You are on page 1of 11

Green Building

By: Putt, Maet, Kunsue, Timor, Charlie


อาคารเขียว คืออะไร?
อาคารเขี ยว (Green building) คือ
อาคารที่ได้รบ
ั การออกแบบอย่างพิถีพิถัน สร้าง
และดําเนิ นการ โดยคํานึ งถึง การใช้ทรัพยากร
พลังงาน และสภาพแวดล้อมได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพและชาญฉลาด

ld ing
B ui
en
re
G
ปัจจัยในการลงทุนกับ
อาคารสี เขียว
เพราะการลงทุนที่ได้ผลตอบเเทนสูง อาคารที่
กําลังไดรับการพัฒนาจึงได้ถูกตัง้ เป็นมาตรา
ฐานที่เป็นอาคารสี เขียวเหมือนกันทัง้ หมด

● NPV(มูลค่าปัจจุบันสุทธิ) ของอาคารสี
เขียวนั้ นสูงกว่าอาคารเเบบปกติถึง 50%
ด้วยกัน
● DPP(ผลตอบเเทนระยะยาว)ของอาคารสี
เขียวนั้ นก็ได้มากกว่าอาคารเเบบปกติอยู่
ถึง10%

ความท้าทายของการสร้างรู ปเเบบอาคารสี เขียว


ของระเทษไทยนั้ นมีอยู่2ข้อด้วยกัน

1. ขาดผูท้ ่ม
ี ีความรู เ้ เละความสามารถใน
เรือ
่ งอาคารสี เขียวมาให้คําเเนะนํ า
2. การลงทุนเเละผลกําไรนั้ นยังทําให้ผู้
ประกอบการนั้ นตัดสิ นใจได้ลําบากอยู่
ตัวอย่างของรู ปไอเดียเเบบอาคารที่ได้ผมตอบเเทนจากการทําอาคารสี เขียว
สวนประกอบของตึกเขียว (Green Building)
ถึงแมวามาตรฐานของตึงเขียวนั้นจะมีความหลากหลาย แตโดยรวมแลวถูกออกแบบมาเพื่อให
ใหพลังงานและใชนํ้านอยลง และปรับสภาพแวดลอมในรม รวมถึงสภาพอากาศดวย ตึกเขียว
สวนใหญจะไดรับรองจาก LEED (Leadership in Energy and Environmental Design)

แผงโซลาเซลล สวนบนดาดฟา(Rooftop Gardens)


หลังคาสีเขียวชวยลดพายุฝนฟาคะนองและชวย
บรรเทาผลกระทบจากความรอนในเมือง

ฉนวนกันความรอนที่ดีขึ้น การระบายอากาศที่เพิ่มขึ้น

ประหยัดนํ้ามากขึ้น
ปรับแสงไฟตามแสงธรรมชาติ ระบบประปาที่มีประสิทธิภาพและการนํานํ้า
เสียกลับมาใชซํ้าชวยลดการใชนํ้าไดมากขึ้น
การปรับตัวของอาคาร
ขึ้นอยูกับดวงอาทิตย
การเลือกที่จัดสรรนั้นสงผล การควบคุมแสงไฟโดยใชระบบ Motion Sensing
อยางมากตอการทําความรอนและ
ความเย็นโดยเฉพาะในประเทศที่
ตั้งอยูในเขตรอน
วัสดุกอสราง
วัสดุกอสรางที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมชวยลดการ
G

ปลอยของ VOC (Volatile Organic Compounds)


re
enB

ระบบการกักเก็บและใชประโยชนจาก ระบบ Smart Heating &


uil

นํ้าฝน Cooling
d
ing
อะไรคือ LEED?

1. LEED เเปลว่าอะไร?

Leardership in Energy and Enviromental Design

2. LEED มีเน้ นการทําอะไร?

เน้ นในเรือ
่ งพัฒนาเพื่อความยัง
่ ยืน โดยพัฒนาเพื่อตอบสนอง

ความต้องการปัจจุบันโดยไม่กระทบคนรุ น
่ ต่อไป

3. ที่มาของ LEED

LEED พัฒนาขึ้นโดย United States Green building Concil

เพื่อพัฒนา อาคารสี เขียว ตัง


้ เเต่ปี ค.ส. 1993
หลักการประเมินค่าเเละการรับรองของตึกสี เขียว
1. สถานที่ต้งั เพื่อความยั่งยืน:
- มีการป้องกันการสูญเสี ยหน้ าดินที่ก่อสร้าง
- ป้องกันเศษดินเเละตะกอนไม่ให้ลงเเหล่งนา
- ป้องกันมลภาวะทางอากาศระหว่างก่อสร้าง
2. การใช้นํ้าอย่างมีประสิ ทธิภาพ: -
สามารถลดการใช้นาในอาคารลง 20% ของอาคารทัง ่ ไป
3. พลังงานเเละบรรยากาศ: -
มีการทดสอบการทํางานของระบบพลังงาน -
อาคารมีสมรรถนะขัน ่ ตํ่าด้านการประหยัดพลังงานได้ตามมาตรฐาน
- ไม่ใช้เครือ
่ งมือที่ใช้สาร CFC
4. วัสดุเเละการก่อสร้าง:
- ต้องออกให้มีห้องเก็ววัสดุเหลือทิ้ง เพื่อนํ าไปรีไซเคิล
5. คุณภาพสภาพเเวดล้อมในอาคาร:
- คุณภาพขัน ้ ตํ่าของอากาศในอาคาร
- การควบคุมควันบุหรี่
6. นวัตกรรมในการออกเเบบ:
- การออกเเบบที่มีผลดีเชิงสิ่ งเเวดล้อม ld ing
B ui
- LEED AP 1 คนในงาน
en
re
G
ตัวอย่างตึกสี เขี ยวในประเทศไทย
1) อาคารปาร์คเวนเจอร์ อีโคพลัส Park Ventures

- เป็นอาคารระดับชัน ้ นํ าตัง
้ อยู่บนถนนวิทยุ ศูนย์กลางธุ รกิจของ
กรุ งเทพมหานคร
- สร้างเสร็จเมื่อปี 2012 เป็นอาคารสํ านั กงานระดับชัน ้ นํ าทัง
้ หมด 34
ชัน
้ 27,000 ตารางเมตร
- ถูกออกแบบโดยสถาปนิ กที่มีชอ ื่ เสี ยง Palmer & Tuners
- เป็นอาคารเชิงพาณิ ชย์อาคารแรกในประเทศไทยที่ได้รบ ั การรับรอง
จาก LEED Platinum (Leadership in Energy and Environmental
Design)
- ถูกออกแบบให้ลดการใช้ไฟฟ้าและนาประปา รวมถึงเพิ่มพื้นที่สี
เขียวในกรุ งเทพมหานคร
G
re
enB
uil
d
ing
2) อาคารเอสซีจี 100 ปี SCG 100 years

- เป็นอาคารที่ออกแบบและก่อสร้างโดยคํานึ งถึง
ผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อม
- มี 21 ชัน
้ พื้นที่รวม 3.7 หมื่นตร.ม. และอาคาร
อเนกประสงค์ 10 ชัน ้ พื้นที่รวม 3 หมื่นกว่าตร.ม.
ใช้งบประมาณกว่า 3,300 ล้านบาท เวลาก่อสร้าง 3
ปีจึงแล้วเสร็จ
- ถูกออกแบบโดย Design 103 International Ltd
(D103i)
- ได้รบั การรับรองมาตรฐานประเภทอาคารสร้าง
ใหม่ระดับสูงสุด (LEED BD+C Platinum)
- มีจุดสั งเกต คือ รู ปทรงพลิ้วไหวเป็นเอกลักษณ์ ไม่
เป็นรู ปทรงเรขาคณิ ต

ld ing
B ui
en
re
G
ข้ อดีของอาคารเขี ยว
1. เป็นการอนุรก
ั ษ์พลังงานและสิ่ งแวดล้อมที่ยัง
่ ยืน

2. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการอาคารในระยะยาว

3. เพิ่มคุณภาพชีวิตและประสิ ทธิภาพในการทํางานของผู้ใช้อาคาร

4. สะท้อนวิสัยทัศน์ การพัฒนาอย่างยัง
่ ยืนขององค์กร

5. ทําให้มูลค่าอาคารเพิ่มสูงขึ้น

6. ใช้พลังงานและนาน้ อยลง
G
re
enB
uil
d
ing
THANK YOU

You might also like