You are on page 1of 52

1

คุณสมบัติ•ชิง กล

และ การทดสอบ

จุดประสงค์การเรียนรู้

1) อธิบายคุณสมบัติทางกลของวัสดุ

2) เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างผลึกกับสมบัติทางกลการแปรรูปแบบ

ยืดหยุ่น และการแปรรูปแบบถาวรของวัสดุ (Elastic deformation,

Plastic deformation)

3) สามารถคํานวณค่าความเค้น ความเครียด ได้

4) อธิบายหลักการทดสอบสมบัติทางกล เช่น แรงดึง การทดสอบความแข็ง

หัวเรื่อง แรง

2. แรงกด

<5N 3. แรงเนียน

1. สมบัติทางกล คืออะไร

• ความเค้น, ความเครียด

2. ความต้านทานแรงดึง (Tensile Strength)

• Elastic deformation, Plastic deformation, Ultimate Tensile

Strength, Yield strength ฯลฯ

3. ความเหนียว (Ductility)

4. ความต้านทานต่อแรงกระแทก (Toughness)

5. ความแข็ง (Hardness)

1. สมบัติทางกล (Mechanical Properties)

• สมบัติทางกลของวัสดุ คือ สมบัติของวัสดุในการตอบสนองต่อแรงทางกลที่มา

กระทํา กล่าวคือ เมื่อมีภาระแรง (Force) มากระทําวัสดุ จะเกิดแรงต้านภายใน

เนื้อของวัสดุ ถ้าหากวัสดุไม่สามารถต้านทานแรงที่มากระทําได้ ก็จะเกิดการเสีย

รูป แตกร้าว หรือ แตกหักได้

• ดังนั้น ค่าที่บ่งบอกถึงความสามารถในการต้านทานแรงที่มากระทํานี้ จะเรียกว่า

‘ความแข็งแรงของวัสดุ (Strength of Materials)’

4

พื้น

ความเค้นและความเครียด (Stress & Strain)


ความเค้น (Stress, ซิก
σ)ฆ่า

หมายถึงแรงต้านทานภายในเนื้อวัสดุที่พยายามต้านทาน

แรงภายนอกที่มากระทํา เพื่อไม่ให้วัสดุเกิดการเปลี่ยนรูปไปจากเดิม

F คือ ค่าของแรงกระทําภายนอก (N) จำ พื้นที่ ของ หน้า ตัด

A คือ พื้นที่หน้าตัด (m2) พื้นที่ เหลี่ยม วงกลม

×ย การ2

ดัง ซืยนstress, τ:

Tensile stress, σ: กด
Compressive stress, σ: _6
Shear

$% $( *+

σ! # σ' # τ)) #

&% &( &+

ความเค้นทางวิศวกรรม (Engineering Stress)

ความเครียด (Strain) คือการเปลี่ยนรูปร่างหรือการเสียรูป (Deformation) ของวัสดุ

กล่าวคือเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของรูปร่างและขนาด ที่เกิดขึ้นกับเนื้อวัสดุภายใต้แรงกระทํา

• ความเครียดแบบยืดหยุ่น (Elastic Strain)

• ความเครียดถาวร (Plastic Strain) ไม่มีหน่วย

สอ ตน

การยืดตัว

หา

ความเครียดทางวิศวกรรม (Engineering Strain)

ไม่มี หน่วย

อัตราส่วนของปัวซอง ( Poisson’s Ratio)

10

ความแข็ง

Hardness

แรง ถึง ความเหนียว

Tensile Mechanical

Ductility
Strength properties

Impact
แรงบิด

กด
Resistance

แรงต้าน 11

ชนิด_

2. การทดสอบแรงดึง (Tensile Test) โลหะ

โลหะ เซรามิก
_ โพลึ6มอร์

เซรามิก

อัสรี สา แม
compasite

โลหะ เซรามิก

12

สมบัติ แรง ดึง

ดัน

๔ ก point
โลหะ เหนี่ยว

yield ×
=> fracture
ญู้ญั๋น
e

6=÷

แกะ
รื้
พื้นที่ใต้กระบ

DI etl E = Young s madu โ05 =6_ บอกความเหนี่ยว

Lo l
E

an เกรง Ducitrity

trrntrtt Plastic gg เครียด


elastic

ไม่สามารถกลับ สภาพ
สามารถกลับได้

พื้นที่ ใต้ บอก ความเหนียว

66รวง

13

พฤติกรรมของวัสดุภายใต้แรงทางกล

จากการทดสอบ Tensile test เราสามารถ Plot กราฟระหว่าง stress-strain

ดังแสดงในรูป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสามารถแบ่งได้เป็น 2 ช่วงคือ

1. Elastic deformation (การเปลี่ยนรูปแบบยืดหยุ่น(ชั่วคราว))

2. Plastic deformation (การเปลี่ยนรูปแบบถาวร)

14

1. การเปลี่ยนรูปแบบยืดหยุ่นหรือชั่วคราว (Elastic Deformation)

เป็นช่วงที่กราฟเป็นเส้นตรง จะได้ความสัมพันธ์ระหว่าง stress-strain ตาม

กฎของ Hook’s law : σ= Eε

E= slope of curve = σ/ε เรียกว่า “Young’s modulus” หรือ

“Elastic modulus” หรือ “Modulus of Elasticity”

• E มีค่าคงที่ในช่วง elastic deformation เท่านั้น

• Modulus of elasticity (E) มีหน่วยเป็น psi หรือ Mpa

• E บ่งชี้ค่าความแข็งตึง (Stiffness) ของวัสดุ คือความสามารถในการ

ต้านทานต่อการผิดรูปไป

• ค่า E ยิ่งมาก stiffness ยิ่งมีค่ามาก

• โดยทั่วไป ค่า E ของ โลหะ จะมีค่าน้อยกว่า Ceramic และมากกว่า

Polymer

15

Elastic deformation

(การเปลี่ยนรูปแบบยืดหยุ่น)

เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ ผั น ก ลั บ ไ ด้

(Reversible) กล่าวคือ

(1) เมื่อชิ้นงานได้รับแรงดึง จะทําให้

ระยะระหว่างอะตอมเพิ่มขึ้น

(2) แต่ถ้าแรงดึงดังกล่าวน้อยกว่าแรง

หรือพันธะระหว่างอะตอม ถ้าเราปลด

แรงออก อะตอมจะกลับสู่ภาวะสมดุล

ทําให้ชิ้นงานกลับมีขนาดและรูปร่า ง

เหมือนเดิม

16

กลไกการเปลี่ยนรูปชั่วคราว (Elastic Deformation)

1. เริ่มต้น อะตอมจะเรียงตัว 3. เมื่อปล่อยแรงที่กระทํา

ในลักษณะปกติ พันธะระหว่างอะตอมที่ยึดกันจะ

2. เมื่อได้รับแรงกระทํา หดกลับสู่สภาพเดิม วัสดุจึงคืนสู่

พันธะระหว่างอะตอมยืด รูปร่างเดิม

ออก ทําให้วัสดุมีการยืดตัว

17

Anelasticity

• สมมุติว่า เมื่อมีแรงมากระท า เกิด stress และ strain และเมื่อปลดภาระ

ออก strain จะกลับสู่ศูนย์ทันที (เป็นการเปลี่ยนรูปที่ไม่ขึ้นอยู่กับเวลา)

• Anelasticity คือปรากฏการณ์ของการเปลี่ยนรูปแบบยืดหยุ่นซึ่งขึ้นอยู่กับ

เวลา คือ

! เมื่อมี stress เกิดขึ้นกับวัสดุ strain ก็จะยังคงอยู่ แต่เมื่อปลดแรงออก

วัสดุจะต้องอาศัยระยะเวลาสักพักเพื่อให้ strain ลดลงกลับสู่ค่าศูนย์

! เกิดขึ้นกับวัสดุวิศวกรรมส่วนใหญ่

18

Exercise 1

นักศึกษาทําการทดลองดึงแท่งอะลูมิเนียมทรงกระบอกที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 60 mm ยาว

1000 mm โดยการห้อยน้ําหนัก 1500 kg ในแนวดิ่งที่ปลายชิ้นงาน ปรากฏว่าชิ้นงานยืด

ออก 12 mm และเมื่อปลดน้ําหนักออก ความยาวชิ้นงานกลับสู่ค่าความยาวเริ่มต้น

กําหนดให้ g = 9.81 m/s2

จงคํานวณ

1) หา Stress และ Strain ของอะลูมิเนียมที่น้ําหนัก 1,500 kg (หน่วย N/mm2)

2) หา The Young’s Modulus ของอะลูมิเนียม

19

Exercise I

1. • =
EA E =
อ้
3
😐?
=

เอเอ

= 1500×9.81
| 0.012
e ยาย =

OTC3 อ × เอั 3 2

6
= 5.2× เอ Pa

= 5.2 MPa

E =
433.33× cอํ่Pa
ยู้
2. = EZXCOGT =

0.012

= 433.33 MPa

20

= =37. ค 5h N
หั้

ฐ >
โ กแ ×.

03 MPa

I. 0 = = 25.3× เ =322.13
_ 2
TC 5× c อั3g

2. 37.95× 03

6

=
=483.1๑ Mpa
7J
5× เอั
3 2

3 E 63.5 50
=
E ×. อ = ×100 E 27
Lo อาบ
5
2. การเปลี่ยนรูปแบบถาวร (Plastic Deformation)

• เมื่อชิ้นงานได้รับแรงดึงที่สูงขึ้น และเกิดการเปลี่ยนรูปแบบยืดหยุ่นจนถึง
จุดสิ้นสุดช่วงยืดหยุ่น แรงดึงจะสามารถเอาชนะแรงระหว่างอะตอม ทํา
ให้ ชิ้ น งานเกิ ด การเปลี่ ย นรู ป แบบถาวร ส่ ง ผลให้ ข นาดและรู ป ร่ า ง
เปลี่ยนไป
• เมื่อวัสดุ เกิดการเปลี่ยนรูปแบบถาวร ความสัมพันธ์ระหว่าง Stress-
Strain จะไม่เป็นเส้นตรง

21
กลไกการเกิดการเปลี่ยนรูปแบบถาวร
• เมื่อผลึกได้รับแรงดึง (Tensile force, P) จะทําให้เกิดมีแรงเฉือน (shear
forces, PS) ขึ้นภายในผลึก
• ระนาบอะตอมที่ขนานกับทิศทางของ PS และทํามุม φ 45 ° กับแรง P จะ
เกิดการเลื่อนไหล (slip) เนื่องจากแรงเฉือน

22
กลไกการเปลี่ยนรูปถาวร (Plastic Deformation)

1. เริ่มต้น อะตอมจะเรียงตัว
ในลักษณะปกติ
3. เมื่อปล่อยแรงที่กระทํา พันธะ
2. เมื่อได้รับแรงกระทํา พันธะ ของอะตอมที่ยึดติดกัน จะหดกลับสู่
ระหว่างอะตอมยืดออกและ สภาพเดิม
เฉือนอะตอมให้เคลื่อนที่ทั้ง ส่วนที่เคลื่อนที่ทั้งแถบไม่กลับที่
แถบ ทําให้วัสดุมีการยืดตัว เดิม ทําให้วัสดุไม่คืนสู่ร่างเดิม
23
สมบัติเกี่ยวกับการต้านแรงดึง (Tensile Properties)

• ความเค้นจุดคราก (Yield Strength)


• ขีดจํากัดการแปรผันตรง (Proportional Limit)
• ความต้านแรงดึงสูงสุด (Ultimate Tensile Strength)
• จุดแตกหัก (Fracture point)

24
ความเค้นจุดคราก (Yield Strength)
• Stress at which noticeable plastic deformation has occurred.

when εp = 0.002

25
หลังจากจุด Yield แล้ว แรงที่ใช้จะยังคงสูงขึ้นเรือ่ ยๆ เนื่องจากเกิดการ Interaction
กันระหว่าง Dislocations ซึ่งอาจเกิดการหักล้างกัน หรือขัดขวางการไหลซึ่งกันและ
กัน ทําให้ต้องใช้แรงมากขึ้น ในการที่จะทําให้ชิ้นงานมีความยาวเพิ่มขึ้น
26
ความต้านแรงดึง (Tensile Strength)
• Maximum possible engineering stress in tension.

การเสียรูปของวัสดุเหนียวเป็นลักษณะคอคอด

27
ลักษณะการเปลี,ยนรูปของวัสดุ ในกรณีเกิดคอคอด

28
ในกรณีที่ไม่มีจุด Yield point ที่ชัดเจน จะใช้ 0.2% yield stress

0.2% yield stress

ลากเส้นตรงที่ 0.2% strain


ขนานกับกราฟช่วงยืดหยุ่น

29
3. ความเหนียว (Ductility)

• สามารถระบุด้วยปริมาณ “Percent Elongation (%EL)


หรือ Percent Reduction in Area (%AR)
• ถ้า %EL > 5% จะจัดเป็นวัสดุเหนียว

30
• Percent elongation at fracture, %ELเป็นค่าความสามารถในการ
ยืดได้ของวัสดุภายใต้แรงดึง คํานวณได้จาก
/0 1/2
• %-. # 3 100
/2
• Percent reduction in area at fracture, %RA เป็นการวัดค่าความ
เหนียวของวัสดุอีกวิธีหนึ่ง รวมทั้งสามารถชี้ถึงคุณภาพของวัสดุนั้นๆ
ด้วย กล่าวคือ ถ้าชิ้นงานมีจุดบกพร่องเช่น รูโพรง, สิ่งปลอมปน จะทํา
ให้ค่า %RA น้อยลง
72 170
• %6& # 3 100
72

31
ความเหนียว (Ductility)

• Brittle Materials (วัสดุเปราะ) คือวัสดุ


ที่ไม่มีการเปลี่ยนรูปหรือมีการเปลี่ยนรูป
อย่างถาวรน้อย
• Ductile Materials (วัสดุเหนียว) คือ
วัสดุที่มักเกิดการเปลี่ยนรูปอย่างถาวร
• ที่ค่า stress เท่ากัน วัสดุที่เหนียวจะมีค่า
strain สูงกว่า (กราฟชันน้อยกว่า) >>
ยืดตัวได้มากกว่า

32
วัสดุเหนียวกับวัสดุเปราะ

รอยแตกแบบเปราะ

รอยแตกแบบเหนียว
เป็น Cup and
Cone

33
จงใช้ข้อมูลจากกราฟตอบคําถามต่อไปนี้
• วัสดุที่มีความเหนียวที่สุด คือ____
c
• วัสดุที่มีความเปราะที่สุดคือ___
B
• วัสดุที่มีความความแข็งแรงที่สุด คือ___
A
• วัสดุที่มีค่าโมดูลัสสูงสุด คือ____
A
• วัสดุที่มีค่าโมดูลัสต่ําสุด คือ____
D

34
4. ความแกร่ง (Toughness)

• Toughness คือ ความแกร่ง หรือความต้านทานต่อการแตกหักของวัสดุเมื่อมีแรง


มากระทําอย่างเฉียบพลัน (หรือ แรงกระแทก) ณ ที่อุณหภูมิหนึ่ง
• สามารถวัดได้จาก พลังงาน ที่ชิ้นงานสามารถดูดซับไว้ได้ในระหว่างที่ถูกแรง
กระทํา
• ค่า Toughness จะขึ้นกับอุณหภูมิ โดยเฉพาะ เหล็ก จะมีช่วงของการเปลี่ยน
จาก brittle ไปเป็น ductile ชัดเจน

35
การทดสอบ Toughness (การทดสอบความต้านทานต่อการแตกหัก)
การวัด toughness ทําได้โดยการทดสอบ Impact test (การทดสอบ
ด้วยแรงกระแทก) โดยมีขั้นตอนดังนี้
• ชิ้นงานจะเป็นแท่งหน้าตัดจัตุรัส และมีบากรูปตัว V อยู่ตรงกลาง
มีอยู่ 2 แบบ คือ Charpy impact test และ iZod impact test

36
ผิวหน้ารอยแตกของชิ้นงาน (Fracture surface of specimens)
• ผิวหักของชิ้นงานที่หักแบบเปราะ จะสว่าง และแวววาว (แสงสะท้อนได้ดี)
• ผิวหักของชิ้นงานที่หักแบบเหนียว จะมีสีเข้ม ไม่แวววาว (มีความลึกมากกว่า
แสงสะท้อนไม่ดี)
เปราะ เหนียว

37
5. ความแข็ง (Hardness)
• ความแข็ง คือ ความต้ านทานต่อแรงกด การขัดสีและแรงกลของวัสดุ ไม่มีหน่วย
• การทดสอบความแข็งแบบหัวกด ในเชิงโลหะวิทยาจะเป็ นการทดสอบความ
ต้ านทานต่อการแปรรู ปถาวร เมืGอถูกแรงกดจากหัวกดกระทําลงบนชินI งาน
ทดสอบ

38
Hardness Testing Techniques

39
การวัดความแข็งแบบร็อคเวลล์
ใช้ในอู มา หก ร รม
(Rockwell Hardness Test: HR)
MR บอก เชน ส6กล
• เป็นวิธีวัดความแข็งของโลหะที่นิยมใช้มากที่สุด ไม่มีหน่วย

• โดยจะวัดความแข็งจากความลึกของรอยกดที่ถูกหัวกดกดด้วยแรงคงที่ ซึ่งจะ
แตกต่างจากแบบ Brinell และ Vickers ที่วัดจากแรงกดต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่
• วิ ธี นี้ จึ ง มี ก ารวั ด ด้ ว ยกั น หลายสเกล เพื่ อ ให้ ส ามารถเลื อ กใช้ วั ด ความแข็ ง ได้
เหมาะสมที่สุด

40
ตัวอย่างการทดสอบโดยใช้หัวกดเพชร, HRC
2 หัว กับ หัว บอล

มุม 120o

3💔 KF เอ hf

41
หน่วยเป็น HRx เมื่อ x Rockwell
แทนด้วย A C D B F G
Rockwell Hardness Scales

42
Superficial Rockwell Hardness Scales

43
การทดสอบความแข็งแบบร็อคเวลล์ มีข้อพิจารณาดังนี้
1. ก่อนทดสอบชิ้นงาน จะต้องตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องทดสอบ หรือเทียบค่า
มาตรฐานจากแผ่นความแข็งมาตรฐาน (test block) ทุกครั้ง
2. การทดสอบความแข็งแบบธรรมดา ระยะห่างระหว่างรอยกดแต่ละจุดและระยะห่าง
จากขอบชิ้นงานควรมีระยะอย่างน้อย 3 mm
3. ผิวชิ้นงานต้องเรียบสะอาดและขนานกัน
4. ชิ้นงานทดสอบควรมีความหนาอย่างน้อย 10 เท่าของรอยกด
5. ควรกระทําการทดสอบความแข็งชิ้นงานอย่างน้อย 3 ครั้งต่อ 1 ชิ้น

44
การวัดความแข็งแบบบริเนลล์
(Brinell Hardness Test: HB หรือ BHN)

89
การวัดขนาดรอยกด BHN =
:;<;1 ;= 1>= ?
เมื่อ P = น้ําหนักที่ใช้กดหัวกด
D = ความโตของหัวกด
d = ความโตของรอยกด
45
การทดสอบความแข็งแบบบริเนล มีข้อพิจารณาดังนี้
1. ชิ้นงานต้องมีความหนาอย่างน้อย 8 เท่าของความลึกรอยกด
2. ระยะห่างระหว่างจุดกึ่งกลางรอยกดแต่ละจุดและระยะห่างจากขอบชิ้นงานควรมีระยะ
อย่างน้อย 4 เท่าของขนาดความโตของรอยกด
3. ผิวชิ้นงานต้องเรียบสะอาดและขนาน
4. ไม่เหมาะกับการวัดงานที่มีความแข็งเกิน 550 BHN
5. หัวกดชนิดลูกบอลเหล็กกล้า ควรใช้กับชิ้นงานที่มีความแข็งไม่เกิน 450 BHN
6. หัวกดชนิดลูกบอลทังสเตนคาร์ไบด์ ควรใช้กับชิ้นงานที่มีความแข็งไม่เกิน 650 BHN

46
ข้อดีของ Brinell hardness
1. ความขรุขระและรอยขีดข่วนมีผลต่อค่าความแข็งที่ได้ค่อนข้างน้อย
2. พื้นที่ทดสอบขนาดใหญ่ ค่าที่ได้เป็นการเฉลี่ยความแข็งของหลายเฟสในบริเวณทดสอบ

ข้อด้อยของ Brinell hardness


1. พื้นที่ทดสอบขนาดใหญ่ ทําลายชิ้นงานมาก
2. เมื่อต้องการเปรียบเทียบผลการทดลองกัน จะต้องรักษามุมของการกดให้เท่ากัน ซึ่งทําได้
ยาก

47
การทดสอบความแข็งแบบวิกเกอร์ ใช้บ่อย สด
(Vicker Hardness Test: HV)

@.BCD9
HV =
;=
เมื่อ P = แรงหรือน้ําหนักกด
D = ค่าเฉลี่ยความยาวของเส้นทแยงมุมรอยกด

48
การทดสอบความแข็งแบบนูพ
(Knoop Hardness Test: HK หรือ KHN)

@D.88E9
HK =
>=
เมื่อ P = แรงที่ใช้กด
d = ความยาวของรอยกดตามแนวยาว

49
Fest • แบบ

ออก สอบ

You might also like