกุล ผูม้ ี บ รรดาศัก ดิ์ เป็ นพระยา”10
ลัก ษณะธรรมเนี ย มพระราชทานเครื่ องราชู ป โภคทองค าดัง กล่ าว เชื่ อว่าในราชส านัก ไทยสมัย
รัตนโกสิ นทร์ ได้ยึดถือปฏิบตั ิมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 สื บเนื่ องมาจนถึงรัชกาลปั จจุบนั โดยปรากฏ
ตัวอย่า งให้เห็ นเครื่ องราชู ป โภคทองค าที่ พ ระราชทานเป็ นเครื่ องประกอบพระอิ ส ริ ย ยศสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็ นชุดเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา กับเครื่ องประกอบ
พระอิ ส ริ ยยศพระเจ้า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้า โสมสวลี พระวรราชาทิ นั ด ดามาตุ เป็ นชุ ด
เครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลัก ดังนั้นผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาจะมีฐานะ

10
หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์, “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน,”
ใน ศรุ ตานุสรณ์ , 218.
139

สู งกว่าผูไ้ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลักหรื อสลักลายดุนนูนและสู งกว่า ผูไ้ ด้รับ


พระราชทานแบบทองคาเกลี้ ยงทั้งฝ่ ายหน้าหรื อฝ่ ายใน เทคนิ คการตกแต่งลวดลายที่แตกต่างกัน
สามารถใช้เป็ นตัวกาหนดหรื อแบ่งระดับชั้นยศของผูไ้ ด้รับพระราชทาน กลายเป็ นธรรมเนียมปฏิบตั ิ
ในราชสานักสื บทอดต่อกันมา
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ที่จดั แสดงอยูภ่ ายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศ ฯ
แห่ งนี้ มีลกั ษณะรู ปแบบ รู ปทรง ลวดลายและเทคนิ ควิธีการสร้างสื บเนื่ องมาจากเครื่ องราชูปโภค
ทองคาในรัชกาลก่อน และมีการสร้างสรรค์เอกลักษณ์โดยรับอิทธิ พลจากภายนอกเข้าผสมผสาน
อย่างลงตัว โดยมีลกั ษณะเฉพาะที่ แสดงออกอย่างชัดเจน เช่ น มีการลงยาสี ชมพู การสลักตราจุล
มงกุฎอันเป็ นพระราชลัญจกรประจารัชกาล และเทคนิคลงยาที่แตกต่างจากเครื่ องราชูปโภคทองคา
ในรัชกาลก่อน ซึ่ งลักษณะดังกล่าวใช้ประกอบการศึกษาวิเคราะห์และใช้กาหนดอายุสมัยของเครื่ อง
ราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ที่จดั แสดงอยูภ่ ายในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ได้
บทที่ 5
บทสรุ ป

ตามธรรมเนี ยมในราชสานัก ไทยตั้ง แต่ โบราณ มีการสร้ า งเครื่ องราชู ปโภคสาหรั บ


พระมหากษัตริ ย ์ด้วยทองค าหรื อวัตถุ มี ค่า ลักษณะของเครื่ องราชู ปโภคทองคามีพ้ืนฐานมาจาก
เครื่ องอุปโภคในการกินหมากของคนไทยมาตั้งแต่สมัยโบราณ มีในทุกระดับชั้น สร้างด้วยวัสดุที่
แตกต่ า งกั น ตามชั้ นฐานะของแต่ ล ะบุ ค คล ในราชส านั ก ไทยนอกจากสร้ า งขึ้ นส าหรั บ
พระมหากษัตริ ยแ์ ล้ว ยังมีการสร้ างเครื่ องอุปโภคดังกล่ าวเป็ นเครื่ องยศ จนกลายเป็ นธรรมเนี ยม
ปฏิบตั ิสืบต่อมา ปั จจุบนั เครื่ องราชูปโภคทองคาเหล่านี้ยงั คงใช้เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศของ
เจ้านายและข้าราชการที่สาคัญบางตาแหน่งเท่านั้น ส่ วนใหญ่เครื่ องราชูปโภคทองคาเหล่านี้ จดั แสดง
อ ยู่ ภ า ย ใ น ศ า ล า เ ค รื่ อ ง ร า ช อิ ส ริ ย ย ศ เ ค รื่ อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ์ แ ล ะ เ ห รี ย ญ ก ษ า ป ณ์
ในพระบรมมหาราชวัง เคยใช้เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศเจ้านายและขุนนางมาตั้งแต่สมัย
รัชกาลที่ 1 เป็ นต้นมาถึงรัชกาลปัจจุบนั
จากการศึกษาวิเคราะห์ลกั ษณะรู ปแบบ ลวดลายและเทคนิคของกลุ่มเครื่ องราชูปโภค
ทองค าที่ มี ล ัก ษณะเฉพาะสมัย รั ช กาลที่ 5 ที่ จ ัด แสดงในศาลาเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย ยศฯ โดยศึ ก ษา
วิเ คราะห์ จ ากกลุ่ ม เครื่ อ งราชู ป โภคทองค าที่ มี ป ระวัติก ารสร้ า งชัดเจน และตัวอย่า งจากเครื่ อ ง
ราชูปโภคทองคาชื้ นอื่น ๆ ที่มีลกั ษณะเฉพาะ โดยสามารถแยกเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาล
ที่ 5 จากเครื่ องราชูปโภคทองคาทั้งหมดที่จดั แสดงได้ ตลอดจนเข้าใจลักษณะรู ปทรง ลวดลาย และ
เทคนิ คของเครื่ องราชูปโภคทองคาในช่ วงรัชสมัยนี้ ได้อย่างชัดเจน ซึ่ งพบว่ายังมีรายละเอียดบาง
ประการที่เป็ นลักษณะพิเศษ และสามารถใช้ผลที่ได้เป็ นแนวทางในการศึกษาลักษณะรู ปแบบของ
เครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลอื่น ๆ ต่อไปได้ โดยประเด็นสาคัญในด้านต่าง ๆ ดังนี้

1. ลักษณะรู ปแบบ
1) เครื่ องราชู ป โภคทองค าสมัย รั ชกาลที่ 5 มี ล ัก ษณะรู ป แบบที่ สื บทอดจากเครื่ อ ง
ราชู ปโภคทองคาจากรั ชกาลก่อน ทั้งลักษณะรู ปแบบที่สืบทอดมาจากสมัยก่อนและรู ปแบบที่รับ
อิทธิ พลจากต่างชาติมาผสม จากการตรวจสอบและศึกษาเปรี ยบเทียบกับเครื่ องราชูปโภคทองคา
สมัยรัตนโกสิ นทร์ ท้ งั หมดที่จดั แสดงในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ ซึ่ งเป็ นเครื่ องราชูปโภคทองคา
สาหรั บการพระราชทานเป็ นเครื่ องยศมีลกั ษณะรู ปแบบเดียวกันทั้งหมด โดยมีจุดสังเกตลักษณะ
รู ปแบบเบื้องต้น มี 2 อย่างคื อ มี ตราพระราชลัญจกรประจา และมี ใช้เทคนิ คการลงยาสี ชมพูใ น
การตกแต่งลวดลาย

140
141

2) เครื่ องราชู ปโภคทองค าบางประเภทมีลกั ษณะรู ปทรง 2 แบบ สาหรับเครื่ อง


ราชูปโภคทองคาบางประเภทซึ่ งมีธรรมเนียมการพระราชทานรู ปแบบที่แตกต่างกัน เช่น ผอบทรง
เหลี่ยมสาหรับฝ่ ายหน้า ผอบทรงกลมฝ่ ายใน นอกจากนี้ เครื่ องราชูปโภคทองคาบางประเภทกาหนด
ไว้สาหรับพระราชทานเฉพาะฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเท่านั้น เช่น คนโทสาหรับฝ่ ายหน้า ขันน้ าเสวยสาหรับ
ฝ่ ายใน สอดคล้องกับหลักฐานภาพถ่ายเครื่ องยศที่ทอดไว้กบั เจ้านายฝ่ ายหน้าและฝ่ ายในสมัยรัชกาล
ที่ 5 ทั้งนี้ เครื่ องราชู ปโภคทองคาที่เป็ นเครื่ องประกอบพระอิสริ ยยศของเจ้านายและขุนนางสมัย
รัชกาลที่ 5 มี 2 ประเภทคือ ประเภทที่ 1 เครื่ องราชู ปโภคทองคาที่สร้ างขึ้ นใหม่สมัยรัชกาลที่ 5
มี ลกั ษณะรู ปแบบเครื่ องราชู ปโภคทองคาที่สื บทอดจากในรัช กาลก่ อน และประเภทที่ 2 เครื่ อง
ราชูปโภคทองคาในรัชกาลก่อนที่นากลับมาใช้ใหม่ สอดคล้องกับธรรมเนียมเมื่อพ้นตาแหน่งให้นา
เครื่ องราชูปโภคทองคาส่ งคืน เพื่อนามาใช้สาหรับพระราชทานแก่ผมู้ ารับตาแหน่งใหม่

2. ลักษณะลวดลาย
ลวดลายในเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ แบ่ง
ได้เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
2.1 กลุ่มลายใหม่ ที่เกิดขึน้ สมัยรัชกาลที่ 5 คือ กลุ่มลายที่ผกู ขึ้นใหม่โดยเป็ นลายไทยที่
รับอิทธิ พลต่างชาติเข้าไปผสม ทั้งอิทธิ พลจากศิลปะจีนและศิลปะตะวันตก โดยสอดแทรกลวดลาย
ความหมายมงคลเข้าไปผสม ทาให้เกิดลายใหม่ที่มีความหมายอันเป็ นมงคลแก่ผไู้ ด้รับพระราชทาน
หรื อผูค้ รอบครอง มีลาย 2 ประเภทได้แก่
1) ลายประยุก ต์ เป็ นลายที่มี ก ารแบ่ ง แยกหรื อก าหนดหน้า ที่ ข องลายในการใช้
ต่ า งกัน โดยแยกเป็ นลายที่ ใ ช้ใ นเครื่ องราชู ป โภคทองค าส าหรั บ ฝ่ ายใน เป็ นกลุ่ ม ลายเดี ย วที่ มี
การแบ่งแยกการใช้ลายอย่างชัดเจน โดยแบ่งเป็ น
- ลายในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายใน ได้แก่ ลายเครื อเถาดอกราเพยและ
ผลทับทิม
- ลายในเครื่ องราชู ปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายหน้า ได้แก่ ลายเครื อเถาดอกใบเทศ
และลายเถาดอกไม้
- ลายในเครื่ องราชูปโภคทองคาสาหรับฝ่ ายในและฝ่ ายหน้า ได้แก่ ลายเครื อเถาดอก
พุดตานใบเทศ
2) ประเภทกลุ่มลายอิทธิ พลศิลปะจีน เป็ นลายที่ประยุกต์หรื อผูกลายใหม่ในสมัย
รัชกาลที่ 5 ที่มีอิทธิพลศิลปะและคติความเชื่อจีนเข้าไปผสม ได้แก่ ลายดอกไม้จีน
142

2.2 กลุ่มลายทีส่ ื บเนื่องมาจากรัชกาลก่ อน คือ กลุ่มลายไทยหรื อลายไทยประยุกต์ทวั่ ไป


ที่พบในเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ทุกรัชสมัยตามความนิ ยมของช่ างไทยโบราณ
บางกลุ่มลายมีลกั ษณะเดี ยวกับลายที่ใช้ประดับตกแต่งในงานศิลปกรรมไทยประเภทอื่น ๆ นิยมใช้
มาตั้ง แต่ รัช กาลก่ อน กลุ่ ม ลายดัง กล่ า วเป็ นลายที่ สื บ เนื่ องมาจากรั ช กาลก่ อน โดยพบในเครื่ อ ง
ราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ในศาลาเครื่ องราชอิสริ ยยศฯ มีกลุ่มลาย 2 ประเภทได้แก่
1) ประเภทกลุ่มลายไทยประเพณี เป็ นกลุ่มลายไทยที่นิยมใช้ประดับตกแต่งเครื่ อง
ราชู ปโภคทองคาในรั ชกาลก่ อน ไม่มีการแบ่งกลุ่มลายสาหรับการใช้ในเครื่ องราชูปโภคทองคา
สาหรับฝ่ ายใด ประกอบด้วย ลายดอกพุดตานใบเทศ ลายก้านต่อดอกใบเทศ
2) ประเภทกลุ่ มลายอิทธิ พลศิลปะจีน เป็ นกลุ่ มลายที่มีต้ งั แต่รัชกาลก่ อน ลายที่มี
อิทธิพลจากศิลปะจีนในสมัยรัชกาลที่ 3 ประกอบด้วย ลายธรรมชาติและวิถีชีวติ
จากกลุ่ มลายประเภทต่างข้างต้น มีประเด็นลักษณะพิเศษเฉพาะที่ แสดงให้ความ
แตกต่างจากเครื่ องราชูปโภคทองคาในรัชกาลก่อน คือ
- ลวดลายเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 บางกลุ่มลายมีการแบ่งหน้าที่อย่าง
ชัดเจน เช่น ลายเครื อเถาดอกราเพยและผลทับทิม สาหรับฝ่ ายใน ลายเครื อเถาดอกใบเทศสาหรับ
ฝ่ ายหน้าช่วงต้นรัชกาลและลายเครื อเถาดอกไม้ใบไม้สาหรับฝ่ ายหน้าช่วงปลายรัชกาล
- ลายบนเครื่ องราชู ป โภคทองค าสมัย รั ชกาลที่ 5 บางกลุ่ ม ลาย สอดแทรกลาย
ความหมายมงคล ตามคติความเชื่อจีนเข้าไปผสม ดังนั้นลายมงคลจึงสัมพันธ์กบั ลักษณะรู ปทรงของ
ผูไ้ ด้รับพระราชทาน
- ลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคา ที่ประยุกต์ข้ ึนใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 5 พบว่ามีบาง
กลุ่ ม ลายใช้ท้ งั ในเครื่ องราชู ป โภคทองค าลงยาและทองค าลายสลัก หรื อสลัก ลายดุ นนู น ได้แก่
ลายเถาดอกไม้ และลายเครื อเถาดอกพุดตานใบเทศ

3. เทคนิควิธีการ
จากการศึกษาวิเคราะห์ลกั ษณะเทคนิ ควิธีการสร้ างเครื่ องราชู ปโภคทองคา ในศาลา
เครื่ องราชอิ สริ ย ยศฯ มี เทคนิ ค วิธี การสร้ างลวดลาย 2 แบบ คือ เทคนิ คการสลักลายดุ นนู นและ
เทคนิคการสลักลายลงยา เป็ นเทคนิ ควิธีการเบื้องต้นในการตกแต่งด้วยลวดลายบนเครื่ องราชูปโภค
ทองคามาตั้งแต่สมัยอยุธยา จนเมื่อมีการติดต่อสัมพันธ์กบั ต่างประเทศและพัฒนาปรับปรุ งเทคนิ ค
การลงยาสี บนเครื่ องราชูปโภคทองคาให้มีความสวยงามและโดดเด่นยิ่งขึ้น เกิดเทคนิควิธีการใหม่
จึงสามารถอธิ บายได้วา่ เทคนิควิธีการสร้างสรรค์ลวดลายบนเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
แบ่งเป็ น 2 กลุ่มหลัก ดังนี้
143

3.1 เทคนิควิธีการเดิม เป็ นเทคนิ คที่เคยใช้สืบ เนื่ องต่ อกันมาจากรัชกาลก่ อน และ


ยัง ปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ได้แก่ เทคนิ คสลักลายดุนนูนหรื อทองคาลาย
สลัก และเทคนิคการสลักลายลงยาหรื อทองคาลงยา
- เทคนิ ค สลัก ลายดุ น นู น หรื อ ทองค าลายสลัก เป็ นเทคนิ ค ที่ นิ ย มใช้ใ นเครื่ อ ง
ราชู ปโภคทองคาที่สัมผัสกับของร้ อน และใช้สาหรับเป็ นเครื่ องยศพระราชทานแก่เจ้านายที่มียศ
ศักดิ์ ต่ากว่าเจ้านายที่ได้รับพระราชทานเครื่ องราชูปโภคทองคาลงยา เรี ยกเครื่ องราชูปโภคทองคา
ประเภทนี้วา่ เครื่ องราชูปโภคทองคาลายสลักหรื อสลักลายดุนนูน
- เทคนิคสลักลายลงยาหรื อทองคาลงยา เป็ นเทคนิคที่ตอ้ งการเพิ่มความสวยงามแก่
เครื่ องราชูปโภคทองคาให้มากกว่าเทคนิคการสลักลายเพียงอย่างเดียว การลงยาสี เป็ นการใช้สีสันแก่
เครื่ องทอง ทาให้เครื่ องราชู ปโภคทองคาดูสวยงามโดดเด่นมากขึ้น เทคนิ ควิธีการนี้ จึงใช้สาหรับ
พระมหากษัตริ ยห์ รื อส าหรั บพระราชทานเจ้านายชั้นเจ้าฟ้ า ซึ่ ง มีฐานะหรื อชั้นยศสู งกว่าเจ้านาย
ที่ ไ ด้รับพระราชทานเครื่ องราชู ปโภคทองคาลายสลัก เรี ยกกันว่า เครื่ องราชู ปโภคทองคาลงยา
ในการลงยาสี เทคนิควิธีการเดิม มักใช้ยาสี แดงและสี เขียว โดยมีการลงยาสี เต็มพื้นที่ผิวทองคา นิยม
การลงยาสี แดงที่พ้ืนลาย และใช้ยาสี เขียวและสี แดงที่ตวั ลาย โดยสลักขอบลายสู งเพื่อป้ องกันยาสี ที่
พื้นลายกับตัวลายปนกัน

3.2 เทคนิควิธีการใหม่ เป็ นเทคนิ คที่มีการพัฒนาปรับปรุ งรู ปแบบตามความนิ ยมใน


สมัยนั้น โดยพัฒนาปรับปรุ งเทคนิ คการลงยาสี แบบเดิมให้มีความสวยงามและแปลกตามากยิ่งขึ้น
ได้รับอิทธิ พลจากต่างชาติ ซึ่ งลักษณะเทคนิ คเหล่านี้ ไม่พบในเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาล
ก่อน ปรากฏในเครื่ องราชูปโภคทองคาที่มีประวัติการสร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 หรื อมีลกั ษณะปรากฏ
ที่แสดงว่าสร้ างขึ้ นในสมัย นั้นอย่างชัดเจน เช่ น มีตราจุลมงกุฎหรื อพระราชลัญจกร โดยลักษณะ
เทคนิ ควิธีการใหม่เหล่ านี้ สัมพันธ์ กบั ลายประยุกต์หรื อกลุ่ มลายที่ผูก ขึ้นใหม่ใ นสมัยรัช กาลที่ 5
ได้แก่
- เทคนิคการลงยาสี ชมพู มีลกั ษณะเดียวกับการลงยาสี ทวั่ ไป เพียงแต่เพิ่มสี ชมพูใน
การลงยาสี ที่ตวั ลายหลัก ทาให้เครื่ องราชูปโภคทองคาลงยาดูเด่นขึ้นกว่าเครื่ องราชูปโภคทองคาลง
ยาสี ทว่ั ไป เนื่องสี ชมพูเกี่ยวข้องสัมพันธ์กบั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าพระเจ้าอยูห่ วั การลงยา
สี ชมพูจึงเป็ นลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งของเครื่ องราชูปโภคทองคาในรัชสมัยนี้
- เทคนิคการสลักร่ องลายลงยา (การเหยียบลาย) เป็ นวิธีการตกแต่งลวดลายเป็ นผิว
เครื่ องทองแบบใหม่ที่ปรากฏในกลุ่มเครื่ องราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ลักษณะเทคนิควิธีการ
ดังกล่าวไม่พบในเครื่ องราชู ปโภคทองคาในรัชกาลก่อน ด้วยการเหยียบลายหรื อการเซาะร่ องลาย
144

ตามช่องลาย อันเป็ นลักษณะเทคนิคเฉพาะที่เกิดขึ้นในสมัยนี้ จึงจัดเป็ นลักษณะอย่างหนึ่ งของเครื่ อง


ราชูปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5
- เทคนิ คการลงยาสี เต็มพื้นที่ เป็ นลัก ษณะพิเศษแตกต่างจากเครื่ องราชู ปโภค
ทองคาลงยาแบบวิธีการเดิมในรัชกาลก่อน ส่ วนใหญ่นิยมการลงยาสี เฉพาะจุดหรื อกลุ่มตัวลายหลัก
เท่ า นั้น เทคนิ ค การลงยาสี บ นเครื่ องราชู ป โภคทองค าในสมัยนี้ จึ ง นิ ย มลงยาสี แบบเต็ม พื้นที่ ผิว
ทั้งหมด มีเพียงเส้นลายสี ทองที่ดุนนูนสู งขึ้นเพื่อป้ องกันยาสี ที่ตวั ลายกับพื้นลายปนกัน ขณะเดียวกัน
เส้นขอบลายสี ทองก็ช่วยให้ลวดลายเครื่ องราชูปโภคทองคาดูเด่นขึ้น
จึงกล่าวได้ว่าเทคนิ คการสร้ างลวดลายในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการพัฒนาปรับปรุ ง
เทคนิ ควิธีการสร้างบางอย่างไม่เคยปรากฏในรัชกาลก่อน นอกจากเป็ นการสร้างความสวยงามแล้ว
ยังแสดงให้เห็ นการแบ่งระดับชั้นของเครื่ องราชู ปโภคทองคา ซึ่ งยังใช้เป็ นธรรมเนี ยมปฏิ บตั ิใน
การพระราชทานเครื่ องยศแก่เจ้านายในสมัยนี้อีกด้วย
สรุ ป ได้ว่า ลัก ษณะรู ป แบบ ลวดลายและเทคนิ ค ของเครื่ องราชู ป โภคทองค าที่
ปรากฏมีความสัมพันธ์กนั จนกลายเป็ นลักษณะเฉพาะที่เป็ นเอกลักษณ์ พร้อมกับการพัฒนาปรับปรุ ง
ลัก ษณะรู ป แบบโดยรั บอิ ท ธิ พลจากต่ า งชาติ พร้ อมกับ สอดแทรกลวดลายที่ มี ความหมายมงคล
ขณะเดี ยวกันลักษณะโดยรวมยังคงรักษารู ปแบบศิลปะไทยไว้ เป็ นเอกลักษณ์ของเครื่ องราชูปโภค
ทองคาสมัยรัตนโกสิ นทร์ ในการศึกษาครั้งนี้ จึงทาให้สามารถเข้าใจลักษณะรู ปแบบ ลวดลาย และ
เทคนิ คของเครื่ องราชู ปโภคทองคาสมัยรัชกาลที่ 5 ได้อย่างชัดเจนขึ้ น สามารถนาไปต่อยอดใน
การศึ ก ษาเครื่ องราชู ป โภคทองค าสมัย รั ช กาลอื่ น ๆ ที่ จ ัด แสดงในศาลาเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย ยศ
เครื่ องราชอิสริ ยาภรณ์ และเหรี ยญกษาปณ์ ต่อไป
145

รายการอ้างอิง

กรมธนารักษ์. เหรียญกษาปณ์ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ พ.ศ.2325 – 2525. กรุ งเทพฯ: กรมธนารักษ์,
2525.
กรมศิลปากร. เครื่องเงิน เครื่องทอง เครื่องถม เครื่องลงยา และเครื่องถมปัด กรุ งเทพฯ:
กรมศิลปากร, 2537. (พิมพ์เป็ นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายสิ บางยีข่ นั
ณ เมรุ วดั น้อยนางหงส์ วันที่ 21 เมษายน 2533).
. ช่ างศิลป์ ไทย. กรุ งเทพฯ: อมริ นทร์พริ้ นติ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง, 2537.
. ประณีตศิลป์ ไทย. กรุ งเทพฯ: รุ่ งศิลป์ การพิมพ์, 2536.
.ประวัติวดั ราชบพิธสถิตมหาสี มาราม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ: บริ ษทั อมริ นทร์ พริ้ นติ้ง
กรุ๊ พ จากัด, 2531.
. เรื่องเครื่องยศ. กรุ งเทพฯ: กรม 2518. (พิมพ์เป็ นอนุสรณ์ในงานพระราชทาน
เพลิงศพ นายเอก นิยามาคม).
. ศิลปวัตถุกรุ งรัตนโกสิ นทร์ . กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์พิฆเณศ จากัด, 2525. (จัดพิมพ์เป็ น
ที่ระลึกในโอกาสสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี ).
. สมุดภาพจดหมายเหตุพระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว: ยุวราชสกุลวงศ์ . กรุ งเทพฯ: สานักหอจดหมายเหตุ
แห่งชาติ, 2552.
กองวัฒนธรรม กระทรวงศึกษาธิการ. เครื่องเงิน เครื่องทอง. พระนคร:โครงการพัฒนาการศึกษา,
2504.
เขมทัต วิศวโยธิน. เครื่องทองและเครื่องเงิน จัดแสดง ณ พระทีน่ ั่งวิมานเมฆ พระราชวัง
ดุสิต พุทธศักราช 2526. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์อกั ษรสัมพันธ์, 2526.
คาให้ การชาวกรุ งเก่ า. กรุ งเทพฯ: ไทย, 2457. (พระยาเจริ ญราชธน (มิน้ เลาหเสรษฐี) พิมพ์แจกใน
งานศพอิ่ม จ.จ. ผูม้ ารดา).
คาให้ การชาวกรุ งเก่ า คาให้ การขุนหลวงหาวัดและพระราชพงศาวดารกรุ งเก่า ฉบับ
หลวงประเสริฐอักษรนิต์ิ. พระนคร: คลังวิทยา, 2510.
146

โครงการสื บสานมรดกวัฒนธรรมไทย. มรดกช่ างศิลป์ ไทย. กรุ งเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา,


2542.
จมื่นอมรดรุ ณารักษ์ (แจ่ม สุ นทรเวช). พระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้ าอยู่หัว
เล่ม 11 เรื่องพระราชประเพณี (ตอน3). พระนคร: องค์การค้าของคุรุสภา, 2514.
จิราภรณ์ อรัณยะนาค และคนอื่นๆ, ผูเ้ รี ยบเรี ยง. เครื่องทองกรุ วดั ราชบูรณะ ศิลปะของแผ่นดิน
กรุ งเทพฯ: สานักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2550.
ซีมอง เดอ, ลาลูแบร์ . จดหมายเหตุลาลูแบร์ แปลจาก A new historical relation of the Kingdom of
Siam by Monsieur de la Loubere, แปลโดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิป
ประพันธพงศ์. พระนคร: คุรุสภา, 2505.
ณัฏฐภัทร จันทวิช. เครื่ องถ้วยจักรี . บ้ านและสวน 12,140 (เมษายน 2531): 169.
ณัฏฐภัทร นาวิกชีวนิ . พระราชพิธีโสกันต์ . กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, 2518.
ตาราแบบธรรมเนียมในราชสานักครังงกรุ งศรีอยุธยากับพระวิจารณ์ของสมเด็จกรมพระยาดารง
ราชานุภาพ. พระนคร: กรมศิลปากร, 2493. (พิมพ์พระราชทานในงานพระศพ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไล พ.ศ. 2493).
นิตย์รดี เรี ยบร้อยเจริ ญ, ผูร้ วบรวมและเรี ยบเรี ยง. ทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดินความงามอันทรงคุณค่ า
กรุ งเทพฯ: อมริ นทร์ พริ้ นติ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง, 2554.
เทวาธิราช ป. มาลากุล. เรื่องราชู ปโภคและพระราชฐาน. พระนคร: กองวัฒนธรรม, 2504.
ธงทอง จันทรางศุ. ของสวยของดี ครังงแผ่นดินพระพุทธเจ้ าหลวง. กรุ งเทพฯ: เอส.ซี.
พริ้ นท์แอนด์แพค, 2553.
ธัชชัย ยอดพิชยั . ลวดลายปูนปังน สั ญลักษณ์แห่ งสิ ริมงคลทีว่ ดั แจงร้ อน ธนบุรี. กรุ งเทพฯ:
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545.
ธิติมา อังกุรวัชรพันธุ์. “ภาพสั ญลักษณ์มงคล ฮก ลก ซิ่ว: คติความเชื่อแบบจีนในงานศิลปกรรม
สมัยรัชกาลที่ 3.” สารนิพนธ์ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2549.
บุญเตือน ศรี วรพจน์ และประภัสสร โพธิ์ ศรี ทอง. เครื่องทองรัตนโกสิ นทร์ . กรุ งเทพฯ: โครงการ
สื บสานมรดกวัฒนธรรมไทย, 2542.
ประชุ มพงศาวดารภาคที่ 18 เรื่องทูตานุทูตของสมเด็จพระนารายณ์ออกไปกรุ งฝรั่งเศสครังงสุ ดท้าย.
พระนคร: คุรุสภา, 2507.
ประวัติวดั เทพศิรินทราวาส. กรุ งเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย, 2542.
147

พรพรรณ จันทโรนานนท์. ฮก ลก ซิ่ว โชค ลาภ อายุยนื . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์มติชน,
2537.
พระราชพงศาวดารกรุ งศรีอยุธยา ฉบับหมอบรัดเล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ: โฆษิต, 2549.
พัสวีสิริ เปรมกุลนันท์, “งานประณี ตศิลป์ ประเภทเครื่ องโลหะ” เอกสารคาสอนรายวิชา 310 336
ช่างไทย ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2554.
พิพฒั น์ พงศ์รพีพร. สมุดภาพรัชกาลที่ 4. กรุ งเทพฯ: ไพศาลการพิมพ์, 2547.
ยิม้ ปัณฑยางกูร และคนอื่น, ผูร้ วบรวม. ประชุ มหมายรับสั่ ง ภาคที่ 2 สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์
กรุ งเทพฯ: คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์
สานักนายกรัฐมนตรี , 2525.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุ งเทพฯ:
2546.
วัฒนะ จูฑะวิภาต. รายงานการวิจัยเรื่องศิลปหัตถกรรมทองลายโบราณของช่ างทองสุ โขทัย
กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2548.
วิทย์ พิณคัณเงิน. “เครื่ องถมเครื่ องลงยาของไทย,” ใน ศิลปกรรมและการช่ างของไทยและ
โบราณสถานบางแห่ งของไทย. กรุ งเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2503.
วินยั พงศ์ศรี เพียร, บรรณาธิการ. กฏมณเทียรบาล ฉบับเฉลิมพระเกียรติ. กรุ งเทพฯ: สานักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจยั , 2548.
“ศิลปกรรมไทยในสมัยรัชกาลที่ 5, ” สารกรมศิลปากร 11, 3 (มีนาคม 2541): 7.
ส่ งศรี ประพัฒน์ทอง, บรรณาธิการ. ประณีตศิลป์ ไทย. กรุ งเทพฯ: กองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
กรมศิลปากร, 2536. (จัดพิมพ์เนื่องมหามงคลเฉลิมพระเกียรติ 100 ปี
วันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั 8 พ.ย. 2536).
สมภพ จันทรประภา. สมเด็จพระศรีสวรินทิราฯ. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์เรื อนแก้วการพิมพ์, 2543.
สมหมาย เทียบเทียม, บรรณาธิการ. ช่ างศิลป์ ไทย : การอนุรักษ์ เผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมของ
กรมศิลปากร. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร, 2537.
สุ เนตร ชุตินธรานนท์. เครื่องทองกรุ งศรีอยุธยา อมตะศิลป์ แผ่นดินสยาม, พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุ งเทพฯ:
แปลน โมทิฟ, 2546.
เสนอ นิลเดชและคณะ. เครื่องถม จัดแสดง ณ พระทีน่ ั่งวิมานเมฆ พระราชวังดุสิต
พุทธศักราช 2525. กรุ งเทพฯ: อักษรสัมพันธ์, 2526.
เสนอ ศุกรเกยูร. พนักงานพิเศษ ฝ่ ายราชูปโภค สานักพระราชวัง. สัมภาษณ์,
30 กรกฎาคม 2556.
148

สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี . เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย. กรุ งเทพฯ: บริ ษทั ด่านสุ ทธาการพิมพ์


จากัด, 2536.
สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี . เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ฉบับสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
กรุ งเทพฯ: สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี , 2523.
หม่อมราชวงศ์ศุภวัฒย์ เกษมศรี , บรรณาธิการ. ประชุ มหมายรับสั่ ง ภาค 4 ตอนที่ 2
สมัยกรุ งรัตนโกสิ นทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้ าอยู่หัว จ.ศ.1203 -1205
กรุ งเทพฯ: คณะกรรมการชาระประวัติศาสตร์ไทย (จัดพิมพ์เอกสารทาง
ประวัติศาสตร์และโบราณคดี สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี , 2537).
หม่อมราชวงศ์สุริยวุฒิ สุ ขสวัสดิ์. เครื่องราชอิสริยยศ พระบรมราชวงศ์ กรุ งรัตนโกสิ นทร์ .
กรุ งเทพฯ: บริ ษทั รี เจนซี่บรั่นดีไทย จากัด, 2539.
หม่อมราชวงศ์แสงสู รย์ ลดาวัลย์. “เครื่ องยศบาเหน็จความชอบในราชการแผ่นดิน,” ใน
ศรุ ตานุสรณ์ , 110- 254. กรุ งเทพฯ: อมริ นทร์การพิมพ์, 2526. (พิมพ์พระราชทานในงาน
พระราชทานเพลิงศพเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5 24 ธันวาคม 2526).
อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช. “อิทธิพลศิลปะจีนในงานจิตรกรรมแบบนอกอย่างสมัยรัชกาลที่ 3.”
วิทยานิพนธ์ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.
อภิชาต สารมาศ. “การศึกษาวิเคราะห์ เครื่องราชู ปโภคและเครื่องประกอบพระอิสริยยศ ประเภท
การถมลงยาในสมัยรัตนโกสิ นทร์ รัชกาที่ 1 –5.” ปริ ญญานิพนธ์ปริ ญญา
การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรี นคริ นทรวิโรฒ, 2549.
149

ประวัติผ้วู จิ ัย

ชื่อ – สกุล นายสมศักดิ์ ฤทธิ์ ภกั ดี


ที่อยู่ 125/91 หมู่บา้ นสิ ริจนั ทร์ ซอยประชาอุทิศ 69 ถนนประชาอุทิศ
แขวง/เขต ทุ่งครุ กรุ งเทพฯ
ที่ทางาน สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ในพระบรมมหาราชวัง
กรมธนารักษ์
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2542 สาเร็ จการศึกษาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร
พ.ศ. 2554 ศึกษาต่อระดับปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ
ประวัติการทางาน
พ.ศ. 2542 – 2543 มัคคุเทศก์อิสระ
พ.ศ. 2543 – 2548 ลูกจ้างชัว่ คราว ตาแหน่งนักวิชาการวัฒนธรรม
อุทยานประวัติศาสตร์ศรี เทพ กรมศิลปากร
อาเภอศรี เทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
พ.ศ. 2548 – 2553 พนักงานราชการ ตาแหน่งผูช้ ่วยนักโบราณคดี
อุทยานประวัติศาสตร์ศรี เทพ กรมศิลปากร
อาเภอศรี เทพ จังหวัดเพชรบูรณ์
พ.ศ. 2553 ภัณฑารักษ์ปฏิบตั ิการ ส่ วนเก็บรักษาและอนุรักษ์ทรัพย์สิน
สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ในพระบรมมหาราชวัง
พ.ศ. 2553 – ปัจจุบนั ภัณฑารักษ์ปฏิบตั ิการ ส่ วนจัดแสดงทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน
สานักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ในพระบรมมหาราชวัง

You might also like