You are on page 1of 17

N E R V O U S S Y S T E M

Brainstem (review)

N E R V O U S S Y S T E M 1
Medulla

เจริญมาจาก Myelencephalon อยูบริเวณขอบลางของ pons และ spinal Cord (ลักษณะภายนอกกรุณาดูรูปในหนังสือ)


ลักษณะภายนอก (External morphology)
ดานหนา
- พบ Pyramid ขนาบอยู 2 ขางของรอง anteromedial sulcus
- พบกอนนูนอยู 2 ขางของ Pyramid เรียก olive ภายในเปนกลุมเซลลประสาท inferior olivary complex
- รองระหวาง Pyramid และ olive พบ cranial nerve root ของ CN XII
- รองดานขางของ olive พบ cranial nerve root ของ CN IX, CN X, CN XI (9,10,11)
ดานหลัง
- พบ Fasciculus gracilis and gracile tubercle
- พบ Fasciculus cuneatus and cuneate tubercle
- พบครึ่งลางของ floor of 4th ventricle ที่แบงโดย stria medullalis ซึ่งภายในมี trigone สําคัญอยู 2 trigone
คือ Hypoglossal and Vagal trigone
- ขอบลางของ 4th ventricle พบกับตรงกลางตรงบริเวณที่เรียกวา Obex สวนหลังคาของ 4th ventricle
จะเปนสมองนอย
ดานขาง
- พบสวนนูนเรียก tuberculum cinereum (ภายในมี spinal V tract and nucleus)
อยูระหวางบริเวณที่รากประสาท CN 9,10,11 โผลออกและ dorsolateral sulcus
ลักษณะภายใน (Internal morphology)
- พบ central gray รูปรางกลมอยูตรงกลาง และพบกลุมเซลลประสาท ascending, descending tract และ
reticular formation ตําแหนงใกลเคียงเดิมแมตัดตางระดับ
- Medulla แบงไดอีก เปนสวนที่ยังไมเปดออกเปน 4th ventricle (Close medulla) และสวนที่เปดออกเปน 4th
ventricle แลว (Open medulla) โดย Open medulla ยังแบงไดอีก 3 สวน คือ สวนปลาย(caudal),
สวนกลาง(midmedulla) และสวนตน(rostral medulla)

การศึกษาสวนประกอบภายในของ medulla โดยการตัดขวางทีร่ ะดับตางๆ


1. Close medulla แบงเปน 2 ระดับ
1.1 Pyramidal decussation
- ระดับนี้เริ่มพบ nucleus gracilis และ cuneatus ขานดยังไมใหญ มี central gray อยูตรงกลาง
- Lissauer tract และ substantis gelatinosa ถูกแทนที่ดวย spinal V tract and nucleus (อยูดานขางตอ
fasciculus cuneatus)
- ดานหนาพบการพาดขามกันของ Pyramidal tract เรียก Pyramidal decussation (motor decussation)**

N E R V O U S S Y S T E M 2
1.2 Sensory decussation
- พบ nucleus gracilis และ cuneatus ขนาดใหญ และ Fasciculus gracilis and cuneatus หายไปใกลจะหมด
เนื่องจากมีการสิ้นสุด tract ที่ nuclues
- หลังจากสิ้นสุดจะใหใยประสาทเปน internal arcuate วนรอบ central gray พาดขามกลาง (ตําแหนงบนตอ
Pyramidal decussation) เรียก Sensory decussation*** (มาจาก Tract ที่รับความรูสึกไง)

2. Open medulla แบงเปน 3 ระดับ


2.1 Caudal medulla
- เริ่มเปดเปน 4th ventricle สวนของ central gray หายไป
- Nucleus gracilis and cuneatus มีขนาดเล็ก ใกลจะหายไป
- Pyramidal tr. และ Inferior olivary complex อยูดานหนา
2.2 Midmedulla
- เปนบริเวณ floor of 4th ventricle
- พบ Hypoglossal + vagal eminence นูนชัด
- Inferior olivary complex แยกเปน 3 กลุม (Principal, medial, dorsal)
- Dorsal motor nu. of N.X , Solitary tract and nucleus เรียงลําดับในตําแหนงเดิม
2.3 Rostral medulla
- ตอกับ pons มี pyramidal และ olive อยูดานหนา
- ดานขางพบ Inferior cerebellar peduncle ขนาดใหญ ซึ่งมีแนวของ Olivocerebellar tract วิ่งเขา
- พบ Dorsal + ventral cochlear nucleus

N E R V O U S S Y S T E M 3
Nucleus and tract ทีค่ วรรูใ น medulla
1. Pyramid ภายในพบ corticospinal tr. (pyramidal tr.) วิ่งผานลงไปเพื่อควบคุมการทํางานของรางกาย สวนมากจะ
พาดขามเปน motor decussation ตอไปเปน lateral corticospinal tr. (80%) และสวนที่ไมพาดขามจะตอไปเปน
anterior corticospinal tr. (20%)
2. inferior olivary nuclear complex ประกอบดวยสวน principal, dorsal และ medial เซลลประสาทมี dendrite สั้น
axon จํานวนมากจะพาดขามแลววิ่งเปน olivocerebellar fiber เพื่อไปเขา inferior cerebellar peduncle ของ
cerebellum มีการเชื่อมโยงจากหลายสวน ดังนี้
- ascending fiber (สวนที่มาสิ้นสุด) มาจาก olivocerebellar fiber, spino-olivary fiber
- descending fiber (สวนที่ออกจาก ION) cerebral cortex, red nu., periaqueductal gray
** ดังนั้น ION จึงถือเปนตัวเชื่อมระหวาง spinal cord กับ cerebellum และ cerebral cortex กับ cerebellum
3. Nucleus gracilis เปนจุดสิ้นสุดของ fasciculus gracilis นําความรูสึก fine touch + propioception ตั้งแต T6
จนถึงขา ไปสูสมอง
4. Nucleus cuneatus เปนจุดสิ้นสุดของ fasciculus cuneatus นําความรูสึก fine touch + propioception ตั้งแต T6
จนถึงขา ไปสูสมอง
5. จากครึ่งบนของลําตัวและแขนไปสูสมอง
6. Spinal V tract and nu. รับความรูสึก pain + temp. (GSA) จากใบหนา หนังศีรษะและบริเวณหู
7. Nucleus ambiguous (SVE) เปนกลุมเซลลประสาทที่มีตําแหนงคลุมเครือ อยูระหวาง Spinal V tract and nu. และ
inferior olivary nuclear complex ประกอบดวยรากประสาทชนิด motor ของ N. 9,10,11 จะใหใยประสาทไปเลี้ยง
soft palate, pharynx และ larynx
8. Solitary tract and nu. อยูดานขางตอ Dorsal motor nu. of N.X ประกอบดวยรากประสาทของ N. 7,9,10รับ
ความรูสึกจากอวัยวะภายใน (GVA) และรับรส (SVA)
9. Medial lemniscus เกิดจาก sensory decussation แลวจะวิ่งขึ้นไปที่ VPL ของ thalamus เพื่อสงตอไปยังsensory
area (312) ของ cortex โดยนํา fine touch + propioception

N E R V O U S S Y S T E M 4
Pons
โครงสรางภายนอก Pons วางอยูหนาตอสมองนอย (cerebellum) ยาวประมาณ 1 นิ้ว
ดานหนา
- มีลักษณะของ Transverse fiber ไปบรรจบกัน 2 ขางเปน middle cerebellar peduncle พบ basilar groove ที่
รองรับ basilar a.
- มี Trigeminal n. โผลแทรกออกมา 1 คู ขางตอ basilar groove
- รองระหวาง pons และ medulla มีเสนประสาทเรียงจากดานในไปนอก คือ abducens, facial และ
vestibulocochlear n. ( nerve 6, 7,8 )****
ดานหลัง
- ปกคลุมดวย Cerebellum ประกอบเปนครึ่งบนของ floor of 4th ventricle
- มีรองกลางตามยาวเรียก Median sulcus รอยนูนขางรองกลางเรียก medial eminence เกือบปลายของรอยนูนนี้มีตุม
นูนกลมอยูคูหนึ่งเรียก facial colliculus ซึ่งเกิดจาก root fiber of facial n. โอบบน abducens nucleus ***
- ดานขางมีรองเล็กกวาเรียก sulcus limitans ซึ่งปลายบนจะมีสีน้ําเงินอมเทาเพราะมีกลุม pigment nevre cell เรียก
substantia ferruginea (locus ceruleus) และ lateral ตอ sulcus ceruleus เรียก vestibular area ลึก
เขาไปจะเปน vestibular nuclei

โครงสรางภายในและ Nucleus and tract ทีค่ วรรู


Pons แบงเปน 2 สวน โดยอาศัย transverse fibers ที่เรียกวา trapezoid body ไดแก สวนหลังเรียก tegmentum สวน
หนาเรียก basal pons
โครงสรางภายในของ Pons ยังแบงไดอีก 2 ระดับ ตามการตัดขวาง ไดแก
1. เมื่อตัดผานระดับ facial colliculus (ระดับลาง)
- พบ medial lemniscus วางอยูสวนหนาของ tegmentum รูปรางคลายหนวดคน**
- Facial nucleus วางอยูหลังตอ lateral part ของ medial lemniscus ให fiber วิ่งขึ้นไปดานใน โอบรอบ abducens
nucleus แลววกมาดานหนาระวาง facial nucleus และ spinal trigeminal nucleus กอนโผลออกดาน lateral ออกไป
เปน root fiber of facial n.
- MLF {medial longitudinal lemniscus}อยูใตตอ 4th ventricle ชิด midline
- Medial vestibular nucleus อยู lateral ตอ abducens nucleus ติดกับ inferior cerebellar peduncle
- Spinal trigeminal tract and nucleus วางอยู anteromedial (หนาและใน) ตอ inferior cerebellar peduncle
- Trapezoid body** เปนกลุมของ fiber (pontocerebellar fiber) จาก cochlear nuclei และ nuclei of trapezoid
body อยูในแนวขวางที่สวนหนาของ tegmentum
- Basal part of Pons (Pons proper) คือระดับลาง ประกอบดวย
1. pontine nuclei
2. corticospinal , corticobulbar และ corticopontine fiber เฉพาะสวน corticopontine fiber ที่สิ้นสุดที่
pontine nuclei
3. Axon จาก pontine nuclei ที่เปน transverse fiber วิ่งไปดานตรงขามและรวมเปน Middle cerebellar
peduncle ที่ไปสิ้นสุดที่ cerebellum *** เปนตัวเชือ่ มระหวางสมองเล็กและสมองใหญ ***

N E R V O U S S Y S T E M 5
Medial lemniscus

Pontine nuclei

2. เมื่อตัดผาน Trigeminal nuclei (ระดับบน)


- Motor nuclei of trigeminal n. วางอยูหนาตอ floor of 4th ventricle ทางดานขาง, medial ตอ sensory fiber
- Principal {chief}sensory nucleus of trigeminal n. วางอยูขางตอ motor nu. of N.5 ปลายลางตอกับ spinal
trigeminal nu. ซึ่ง root fiber จะโผลออกมาทางหนาและขางของ pons ***อยู lateral ตอ motor nu.
- Superior cerebellar peduncle วางอยูหลังและขางตอ motor nu. Of N.5 มี anterior spinocerebellar tr.
มารวมดวย
- Trapezoid body + medial lemniscus วางอยูในตําแหนงเดิม
- Lateral lemniscus วางอยูหลังและขางตอปลายทาง lateral of medial lem. ** เปน tr. ที่มีจุดเริ่มตนจาก
Dorsal + ventral cochlear nuclei และ superior olivary nu.

N E R V O U S S Y S T E M 6
MEDIAL LEM.

N E R V O U S S Y S T E M 7
Midbrain
โครงสรางภายนอก (External Morphology)
Midbrain อยูระหวาง Pons และ Cerebellum ทางดาน caudal, กับสมองสวนหนา (Forebrain) ทางดาน rostral
ดานหนา มีกาน 2 กานอยูเปนขอบ เรียก Curs cerebri (basis pedunculi) ซึ่งโอบรอบแองในแนวกลางที่เรียกวา
Interpeduncular fossa อยู ในแองนี้มี cranial nerve คูที่ 3 (Oculomotor n.)โผลออกมา
ดานหลัง มีกอนนูน 4 กอน เรียก colliculus แบงเปนคูบน คือ superior colluculi และคูลาง คือ inferior colliculi ที่แนวกลาง
ลางตอ inf. colliculi มี cranial n. คูที่ 4 (Trochlear n.) โผลออกมา
โครงสรางภายใน (Internal morphology)
Midbrain แบงเปน 3 สวน คือ tectum, tegmentum และ crus cerebri โดยดูจากภาพตัดขวางของ Midbrain
1. Tectum เปนสวนที่อยูเหนือระดับ cerebral aqueduct โดย tectum ประกอบไปดวย superior and inferior colliculi
2. Tegmentum อยูระหวาง tectum และ crus cerebri เปนที่อยูของ nucleus และทางผานขึ้นลงของ tract ตางๆ ไดแก
oculomotor nucleus, red nucleus, medial lemniscus, substantia nigra เปนตน
3. Crus cerebri เปนฐานของ midbrain ประกอบดวยใยประสาทที่วิ่งลงรวมกันอยูหนาแนน crus cerebri + tegmentum
เรียก cerebral peduncle โดยมีแอง interpeduncular fossa อยูระหวาง cerebral peduncle ทั้งสองขาง

โครงสรางภายใน ของ Midbrain ยังแบงไดอีก 2 ระดับ ตามการตัดสมองตามขวาง คือ


1. เมือ่ ตัดขวาง midbrain ทีร่ ะดับ inferior colliculi
- จะเห็นกอนนูนทางดานหลังคือ inferior colliculi
- รอบ cerebral aqueduct เปนเนื้อเทาชื่อ central/peripheral gray matter
- ใกลแนวกลางหลังตอ MLF มีนิวเคลียสรูปรางรีคือ Trochlear nucleus
- สวนกลางของ tegmentum เปน decussation of superior cerebellar peduncles
- substantia nigra เปนกลุมเซลลประสาทสีเขมเปนแถบอยูหนาสุดของ tegmentum
- หลังตอ substantia nigra มี medial lemniscus วางตัวอยู และดานหลังจะเปน spinal lemniscus ซึ่งอยูติดกัน (มี
spinothalamic tract เปนสวนใหญ)
- หลังตอ Spinal lemniscus คือตําแหนงที่ lateral lemniscus วิง่ เขาสู inferior colliculi ที่อาจารยย้ําเสมอวาเปนรูป
กามปู*****
- หนาตอ substantia nigra คือ crus cerebriโดย 3/5 ตรงกลางเปน pyramidal tract ดานในเปน
cortico/frontopontine tr. ดานนอกเปน cortico/temporopontine tr.

N E R V O U S S Y S T E M 8
central gray matter, periaqueductal gray

INFERIOR COLLIICULUS ที่มี LATERAL


LEM. มาเปดเปนกามปู

2. เมือ่ ตัดขวาง midbrain ทีร่ ะดับ superior colliculi


- เห็นกอนนูนทางดานหลังคือ superior colliculi
- หลังตอ MLF พบ Oculomator nucleus รูปรางคลายลิ่ม ซึ่งอยูติดกับ Edinger-westphal nu.(บนกวา oculomotor
nu. แตจะแยกไมคอยได) ใยประสาทของ 2 nu. นี้จะรวมกันออกมาเปน oculomotor n.
- Red nucleus มีรูปรางกลมขนาดใหญ อยูตรงกลางของ tegmentum มี oculomotor n. วิ่งผานดานหนาเพื่อออกสู
interpeduncular fossa ในตอ crus cerebri
- Medial และ lateral lemniscus อยูดานขางของ red nu. เปนแถบโคงหลังตอ substantia nigra
- crus cerebri อยูในตําแหนงเดิม ประกอบดวยวิถีประสาทเหมือนเดิม

N E R V O U S S Y S T E M 9
Nucleus and tract ทีค่ วรรูใ น Midbrain
1. ในสวน tectum ของ midbrain
- Inferior colliculus เปนกลุมเซลประสาทที่มีหนาที่เกี่ยวกับการไดยิน (audition) โดยมีใยประสาทของ lateral lemniscus
วิ่งเขา เพื่อไปยัง medial geniculate boby ซึ่งจะสงตอไปที่ transverse temporal gyrus ที่ temporal lobe และ
ปฏิกิริยาตอบสนองตอเสียง (auditory reflex) เชน การกลอกตา โดยอาศัย tectobulbar fiber สงกระแสประสาทไปยัง
CN.III, IV, VI และหันศีรษะยังตนกําเนิดเสียง โดยอาศัย tectospinal fiber สงกระแสประสาทไปยังไขสันหลังระดับคอสวนตนๆ
- Superior colliculus ในคนทําหนาที่มีปฏิกิริยาตอบสนองตอแสง (light reflex / visual reflex) และการเคลื่อนไหวของลูก
ตานอกอํานาจจิตใจ ### ไมไดรบั ภาพนะ ###
2. ในสวน tegmentum ของ midbrain
Ascending pathway
- Medial lemniscus ดูใน medulla
- Spinal lemniscus นํา pain temp. touch (สัมผัสหยาบ) ไปสู VP ของ hypothalamus
- Lateral lemniscus นําใยประสาทจาก cochlear nu. ที่ inf. Colliculus
- Sup. cerebellar peduncle พบที่ระดับ inf. Colliculus โคงมาอยูกลาง tegmentum แลวพาดขามแนวกลางเปน
decussation โดยนํา sensory information จาก cerebellum ไปสู red nu. และ thalamus
- MLF เปน fiber ทอดยาวจากไขสันหลังมาถึง midbrain สวนที่อยูใน midbrain คือ vestibulo-ocular fiber ทําหนาที่
conjugate eye movement ตาเคลื่อนไปในทางเดียวกัน
Descending pathway
- Central tegmental tract อยูดานหลังตอ red nu. เปน fiber วิ่งจาก red nu. ลงไปยัง inf.olivary complex เพื่อ
สงขอมูลไปยัง สมองนอย สมองใหญ และสวนอื่นๆ และยังมีใยประสาทที่มาจาก reticular formation ไปยัง
diencephalon ดวย
- Rubrospinal tr. จาก red nu. ทอดขามกลางตัวไปยัง ไขสันหลังและคอสวนบน หนาที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนไหวแบบ
extrapyramidal
กลุม เซลลประสาท
- Red nu. สั่งการใน extrapyramidal ตัดขวางจะเห็นรูปกลม ในเนื้อเยื่อสดเห็นกลมสีชมพูแดง เพราะเลือดมาเลี้ยงมาก ถามี
pathology จะทําใหเกิด tremor และ ataxia ของรางกายซีกตรงขาม
- Reticular formation รวมกลุมไมชัดเจนอยางใน pons
o Ventral tegmental nu. อยูสวนลางของ midbrain ประกอบดวย neuronที่มี DOPAMINE หนาที่เกี่ยวกับ
cognitive การเคลื่อนไหว และ neuroendocrine
o Interpeduncular nu. ติดดอกับ habenular nu. ของ Diencephalons และ tegmental nu. ของ
midbrain
- Central gray matter กระจายอยูโดยรอบ cerebral aqueduct
o Raphe nuclei สราง serotonin ซึ่งมีบทบาทตอความตื่นตัว (arousal) การรับรูความรูสึก (sensory
perception) อารมณ และ cognitive ถาลดลงจะเกิดอาการซึมเศรา depression และนอนไมหลับ insomnia
o Locus ceruleus อยูที่ pons และ midbrain ประกอบดวย neuron ที่มี NE จํานวนมาก มีบทบาทเกี่ยวกับ
anxiety + panic ในผูปวย Alzheimer และ Parkinson dz. มีการลดลงของ neuron ใน locus ceruleus
และ depression เกี่ยวกับการลดลงของ NE

N E R V O U S S Y S T E M 10
- Substantia nigra เปนกลุมเซลลประสาทสั่งการขนาดใหญ ประกอบดวย 2 ชั้น คือ pars reticulate ทางดาน ventral มี
neuron ที่สงใยประสาทไปยัง sup. colliculus และ thalamus สวน pars compacta มี neuron ติดสีเขมสราง
DOPAMINE และใหใยประสาทไปยัง basal gg.
3. Crus cerebri ประกอบดวย descending tr. ของระบบ pyramidal และระบบ corticopontine ซึ่งเชื่อมโยงสมองใหญกับ ant.
Horn cell ของไขสันหลัง เซลลประสาทของเสนประสาทสมองนอยและ pons
- Pyramidal system ประกอบดวย corticospinal (ดานนอก) มีการจัดตัวของใยประสาทไปเลี้ยงคอ แขน ลําตัว และขา
เรียงจากดานในออกสูดานนอกของ crus cerebri สําหรับ corticobulbar tr. (ดานใน)ไปสิ้นสุดที่ motor nuclei ใน
กานสมอง ควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตา ใบหนา ปาก ลิ้น และกลองเสียง
- Corticopontine system ประกอบดวย frontopontine (1/5 ทางดานในของ crus cerebri)และ
temporopontine tr.(1/5 ทางดานนอกที่เหลือ) ระบบนี้เริ่มจาก motor cortexไปสิ้นสุดที่ pontine nuclei แลวจะให
pontocerebellar fiber ทอดขามไปสูสมองนอยตอไป

Blood supply
(ดูรปู ประกอบใน Netter p.132)

Blood supply ของ medulla


1. basilar a.ให1แขนง คือ anterior inferior cerebella a. เลี้ยงบริเวณดานหนาของ medulla สวนบน และcerebellum
สวนลาง
2. vertebral a. ให 3 แขนง คือ
Anterior spinal a. เลี้ยงบริเวณดานหนาของ medulla สวนตน และ spinal cord
Posterior spinal a.เลี้ยงบริเวณดานหลังของ medulla สวนตน และ spinal cord
Posterior inferior cerebellar a. เลี้ยง medulla สวนกลาง บริเวณดานขางและดานหลังรวมทั้งสวนลางของ
cerebellum ดานหลัง
Blood supply ของ pons
มีเสนเดียวคือ Labyrinthine a. (บางเลมใช internal acoustic a.) เปนแขนงเล็กมากๆ ของ basilar a.
Blood supply ของ midbrain
แขนงยอยของ Basilar a. และ posterior cerebral a. (ไมเนนแขนงยอย)

N E R V O U S S Y S T E M 11
Reticular formation
ประกอบดวยเซลลประสาทรูปรางและขนาดตาง ๆ กัน สงแขนงไปยังสวนอื่น ๆ และมีใยประสาทจากสวนอื่นๆ มาสิ้นสุด เห็นแกนกลาง
แตไมเห็น nu. พบตลอดกานสมองตั้งแต Medulla, pons, midbrain และ diencephalon
Reticular formation มีการเชื่อมโยงกับสวนตาง ๆ ของสมองและ spinal cord มีหนาที่สําคัญ คือ

1. ควบคุมระดับความรูสึกและความตื่นตัว (conciousness and degree of alertness) ซึ่งเกี่ยวกับการเกิด sensory


response และวงจรการหลับตื่น
2. ควบคุมการทํางานของ skeleton m. โดยผานทาง reticulospinal + reticulobulbar tr. เกี่ยวกับ muscle tone, reflex
activity และ reciprocal inhibition
3. ควบคุมการทํางานของ Autonomic nervous system
4. ควบคุม Somatic and visceral sensation โดยมีอิทธิพลในการเสริมหรือยับยั้ง ** เปนกุญแจสําคัญใน Gating
mechanism สําหรับควบคุมการรับความรูสึกเจ็บปวด (pain perception)
5. ควบคุม Endocrine nervous system โดยผานทาง hypothalamus ในการหลั่ง releasing-inhibiting factor ควบคุม
การทํางานของตอม hypophysis {pituitary gland}
6. มีอิทธิพลใน biological rhythms โดยวิถีที่รับความรูสึกเขาหรือออกที่จะสงตอไปยัง hypothalamus

• Medullary reticular formation


1. Medial region
- พบ raphe nuclei เซลลประสาทกลุมนี้ติดตอกับ cerebellum และบางสวนติดตอกับ raphe nuclei ใน pons
2. Central region
- Nucleus reticularis ventralis
• ที่ Pons พบที่ dorsal pons หรือ pontine tegmentum
• ที่ Midbrain ไมรวมเปนกลุมชัดเจนอยางใน Pons
1. ตัดขวางที่ระดับ Inferior colliculi พบถัดจากบริเวณทางดานนอกและหลังตอ decussation of superior cerebellar
peduncle ออกมา
2. ตัดขวางที่ระดับ Superior colliculi อยูที่บริเวณดานหลังและนอกตอ red nucleus

N E R V O U S S Y S T E M 12
เสนประสาทสมอง ( C R A N I A L N E R V E )
เปนเสนประสาทที่มีจุดกําเนิดจากบริเวณฐานของสมอง ออกจากสมอง ในปลาและสัตวครึ่งบกครึ่งน้ํามีจํานวน 10 คู สวนในพวก
สัตวเลื้อยคลาน สัตวปกและสัตวเลี้ยงลูกดวยนม มีจํานวน 12 คู สําหรับคนเรามี 12 คู ดังนี้

1. Olfactory nerve
รับความรูสึกดานกลิ่น โดยมีเซลลรับกลิ่นอยูที่เยื่อบุของโพรงจมูกสวนบน เขาสู Olfactory bulb แลวเขาสู olfactory lobe ของสมองสวนซี
รีบรัมอีกทีหนึ่ง
ตำแหนงที่โผล cribriform plate of ethmoid bone
2. Optic nerve
รับความรูสึกเกี่ยวกับการมองเห็น มีเซลลรับภาพอยูที่ retina ของนัยนตา เขาสู optic lobe แลวสงไปยัง occipital lobe ของซีรีบรัมอีกที
หนึ่ง
ตำแหนงที่โผล optic canal
3. Oculomotor nerve
มาจาก Ocolomotor nucleus + Edinger-Westphal nucleus (เซลลประสาทในระบบ Parasym.) ที่ midbrain
ตำแหนงที่โผล ดานหนาของ midbrain บริเวณ interpeduncular fossa สุดทายออกที่ superior orbital fissure
GSE ; ไปเลี้ยงกลามเนื้อภายนอกลูกตาทั้งหมด (extraocula m. 4 มัด) ยกเวน superior oblique m. และ Lateral rectus m.
เพื่อควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตาชนิดใตอํานาจจิตใจ
; เลี้ยงกลามเนื้อที่ทําใหลืมตา (levator palpebrae superioris m.)
GVE ; เลี้ยง Ciliary m. ของ Ciliary body เปนกลามเนื้อปรับเลนสตา และ เลี้ยง Pupillary constrictor m. ทําใหมานตา (iris)
หรี่หรือขยาย
4. Trochlear nerve
มาจาก trochlear nucleus ที่ midbrain
ตำแหนงที่โผล ออกทางดานหลังที่ระดับลางตอ inferior colliculus สุดทายออกที่ superior orbital fissure
GSE ; เลี้ยงกลามเนื้อ superior oblique ของลูกตา ทําใหมีการทําใหลูกตามองลงลางและไป ดานขาง
5. Trigeminal nerve
มีใยประสาทมาจาก nucleus ตางๆ ไดแก chief {principal}sensory nu., spinal V nucleus, mesencephalic nu., motor
nu. แบงออกเปน 3 แขนง คือ ophthalmic (V1), maxillary (V2), mandibular division (V3)
ตําแหนงที่โผล ออกมาทางหนาและขางของ pons สุดทาย
V1 ออกที่ superior orbital fissure
V2 ออกที่ Foramen rotundum
V3 ออกที่ Foramen ovale
GSA ; รับความรูสึกสัมผัส เจ็บปวด รอน เย็น จากบริเวณใบหนา ศีรษะดานหนา ตา ฟน ชองปาก เยื่อหุมสมอง เยื่อบุโพรงจมูก
; รับ propioception จาก Hard palate, ฟน TMJ
; stretch rp. ที่กลามเนื้อเคี้ยว

N E R V O U S S Y S T E M 13
SVE ; เลี้ยงกลามเนื้อเคี้ยว 4 มัด ไดแก mylohyoid, anterior belly of digastric, tensor tympani และ tensor veli
palatine m.
6. Abducens nerve
มาจาก abducens nu. ใน tegmentum ของ pons
ตำแหนงที่โผล รองระหวาง pons และ medulla สุดทายออกที่ superior orbital fissure
GSE ; ไปเลี้ยงกลามเนื้อ lateral rectus ของลูกตา ทําใหมองไปดานขาง
7. Facial nerve
ตำแหนงที่โผล รองระหวาง pons และ medulla สุดทายออกที่ Internal auditory meatus
SVE ; เลี้ยงกลามเนื้อแสดงสีหนา และ stapedius m. ในหู ลดเสียงที่ดังเกินไป (Facial motor nu.)
GVE ; (superior salivatory nu.) เลี้ยงตอมนำลาย lacrimal gland และ palatine gland
; ตอมน้ําลาย submandibular, sublingual gland
GSA ; รับ pain + temperature ที่ผิวหนังที่ รูหูชั้นนอกและหลังใบหู (spinal V nu.)
SVA ; รับรสจากดานหนา 2/3 ของลิน้ (solitary nu.ใน medulla)
8 . A c o u s t i c ห รื อ a u d i t o r y ห รื อ v e s t i b u l o c o c h l e a r n e r v e
ตำแหนงที่โผล รองระหวาง pons และ medulla สุดทายออกที่ Internal auditory meatus
vestibular n. ( มาจาก vestibular nuclei ซึ่งประกอบดวย superior, inferior, medial, lateral nucleus ) ควบคุม
การทรงตัวของรางกาย และการเปลี่ยนตําแหนงของศีรษะ ( ซึ่งเกีย่ วกับ tract ตางๆ ที่ไปสิ้นสุดที่ cranial motor nuclei III, IV, VI และ
anterior horn cell ของ spinal cord )
cochlear n. รับจาก semicircular canal ทําใหไดยินเสียง
9. Glossopharyngeal nerve
ตำแหนงที่โผล ออกทางดานขางของ olive สุดทายออกที่ Jugular foramen รวมกับ CN 10,11
GSA ; รับความรูสึกมาจากหูสวนนอก ครึ่งในเยื่อแกวหู
GVA ; รับความรูสึกจากลิ้นสวนหลังประมาณ 1/3, tonsil, nasopharynx, oropharynx, auditory tube, หูชั้นกลาง, carotid
sinus [baro rp.], carotid body [chemo rp.]
SVA ; รับรสจากดานหลัง 1/3 ของลิ้น
GVE ; มาจาก inferior salivatory nucleus ใหใยประสาทไปกับ lesser petrosal n. สิ้นสุดที่ otic gg. จากนั้นจะให
postganglionic ไปกับ auriculotemporal n. เลี้ยงตอมน้ําลาย Parotid ***อ.เคยเนน
SVE ; มาจาก Nuclues ambiguus เลี้ยงกลามเนื้อ stylopharyngeus
10. Vagus nerve
ตำแหนงที่โผล ออกทางดานขางของ olive สุดทายออกที่ Jugular foramen รวมกับ CN 9,11
GSA ; รับความรูสึกจากใบหูและครึ่งนอกของหูสวนนอก
GVA ; รับความรูสึกของ organ ภายในชองอกและชองทอง ไดแก หัวใจ aortic sinus [baro rp.]
aortic body [chemo rp.] หลอดลม หลอดคอ ปอด หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลําไสเล็ก ถุงน้ําดี เปนตน
SVA ; รับรสจากบริเวณโคนลิ้น และ epiglottis
GVE ; มาจาก dorsal motor nu. of N. X เลี้ยงกลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อหัวใจ และตอมตาง ๆ (ทั้ง 3 จากระบบ Parasym.)
SVE ; มาจากสวนกลางของ Nucleus ambiguus เลี้ยง soft palate, pharynx, larynx

N E R V O U S S Y S T E M 14
11. Accessory nerve
ตำแหนงที่โผล ออกทางดานขางของ olive สุดทายออกที่ Jugular foramen รวมกับ CN 9,10
SVE ; มาจาก caudal part ของ Nucleus ambiguous รวมกับ recurrent laryngeal n. ของ CN 10 ไปเลี้ยง
กลามเนื้อกลองเสียง
GSE ; มาจาก กลุมเซลลประสาทที่ anterior horn ของไขสันหลังระดับ C1-5,6 เลี้ยงกลามเนื้อ trapezius และ
sternocleidomastoid ทําใหศีรษะและไหลมีการเคลื่อนไหว
12. Hypoglossal nerve
มาจาก hypoglossal nu.
ตำแหนงที่โผล ออกระหวาง Pyramid และ Inferior olivary nu. สุดทายออกที่ Hypoglossal canal
GSE ; ไปเลี้ยงกลามเนื้อของลิ้นทุกมัด เวน Palatoglossus m. ชวยใหมีการเคลื่อนไหวของลิ้น

เสนประสาทสมองทัง้ 12 คู แบงออกเปน 3 กลุม คือ


1.กลุม เสนประสาทรับความรูส กึ อยางเดียว เรียกวาเสนประสาทรับความรูสึก(sensory nerve) ประสาทกลุมนี้มีตัวเซลลประสาท
อยูในปมประสาทในสมองไดแก คูที่ 1,2,8
2.กลุม เสนประสาทสัง่ การอยางเดียว โดยสั่งการจากสมองไปยังอวัยวะตอบสนอง เรียกวา เสนประสาทสั่งการหรือนําคําสั่ง (motor
nerve) ประสาทกลุมนี้มีตัวเซลลประสาทอยูที่เปลือกสมองหรือ cerebral cortex ไดแก คูที่ 3,4,6,11,12
3.กลุม เสนประสาททีท่ าํ หนาทีท่ งั้ รับความรูส กึ และสัง่ การ เรียกวาเสนประสาทผสม (mixed nerve) ไดแกคูที่ 5,7,9,10

โดย.. กบ (บิว 11) Blood supply, ตุกติก 25 cranial nerve, นิค 105 ที่เหลือ

N E R V O U S S Y S T E M 15
HISTOLOGY

BBB : Blood brain barrier


Form by 3 structure : 1. choroid plexus
2. intracerebral capillary endothelial
3. arachnoid mater
- Glucose & amino acid cross by carrier-mediated transport mechanism
- Nonpolar/lipid soluble substrate cross more readily than do polar/watersoluble
- L-dopa rather than dopamine,is used to treat Parkinson because dopamine doesn’t cross
the blood-brain barrier
BBB guarded by CIA

Glia
: Ependymal cell, Astrocyte, Schwann cell, Microglia and Oligodeendroglia
- Ependymal cell : Cell บุผนังชองวางในสมอง-ไขสันหลัง
- Astrocyte : ใหญสุด มี End feet ดูดอาหารจาก vv ไปเลี้ยง neuron
- Schwann cell : Each Schwann cell function to myelinate only 1 PNS axon. Schwann cells
promote axonal regeneration.
: - Acoustic neuroma is an example of a schwannoma
Location commonly associated with internal acoustic meatus (CN VII, VIII )
- Microglia : CNS phagocytes,Mesodermal origin .
Not readily discernible in Nissl stains. Have small irregular
nuclei & relatively little cytoplasm. In response to tissue damage,
transform into large ameboid phagocytic cells.
: - HIV-infected microglia fuse to form multinucleated giant cell in the CNS
- Oligodendroglia : Function to myelinate multiple CNS axons.
In Nissl stains, they appear as small nuclei with dark chromatin & cytoplasm. Predominant type of
glia cell in white matter.
: - These are destroyed in multiple sclerosis
ขอบอก....Glia cells ถูกสรางใหมไดเสมอหากเกิด injury
ขออีกทีนะ Astrocyte - physical support, repair, K metabolism
Microglia - phagocytosis
Oligodendroglia - central myelin production
Schwann cells - peripheral myelin production
Ependymal cells - inner lining of ventricles

N E R V O U S S Y S T E M 16
CSF: Cerebrospinal fluid
สรางจาก choroid plexus ใน lateral + third + fourth ventricles, ependymal lining of ventricle, หลอดเลือดใน
pia-arachnoid mater
- ใส ไมมีสี
- เปนแหลงอาหาร& ปองกันการกระทบกระเทือน-พยุง CNS
** Hydrocephalus : ภาวะที่การสราง-ถายเท ไมสมดุล เกิดไดจากหลายสาเหตุ อาจเปน congenital หรือ ตอนโตก็ได
Choroid plexus
: กลุมของ pia mater, หลอดเลือด & ependymal lining of ventricle ที่ยื่นเขาไปใน ventricles ---- สราง CSF
Ventricular system : 1. Lateral ventricle (2)
2. Third ventricle
3. Fourth ventricle
การเชื่อมตอ ของ แตละ ventricle
1-2 : interventricular foramens (2) = foramen of Luschka
2-3 : cerebral aqueduct (1) = foramen of Magendie
การไหลของ CSF เปนไปตามขางตน และ...
จาก Fourth ventricle ไป superior sagittal sinus ผานทาง arachnoid villi ใน cerebral vein (venous sinus)
Nervous repair & regeneration
Response of neuron to injury
PNS : 1. Degenerate of axon + axoplasm + myelin sheath
(ใต lesion จะ degenerate ทั้งหมด)
2. macrophages มาเก็บกินเศษ (แต cytoplasm ของ Schwann cell จะคงอยู)
3. Schwann cell จะเปน basement membrane (เกิดทอ) และจะมี collagen fiber มาหุม
4. axon จะเจริญตามทอนี้
** หากไมมีการงอกของ axon ทอจะหดตัวและหนาขึ้นจากcollagen
CNS จะตางไป(ทั้งนี้ Oligodendroglia ตองกอเปนทอไดดวยนะ)
โดย axon ที่จะงอกใหมจะไมสามารถไปจุดหมายเดิมได อาจมาจาก การปดกั้นของ microglia ที่อาจมาจุกตัวในทอ
เพราะฉะนั้น การ Regenerate ใน CNS จึงยากมาก
*** Cell body ที่ axon ถูกทําลาย จะเกิด Retrograde degeneration โดย cell bodt จะขยายออก, nucleus ไปอยูขอบ
ของ cell -หาก neuron มีชีวิตอยูรอด จะเกิด regeneration ในอาทิตยที่ 3 (3-6 เดือนในการ recover).
Nervous changes associated with stage of life
1. Mitosis เพิ่มจํานวนมากมายในระยะ กอนคลอด หรือ เริ่มแรกของการคลอด แลวหยุดการแบงตัว
2. ชวง 3 ปแรก หลังคลอดจะมีการเจริญ-เพิ่มขนาดของ nerve และ glia cell
3. เมื่ออายุมากขึ้น จะมีการเสื่อม- ตาย ของ nerve cell
- ประมาณ 1/10 ของ nerve cell ทั้งหมดในระยะ 50 ป
- เฉลี่ย 1 แสน เซลล ตอวัน
- ไมกอใหเกิดความผิดปกติ (เซลลที่เหลือชดเชยแทนได)
- Pigment ใน เซลลลดลง
- ดังนั้นในคนแก พบวา นน.ของสมองจะลดลง โพรงสมองใหญขึ้น และ มีหินปูนเกาะเยื่อหุมสมอง

N E R V O U S S Y S T E M 17

You might also like