You are on page 1of 139

โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม

คู่มือการออกแบบอาคารทีมีประสิ ทธิภาพด้ านการประหยัดพลังงาน


Energy Efficient Design Guideline

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

Danish International Development Assistance (DANIDA)

จัดทําโดย

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT)
กรกฎาคม 2547
คู่มือการออกแบบอาคารทีมีประสิ ทธิภาพด้ านการประหยัดพลังงาน
(Energy Efficient Design Guideline)

สารบัญ
บทที การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ
1. ความหมายของการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ ................................................................................................................................ 1
2. ประโยชน์ของการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ .................................................................................................................................. 1
3. ผูท้ ี>เกี>ยวข้องกับการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ................................................................................................................................. 2
4. ขัIนตอนการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ............................................................................................................................................. 2
5. ขัIนตอนการจัดการ ................................................................................................................................................................................... 2
6. ขัIนตอนทางเทคนิค .................................................................................................................................................................................. 3
7. การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานเพื>อการตัดสิ นใจ.................................................................................................................. 4
8. หนังสื อสัญญาด้านศักยภาพ..................................................................................................................................................................... 5
9. องค์ประกอบของการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ ............................................................................................................................. 6
10. ตัวอย่างเครื> องมือในการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ ......................................................................................................................... 6

บทที แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร
1. บทนํา ....................................................................................................................................................................................................... 1
2. การออกแบบโดยคํานึงถึงสภาวะน่าสบาย ............................................................................................................................................... 2
3. ที>ตI งั และสภาพแวดล้อมโดยรอบอาคาร................................................................................................................................................... 4
4. พืชพันธุ์ธรรมชาติ .................................................................................................................................................................................... 5
4.1 สภาพภูมิประเทศ ......................................................................................................................................................................... 5
4.2 สภาพภูมิอากาศ ............................................................................................................................................................................ 6
5. ตัวอาคาร .................................................................................................................................................................................................. 6
5.1 ทิศทางการวางตัวอาคาร............................................................................................................................................................... 6
5.2 รู ปทรงอาคาร ............................................................................................................................................................................... 7
5.3 ตําแหน่งช่องเปิ ด .......................................................................................................................................................................... 7
6. วัสดุกรอบอาคาร ...................................................................................................................................................................................... 8
6.1 ผนังและหลังคาทึบ ...................................................................................................................................................................... 8
6.2 ช่องเปิ ด ผนังและหลังคาโปร่ งแสง ............................................................................................................................................ 11

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน สารบัญ


7. แนวคิดอื>นๆ เพื>อลดการใช้พลังงานในอาคาร........................................................................................................................................ 14
7.1 การใช้แสงธรรมชาติในอาคาร ................................................................................................................................................... 15
7.2 การควบคุมการรั>วซึมของอากาศ ............................................................................................................................................... 15
7.3 การจัดกลุ่มพืIนที>ใช้สอยให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมโดยรอบ ............................................................................................. 16
7.4 การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ (Natural Ventilation) ......................................................................................................... 16
7.5 อุปกรณ์สาํ นักงานและอุปกรณ์อื>นๆ (Office & Other Equipments).......................................................................................... 18
7.6 ระบบการจัดการพลังงาน (Energy Management System) ........................................................................................................ 20

บทที $ การใช้ แสงสว่ างธรรมชาติภายในอาคาร


1. บทนํา ....................................................................................................................................................................................................... 1
`. การออกแบบอาคารเพื>อการใช้งานแสงสว่างธรรมชาติ (Building Design for daylight use) .................................................................. 2
2.1 ระบบกระจกและอุปกรณ์กนั แดด (Glazing and shading systems) ............................................................................................. 5
2.2 ระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง (Electric lighting systems) ....................................................................................................................... 8
`.g การออกแบบการใช้งานแสงสว่างธรรมชาติ (Design with daylight) ........................................................................................ 10

บทที 0 แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้าแสงสว่ างภายในอาคาร


1. บทนํา ....................................................................................................................................................................................................... 1
2. ศัพท์แสงสว่าง (Lighting Vocabulary) .................................................................................................................................................... 1
3. การออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง ......................................................................................................................................................... 5
3.1 หลักการให้แสงสว่าง (Lighting Concept) ................................................................................................................................... 5
3.2 การเลือกใช้สีผนังห้อง และ เฟอร์นิเจอร์ ให้ประหยัดพลังงาน (Room and Furniture Color) ..................................................... 6
4. มาตรฐานในระบบแสงสว่าง (Lighting Standards) ................................................................................................................................. 8
4.1 มาตรฐานด้านแสงสว่างของประเทศไทย ที>เกี>ยวข้อง ได้แก่........................................................................................................ 8
4.2 พรบ. การส่งเสริ มการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. `ogo....................................................................................................................... 9
4.3 พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. `o``.................................................................................................................................................. 10
4.4 พระราชบัญญัติ ส่งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ> งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. `ogo ............................................................................. 10
4.5 ประกาศกรุ งเทพมหานคร เรื> อง ข้อกําหนดลักษณะแบบของบันไดหนี ไฟ และ ทางหนี ไฟทางอากาศของ
อาคาร ......................................................................................................................................................................................... 10
4.6 ข้อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร เรื> อง อาคารจอดรถยนต์ พ.ศ. `o`p ............................................................................................... 10
4.7 ข้อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร เรื> อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. `oqq...................................................................................................... 10
4.8 ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื> อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี>ยวสิ> งแวดล้อม.................................................................... 10
4.9 ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื> อง ความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างว่าด้วยเขตก่อสร้าง ................................................... 10

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน สารบัญ


5. การเลือกหลอดไฟฟ้ า ............................................................................................................................................................................. 10
5.1 เลือกหลอดที>มีค่าประสิ ทธิผลการส่องสว่างสูง (High Luminous Efficacy Lamp) ................................................................... 10
5.2 ประเภทของ หลอดไฟ (Lamp Type)......................................................................................................................................... 11
5.3 คุณสมบัติสาํ คัญของหลอดไฟที>ตอ้ งพิจารณา (Lamp Selection Parameter) ............................................................................. 21
5.4 เลือกหลอดที>มีอายุการใช้งานนาน (Long Lamp Life) .............................................................................................................. 23
5.5 เลือกหลอดที>ให้สีของแสงเหมาะสมกับการใช้งาน (Correct Light Color) ............................................................................... 23
6. การเลือกโคมไฟให้ประหยัดพลังงาน .................................................................................................................................................... 24
6.1 คุณสมบัติของโคมไฟ (Luminaire Characteristics) ................................................................................................................... 24
6.2 กราฟแสงบาดตา (Luminance Curve) ....................................................................................................................................... 25
6.3 โคมฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Luminaire) ........................................................................................................................... 28
7. การเลือกบัลลาสต์ให้ประหยัดพลังงาน (Energy Efficient Ballast) ...................................................................................................... 33
8. การใช้อุปกรณ์ควบคุมแสงสว่างช่วยให้ประหยัดพลังงาน (Lighting Control) ..................................................................................... 34
9. การใช้แสงอาทิตย์ช่วยให้ประหยัดพลังงาน (Daylighting) ................................................................................................................... 35
9.1 แสงแดด (Sunlight) .................................................................................................................................................................... 35
9.2 แสงจากท้องฟ้ า (Skylight) ......................................................................................................................................................... 35
9.3 แสงจากการสะท้อนพืIนผิวอื>น (Light from Reflecting Surfaces) ............................................................................................. 35
10. การบํารุ งรักษาระบบแสงสว่าง (Lighting Maintenance)....................................................................................................................... 38
11. การคํานวณระยะเวลาคืนทุน (Payback Period Analysis)...................................................................................................................... 39
11.1 การวิเคราะห์ระยะเวลาคืนทุนอย่างง่าย (SPP: Simple Payback Period) ................................................................................... 39
11.2 การวิเคราะห์อตั ราผลตอบแทนการลงทุน (Internal Rate of Return: IRR) ............................................................................... 39
11.3 การวิเคราะห์ระยะเวลาคืนทุนแท้จริ งโดยคํานึงถึงอัตราดอกเบีIย (Complex Break Even / Payback period)............................ 40
12. กรณี ศึกษาตัวอย่างการออกแบบ (Lighting Design Case Studies) ........................................................................................................ 41
12.1 ตัวอย่างการออกแบบแสงสว่างแบบให้แสงทัว> ไป .................................................................................................................... 41
12.2 ตัวอย่างการออกแบบแสงสว่างแบบให้แสงทัว> ไป และ มีโคมไฟเสริ มเฉพาะจุดใช้งาน .......................................................... 42
12.3 ตัวอย่างการคํานวณระยะเวลาคืนทุนของการเปลี>ยนหลอดไส้ มาเป็ นหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ ................................. 43
13. สรุ ป ........................................................................................................................................................................................................ 43

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน สารบัญ


บทที 4 แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร
1. แนวทางการออกแบบและประยุกต์ใช้ระบบปรับอากาศอย่างมีประสิ ทธิภาพ ........................................................................................ 1
1.1 คํานวณภาระการทําความเย็น ....................................................................................................................................................... 1
1.2 กําหนดปริ มาณลมที>จะต้องจ่ายเข้าพืIนที> และลมที>รับกลับ รวมทัIงอากาศที>จะต้องเติมเข้าและดูด ออกจาก
พืIนที>ต่างๆ .................................................................................................................................................................................... 1
1.3 กําหนดขนาดและตําแหน่งหัวจ่ายลมเย็นในแต่ละพืIนที> รวมทัIงแนวท่อลม และขนาดท่อลม .................................................... 1
1.4 กําหนดขนาดเครื> องทํานํIาเย็น, เครื> องสูบนํIา, หอระบายความร้อน, ออกแบบห้องเครื> องทํานํIาเย็น ............................................. 1
2. การคํานวณภาระทางความเย็น................................................................................................................................................................. 4
2.1 การคํานวณภาระทางความเย็นที>ใช้ในอาคาร............................................................................................................................... 4
2.2 วิธีการคํานวณ .............................................................................................................................................................................. 4
2.3 รายละเอียดในการคํานวณ ........................................................................................................................................................... 5
2.4 สภาพแวดล้อมภายในที>ใช้ในการออกแบบ ................................................................................................................................. 5
2.5 สภาพแวดล้อมภายนอกที>ใช้ในการออกแบบ .............................................................................................................................. 6
3. ประเภทของระบบปรับอากาศ ................................................................................................................................................................. 9
3.1 ระบบการทําความเย็นแบบเพิ>มอัดความดัน................................................................................................................................. 9
3.2 ระบบการทําความเย็นระบบดูดซับ ............................................................................................................................................ 19
3.3 เกณฑ์ในการออกแบบระบบส่งจ่ายความเย็น ............................................................................................................................ 23
4. ระบบควบคุม ......................................................................................................................................................................................... 30
5. การใช้ฉนวน .......................................................................................................................................................................................... 32
6. สมรรถนะของอุปกรณ์(Performance of equipments) ........................................................................................................................... 34
7. การปรับปรุ งระบบปรับอากาศที>ใช้อยู่ ................................................................................................................................................... 37
8. เทคโนโลยีในการอนุรักษ์พลังงาน ........................................................................................................................................................ 39

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน สารบัญ


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> p-1

บทที 6 การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ (Integrated Design)

1. ความหมายของการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ
การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ หมายถึง กระบวนการการออกแบบอาคารที> คาํ นึ งถึงการผสมผสานวิธีการในการออกแบบ
ทุกๆ ระบบเข้าด้วยกัน หรื อออกแบบให้ทุกๆ ระบบมีความสอดคล้องกัน โดยมี เป้ าหมายหลักเพื>อให้อาคารมีประสิ ทธิ ภาพด้านการ
ประหยัดพลังงานสูงสุด ขณะที>มีค่าใช้จ่ายในการออกแบบและก่อสร้างอาคารตํ>า

ขอบเขตของการออกแบบแบบบูรณาการ
ปั จจัยที>ทาํ ให้การออกแบบอาคารแบบบูรณาการประสบความสําเร็ จ คือ การมีส่วนร่ วมของบุคลากรที>รับผิดชอบงานด้านต่างๆ
กัน เช่น สถาปั ตยกรรม วิศวกรรม ระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ ตกแต่งภายใน การปรับปรุ งภูมิทศั น์ ฯลฯ การทํางานร่ วมกัน
ตัIงแต่ในขัIนตอนของการออกแบบอาคาร จะทําให้สามารถมองปั ญหาได้อย่างรอบด้าน และแสวงหาทางออกที>ดีที>สุดได้ (รู ปที> 1 แสดง
ขอบเขตของการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ)

2. ประโยชน์ ของการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ
การปฏิบตั ิตามกระบวนการออกแบบอาคารแบบบูรณาการตัIงแต่ในขัIนตอนแรกๆ ของการก่อสร้างอาคาร (ขัIนตอนการออกแบบ
และวางผังอาคาร) จะทําให้อาคารมีศกั ยภาพในการประหยัดพลังงานได้สูงสุด ประโยชน์ของการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ มีดงั นีI
อาคารมีคุณภาพดีและมีประสิ ทธิภาพเชิงพลังงานสูงขึIน
ลดต้นทุนในการก่อสร้างอาคาร
ค่าใช้จ่ายด้านการดูแลรักษาอาคารลดลง
สร้างสภาวะน่าสบาย (comfort condition) ให้แก่ผใู ้ ช้อาคาร
ประสิ ทธิภาพในการทํางานของผูใ้ ช้อาคารเพิ>มขึIน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> p-2

3. ผู้ทเกี
ี ยวข้ องกับการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ
ความสําเร็ จในการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ จะขึIนอยูก่ บั ผลของการปฏิบตั ิงานของผูท้ ี>เกี>ยวข้องในกระบวนการออกแบบ
อาคารหลายฝ่ าย ได้แก่ เจ้าของอาคาร สถาปนิก ผูร้ ับเหมาก่อสร้าง วิศวกร นักวิเคราะห์ดา้ นพลังงาน วิศวกรระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง วิศวกร
ระบบไฟฟ้ า วิศวกรระบบปรับอากาศ ฯลฯ

4. ขัCนตอนการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ
การตระหนักถึงความสําคัญของการออกแบบอาคารแบบบู รณาการ หรื อการผสมผสานการออกแบบระบบต่างๆ ให้มีความ
สอดคล้องกัน ตัIงแต่ในขัIนตอนการวางแผนงานและการออกแบบอาคาร จะสามารถลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการก่ อสร้ างได้มาก
ขณะเดี ยวกันก็สามารถปรั บปรุ งประสิ ทธิ ภาพของอาคารให้สูงขึIนได้มากด้วย แต่เมื>อออกแบบอาคารเสร็ จสมบู รณ์ แล้ว ต้นทุ นและ
ค่าใช้จ่ายจะเพิ>มขึIน การตัดสิ นแต่ละครัIงจะลดขอบเขตความเป็ นไปได้ในอนาคต
กลยุทธ์การออกแบบอาคารแบบบูรณาการเพื>อสิ> งแวดล้อม (green design) เป็ นการปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพการใช้พลังงาน วางผัง
การใช้ที>ดินแบบยัง> ยืน การใช้นI ําอย่างปลอดภัย สร้ างสภาวะภายในอาคารที> ดี และการใช้วสั ดุ ที>เอืI อต่อสภาพแวดล้อม คณะทํางาน
ออกแบบทุกฝ่ ายตัIงแต่วิศวกรโยธาไปจนถึงนักออกแบบตกแต่งภายในควรกําหนดเป้ าหมายที>เป็ นประเด็นหลักในโปรแกรมการออก
อาคาร การจัดหาบริ การทัIงด้านสถาปั ตยกรรมและวิศวกรรมควรเน้นให้การทํางานในระบบทีม และการทํางานในแบบบูรณาการควรถูก
ระบุไว้อย่างชัดเจนในข้อตกลง (statement of work; SOW) ตัวอย่างเช่น SOW ควรกําหนดความถี>ในการประชุมและระดับความสําคัญ
ของวิศวกรงานระบบที>จะวิเคราะห์ทางเลือกในการออกแบบ

5. ขัCนตอนการจัดการ
ขัIนตอนการจัดการ 3 ขัIนตอน ในการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิภาพในการประหยัดพลังงานแบบบูรณาการ ได้แก่
1) ระบุบุคลากรในคณะทํางานให้ทาํ หน้าที>เป็ น “ผูป้ ระสานงานแบบบูรณาการ” (integrated design coordinator)
2) รวบรวมความต้องการต่างๆ เพื>อการออกแบบอาคารที> มีประสิ ทธิ ภาพในการประหยัดพลังงานแบบบูรณาการ ระบุลงใน
เอกสารโครงการ
3) กําหนดโครงสร้ างของค่าบริ การโดยการพิจารณาจากศักยภาพ (performance-based fee structure) ในการให้รางวัลแก่
คณะทํางาน โดยพิจารณาจากความเสี> ยงของแนวทางในการออกแบบและผลที>ได้รับเป็ นเกณฑ์
ควรระบุบทบาทหน้าที> และความรับผิดชอบของผูป้ ระสานงานแบบบูรณาการไว้อย่างชัดเจน เพื>อให้การออกแบบอาคารที> มี
ประสิ ทธิภาพในการประหยัดพลังงานแบบบูรณาการดําเนินไปอย่างราบรื> น และเกิดประสิ ทธิผลสูงสุด

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> p-3

ตารางแสดงระยะการดําเนินงานของโครงการและความรับผิดชอบของผู้ประสานงานแบบบูรณาการ
ระยะของโครงการ ความรับผิดชอบ
ออกแบบขัIนต้น ระบุปัญหาด้านพลังงานและแนวทางในการแก้ไขปั ญหา
หาแนวทางการแก้ไขปั ญหาที>เหมาะสม
วิเคราะห์ความเหมาะสมด้านเศรษฐศาสตร์ขIนั ต้น
ออกแบบขัIนพัฒนา ศึกษารายละเอียดของระบบไฟฟ้ าแสงสว่างและการใช้แสงสว่างธรรมชาติ
ผสานเทคนิคการเลี>ยงภาระการทํางานของระบบ (load-avoidance) ในการออกแบบงานระบบ
ออกแบบงานสถาปั ตยกรรม งานระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง และงานออกแบบภายใน ให้สอดคล้องกัน
จําลองสภาพศักยภาพการใช้พลังงานของอาคาร
ปรับปรุ งการวิเคราะห์ดา้ นเศรษฐศาสตร์
จัดเตรี ยมแผนการทํางาน
จัดทําเอกสารงานก่อสร้าง ทบทวนผังอาคารและข้อกําหนดต่างๆ
ทบทวนการเลือกอุปกรณ์อาคาร
ทบทวนรายละเอียดการก่อสร้าง
สรุ ปศักยภาพด้านพลังงานและการวิเคราะห์ดา้ นเศรษฐศาสตร์
ก่อสร้าง ทบทวนคําสัง> เปลี>ยนแปลงต่างๆ
ทบทวนการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทน
ตรวจสอบคุณภาพของวัสดุและการติดตัIงให้ถูกต้อง
การใช้งานอาคาร เสนอแผนการใช้งานอาคาร
ตรวจทานการประหยัดพลังงาน
คํานึงถึงข้อแนะนําจากผูใ้ ช้งาน

ในการทํางานแบบบูรณาการนัIน คณะผูอ้ อกแบบจะต้องมีความรับผิดชอบร่ วมกันในการออกแบบ ตลอดจนต้องมีการสื> อสาร


ระหว่างกันอย่างเข้าใจ ให้ความสําคัญในการออกแบบอาคาร โดยเฉพาะในช่วงต้นๆ ของการออกแบบ

6. ขัCนตอนทางเทคนิค
1) สร้างกรณี ศึกษาที>เป็ นพืIนฐาน (base case)
2) กําหนดขอบเขตของการแก้ไขปั ญหา
3) วิเคราะห์ศกั ยภาพของกลยุทธ์แบบต่างๆ และให้ระดับความสําคัญ
4) จัดกลุ่มกลยุทธ์ที>มีศกั ยภาพสูง
5) เลือกกลยุทธ์และปรับการออกแบบ
6) ทําการวิเคราะห์ซI าํ ตลอดทุกขัIนตอน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> p-4

Program Construction Construction Turnover /


Player Predesign Schematic Design Design Development Documents Management Operation

Owner Set Goals / Criteria

Accept Products

Site/ Form/ Orientation/ Review/


Architect Devel. Program Develop Design Design Details & Specs Learn from
Envelope Input

Review/ Furniture/ Partitions/ Develop Interiors Interiors Details & Review/


Interior Architect Learn from
Input Surfaces Design Specs Input

Review/ Loads/ Select HVAC/ Review/


Mech.Engr Input Controls
Develop HVAC Design HVAC Details & Specs
Input
Learn from

Lighting / Elect./ Review/ Select Lighting System/ Develop Ltg/ Elect. Ltg/Elect Details & Review/
Learn from
Other Engr. Input Electric Conc. Design Specs Input

Manage Facility/
Facility Manager Review/
Review & Provide Input
Review & Provide
Review & Provide Input
Review & Provide
Conduct O&M/
& Occupant Input Input Input
Feedback to Designers

แผนผังแสดงการทํางานทีนําไปสู่ การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ

7. การวิเคราะห์ ค่าใช้ จ่ายตลอดอายุการใช้ งานเพือการตัดสิ นใจ


การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งาน (Life cycle cost) เป็ นเครื> องมือที>ใช้ตดั สิ นใจในการออกแบบอาคาร การวิเคราะห์ฯ
ดังกล่าวทําขึIนเพื>อให้ทราบค่าใช้จ่ายในขัIนต้นที>เกี>ยวข้องกับงานก่อสร้าง หรื อการบูรณะสิ> งอํานวยความสะดวกต่างๆ ตลอดจนค่าใช้จ่าย
ในตัวเอง และค่าดูแลการทํางานของสิ> งอํานวยความสะดวกต่างๆ ตลอดช่วงอายุการใช้งาน อายุการใช้งานทางด้านเศรษฐศาสตร์ จะไม่
เหมือนกับการวิเคราะห์หาความคุม้ ทุนอย่างง่าย (simple payback method) ซึ> งจะสนใจเฉพาะความสามารถคืนทุนได้เร็ วมากเพียงใด
เท่านัIน วิธีหาความคุม้ ทุนโดยทัว> ไปจะไม่รวมถึงค่าใช้จ่ายทัIงหมดและการประหยัดที>เกิดขึIนภายหลังจุดคุม้ ทุน
การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานตลอดอายุการใช้งาน (Energy life cycle cost) รวมถึงค่าใช้จ่ายในงานระบบต่างๆ ด้านพลังงาน
(ระบบทําความร้อน, ระบบทําความเย็น, ระบบแสงสว่าง, กรอบอาคาร, ครัว และนํIาร้อน) ซึ>งจะถูกรวมเข้าไปในค่าใช้จ่ายขัIนต้นในแต่ละ
ทางเลือกของระบบที>ใช้พลังงาน ตลอดจนการพยากรณ์ค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานของระบบ การใช้งานและบํารุ งรักษา ค่าพลังงาน
การทดแทนระบบหรื อบางส่วน และค่าเงิน
การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานตลอดอายุการใช้งาน เป็ นเครื> องมือประกอบการตัดสิ นใจของเจ้าของอาคารและผูอ้ อกแบบ
การวิเคราะห์ทาํ ขึIนเพื>อให้ทราบค่าใช้จ่ายในขัIนต้นที>เกี>ยวข้องกับงานก่อสร้าง การบูรณะต่างๆ ค่าใช้จ่ายในตัวเองและค่าดูแลการทํางาน
ของสิ> งอํานวยความสะดวกต่างๆ ตลอดช่วงอายุการใช้งาน
การวิเคราะห์จะนําเสนอกรรมวิธีในการประเมินระบบที>ใช้พลังงานแบบต่างๆ เพื>อให้เจ้าของอาคารสามารถเลือกระบบที>ดีที>สุด
สําหรับอาคาร
ทางเลื อกต่างๆ ในการออกแบบอาจมี ค่าใช้จ่ายขัIนต้น ค่าใช่ จ่ายด้านพลังงาน และค่าบํารุ งรั กษาที> แตกต่างกัน การวิเคราะห์
ค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งานจะนําเสนอกรรมวิธีประเมินทางเลือกต่างๆ เหล่านีIเพื>อให้เจ้าของอาคารสามารถเลือกระบบที>ดีที>สุดสําหรับ
อาคาร

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> p-5

8. หนังสื อสั ญญาด้ านศักยภาพ


ในการออกแบบ ก่อสร้าง และการใช้งานอาคารแบบทัว> ๆ ไปไม่ส่งเสริ มให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพด้านพลังงาน สํานักงานสถาปนิ ก
และวิศวกรส่วนใหญ่ได้รับค่าตอบแทนงานบริ การแบบคงที> (flat fee) หรื อคิดเป็ นร้อยละของค่าก่อสร้าง ซึ> งเป็ นรู ปแบบการจัดการที>ไม่
ท้าทายให้เกิดการใช้ระยะเวลาพิเศษเพิ>มมากขึIนสําหรับนวัตกรรมใหม่ๆ และประสิ ทธิ ภาพ หนังสื อสัญญาด้านศักยภาพ (Performance
contracts) จะเสนอแนวทางที>จะช่วยกระตุน้ ให้เกิดการออกแบบและก่อสร้างอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพ โดยทําให้เกิดความคุม้ ค่าสําหรับ
ผูอ้ อกแบบที> จะผสานประสิ ทธิ ภาพในด้านพลังงานเข้าไปในการวางผังตัIงแต่เริ> มต้น ซึ> งจะทําให้มีความเป็ นไปได้สูงที> เกิ ดประโยชน์
มากกว่าในขณะที>จ่ายค่าตอบแทนน้อย หนังสื อสัญญาด้านศักยภาพทําให้เกิดผลดีดงั นีI
1. ส่ ง เสริ ม การทํา งานแบบบู รณาการที> ดี ขI ึ นระหว่า งสถาปนิ ก วิศ วกร เจ้า ของอาคาร ผูด้ ู แ ลอาคาร และผูร้ ั บ ผิ ด ชอบงาน
บํารุ งรักษา
2. เพิ>มแรงกระตุน้ ต่อองค์กรในวงการออกแบบและก่อสร้างได้มากกว่าข้อกําหนดตํ>าสุดทางกฎหมาย
ผลด้ านเศรษฐศาสตร์
3. สามารถมีจุดคุม้ ค่าทางการลงทุนที>สูงในขณะที>มีความเสี> ยงตํ>า
4. เจ้าของอาคารมีค่าลงทุนแรกเริ> มตํ>าสําหรับการปรับปรุ งประสิ ทธิภาพ
5. รับประกันระดับของประสิ ทธิภาพในด้านพลังงาน
6. ย้ายความเสี> ยงของโครงการจากเจ้าของไปยังผูร้ ับเหมาก่อสร้าง
7. ปรับปรุ งสภาวะภายในอาคารซึ>งนําไปสู่ประสิ ทธิภาพในการทํางานและลดการขาดงาน
ผลด้ านการใช้ งาน
8. เกิดการปรับปรุ งในส่วนหลักในทันทีทนั ใด
9. ปรับปรุ งระบบแสงสว่าง
10. ปรับปรุ งคุณภาพอากาศภายในอาคาร
11. มีความน่าเชื>อถือสูง
12. สามารถควบคุมในส่วนละเอียด
13. ขยายการตรวจวัด (monitoring) ซึ>งช่วยให้รู้ปัญหาในขณะที>ยงั จัดการได้

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> p-6

9. องค์ ประกอบของการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ
การออกแบบอาคารแบบบูรณาการประกอบด้วยการพิจารณาและให้ความสําคัญในการออกแบบด้านต่างๆ ดังต่อไปนีI
1) การเลือกที>ตI งั อาคาร (Site Selection)
2) การออกแบบรู ปทรงของอาคารและการจัดวางอาคาร (Building configuration and placement)
3) การออกแบบกรอบอาคาร (Building Envelope)
4) การป้ องกันความร้อนจากแสงอาทิตย์ (Passive solar)
5) การใช้แสงสว่างธรรมชาติอย่างมีประสิ ทธิภาพ (Lighting/Daylighting)
6) การออกแบบอุปกรณ์กนั แดด (Shading)
7) การเลือกใช้วสั ดุที>มีคุณสมบัติที>เหมาะสมและอนุรักษ์พลังงาน (Materials)
8) การออกแบบระบบ HVAC
9) การออกแบบระบบเชิงกลอื>นๆ เช่น ระบบทํานํIาร้อน ระบบลิฟท์ ฯลฯ (Other mechanical systems)
10) การเลือกเครื> องใช้และอุปกรณ์ภายในอาคาร (Appliances and equipment)
11) การออกแบบ Active solar และการเลือกใช้พลังงานทดแทนอื>นๆ

10. ตัวอย่ างเครืองมือในการออกแบบอาคารแบบบูรณาการ


โปรแกรมจําลองสภาพการใช้ พลังงานรวมของอาคาร

1) ASEAM
Free download from the web http://www.fishbaugher.com

2) Building Design Advisor


Free download from the web http://gaia.lbl.gov/BDA

3) EnergyPlus
Free download from the web http://www.energyplus.gov
Weather data for more than oo… locations worldwide can also be downloaded at no cost from the EnergyPlus Web site.

4) DOE-W
Cost $g…… to $`………, depending upon hardware platform and software vendor. A list of vendors and services is available on the website
http://simulationresearch.lbl.gov

5) VisualDOE
Cost is $‡…… + tax, including ‰… days phone and one year email technical support. Additional support is $g…… per year. Evaluation copy
available for free download from web site web http://www.eley.com

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> p-7

โปรแกรมจําลองสภาพแสงสว่ างและแสงสว่ างธรรมชาติ

1) Radiance
Version `.q (p‰‰q) available free of charge. Other interfaces area available at varying cost. web
http://radsite.lbl.gov/radiance/HOME.html

2) SuperLite
Free download from web http://eetd.lbl.gov/btp/superlite`.html

โปรแกรมวิเคราะห์ ค่าต้ นทุนตลอดอายุวฏั จักร

BLCC ^.6-`a

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การออกแบบอาคารแบบบูรณาการ


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-1

บทที W แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร (Building Envelope Design)

1. บทนํา
ภายหลังจากประเทศไทยที> ได้มีการออกพระราชบัญญัติการส่ งเสริ มการอนุ รักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ซึ> งต่อมาได้มีการออกพระราช-
กฤษฎีกากําหนดอาคารควบคุมและกฎกระทรวง พ.ศ. 2538 กําหนดรายละเอียดต่างๆ เพื>อการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร โดยมีผลบังคับใช้
ตัIงแต่ พ.ศ. 2539 เป็ นต้นมานัIน ในปั จจุบนั ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางด้านการอนุรักษ์พลังงานและความจําเป็ นในการลดปริ มาณ
การใช้พลังงานโดยรวมของชาติ ทําให้กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน (พพ.)1 มีแนวคิดในการปรับปรุ งแก้ไขข้อกําหนดของค่าการถ่ายเท
ความร้อนรวมของอาคาร ตลอดจนหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื> อนไขการประเมินหาค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของอาคารและการใช้
พลังงานของอาคารเฉพาะอาคารทีสร้ างขึนC ใหม่ เท่านัIน โดยมีประเด็นหลักในการปรับปรุ งและแก้ไขพอสรุ ปได้ดงั นีI
การกําหนดค่าสู งสุ ดของค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของอาคารตามประเภทของอาคาร โดยจําแนกอาคารออกเป็ น 3 กลุ่มตาม
ลักษณะพืIนที>ใช้งานภายในอาคารและช่วงเวลาการใช้งานอาคาร (operating time) ได้แก่
- กลุ่มอาคารสํานักงาน สถานศึกษา หรื ออาคารที>มีช่วงเวลาการใช้งานอาคารตัIงแต่เวลาประมาณ 8.00-17.00 น.
- กลุ่มอาคารโรงแรม โรงพยาบาล หรื ออาคารที>มีช่วงเวลาการใช้งานอาคารตลอด 24 ชัว> โมง
- กลุ่มอาคารศูนย์การค้า ซุปเปอร์สโตร์ หรื ออาคารที>มีช่วงเวลาการใช้งานอาคารตัIงแต่เวลาประมาณ 10.00-22.00 น.
ปรับปรุ งวิธีการและเงื>อนไขการประเมินหาค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของอาคาร (OTTV และ RTTV) โดยกําหนดค่าของตัวแปร
ต่างๆ ที>ใช้ในการคํานวณให้มีความละเอียดมากกว่าเดิม
กําหนดค่าการถ่ายเทความร้ อนรวมของผนังด้านนอกอาคาร (OTTV) สู งสุ ดให้มีค่าลดลงจากข้อกําหนดในกฎหมายที> ใช้อยู่ใน
ปั จจุบนั 2 โดยแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มประเภทอาคาร ดังนีI
- อาคารสํานักงาน สถานศึกษา ต้องมีค่าไม่เกิน 50 วัตต์ต่อตารางเมตรของผนังภายนอก
- อาคารโรงแรม โรงพยาบาล ต้องมีค่าไม่เกิน 30 วัตต์ต่อตารางเมตรของผนังภายนอก
- อาคารศูนย์การค้า ซุปเปอร์สโตร์ ต้องมีค่าไม่เกิน 45 วัตต์ต่อตารางเมตรของผนังภายนอก
กําหนดค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของหลังคาอาคาร (RTTV) สูงสุดให้มีค่าลดลงจากข้อกําหนดในกฎหมายที>ใช้อยูใ่ นปั จจุบนั โดย
แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มประเภทอาคาร ดังนีI
- อาคารสํานักงาน สถานศึกษา ต้องมีค่าไม่เกิน 15 วัตต์ต่อตารางเมตรของผนังภายนอก
- อาคารโรงแรม โรงพยาบาล ต้องมีค่าไม่เกิน 10 วัตต์ต่อตารางเมตรของผนังภายนอก
- อาคารศูนย์การค้า ซุปเปอร์สโตร์ ต้องมีค่าไม่เกิน 12 วัตต์ต่อตารางเมตรของผนังภายนอก
ในกรณี ที> อ าคารมี คุ ณสมบัติห ลัก ค่ าใดค่ าหนึ> ง ไม่ เ ป็ นไปตามที> ก ํา หนด (ค่ าการถ่ ายเทความร้ อ นรวมของอาคาร ค่ า มาตรฐาน
กําลังไฟฟ้ าส่องสว่าง ค่าพลังงานไฟฟ้ าของเครื> องปรับอากาศ) ให้ผูอ้ อกแบบคํานวณหาปริ มาณความต้องการใช้พลังงานของอาคาร
(energy requirement of a building) ตามวิธีการและเงื>อนไขที>กาํ หนดไว้เปรี ยบเทียบระหว่างอาคารที>ออกแบบ (proposed building

1
ชิอเดิมของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
2
ค่า OTTV ทีกําหนดขึ'นใหม่น' ีมีการเปลียนแปลงวิธีการและเงือนไขการประเมินหาค่าการถ่ายเทความร้ อนรวมของอาคาร จึงมีปริ มาณความร้ อนเข้าสู่ อาคารลดลงเมือ
นําไปเปรี ยบเทียบกับกฎหมายทีใช้อยูใ่ นปั จจุบนั
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-2

design) และอาคารอ้างอิง (reference building model) ในที>นI ี หมายถึง อาคารที>มีขนาดและพืIนที>ใช้สอยเหมือนกับอาคารที>ออกแบบ


ทุกประการแต่มีคุณสมบัติเป็ นไปตามที> กาํ หนด3 ถ้าอาคารที> ออกแบบใช้พลังงานน้อยกว่าอาคารอ้างอิงก็ให้ถือว่าอาคารนัIนผ่าน
ข้อกําหนดของกฎหมายอนุ รักษ์พลังงาน ซึ> งจะเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ผูอ้ อกแบบสามารถใช้ความรู ้ความสามารถตลอดจนนํา
เทคโนโลยีใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้กบั อาคารได้มากขึIน
เนืIอหาสาระของแนวทางในการออกแบบกรอบอาคารในที>นI ี จะมุ่งเน้น “อาคารควบคุม” ที>นิยามตามความในพระราชบัญญัติการส่งเสริ ม
การอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และพระราชกฤษฎีกากําหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 25384 ซึ> งส่ วนใหญ่ตวั อาคารจะมีลกั ษณะเป็ นอาคาร
ขนาดใหญ่หรื ออาคารสูงที>ใช้ระบบปรับอากาศเป็ นหลัก ยกเว้นในบางกรณี ที>กลุ่มอาคารขนาดเล็กหลายหลังภายใต้บา้ นเลขที>เดียวกันอาจ
เข้าข่ายอาคารควบคุมและมีบางอาคารที>ใช้ระบบธรรมชาติ อย่างไรก็ตามแม้วา่ อาคารจะใช้ระบบที>แตกต่างกันแต่แนวทางการออกแบบ
ส่วนใหญ่จะเหมือนกันโดยเฉพาะในขัIนต้นๆ ของการออกแบบ ได้แก่ ทิศทางการวางตัวอาคาร การใช้ประโยชน์จากปั จจัยธรรมชาติ และ
การเลือกใช้วสั ดุ เป็ นต้น เนื>องจากทัIงอาคารที>ใช้ระบบธรรมชาติและอาคารที>ใช้ระบบปรับอากาศต่างก็มีแนวความคิดหลักเหมือนกัน คือ
การป้ องกันความร้อนจากภายนอกเข้าสู่ภายในอาคาร ในกรณี ของแนวทางการออกแบบที>เหมาะสมกับระบบใดระบบหนึ> งเท่านัIนจะได้มี
การระบุในหัวข้ออย่างชัดเจน

2. การออกแบบโดยคํานึงถึงสภาวะน่ าสบาย
สิ> งสําคัญประการหนึ> งที>ผูอ้ อกแบบควรคํานึ งถึงในการออกแบบอาคารประหยัดพลังงาน คือ ความรู ้สึกร้อน-หนาวของผูใ้ ช้อาคารหรื อ
สภาวะน่ าสบายของมนุ ษย์ ซึ> งขึIนอยู่กบั ขอบเขตของสภาวะน่ าสบาย (comfort zone) ที> อาจแปรเปลี>ยนไปตามลักษณะดิ นฟ้ าอากาศ
สภาพแวดล้อมและความเคยชินที>แตกต่างกัน โดยมีปัจจัยหลักที>มีผลต่อสภาวะน่าสบาย ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความชืIนสัมพัทธ์ อุณหภูมิ
เฉลี>ยของพืIนผิวโดยรอบ (mean radiant temperature; MRT) และความเร็ วของกระแสลมทีพดั ผ่านผิวกาย ในกรณี ของอาคารที>มีการใช้
ระบบปรับอากาศวิศวกรผูอ้ อกแบบจะใช้ค่าที>ยอมรับกันทัว> ไปว่าเป็ นสภาวะที>สบายที>สุดสําหรับมนุษย์ คือ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซี ยส
และความชืIนสัมพัทธ์ 50 เปอร์ เซ็นต์5 ถ้าพิจารณาเฉพาะตัวแปรหลัก 2 ตัวที>มีผลต่อสภาวะน่าสบาย คือ อุณหภูมิอากาศและความชืI น
สัมพัทธ์พบว่า มีขอบเขตอยูร่ ะหว่าง 22 ถึง 29 องศาเซลเซียส และความชืIนสัมพัทธ์ระหว่าง 20 ถึง 75 เปอร์ เซ็นต์6 โดยมีความสัมพันธ์กบั
ตัวแปรอื>นๆ ดังแสดงในแผนภูมิ Bio-climatic สําหรับภูมิอากาศแบบร้อนชืIนของประเทศไทยควรพิจารณาใช้การเพิ>มความเร็ วลมและการ
ลดอุณหภูมิเฉลี>ยของพืIนผิวโดยรอบ (MRT) เพื>อช่วยทําให้ผูใ้ ช้อาคารรู ้สึกสบายมากยิ>งขึIน เพราะถ้าอุณหภูมิส>ิ งที> อยู่โดยรอบตํ>ากว่า
อุณหภูมิผิวกาย (MRT เป็ นลบ) ร่ างกายจะคายความร้อนให้กบั สิ> งรอบข้างทําให้รู้สึกเย็นลง แนวทางการออกแบบเพื>อลดอิทธิ พลของ
อุณหภูมิเฉลี>ยของพืIนผิวโดยรอบทําได้โดยการทําให้พIืนผิวของสภาพแวดล้อมโดยรอบมีอุณหภูมิต> าํ กว่าผิวกาย7 เพื>อให้รู้สึกเย็น เช่น
การเลือกใช้กระจกที> มีค่าการป้ องกันความร้อนสู ง การออกแบบพืIนที>ใช้งานให้อยู่ห่างจากแหล่งความร้อนและรังสี ความร้อน การหุ ้ม
ฉนวนให้กบั ตัวอาคาร การแบ่งส่วนพืIนที>ใช้งาน และออกแบบแต่ละส่วนตามลักษณะการใช้งานและสภาวะที>ตอ้ งการ เป็ นต้น

3
ดูรายละเอียดจาก รายงานความก้าวหน้าฉบับที 7 ร่ างข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม
4
อาคารทีใช้พลังงานไฟฟ้ าตั'งแต่ 20,000,000 เมกะจูล (ยีสิ บล้านเมกะจูล) ขึ'นไป หรื อติดตั'งหม้อแปลงไฟฟ้ าขนาดตั'งแต่ 1,000 กิโลวัตต์ (หนึงพันกิโลวัตต์) หรื อ 1,175 กิ โล
โวลท์แอมแปร์ (หนึงพันหนึงร้อยเจ็ดสิ บห้ากิโลโวลท์แอมแปร์ ) ขึ'นไป
5
อ้างอิงจาก ASHRAE
6
อ้างอิงจาก Design with climate
7
อุณหภูมิผิวกายประมาณ 32 องศาเซลเซี ยส

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-3

ตัวอย่ างแผนภูมสิ ภาวะน่ าสบาย


ที>มา: การออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพในการประหยัดพลังงาน, รศ.ดร.ตรึ งใจ บูรณสมภพ

นอกจากความเข้าใจเกี>ยวกับความรู ้สึกสบายของผูใ้ ช้อาคารแล้ว ผูอ้ อกแบบยังควรมีความเข้าใจสภาพภูมิอากาศของที> ตI งั อาคารเพื>อให้


สามารถวิเคราะห์ขอ้ ดีขอ้ เสี ยของสภาพอากาศในแต่ละช่วงเวลาและนํามาใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม ตัวแปรสําคัญที>มีผลต่อการใช้
พลังงานในอาคาร คือ ความร้อน โดยมีแหล่งที>มาจากปริ มาณรังสี อาทิตย์ที>ส่องผ่านช่องเปิ ดอาคาร จากการศึกษาพบว่าอิทธิ พลของรังสี
อาทิตย์จะแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลาและฤดูกาล โดยในฤดูร้อนทิศเหนือได้รับรังสี ความร้อนมากกว่าทิศใต้ประมาณ ½ เท่า และในฤดู
หนาว ทิ ศใต้ได้รับรังสี ความร้อนมากกว่าทิ ศเหนื อ 8 เท่า แนวความคิดในการออกแบบเพื>อป้ องกันรังสี อาทิตย์ในแต่ละทิ ศทางอย่าง
เหมาะสมจึงเป็ นสิ> งที>จาํ เป็ น โดยพิจารณาประกอบกับแนวการโคจรของดวงอาทิตย์ (diagram of solar path) ในแต่ละพืIนที>ของประเทศ
ไทยที>เป็ นที>ตI งั อาคาร

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-4

ตัวอย่ างแผนภูมติ าํ แหน่ งดวงอาทิตย์ ของกรุ งเทพมหานคร


ทีมา: การออกแบบอาคารสําหรับภูมิอากาศเขตร้อนชื'น, รศ.ดร.สมสิ ทธิC นิตยะ

ในการพิจารณาแนวทางในการออกแบบกรอบอาคารเพื>อประหยัดพลังงานในที>นI ี มุ่งเน้นให้มีเนืI อหาครอบคลุมถึงการออกแบบในด้าน


สถาปั ตยกรรมตัIงแต่ขI นั ต้นของกระบวนการออกแบบ โดยจะนําเสนอแนวคิดและเทคนิ คต่างๆ จําแนกตามตัวแปรในแต่ละขัIนตอนของ
กระบวนการออกแบบตามลําดับ ได้แก่ (1) ที>ตI งั และสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการ (2) ตัวอาคาร (3) วัสดุกรอบอาคาร และ (4) แนวคิด
อื>นๆ ที>ผอู ้ อกแบบสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ดงั ต่อไปนีI

3. ทีตัCงและสภาพแวดล้ อมโดยรอบอาคาร
การใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมบริ เวณที>ตI งั อาคาร (micro-climate) หรื อการปรุ งแต่งสภาพแวดล้อมโดยรอบอาคารเป็ นขัIนตอนแรกที>
ผูอ้ อกแบบควรพิจารณาโดยมีแนวคิดที>สาํ คัญคือ การทําให้สภาวะแวดล้อมโดยรอบภายนอกอาคารมีอุณหภูมิลดตํ>าลงกว่าสภาพภูมิอากาศ
ปกติ และลดผลกระทบที>เกิดจากความร้อนของรังสี อาทิตย์ในเวลากลางวัน ซึ>งจะมีผลทําให้สามารถลดภาระในการทําความเย็นให้กบั ตัว
อาคารได้ โดยมีตวั แปรต่างๆ ที>ควรพิจารณาใช้ ได้แก่ ต้นไม้ พุ่มไม้ พืชคลุมดิน แหล่งนํIา กระแสลม ความลาดเอียงของพืIนดิน เป็ นต้น
โดยอาจจําแนกออกเป็ น 3 กลุ่มหลักดังนีI

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-5

4. พืชพันธุ์ธรรมชาติ
ปลูกต้นไม้ขนาดใหญ่ที>มีทรงแผ่กว้างและพุ่มใบโปร่ งบริ เวณรอบๆ อาคาร เพื>อให้ร่มเงาช่วยลดความร้อนที>เกิดจากรังสี ตรง
จากดวงอาทิตย์ (direct sun) แต่ไม่กกั เก็บความชืIน
ใช้ไม้พมุ่ เพื>อสร้างสภาพแวดล้อมที>เย็น โดยให้มีลมพัดผ่านทําให้เกิดการระเหยนํIา
ปลูกหญ้าหรื อพืชคลุมดินเพื>อป้ องกันความร้อนให้กบั ดิน และทําให้อุณหภูมิผิวของสภาพแวดล้อมเย็นลง

การเปรียบเทียบอุณหภูมภิ ายใต้ ต้นไม้ และภายนอก


ที>มา: Landscape Planning for Energy Conservation

4.1 สภาพภูมปิ ระเทศ

ปรับความลาดเอียงของพืIนดินให้เอียงไปทางทิศเหนือ (north slope) เพื>อให้รับแสงแดดน้อยลง


ปรับแต่งเนินดินรอบอาคารเพื>อช่วยให้กระแสลมเย็นสามารถพัดผ่านตัวอาคาร
ใช้ประโยชน์จากอุณหภูมิของดินที>เย็นกว่าอุณหภูมิอากาศ โดยให้พIืนชัIนล่างของอาคารสัมผัสกับผิวดิน หรื อออกแบบให้ผนัง
อาคารบางส่วนอยูใ่ ต้ดิน
ใช้แหล่งนํIาขนาดใหญ่ (ความลึกตัIงแต่ 1.5 เมตรขึIนไป) สร้างความเย็นให้กบั สภาพแวดล้อม โดยให้มีกระแสลมพัดผ่านเพื>อ
ทําให้เกิดการระเหยของนํIา

การใช้ ประโยชน์ จากปัจจัยต่ างๆ ของทีตัCงและสภาพแวดล้ อมโดยรอบอาคาร


ที>มา: การออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิภาพในการประหยัดพลังงาน, รศ.ดร.ตรึ งใจ บูรณสมภพ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-6

4.2 สภาพภูมอิ ากาศ


การใช้ประโยชน์จากลม (cross ventilation) สําหรับประเทศไทยมีกระแสลมหลักมาจากทางทิศใต้ / ตะวันตกเฉี ยงใต้ในฤดู
ร้อน และจากทางทิศเหนือ / ตะวันออกเฉี ยงเหนือในฤดูหนาว จึงควรวางอาคารและช่องเปิ ดให้ขวางทิศทางลม
ควรออกแบบให้อาคารมีช่องทางให้ลมเข้าและออกที>มีขนาดเหมาะสม โดยให้ลมพัดผ่านช่วงตัวเรา (นัง> หรื อนอน)
ใช้ประโยชน์จากความเย็นของท้องฟ้ าในเวลากลางคืน (night air cooling / night sky radiation) โดยให้มีพIืนที>โล่งที>มีพืชคลุม
ดินผสมผสานกับต้นไม้ที>มีพมุ่ ใบโปร่ ง

แผนทีแสดงทิศทางลมทัวประเทศ
ทีมา: การออกแบบอาคารสําหรับภูมิอากาศเขตร้อนชื'น, รศ.ดร.สมสิ ทธิC นิตยะ

5. ตัวอาคาร
ตัวแปรที>เกี>ยวข้องกับตัวอาคารเป็ นปั จจัยที>มีผลต่อการใช้พลังงานในอาคารเป็ นอย่างมาก เพราะความร้อนจากรังสี อาทิตย์ซ> ึ งเป็ นที>มาของ
ภาระการทําความเย็นจะแปรผันไปตามทิศทางของดวงอาทิตย์ โดยมีตวั แปรที>เกี>ยวข้องกับการออกแบบตัวอาคารดังนีI
5.1 ทิศทางการวางตัวอาคาร
หันด้านแคบของอาคารไปทางทิศตะวันออก-ตะวันตก หรื อให้ดา้ นแคบของอาคารหันไปทางที>ได้รับแสงอาทิตย์ตอนบ่าย
(ทิศตะวันตก/ตะวันตกเฉี ยงใต้)
ใช้การวางทิศทางของอาคารประกอบกับการปลูกต้นไม้รอบอาคารในการกําหนดทิศทางลมให้พดั ผ่านอาคาร

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-7

วางอาคารให้ตI งั ฉากกับ ทิ ศทางลม โดยพิ จารณาความเร็ วและทิ ศ ทางของลมในแต่ละฤดู ก าล เพื> อใช้ประโยชน์จากลม


ธรรมชาติได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ในบางกรณี อาจพิจารณาออกแบบเป็ นอาคารชัIนเดี ยว เพื>อให้สามารถใช้ประโยชน์จากแสงธรรมชาติได้อย่างเต็มที> หรื อใน
อาคารหลายชัIน ควรให้แต่ละห้องมีความลึกน้อยที>สุด เพื>อให้สามารถใช้ประโยชน์จากแสงธรรมชาติได้มาก
5.2 รู ปทรงอาคาร

มีอตั ราส่วนพืIนที>ผิวต่อพืIนที>ใช้สอยตํ>าที>สุด หรื อออกแบบให้กรอบอาคารมีเส้นรอบรู ปน้อย


มีการรั>วซึมของอากาศตํ>า แต่ยอมให้มีการไหลเวียนอากาศผ่านผิวอาคาร
ในกรณี ทีอาคารมีรูปทรงเรี ยวยาวควรวางอาคารในแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก

แสดงอิทธิพลของรู ปทรงและทิศทางการวางตัวอาคารทีมีผลต่ อปริมาณความร้ อนเข้ าสู่ อาคาร


ทีมา: การออกแบบอาคารสําหรับภูมิอากาศเขตร้อนชื'น, รศ.ดร.สมสิ ทธิC นิตยะ

5.3 ตําแหน่ งช่ องเปิ ด

ควรลดปริ มาณกระจกทางด้านทิศตะวันออกและตะวันตกให้เหลือน้อยที>สุด เพื>อลดความร้อนที>เข้าอาคารและการระคายเคือง


ในการมองเห็น (glare)
ติดตัIงอุปกรณ์บงั แดด (shading device) แบบถาวรเหนื อกระจกเพื>อบังรังสี อาทิตย์โดยตรง (direct solar radiation) หรื อ
พิจารณาใช้การออกแบบสภาพภูมิทัศน์ (landscape) ช่ วยในการบังแดด และจํากัดปริ มาณกระจกในทิ ศตะวันออกและ
ตะวันตกให้มีนอ้ ยที>สุด เพราะบังแดดได้ยากกว่ากระจกทางด้านทิศใต้
ไม่ควรมีช่องแสงขนาดใหญ่บนหลังคา (skylight) ยกเว้นกรณี ที>ได้มีการออกแบบให้สามารถป้ องกันรังสี ตรงได้อย่างสมบูรณ์
การออกแบบอุปกรณ์บงั แดดมีผลกับการใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคารโดยตรง ดังนัIนควรพิจารณาควบคู่กนั ไป

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-8

6. วัสดุกรอบอาคาร
ภาระการทําความเย็นของอาคารส่ วนใหญ่มาจากปริ มาณความร้อนที>ผ่านวัสดุกรอบอาคาร (building envelope) เข้ามาภายในอาคาร การ
ลดปริ มาณความร้อนที>ผา่ นกรอบอาคารจึงเป็ นปั จจัยหลักที>จะช่วยทําให้สามารถลดการใช้พลังงานลงได้ วัสดุกรอบอาคารโดยทัว> ไปแบ่ง
ออกเป็ น 2 ประเภท คือ วัสดุทึบแสง (opaque) และวัสดุโปร่ งแสง (transparent) ซึ> งนํามาใช้เป็ นส่ วนของผนัง ช่องเปิ ด และหลังคาของ
อาคาร แนวทางในการพิจารณาออกแบบและเลือกใช้วสั ดุกรอบอาคารมีดงั นีI

แสดงแหล่ งทีมาต่ างๆ ของความร้ อนทีเข้ าสู่ ภายในอาคาร

6.1 ผนังและหลังคาทึบ

6.1.1 การลดความร้ อนผ่านผนังและการออกแบบผนังภายนอกอาคาร

เพิ>มความสามารถในการต้านทานความร้อนให้กบั ผนัง (ค่า R สูง) หรื อค่าสัมประสิ ทธิ‹การถ่ายเทความร้อน (U value) ตํ>า โดย
การติดตัIงหรื อบุฉนวนกันความร้อนที>ผนังด้านนอกของอาคาร หรื อใช้ผนัง 2 ชัIนมีช่องว่างอากาศ (Air-gap) ระหว่างชัIนของ
ผนังเป็ นอากาศหรื อฉนวนเพื>อกันความร้อน ในบางกรณี ที>มีความเหมาะสมเช่น ไม่ตอ้ งการใช้ระบบปรับอากาศในอาคารอาจ
ออกแบบผนังให้มีมวลสารที>สามารถหน่วงความร้อนได้ 12 ชัว> โมงเพื>อปรับปรุ งสภาวะน่าสบายและเพิ>มประสิ ทธิ ภาพของ
อาคารโดยเฉพาะผนังทางทิศตะวันตกที>ได้รับความร้อนมาก
อาคารปรับอากาศที> มีการเปิ ดและปิ ดเครื> องปรับอากาศระยะยาว อาจพิจารณาใช้ผนังที> มีการผสมผสานของมวลสารและ
ฉนวนอย่างเหมาะสม โดยให้มวลสารอยูด่ า้ นนอก ติดตัIงฉนวนในด้านในผนังอาคาร และใช้ฉนวนสะท้อนความร้อนเพิ>มค่า
R ให้ช่องว่างอากาศระหว่างผนัง

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-9

อาคารปรับอากาศที>มีการเปิ ดและปิ ดเครื> องปรับอากาศระยะสัIน ควรใช้ผนังที>มีมวลสารน้อย ติดตัIงฉนวนความร้อน และใช้


วัสดุที>มีการสะสมความร้อนความชืIนน้อย ตัวอย่างเช่น ผนังระบบฉนวนกันความร้อนภายนอก (External Insulation and
Finished System; EIFS)
สี ของผนังภายนอกอาคารควรเป็ นสี อ่อนหรื อใช้วสั ดุผิวมันเพื>อสะท้อนความร้อน
ในกรณี ของอาคารขนาดใหญ่ที>มีความหนาของผนังบริ เวณแกน (core) หรื อช่องลิฟท์หนามาก ควรให้อยูใ่ นทิศตะวันตกเพื>อ
ใช้เป็ นส่วนป้ องกันความร้อน (buffer zone) ที>ร้อนจัดในช่วงบ่าย
ทําที>บงั แดดเพื>อให้ผนังอยูใ่ นร่ มเงาตลอดทัIงวัน โดยเว้นช่องว่างระหว่างที>บงั แดดกับผนังเพื>อลดการสะสมความร้อน
ผนังที>มีการเล่นผิว (texture) เพิ>มพืIนที>ผิว เพื>อลดผลกระทบจากความร้อน

แสดงแนวทางการติดตัKงฉนวนทีผนังอาคารโดยคํานึงถึงปัญหาสะพานความร้ อน (Thermal bridge)


ที>มา: การออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิภาพในการประหยัดพลังงาน, รศ.ดร.ตรึ งใจ บูรณสมภพ

ตัวอย่ างวัสดุผนังทีมีค่า R สู ง (1) คอนกรีตมวลเบา (2) ผนัง EIFS


ที>มา: SIAM WALL CO., LTD

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-10

6.1.2 การลดความร้ อนผ่านหลังคาการออกแบบหลังคาอาคาร


พิจารณาขนาดของอาคารที>มีผลต่อการส่งผ่านความร้อนทางหลังคา เพราะหลังคาเป็ นส่ วนที>รับความร้อนตลอดทัIงวันและมี
อิทธิพลต่อภาระการทําความเย็นในอาคารเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ>งในกรณี ที>อาคารค่อนข้างเตีIยแต่มีขนาดใหญ่ซ> ึ งมี
สัดส่วนของพืIนที>หลังคาต่อพืIนที>ผิวอาคารสูง
เพิ>มความสามารถในการต้านทานความร้อนให้กบั หลังคา (ค่า R สู ง) โดยการติดตัIงหรื อบุฉนวนกันความร้อนใต้หลังคาหรื อ
ระหว่างชัIนฝ้ าเพดานกับหลังคา โดยอาจมีช่องระบายอากาศเพื>อระบายอากาศร้อนจากใต้หลังคาออกสู่ภายนอกอาคาร
ติดตัIงแผ่นฟิ ล์มอลูมินม>ั (reflective aluminum film) บางๆ ที>สะท้อนความร้อนได้ดีไว้ที>ดา้ นล่างของหลังคา
เลือกใช้หลังคาสี อ่อนเพื>อสะท้อนรังสี อาทิตย์
หลีกเลี>ยงการทําช่องแสงบนหลังคา (skylight) แต่ถา้ ต้องมีควรทําแผงบานเกล็ดบังแสงแดดและติดตัIงให้ถูกทิศทาง เพราะ
ความร้อนมากกว่า 90% มาจากการแผ่รังสี ความร้อนของหลังคาเข้ามายังภายในอาคาร
วัสดุหลังคาควรเป็ นวัสดุที>มีมวลสารน้อย มีการดูดกลืนและสะสมความร้อนตํ>า มีค่าความต้านทานความสูง (R) สูง
ให้ลอนของหลังคาวางขวางกับการโคจรของดวงอาทิตย์ (ตะวันออกไปตะวันตก อ้อมใต้) เพื>อบังแดดให้กนั และกันและลด
ความร้อน
ออกแบบเป็ นหลังคาจัว> เพื>อเพิ>มช่องว่างอากาศใต้หลังคา หรื อทําเป็ นหลังคา 2 ชัIน หรื อหลังคาทรงสู งระบายอากาศร้อนออก
ด้านบน ไม่ควรเป็ นหลังคาแบนและหนา

แสดงเงาทีเกิดขึนC บนลอนหลังคา
ทีมา: การออกแบบอาคารสําหรับภูมิอากาศเขตร้อนชื'น, รศ.ดร.สมสิ ทธิC นิตยะ

6.1.3 การพิจารณาเลือกใช้ วสั ดุฉนวนป้ องกันความร้ อน


เลือกใช้ฉนวนป้ องกันความร้อนที>มีค่าความต้านทานความร้อน (ค่า R) สู ง โดยพิจารณาประเภทที>เหมาะกับลักษณะการใช้
งานและตําแหน่งที>ติดตัIงฉนวน เช่น ใช้โฟมฉี ดบนหลังคา ใช้ฉนวนแบบแผ่นปูบนโครงเคร่ า เป็ นต้น
ข้อควรพิจารณาอื>นๆ ในการเลือกฉนวนนอกจากคุณสมบัติในการป้ องกันความร้อน (ค่า R) ได้แก่
- ลักษณะทางกายภาพ ความหนาแน่น และนํIาหนัก
- ช่วงอุณหภูมิในการใช้งาน และการยืดหดตัวเมื>อได้รับความร้อน
- การกันนํIาและความชืIน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-11

- การทนต่อแรงอัดและความทนทาน
- การป้ องกันการกลัน> ตัวเป็ นหยดนํIา
- การเสื> อมสภาพ และการบํารุ งรักษา
- คุณสมบัติการกันไฟ
- ความต้านทานต่อแมลง เชืIอรา การกัดกร่ อนและสารเคมี
- ความปลอดภัยต่อสุขภาพ
- การกันเสี ยง
- ปลอดกลิ>น
ตัวอย่างคุณสมบัติของฉนวนป้ องกันความร้อนชนิดต่างๆ ที>ใช้ในปั จจุบนั ได้แก่
- ใยแก้วหรื อไฟเบอร์กลาสมีคุณสมบัติในการกันความร้อนได้ดี มีค่าการกันไฟได้สูงถึง 300 องศาเซลเซี ยส และกันเสี ยง
ได้ดว้ ย แต่ไม่ทนต่อความชืIน
- ร็ อควูลกันความร้อนเทียบเท่าฉนวนใยแก้ว แต่ทนไฟได้ดีกว่า และดูดซับเสี ยงได้ดี แต่ไม่ทนต่อความชืIน
- โฟมชนิดต่างๆ มีคุณสมบัติในการกันความร้อนได้ดี (ใกล้เคียงกับฉนวนใยแก้วและร็ อควูล) และกันนํIาได้ แต่ไม่ทนต่อ
รังสี อุลตร้าไวโอเลต (UV) และความร้อนสูงๆ (จุดหลอมเหลวมักตํ>ากว่า 100 องศาเซลเซียส)
- เซลลูโลสกันความร้อนดีพอๆ กับใยแก้วและร็ อควูล ต้องใส่สารกันไฟลาม เพราะทําจากเยือ> ไม้หรื อกระดาษ
- อลูมินม>ั ฟอยล์ให้มีประสิ ทธิภาพในการกันความร้อน ต้องทําให้มีช่องว่างอากาศระหว่างแผ่นฟอยล์กบั ฝ้ าเพดานไม่นอ้ ย
กว่า 1 นิIวเพื>อเพิ>มค่าความเป็ นฉนวน

ตัวอย่ างวัสดุฉนวนป้ องกันความร้ อนประเภทใยแก้ วและร็อควูล


ทีมา: เอกสารเผยแพร่ การออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน "การใช้ฉนวน", กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน

6.2 ช่ องเปิ ด ผนังและหลังคาโปร่ งแสง


การใช้ประโยชน์หรื อหน้าที>ใช้สอยหลักของช่องเปิ ดในอาคาร คือ การยอมให้ผูใ้ ช้อาคารมองเห็นทิวทัศน์ภายนอกอาคารเพื>อเป็ น
การสร้างปฏิสมั พัทธ์กบั สภาพแวดล้อมโดยรอบให้มองเห็นสิ> งแวดล้อมโดยรอบอาคาร สามารถรับรู ้ความเป็ นไปภายนอกได้ นอกจากนีI
ยังเป็ นแหล่งที>มาของแสงธรรมชาติเข้าสู่พIืนที>ใช้สอยภายในอาคาร สร้างความรู ้สึกสบายตา ไม่รู้สึกว่าถูกตัดขาดจากสิ> งแวดล้อมโดยรอบ
อาคาร และ (ในบางกรณี ) เป็ นช่องทางให้ลมธรรมชาติเข้าสู่ อาคารซึ> งเป็ นทางเลือกสําหรับการใช้ระบบระบายอากาศแบบธรรมชาติ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-12

(Natural ventilation) แนวทางในการลดปริ มาณความร้อนผ่านช่องเปิ ดของอาคาร การเลือกใช้วสั ดุกระจก และการออกแบบอุปกรณ์บงั


แดด มีดงั นีI
6.2.1 การลดความร้ อนผ่านช่ องเปิ ดของอาคาร

พิจารณาให้มีสัดส่ วนของพืIนที>กระจกต่อพืIนที>ผิวของอาคาร (window-to-wall ratio; WWR) เฉพาะเท่าที>จาํ เป็ นเพื>อการใช้


ประโยชน์จากแสงธรรมชาติอย่างเพียงพอ
หลีกเลี>ยงรังสี ตรงจากดวงอาทิตย์ที>จะส่องผ่านช่องเปิ ดของอาคาร โดยเฉพาะอาคารปรับอากาศควรมีหน้าต่างน้อยที>สุด หรื อ
มีเฉพาะด้านทิศเหนือและใต้ของอาคาร
ในกรณี ที>จาํ เป็ นต้องมีช่องแสงบนหลังคา (skylight) เพื>อนําแสงธรรมชาติมาใช้งาน ควรมีลกั ษณะดังนีI
- ออกแบบให้หลีกเลี>ยงรังสี ความร้อนในช่วงฤดูร้อนและให้มีการบํารุ งรักษาน้อยที>สุด
- มีระบบมอเตอร์สาํ หรับปรับระบบบานเกล็ดเพื>อรับรังสี อาทิตย์อย่างเหมาะสม
- หลีกเลี>ยงรังสี ตรง (แสงแดด) และกระจายแสงที>ได้รับเข้าไปยังภายในอาคาร
มีส่วนยืน> ชายคา กันสาด หรื อปลูกต้นไม้เพื>อบังแสงแดดให้กบั ช่องเปิ ดทุกๆ ทิศ โดยเฉพาะหน้าต่าง ประตู หรื อผนังกระจก
ด้านทิศตะวันออกและตะวันตก
6.2.2 การเลือกใช้ กระจกเพือการประหยัดพลังงาน
ใช้กระจกที>มีค่าสัมประสิ ทธิ‹การบังแดด (shading coefficient; SC) ตํ>าเพื>อลดปริ มาณรังสี อาทิตย์ (คลื>นสัIน) ที>ผา่ นกระจกเข้าสู่
ภายในอาคารและเปลี>ยนเป็ นความร้อน (คลื>นยาว)
ใช้กระจกที>มีค่าการส่ องผ่านของแสง (light transmittance; LT) ในช่วงคลื>นที>จาํ เป็ นต่อการมองเห็น (visible light) สู งมาก
พอที>จะนําแสงธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ในอาคารได้ (LT ไม่ควรน้อยกว่า 20%)
ควรพิจารณากระจกที>มีค่าอัตราส่ วน LSG (light-to-solar-gain ratio) สู ง ค่า LSG เป็ นค่าที>ใช้เปรี ยบเทียบปริ มาณของแสง
สว่างกับปริ มาณความร้อนที>ผา่ นกระจก (LT/SC) ดังนัIนถ้ากระจกมีค่า LSG มากกว่า 1 แสดงว่ามีแสงสว่างผ่านเข้ามาภายใน
อาคารมากกว่าความร้อน และเป็ นกระจกที>เหมาะสําหรับนําแสงธรรมชาติเข้ามาใช้ในอาคาร8
ใช้กระจกที>มีค่าสัมประสิ ทธิ‹ การถ่ายเทความร้อนรวม (U) ตํ>า เพื>อลดปริ มาณความร้อนที>เกิดจากการนํา (conduction) จาก
ภายนอกเข้าสู่ภายในอาคาร เช่น กระจก 2 ชัIน (double glazing) หรื อ 3 ชัIน (triple glazing) เป็ นต้น
ควรเลือกวัสดุกระจกที>มีค่า SHGC (solar heat gain coefficient) ตํ>า ค่า SHGC เป็ นผลรวมของรังสี อาทิตย์ที>ส่งผ่านกระจกกับ
ส่วนของรังสี ที>ถูกดูดซับอยูภ่ ายในกระจก โดยเฉพาะอย่างยิง> สําหรับผนังทางด้านทิศตะวันออก ตะวันตก และใต้ เพื>อป้ องกัน
รังสี อาทิตย์ และเพื>อความสบายตาของผูใ้ ช้งานอาคาร
พิจารณาอิทธิพลของอุณหภูมิผิวกระจกเมื>อได้รับความร้อน ซึ> งจะเกิดการแผ่รังสี เข้าสู่ ภายในอาคารและมีผลต่อค่าเฉลี>ยของ
อุณหภูมิผิวโดยรอบ (Mean Radiant Temperature; MRT) ทําให้มีผลต่อสภาวะน่าสบายของผูใ้ ช้อาคาร
ตัวอย่างคุณสมบัติของกระจกชนิดต่างๆ ที>ใช้ในปั จจุบนั ได้แก่
- กระจกตัดแสง (Tinted Glass) ลดแสงจ้าและความร้อน ถ้าท้องฟ้ ามืดมัวจะทําให้แสงสว่างที>เข้าสู่อาคารไม่เพียงพอ

8
ในปั จจุบนั กระจกทีได้รับการออกแบบพิเศษจะมีค่า LSG สู งกว่า 2 แต่โดยทัวไปถ้ากระจกใดมีค่า LSG ประมาณ 1.7 ก็อาจนับว่าเป็ นกระจกทีมีประสิ ทธิ ภาพสู ง (ทีมา:
วัสดุประหยัดพลังงาน “การใช้กระจกยุคใหม่เพือการอนุรักษ์พลังงานและสิ งแวดล้อม” โดย ศ.ดร. สุ นทร บุญญาธิการ)
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-13

- กระจกดูดกลืนความร้อน (Heat-Absorbing Glass) ดูดซึมความร้อนได้ 45% และถ้ามีที>กนั แดดให้กระจกอยูใ่ นร่ มจะลด


ความร้อนได้ถึง 75%
- กระจกเคลือบผิวสะท้อนแสง (Reflective Metalic Coating) ลดทัIงความร้อนและแสงสว่าง มีค่า R มากกว่ากระจก
ดูดกลืนความร้อน แต่ขณะเดียวกันก็จะแผ่กระจายความร้อนให้กบั ภายในห้อง ดังนัIนจึงเหมาะสมกับเมืองหนาวมากกว่า
- กระจกสองชัIน (Double Glazing) ลดความร้อนได้ถึง 80% และยอมให้แสงสว่างผ่านเข้าได้มาก ลดแสงจ้า ป้ องกัน UV
แต่ราคาค่อนข้างสูงเมื>อเทียบกับกระจกชนิ ดอื>นๆ เช่น กระจก Heat Stop ใช้กบั อาคารส่ วนปรับอากาศ มีค่า SC ตํ>า แสง
สว่างผ่านได้มาก แต่ความร้อนผ่านได้นอ้ ย มีค่าการนําความร้อนตํ>า (เป็ นกระจก 2 ชัIน มีก๊าซเฉื> อยบรรจุตรงกลาง)
- กระจกติดฟิ ล์ม Low E (low emissivity) หรื อฟิ ล์มที>มีค่าสัมประสิ ทธิ‹ การแผ่รังสี ต>าํ และเคลือบ Sun Protection ที>มีค่า
สัมประสิ ทธิ‹การบังแดดตํ>า จะช่วยลดความร้อนที>เข้าสู่อาคารได้มาก
- กระจกลามิเนต ใช้กบั อาคารส่วนไม่ปรับอากาศ เพื>อใช้ประโยชน์ในการนําความร้อนออกสู่ภายนอกอาคาร
ห้ามใช้กระจกที>มีสมั ประสิ ทธิ‹การสะท้อนรังสี อาทิตย์ (Reflectance) เกินกว่า 0.2

ภาพตัดแสดงตัวอย่ างของกระจก 2 ชัCน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-14

6.2.3 การออกแบบอุปกรณ์ บังแดด


ควรใช้อุปกรณ์บงั แดดแบบภายนอก เพราะมีประสิ ทธิภาพในการลดปริ มาณความร้อนเข้าสู่ภายในอาคารดีกว่าแบบภายใน
ลักษณะของอุปกรณ์บงั แดดที>เหมาะกับทิศทางต่างๆ มีดงั นีI
- ทิศใต้ (S) ควรใช้อุปกรณ์บงั แดดแบบผสม และเพิ>มชายคายืน> ยาวช่วยบังรังสี อาทิตย์ทI งั ในมุมสูงและตํ>า
- ทิศตะวันออก (E) และตะวันตก (W) ใช้แบบแนวตัIงและปรับมุมได้
- ทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ (SE) และทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ (SW) ใช้แบบตาราง
- ทิศเหนือ (N) จะไม่ได้รับรังสี อาทิตย์โดยตรง ดังนัIนจึงไม่ตอ้ งใช้อุปกรณ์บงั แดดมากนัก อาจใช้เพียงแผงกันแดดแนวตัIง
ยืน> ออกมาเล็กน้อยเพื>อบังรังสี อาทิตย์ในช่วงเช้าและเย็น
การติดตัIงกันสาดหรื อแผงกันแดดควรหลีกเลี>ยงสะพานความร้อน โดยให้มีจุดเชื>อมต่อระหว่างกันสาดกับตัวอาคารให้นอ้ ย
ที>สุด หรื อให้มีช่องว่างระหว่างกันสาดกับตัวอาคารเพียงพอเพื>อให้สามารถระบายความร้อนได้ดี
การใช้อุปกรณ์บงั แดดภายในอาคารไม่สามารถลดปริ มาณความร้อนทัIงหมดที>เข้าสู่อาคารได้ ควรพิจารณาใช้เฉพาะในกรณี ที>
ต้องการช่วยลดการระคายเคืองในการมองเห็น (glare) และช่วยให้เกิดความสบายตาเท่านัIน

แสดงเงาของแผงบังแดดแบบต่ างๆ
ที>มา: การออกแบบอาคารสําหรับภูมิอากาศเขตร้อนชืIน, รศ.ดร.สมสิ ทธิ‹ นิตยะ

7. แนวคิดอืนๆ เพือลดการใช้ พลังงานในอาคาร


แนวคิดที>นาํ เสนอต่อไปนีIมุ่งเน้นให้ลดการใช้พลังงานในอาคารทัIงทางตรงและทางอ้อม โดยผูอ้ อกแบบสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้ตาม
ความเหมาะสม เพื>อให้เกิดเป็ น “อาคารที>ใช้ธรรมชาติ” (passive building) ที> สามารถประหยัดพลังงานได้อย่างยัง> ยืนควบคู่ไปกับการ
อนุรักษ์ส>ิ งแวดล้อม แนวทางต่างๆ มีดงั นีI

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-15

7.1 การใช้ แสงธรรมชาติในอาคาร


ใช้แสงธรรมชาติให้มากที>สุด โดยใช้เฉพาะแสงกระจาย (diffuse radiation) หลีกเลี>ยงแสงแดด (direct sun)
ใช้แสงธรรมชาติควบคู่กบั แสงประดิษฐ์ โดยออกแบบระบบการควบคุมไฟฟ้ าแสงสว่างแบบแยกพืIนที> และปรับความสว่าง
ของแสงตามการใช้งาน เช่น
- ในพืIนที>สาํ หรับการทํางาน มีเซนเซอร์ตรวจวัดระดับแสงสว่าง เพื>อปรับแสงของหลอดไฟฟ้ าให้เหมาะสมกับการใช้งาน
- ติดตัIงดวงโคม สวิตช์ สายไฟ เพื>อให้เอืIอประโยชน์ต่อการนําแสงสว่างธรรมชาติมาใช้งาน (แบ่งโซนเปิ ด-ปิ ด)
- สําหรับพืIนที>ที>ไม่ตอ้ งการแสงสว่าง เช่น บริ เวณหน้าจอโปรเจคเตอร์ ไม่ควรใช้แสงสว่างธรรมชาติ
ใช้หิIงสะท้อนแสง (light shelf) และการสะท้อนนําแสงเข้าไปบริ เวณที>อยูล่ ึกเข้าไปภายในอาคาร เพื>อช่วยให้หอ้ งสว่างขึIนและ
ไม่เกิดแสงจ้า หิIงสะท้อนแสงที>มีประสิ ทธิภาพควรอยูท่ างด้านทิศใต้
แยกการใช้งานระหว่างกระจกเพื>อการมองเห็นและกระจกเพื>อการนําแสงธรรมชาติมาใช้งาน
เพิ>มพืIนที>ส่วนใช้งานที>บริ เวณใกล้กบั ริ มอาคาร เพื>อเพิ>มพืIนที>ที>ใช้งานแสงสว่างธรรมชาติ
ทําตัวอาคารให้เป็ นที>ทาํ ให้เกิดแสงสว่างโดยทาสี อ่อนเพื>อให้สะท้อนแสง และเพิ>มความสว่างของห้องโดยการสะท้อนภายใน
ห้อง (ผนังและเครื> องเรื อนภายในอาคารควรเป็ นสี อ่อน)
ลดแสงจ้าที>ทาํ ให้เกิดความไม่สบายตา (glare) โดยพิจารณาจากตําแหน่งของแหล่งกําเนิ ดแสง และระดับความแตกต่างของ
แสงสว่าง (contrast) ควรพิจารณาการนําแสงสว่างเข้ามาในมุมสูง เพราะสามารถเข้ามาได้ลึกและไม่รบกวนสายตา
จัดปริ มาณแสงสว่างให้เพียงพอและถูกต้องกับประเภทการใช้งาน ในพืIนที>สาํ หรับทํางาน (work surface) ควรมีความสว่าง 50
foot-candles แต่หากมีการออกแบบใช้งานแสงสว่างธรรมชาติที>มีประสิ ทธิ ภาพดี ค่าความสว่างอาจลดลงได้ถึง 30 foot-
candles หรื อน้อยกว่า
การออกแบบเพื>อนําแสงธรรมชาติมาใช้งานภายในอาคาร ควรพิจารณาใช้กระจกที>มีค่า Tv ไม่ต>าํ กว่า 0.25
(ดูรายละเอียดเพิ>มเติมในบทต่อไป “การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร”)
7.2 การควบคุมการรัวซึมของอากาศ

ใช้รูปทรงอาคารที>มีการรั>วซึมอากาศตํ>า เช่น ผนังภายนอกเป็ นส่วนโค้งของวงกลม หรื ออาคารรู ปทรงโค้งมน เป็ นต้น


ควบคุมความชืIนและการรั>วซึมของอากาศ โดยควรติดตัIงวัสดุป้องกันความชืIนร่ วมกับฉนวนด้วยสําหรับผนังภายนอกอาคาร
โดยให้ความชืIนสามารถผ่านออกไปภายนอกได้ และการรั>วซึ มของอากาศทําให้ความชืIนปริ มาณมากผ่านเข้าสู่ วสั ดุเปลือก
อาคาร ดังนัIนควรป้ องกันการรั>วซึมของอากาศอย่างดี
อุดหรื อปิ ดรอยต่อในส่ วนต่างๆ ของอาคารเพื>อลดการรั>วซึ มของอากาศ เช่น ตามวงกบหน้าต่างและประตู ระหว่างผนังกับ
ฐานราก ระหว่างกําแพงกับหลังคา รอยต่อระหว่างผนัง ช่องที>เจาะที>พIืน ผนังหรื อหลังคาสําหรับการเดิ นท่อต่างๆ ฯลฯ ให้
สนิทด้วยซีเมนต์และซิลิโคน
บริ เวณทางเข้า-ออกอาคารหรื อประตู-หน้าต่างที>ตอ้ งปิ ด-เปิ ดบ่อยๆ ควรใช้อุปกรณ์ปิดประตูแบบอัตโนมัติเพื>อลดการรั>วซึ ม
ของอากาศ ในกรณี ของห้างสรรพสิ นค้าควรใช้ประตู 2 ชัIน หรื อมีหอ้ งกักอากาศ (air lock)
ประตูชI นั ดาดฟ้ าหรื อประตูที>เปิ ดออกสู่นอกอาคารต้องปิ ดให้สนิทอยูเ่ สมอ
มีผนังกัIนบริ เวณช่องบันไดที>เดินผ่านระหว่างชัIนเพื>อลดพืIนที>ที>ไม่จาํ เป็ นต้องปรับอากาศ
ลดอัตราการระบายอากาศที>ไม่จาํ เป็ นด้วยวิธีต่างๆ เช่น

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-16

- แยกห้องสูบบุหรี> จากห้องทํางาน
- ติดตัIงแผ่นกรองอากาศ
- ติดตัIงเครื> องแลกเปลี>ยนความร้อนระหว่างอากาศที>จะนําออกไปทิIงกับอากาศที>นาํ เข้ามา
- ช่วงเวลาที>มีคนในอาคารน้อย ควรเปิ ดพัดลมดูดอากาศเข้ามาในอาคาร ใช้อากาศเย็นภายในอาคารหมุนเวียนผ่านเครื> อง
กรองฝุ่ น/กรองกลิ>นชัว> คราว
7.3 การจัดกลุ่มพืนK ทีใช้ สอยให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมโดยรอบ

ลดความรุ นแรงในการเปลี>ยนแปลงอุณหภูมิ โดยจัดลําดับการเปลี>ยนแปลงพืIนที> จากภายในอาคารสู่ ภายนอกอาคารอย่าง


เหมาะสม (มี transition zone)
อาจพิจารณาแบ่งพืIนที>ใช้สอยเป็ น 4 กลุ่ม (zone) ตามลักษณะกิจกรรมดังนีI9
- Natural Zone ไม่มีการควบคุมสภาพแวดล้อมแต่มีการปรุ งแต่งเพื>อให้อยูใ่ นสภาวะน่ าสบาย (กิ จกรรม เช่น เดินเล่น
รับประทานอาหาร ฯลฯ)
- Passive Zone ใช้วสั ดุและเทคนิ คในการออกแบบเพื>อควบคุมสภาพแวดล้อม ไม่ใช้เครื> องกล (กิ จกรรมที> ไม่ตอ้ งใช้
ความคิดมากนัก)
- Semi-Passive Zone ใช้เครื> องกลควบคุมสภาพแวดล้อมบ้าง (กิจกรรม เช่น การเดินทางไปยังห้องต่างๆ การพูดคุยทัว> ไป
ฯลฯ)
- Control Zone ใช้เครื> องกลควบคุมสภาพแวดล้อมอย่างสมบูรณ์ (กิจกรรมที>ตอ้ งใช้ความคิดและการตื>นตัวของร่ างกาย
เสมอ เช่น การเรี ยน อ่านหนังสื อ ฯลฯ)
ติดตัIงอุปกรณ์สาํ นักงานบางประเภทที>ก่อให้เกิดความร้อนไว้นอกห้องปรับอากาศ
7.4 การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ (Natural Ventilation)

พิจารณาข้อจํากัดในการใช้ประโยชน์จากการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ เช่น อุณหภูมิอากาศ ทิศทางของกระแสลม และ


ช่วงเวลาที>เหมาะสมในการใช้งาน โดยใช้ขอ้ มูลของพืIนที>ตI งั โครงการโดยตรงหรื อข้อมูลของกรุ งเทพมหานครซึ> งมีการเก็บ
รวบรวมอย่างละเอียด
วางอาคารตัIงฉากกับกระแสลมเพื>อใช้ประโยชน์จากลมและการระบายอากาศแบบธรรมชาติ และอาคารควรตัIงอยูใ่ นตําแหน่ง
ที>รับลมได้มากที>สุด โดยใช้ตน้ ไม้และการออกแบบภูมิสถาปั ตย์เพื>อช่วยบังลมในด้านที>ไม่ตอ้ งการ
ใช้ประโยชน์จากกระแสลมธรรมชาติ (cross ventilation) อย่างเต็มที> โดยมีขอ้ ควรพิจารณาดังนีI
- ออกแบบช่องเปิ ด โดยแต่ละห้องควรมีทางเข้าออกของลมเพื>อให้เกิดการไหลของลมผ่านห้อง ออกแบบให้ทางลมออก
อยูส่ ูงเพื>อให้เกิดการลอยตัวของอากาศร้อน (stack effect)
- การติดตัIงผนังกัIนห้องหรื อจัดวางเฟอร์นิเจอร์
- การปลูกต้นไม้หรื อสร้างรัIวบริ เวณรอบอาคาร
- เปิ ดหน้าต่างตลอดเวลา
- มีช่องระบายอากาศเหนือหน้าต่าง ประตู (บานเกล็ด / ลูกกรง / ไม้ระแนง)

9
อ้างอิงจากการออกแบบมหาวิทยาลัยชินวัตร โดย ศ.ดร. สุ นทร บุญญาธิการ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-17

ใช้ประโยชน์จากกระแสลมเพื>อระบายความร้อนและสร้างความรู ้สึกเย็น ในส่วนของ Passive Zone


ในเขตที>มีอากาศร้อน ควรใช้การระบายอากาศแบบธรรมชาติในช่วงกลางคืนเพื>อลดอุณหภูมิของพืIนผิวอาคาร
การระบายอากาศแบบธรรมชาติมีผลดีสาํ หรับอาคารที>มิได้มีการใช้ระบบปรับอากาศ การออกแบบส่ วนปรับอากาศและส่ วน
ที>ตอ้ งใช้การระบายอากาศแบบธรรมชาติมีความแตกต่างกัน เป็ นการยากที>จะออกแบบอาคารให้ควบคุม (operate) ได้ทI งั 2
ระบบในเวลาเดียวกัน
มีช่องทางระบายอากาศร้อนอยูใ่ นส่วนที>สูงสุดของอาคาร เพื>อระบายอากาศร้อนออกไปภายนอกอาคาร
ในกรณี ที>มีกระจกชัIนเดียวติดตัIงบนช่องแสงบนหลังคา (skylight) จะช่วยระบายอากาศร้อนบางส่ วนออกไปภายนอกอาคาร
ได้ โดยอาศัยการลอยตัวของอากาศร้อน (stack effect)
ควรเปิ ดช่องเปิ ดภายในอาคาร (ประตู, หน้าต่าง) ไว้เพื>อให้มีการไหลเวียนของอากาศภายในอาคาร หรื อหากต้องปิ ดประตู
ควรมีบานเกล็ด ช่องลม หรื อหน้าต่างเล็กๆ เหนือประตู-หน้าต่าง เพื>อการไหลเวียนของอากาศแทน

แผนภูมแิ สดงข้ อมูลต่ างๆ ของกรุงเทพมหานคร (March 21, 1996)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-18

7.5 อุปกรณ์ สํานักงานและอุปกรณ์ อนๆ


ื (Office & Other Equipments)

7.5.1 อุปกรณ์ สํานักงาน (Office Equipments)


การจัดการด้านอุปกรณ์สาํ นักงานที>ดี จะสามารถช่วยประหยัดการใช้พลังงานของอุปกรณ์สาํ นักงานที>มีอยูไ่ ด้อย่างมาก อย่างไรก็
ตาม การปฏิ บัติตามมาตรการเพื>อการประหยัดพลังงานเพื>อให้ได้ผลสําเร็ จนัIน จะต้องร่ วมมื อกันปฏิ บตั ิ ทI งั องค์กร แนวทางหนึ> งที> มี
ประสิ ทธิ ภาพ คือ การกําหนดแนวทางการประหยัดพลังงานไว้ในนโยบายขององค์กรด้วย โดยนโยบายดังกล่าวควรคลอบคลุมถึงเรื> อง
การจัดซืIอ คุณลักษณะเฉพาะและการใช้งานของอุปกรณ์สาํ นักงาน
(1) คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่อพ่ วง
การเลือกและการใช้งานอุปกรณ์สาํ นักงานอย่างเหมาะสมจะช่วยให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้ า ซึ> งเป็ นการลดต้นทุนในการใช้งานลง
ได้โดยตรง และในทางอ้อม การติดตัIงอุปกรณ์และการใช้งานที>เหมาะสมยังสามารถลดความร้อนที>จะเกิดขึIนภายในอาคารได้อีกด้วย
(1.1) คอมพิวเตอร์แบบตัIงโต๊ะ (Desktop Computer)
ปิ ดคอมพิวเตอร์เมื>อเมื>อไม่ใช้งานนานๆ เช่น ในเวลากลางคืน เสาร์-อาทิตย์
ใช้มอนิเตอร์แบบ LCD เพราะประหยัดพลังงานมากกว่ามอนิเตอร์แบบ CRT ถึง ‡…%
งานบางประเภทอาจเลือกใช้จอภาพที>แสดงผลหน้าจอเพียงสี เดียวได้
ใช้โหมดประหยัดพลังงาน เช่น sleep mode หรื อ standby mode
ปิ ดมอนิเตอร์เมื>อไม่ใช้งานนานๆ เช่น ช่วงเวลาพักกลางวัน หรื อมีการทํางานของคอมพิวเตอร์ โดยไม่จาํ เป็ นต้องเปิ ด
มอนิเตอร์ เช่น รันโปรแกรมคํานวณที>ใช้เวลานาน การทําสํารองไฟล์ (File Backup) ขนาดใหญ่ เป็ นต้น
ถ้าจําเป็ นต้องเปิ ดคอมพิวเตอร์ไว้ทI งั วัน ให้ตI งั เวลาปิ ดมอนิเตอร์แบบอัตโนมัติ
ใช้ Blank screen ประหยัดพลังงานได้มากกว่า Screen saver
เลือกขนาดที>เหมาะสมกับการใช้งาน
ถ้าเป็ นไปได้ ให้เลือกใช้คอมพิวเตอร์แบบกระเป๋ าหิIว (Lab top) แทน เนื>องจากประหยัดพลังงานได้มากกว่า
ตัIงไว้ในที>ที>มีการระบายอากาศที>ดี
(1.2) เครื> องพิมพ์ (Printer)
ใช้ระบบเครื อข่ายเพื>อจัดสรรการใช้งานเครื> องพิมพ์ (Networked printers) เมื>อมีการใช้งานเครื> องพิมพ์ร่วมกันสําหรับ
คอมพิวเตอร์หลายๆ เครื> อง
ปิ ดเมื>อไม่ใช้งานหรื อใช้โหมดประหยัดพลังงาน เช่น Save Mode หรื อ Sleep Mode
เลือกขนาดที>เหมาะสมกับการใช้งาน
เลือกใช้เครื> องพิมพ์แบบฉี ดหมึก ประหยัดกว่าเครื> องพิมพ์แบบเลเซอร์
ตัIงไว้ในที>ที>มีการระบายอากาศที>ดี
ใช้วธิ ีส่งข่าวสารทางอี-เมล (E-mail) ทดแทนการพิมพ์
(1.3) แสกนเนอร์ (Scanners)
ควรเป็ นระบบเปิ ดอัตโนมัติเฉพาะเวลาที>ใช้งาน
เลือกขนาดที>เหมาะสมกับการใช้งาน
ตัIงไว้ในที>ที>มีการระบายอากาศที>ดี

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-19

(2) คอมพิวเตอร์ แบบกระเป๋ าหิวC (Lab top)


ควรถอดปลัก‘ หรื อปิ ดสวิตช์ (กรณี ใช้สายไฟที>มีสวิตช์ปิด-เปิ ด) ทุกครัIง เมื>อชาร์จแบตเตอรี> เต็มแล้ว
เลือกขนาดที>เหมาะสมกับการใช้งาน
ตัIงไว้ในที>ที>มีการระบายอากาศที>ดี
(3) เครืองถ่ ายเอกสาร (Copiers)
มีระบบปิ ดอัตโนมัติเมื>อไม่ใช้งานนานๆ
มี sleep mode และ standby mode เพื>อประหยัดพลังงาน
เลือกขนาดที>เหมาะสมกับการใช้งาน
ตัIงไว้ในที>ที>มีการระบายอากาศที>ดี
(4) เครืองโทรสาร (Fax machine)
มีระบบเปิ ดอัตโนมัติเฉพาะเวลาที>ใช้งาน
มี sleep mode เพื>อประหยัดพลังงาน
เลือกขนาดที>เหมาะสมกับการใช้งาน
ตัIงไว้ในที>ที>มีการระบายอากาศที>ดี
หลีกเลี>ยงการใช้ใบปะหน้า (จากการศึกษาพบวาสัดส่ วนของใบปะหน้ามีปริ มาณถึง p ใน q ส่ วนของการส่ งโทรสาร
ทัIงหมด)
ใช้วธิ ีส่งอี-เมล (E-mail) ทดแทนการส่งโทรสาร
การใช้ พลังงาน
อุปกรณ์
ระหว่ างการใช้ งาน Standby mode Sleep mode
มอนิเตอร์แบบ LCD น้อยกว่าหรื อเท่ากับ g… W น้อยกว่าหรื อเท่ากับ g… W น้อยกว่าหรื อเท่ากับ p… W
มอนิเตอร์แบบ CRT น้อยกว่าหรื อเท่ากับ pgo W น้อยกว่าหรื อเท่ากับ pgo W น้อยกว่าหรื อเท่ากับ `… W
ซีพียู (CPU) 30-60 W 30-50 W 20-30 W
คอมพิวเตอร์แบบกระเป๋ าหิIว `…-q… W `…-q… W p…-`… W
ปริ นเตอร์แบบเลเซอร์
’ ppm XYY-X7Y W น้อยกว่า X7 W น้อยกว่า 7 W
‡-p“ ppm [7Y-\YY W น้อยกว่า [Y W น้อยกว่า 7 W
มากกว่า p“ ppm ]YY-^YY W น้อยกว่า \7 W น้อยกว่า 7 W
ปริ นเตอร์แบบอิงค์เจ็ต X7-_7 W น้อยกว่า ] W น้อยกว่า 7 W
เครื> องถ่ายเอกสาร
ขนาดเล็ก (“ ppm) XYY-X7Y W 7Y W o + (g.‡o x cpm) W
ขนาดกลาง (g… ppm) ]YY-XYYY W [YY W o + (g.‡o x cpm) W
ขนาดใหญ่ (o… ppm) X7YY-_YYY W 7YY W o + (g.‡o x cpm) W
ขนาดใหญ่พิเศษ (p…… ppm) _7YY-[YYY W XYYY-_YYY W o + (g.‡o x cpm) W
เครื> องโทรสารเลเซอร์ (“ ppm) X[Y-X7Y W 7Y W น้อยกว่า po W
แสกนเนอร์ X[Y-X7Y W 7Y W น้อยกว่า po W
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-20

7.5.2 เครืองใช้ ไฟฟ้าอืนๆ (Other Equipments)


เลือกใช้เครื> องใช้ไฟฟ้ าที>มีวตั ต์ต>าํ ๆ
เปิ ดใช้เฉพาะเวลาที>จาํ เป็ น
เมื>อเลิกใช้ควรถอดปลัก‘ หรื อปิ ดสวิตช์ทนั ที
ไม่ควรใช้เครื> องใช้ไฟฟ้ าพร้อมกันหลายๆ ตัว
ทําความสะอาดและบํารุ งรักษาอย่างสมํ>าเสมอ
7.6 ระบบการจัดการพลังงาน (Energy Management System)
ระบบการจัดการพลังงานในอาคาร เป็ นการควบคุมการใช้พลังงานในอาคารอย่างชาญฉลาด โดยการวิเคราะห์และประเมิน
สถานการณ์ดา้ นพลังงานขององค์กรในปั จจุบนั เพื>อนําข้อมูลต่างๆ ที>ได้ไปใช้ในการกําหนดรู ปแบบของระบบการจัดการด้านพลังงานที>
เหมาะสมสําหรับแต่ละองค์กร โดยมีวตั ถุประสงค์หลักคือ การปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพของอาคาร และการลดต้นทุนในการใช้งานอาคาร
ให้ต>าํ ที>สุด
ตารางการจัดการด้ านพลังงาน (Energy Management Matrix)

ที>มา : P.S. Harris, ‘The Armitage Norton Report’, Energy Users Research Association Limited, Bulletin No. qq, February p‰‡q.

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-21

ตารางนีIจดั ทําขึIนเพื>อ
ช่วยให้สามารถระบุและอธิบายถึงลําดับความสําคัญของรู ปแบบของการจัดการด้านพลังงานที>แตกต่างกันในองค์กร
ชีIให้เห็นแนวทางการจัดองค์กรสําหรับการจัดการด้านพลังงานแบบต่างๆ แนวนอนของตารางแสดงถึงการเพิ>มระดับของ
ความยุง่ ยากและความซับซ้อนที>เกี>ยวข้องกับ

ตัวอย่างระบบการจัดการพลังงานในอาคาร
การตรวจสอบพืIนที>ภายในอาคารที>ไม่มีการใช้งาน เพื>อปิ ดการใช้ไฟฟ้ าแสงสว่างและการปรับอากาศในพืIนที>นI นั ๆ
การควบคุมอุณหภูมินI าํ เย็นในขดท่อนํIาเย็นให้สอดคล้องกับความเย็นที>ตอ้ งการ
การปิ ดปั‘ มนํIาเย็นในช่วงที>ภาระการทําความเย็นตํา
การปิ ดไฟฟ้ าแสงสว่าง เครื> องปรับอากาศ ลิฟต์ ฯลฯ ในช่วงเวลาที>ไม่ใช้งานอาคาร (นอกชัว> โมงทํางาน)
การควบคุมความเร็ วของพัดลมเพื>อเปลี>ยนแปลงความต้องการอากาศ
ระบบเก็บสะสมนํIาเย็นหรื อนํIาแข็งในช่วงที>มีความต้องการใช้ไฟฟ้ าตํ>า แล้วนํามาใช้ในช่วงที>มีความต้องการใช้ไฟฟ้ าสู ง
เพื>อประหยัดค่าไฟฟ้ า
ควบคุมการปิ ด-เปิ ดอุปกรณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสม

ระบบการจัดการพลังงานที> มีประสิ ทธิ ภาพและประสบความสําเร็ จ ต้องกําหนดไว้ในนโยบายด้านพลังงานขององค์กร ทัIงนีI


เพื>อให้บุคลากรขององค์กรทุกๆ ระดับมีการปฏิบตั ิไปในแนวทางเดียวกัน ซึ> งจะเอืIออํานวยต่อการประหยัดพลังงานขององค์กร รวมทัIง
เป็ นแนวทางในการจัดการด้านพลังงานสําหรับผูจ้ ดั การพลังงาน (Energy Management) ขององค์กรด้วย

นโยบายด้านพลังงานขององค์กร ควรครอบคลุมประเด็นต่างๆ ดังนีI


กําหนดวัตถุประสงค์ขององค์กรและกําหนดเป้ าหมายของอุปกรณ์ต่างๆ
ประชาสัมพันธ์/เผยแพร่ นโยบายเกี>ยวกับการใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิภาพของหน่วยงานให้บุคลากรทุกๆ ระดับทราบ
กําหนดหน้าที>ความรับผิดชอบของบุคลากรที>ใช้อุปกรณ์/เครื> องมือต่างๆ
กําหนดหน้าที>ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที>จดั ซืI ออุปกรณ์ เพื>อให้จดั ซืI ออุปกรณ์ที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านพลังงานและคุม้ ค่า
ด้านการลงทุน
กําหนดหน้าที>ความรับผิดชอบของผูอ้ อกแบบ เพื>อให้คาํ นึงถึงผลของการใช้อุปกรณ์กบั ระบบต่างๆ ของอาคาร
กําหนดมาตรฐานการใช้พลังงานไฟฟ้ า
มีการกระตุน้ ให้ปฏิ บตั ิ ตามนโยบาย โดยการสื> อสารภายในองค์กร (โปสเตอร์ การประชุมกลุ่ม การเพิ>มแรงจู งใจ การ
รายงานความสําเร็ จ ฯลฯ)
ทบทวนนโยบายระดับองค์กรเป็ นประจําทุกปี และเปลี>ยนแปลง/ปรับปรุ งตามความจําเป็ น

ประโยชน์ที>ได้รับจาการกําหนดนโยบายด้านพลังงานขององค์กร
ประหยัดพลังงาน
ลดค่าใช้จ่ายสําหรับเครื> องปรับอากาศหรื อระบบทําความเย็น
ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานโดยรวม
มีผลกําไรสูงขึIน สามารถนําเงินที>ประหยัดได้มาสนับสนุนกิจกรรมด้านอื>นๆ ได้
ฯลฯ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> `-22

รายการเอกสารอ้ างอิง
1. กฎกระทรวง (พ.ศ.2538) ออกตามความในพระราชบัญญัติการส่งเสริ มการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535
2. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, เอกสารเผยแพร่ B1
3. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, เอกสารเผยแพร่ B4, บุฉนวนกันความร้อนช่วยประหยัดพลังงาน
4. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, เอกสารเผยแพร่ B8
5. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, เอกสารเผยแพร่ B9, การประหยัดไฟฟ้ าในระบบปรับอากาศสําหรับอาคารสํานักงาน
6. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, TRC Ref EM TB1-B2-T
7. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, TRC Ref EM TB2-B1-T
8. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, TRC Ref EM TB2-B4-T
9. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, TRC Ref EM TB2-B5-T
10. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, คู่มือการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร, 2536
11. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, สกอ/65/9-42/วช/TT01, เอกสารเผยแพร่ การออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน "การใช้กระจก"
12. กรมพัฒนาและส่งเสริ มพลังงาน, สกอ/65/9-42/วช/TT02, เอกสารเผยแพร่ การออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน "การใช้ฉนวน"
13. กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน, สกอ/65/9-42/วช/TT03, เอกสารเผยแพร่ การออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน "การใช้วสั ดุและ
อุปกรณ์เพื>อการอนุรักษ์พลังงาน"
14. กองทุนเพื>อการส่งเสริ มการอนุรักษ์พลังงาน, สพช., NP 01/02/20, การออกแบบอาคารที>เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
15. กองทุนเพื>อการส่งเสริ มการอนุรักษ์พลังงาน, สพช., NP 01/03/20, หน้าต่างและกันสาด
16. กองทุนเพื>อการส่งเสริ มการอนุรักษ์พลังงาน, สพช., NP 01/05/20, การให้ความเย็นแก่อาคาร
17. กองทุนเพื>อการส่งเสริ มการอนุรักษ์พลังงาน, สพช., NP 02/01/04, การติดตัIงกันสาดเพื>อป้ องกันแสงแดด
18. กองทุนเพื>อการส่งเสริ มการอนุรักษ์พลังงาน, สพช., NP 03/01/04, การติดตัIงฉนวนใต้หลังคา
19. กองทุนเพื>อการส่งเสริ มการอนุรักษ์พลังงาน, สพช., NP 04/01/04, การใช้ประโยชน์จากแสงและลมจากธรรมชาติ
20. รศ.ดร.ตรึ งใจ บูรณสมภพ: การออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิภาพในการประหยัดพลังงาน
21. รศ.ดร.สมสิ ทธิ‹ นิตยะ: การออกแบบอาคารสําหรับภูมิอากาศเขตร้อนชืIน
22. ศ.ดร. สุนทร บุญญาธิการ: วัสดุประหยัดพลังงาน “การใช้กระจกยุคใหม่เพื>อการอนุรักษ์พลังงานและสิ> งแวดล้อม”
23. ศ.ดร.สุนทร บุญญาธิการ: การออกแบบประสานระบบ มหาวิทยาลัยชินวัตร
24. ศูนย์ทรัพยากรฝึ กอบรมเพื>อการอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, เอกสารเผยแพร่ แนวทางการ
ปฏิบตั ิงานที>ดี หมายเลข ``, การจัดการด้านพลังงานเพื>อลดค่าใช้จ่ายจากการใช้อุปกรณ์สาํ นักงานและระบบปรับอากาศ
25. Malaysia, Guidelines for Energy Efficiency in Buildings
26. Ministry of Energy Communications & Multimedia (MECM), Guide to Energy Efficiency at Office
27. Surapong Chirarattananon and Pichet Sriyonyong, A Method for Calculation of Daylight Illuminance for Atria
28. U.S. Dept. of Energy, Rebuild America, Energy Design Guidelins for High Performance Schools, Cool and Dry Climate
29. Wisconsin Department of Administration, Division of Facilities Development (DFD), June 2001
30. www.dedp.go.th
31. www.energydesignresources.com, designbrief
32. www.wbdg.org

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบกรอบอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-1

บทที a การใช้ แสงสว่ างธรรมชาติภายในอาคาร (Daylight Use in Buildings)

1. บทนํา
ในบทนีIจะกล่าวถึงวิธีการประยุกต์ใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคารสํานักงานและอาคารที>ใช้งานในช่วงเวลากลางวัน คู่มือนีI ไม่ใช่ทI งั
คู่มือการออกแบบอาคารสําหรับสถาปนิ กและคู่มือสําหรับการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง แต่เป็ นคู่มือเพิ>มเติมที> ใช้ประกอบการ
ออกแบบเพื>อการใช้งานแสงสว่างธรรมชาติภายในอาคารได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
แสงสว่างธรรมชาติเป็ นแสงสว่างที>มีประสิ ทธิ ภาพสู งและมีความเหมาะสมสู งสุ ดสําหรับการใช้งานของมนุษย์ และปั จจุบนั ได้รับการ
พิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์แล้วว่า มนุษย์มีความพึงพอใจในแสงสว่างธรรมชาติ ไม่วา่ จะเป็ นในห้องทํางานหรื อในร้านค้าต่างๆ ในโรงเรี ยนที>
ใช้แสงสว่างธรรมชาติ นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้ดีกว่า ยิง> ไปกว่านัIน แสงสว่างธรรมชาติยงั มีขอ้ ได้เปรี ยบคือ เป็ นแสงสว่างที>ได้มาเปล่าๆ
ไม่ตอ้ งลงทุน และสามารถใช้งานได้ตลอดช่วงเวลาใช้งานของอาคารที>มีการใช้งานในเวลากลางวัน
สําหรับประเทศไทยซึ> งตัIงอยูใ่ นเขตอากาศแบบร้อนชืI น มีอากาศร้อนตลอดทัIงปี การนําแสงสว่างธรรมชาติเข้ามาช่วยในการส่ องสว่าง
ภายในอาคารนับว่าเป็ นสิ> งที>ทา้ ทายความสามารถของผูอ้ อกแบบมาก เนื>องจากแสงสว่างจะนําเอาความร้อนเข้ามาในอาคารด้วย และความ
ร้อนก็เป็ นสิ> งต้องห้ามสําหรับอาคารในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ>งอาคารที>มีการปรับอากาศ เพราะความร้อนจะทําให้ภาระของการ
ปรับอากาศสู งขึIน ดังนัIนการนําแสงสว่างธรรมชาติเข้ามาใช้งานในอาคารจึงต้องหลีกเลี>ยงรังสี อาทิตย์โดยตรง (Direct Sunlight) และ
เลือกใช้เฉพาะแสงสว่างจากรังสี แบบกระจาย (Diffuse daylight) เท่านัIน ประเทศในเขตร้อนที>อยูใ่ กล้เส้นศูนย์สูตร จะมีความยาวของ
ช่วงเวลากลางวันประมาณ p` ชัว> โมงต่อวัน ดังนัIนอาคารที>ใช้งานในช่วงเวลากลางวัน เช่น อาคารสํานักงานและสถานศึกษาจึงสามารถ
ออกแบบให้ใช้งานแสงสว่างธรรมชาติเป็ นแสงสว่างหลักสําหรับอาคารได้ตลอดช่วงเวลาการใช้งานของอาคาร
แสงสว่างธรรมชาติเป็ นแสงสว่างที>มีประสิ ทธิ ภาพสู งมาก เราสามารถประเมินประสิ ทธิ ภาพของแสงสว่างธรรมชาติได้โดย นําปริ มาณ
แสงสว่าง มีหน่วยเป็ น ลูเมน (Lumen) เปรี ยบเทียบกับความร้อนที>มาพร้อมกับแสงสว่าง มีหน่วยเป็ น วัตต์ (Watts) ซึ> งความร้อนดังกล่าว
เป็ นสิ> งที>เราไม่ตอ้ งการ แสงสว่างจากรังสี แบบกระจายของดวงอาทิตย์มีค่าประสิ ทธิ ภาพของแสงสว่างประมาณ p`… ลูเมน/วัตต์ ซึ> งมีค่า
เป็ น ` เท่าของประสิ ทธิภาพของแสงสว่างจากหลอดฟลูออเรสเซนต์ธรรมดา ซึ>งมีค่าประสิ ทธิภาพของแสงสว่างประมาณ “…… ลูเมน/วัตต์
อย่างไรก็ตาม แม้วา่ แสงสว่างจากรังสี แบบกระจายจะมีประสิ ทธิภาพสูง แต่ก็ทาํ ให้เกิดความร้อนขึIนภายในอาคารและยังทําให้เกิดภาวะที>
ไม่สบาย (discomfort) แก่ผูใ้ ช้อาคารด้วย ทัIงนีI เพราะโดยปกติแล้ว ปริ มาณแสงสว่างและความร้อนของรังสี กระจายที>ผ่านเข้ามาภายใน
อาคารมีค่าสูงกว่าความต้องการในการให้แสงสว่างภายในห้องหรื ออาคารมาก
Luminous Efficacy of Light Sources

140

120

100

80
Lumen/watt
60

40

20

0
Incandescent Low voltage Fluorescent lamp Direct sunshine Clear sky daylight
halogen

แสดงปริมาณสว่ างของแหล่ งแสงสว่ างชนิดต่ างๆ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-2

จากแผนภูมิ เมื>อเปรี ยบเทียบปริ มาณแสงสว่างของรังสี อาทิตย์โดยตรง รังสี กระจายที>มีการเปลี>ยนแปลงน้อยตลอดทัIงวัน ซึ> งทําให้ง่ายใน


การออกแบบอาคารและระบบช่องเปิ ดอาคารเพื>อการนําแสงสว่างมาใช้ หากเปรี ยบเทียบแสงสว่างจากรังสี กระจายกับหลอดฟลูออเรส
เซนต์ จะพบว่า ปริ มาณแสงสว่างที>ได้จากรังสี กระจายจะมีค่าสู งกว่าปริ มาณแสงสว่างที>จาํ เป็ นต้องใช้ในห้องถึงประมาณ ` เท่า ขณะที>
ปริ มาณความร้อนที>มาพร้อมกับรังสี กระจายนีIมีค่าไม่แตกต่างจากความร้อนที>ได้จากหลอดฟลูออเรสเซนต์ และที>สาํ คัญคือ แสงสว่างที>ได้
เป็ นแสงสว่างที>ได้เปล่า
ในส่วนนีIของคู่มือฯ จะกล่าวถึงการใช้งานแสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร เพื>อลดปริ มาณการใช้แสงสว่างประดิษฐ์ (artificial lighting)
ซึ>งจะทําให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้ าสําหรับระบบแสงสว่าง ตลอดจนประหยัดพลังงานไฟฟ้ าสําหรับระบบปรับอากาศด้วย การออกแบบ
ทางสถาปั ตยกรรมของอาคารจะต้องมีความเหมาะสมและเอืIอต่อการนําเอาแสงสว่างเข้ามาใช้งานภายในอาคารได้อย่างทัว> ถึง และการ
ออกแบบระบบแสงสว่างประดิษฐ์ก็จะต้องมีความสอดคล้องกับการใช้งานแสงสว่างธรรมชาติดว้ ย เช่นออกแบบให้แสงสว่างประดิษฐ์
เปิ ดใช้งานเฉพาะเวลาที>แสงสว่างธรรมชาติไม่เพียงพอแก่การใช้งานเท่านัIน

2. การออกแบบอาคารเพือการใช้ งานแสงสว่ างธรรมชาติ (Building Design for daylight use)


ค่าความส่ องสว่างของแสงสว่างธรรมชาติที>ได้จากรังสี กระจายบนพืIนผิวระนาบภายนอกอาคารในช่วงเวลากลางวัน จะมีค่าอยู่ระหว่าง
p…,………-`…,……… ลักซ์ (lux) และสําหรับรังสี อาทิตย์โดยตรง จะมีค่าสู งขึIนถึง p……,……… ลักซ์ (lux = lumen/m2) โดยปกติแล้ว แสงสว่างที>
ต้องการภายในอาคารจะมีค่าประมาณ g……-o…… ลักซ์ ซึ> งคิดเป็ น ….o-g% ของค่าความสว่างของรังสี กระจายภายนอกอาคารเท่านัIน หาก
อาคารมีการออกแบบอุปกรณ์ป้องกันแสงแดดหรื อรังสี อาทิตย์โดยตรง และรับเฉพาะรังสี กระจาย ซึ>งมีค่าความส่องสว่างที>ภายนอกอาคาร
เท่ากับ p…,………-`…,……… ลักซ์ แสงสว่างที>สามารถผ่านเข้ามาในอาคารจะมีค่าเพียงประมาณ `-g% ของค่าความส่ องสว่างที>ภายนอกอาคาร
เท่านัIน
เมื>อแสงสว่างธรรมชาติเข้ามาในห้องผ่านทางหน้าต่าง ช่องเปิ ด หรื อผนังโปร่ งแสง ค่าความส่ องสว่างที>บริ เวณใกล้กบั ช่องเปิ ดจะมีค่าสู ง
กว่าบริ เวณที>อยูล่ ึกเข้าไปในห้อง แผนภูมิดา้ นล่างแสดงค่าความส่ องสว่างของห้องที>มีช่องแสงด้านข้าง ผูอ้ อกแบบควรพยายามออกแบบ
ให้แสงสว่างกระจายเข้าไปภายในห้องให้ได้มากที>สุด โดยอาจใช้การออกแบบส่ วนของอาคารหรื อใช้อุปกรณ์ที>ช่วยในการสะท้อนแสง
ติดตัIงไว้ที>ช่องแสงเพื>อสะท้อนแสงสว่างเข้าไปในอาคารได้ลึกมากขึIน ตัวอย่างของอุปกรณ์ดงั กล่าวได้แก่ หิI งสะท้อนแสง (light shelf)
โดยหิI งสะท้อนแสงจะสะท้อนแสงสว่างจากภายนอกขึIนไปยังเพดาน แล้วสะท้อนเพดานเข้าไปยังส่ วนที>ลึกเข้าไปของห้อง ระดับแสง
สว่างที>บริ เวณดังกล่าวจึงสูงขึIนอีกเล็กน้อย ขณะเดียวกันระดับแสงสว่างที>บริ เวณใกล้กบั ช่องแสงก็จะลดลง และที>สาํ คัญที>สุดคือ ช่วยลด
ค่าความแตกต่างของระดับความสว่างใน ` บริ เวณ ซึ>งจะช่วยให้เกิดความสบายตาแก่ผใู ้ ช้อาคาร

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-3

LUX
out
Daylight Factor = LUX in / LUX
out

DIRECT

DIFFUSE

LUX
in

5m

วิธีการที> ง่ายและใช้กนั มากที>สุดในการออกแบบให้แสงสว่างผ่านเข้าไปที>บริ เวณด้านในของอาคารคือ การออกแบบช่องแสงให้อยู่ใน


ระดับที>สูงบนผนังอาคาร แสงสว่างที>เข้ามาทางช่องแสงที>อยูส่ ูงจะสามารถผ่านเข้ามาภายในอาคารได้ลึกกว่า วิธีการที>แนะนําสําหรับการ
ออกแบบ คือ การออกแบบหน้าต่างหรื อช่องเปิ ดแบบแยกส่วน (Split Window Design) โดยหน้าต่างที>อยูส่ ่ วนล่าง (lower window) จะทํา
หน้าที> เป็ นหน้าต่างสําหรับการมองออกไปภายนอกอาคาร เพื>อเป็ นการรักษาปฏิ สัมพันธ์ระหว่างผูใ้ ช้อาคารกับสิ> งแวดล้อมภายนอก
ขณะเดียวกันก็เป็ นส่วนที>ให้แสงสว่างแก่บริ เวณริ มด้านนอกของอาคาร (บริ เวณใกล้กบั หน้าต่าง) ส่ วนหน้าต่างส่ วนบน (upper window)
จะทําหน้าที>รับแสงสว่างธรรมชาติเพียงอย่างเดียว หิIงสะท้องแสงสว่างที>อยูร่ ะหว่างหน้าต่างทัIงสองจะช่วยสะท้อนให้แสงสว่างที>ผ่านเข้า
มาทางหน้าต่างส่วนบนนีIเข้าไปในอาคารได้ลึกยิง> ขึIน
อัตราส่วนที>เหมาะสมของพืIนที>หน้าต่างหรื อผนังโปร่ งแสงต่อพืIนที>ผนังอาคารทัIงหมด ควรอยูท่ ี>ประมาณ `o-q…% สําหรับกรณี ผนังโปร่ ง
แสงเป็ นกระจกใสธรรมดา (clear glass) แต่หากใช้กระจกที>มีคุณสมบัติดีขI ึน อัตราส่ วนดังกล่าวก็จะเพิ>มขึIนได้ ทัIงนีI ขI ึนอยูก่ บั อัตราส่ วน
ของการส่งผ่านแสงสว่างของกระจกใสธรรมดา (ค่าสัมประสิ ทธิ‹การส่งผ่านของแสงสว่างมีค่าประมาณ ‡o%) เปรี ยบเทียบกับของกระจก
นัIนๆ ตัวอย่างเช่ น ผนังโปร่ งแสงที> เป็ นกระจกตัดแสง (tinted glazing) ที> มีค่า สัมประสิ ทธิ‹ การส่ งผ่านของแสงสว่างหรื อค่า Light
Transmission coefficient; LT เท่ากับ q…% ก็สามารถออกแบบให้อตั ราส่ วนของผนังโปร่ งแสงต่อผนังอาคารทัIงหมดเพิ>มขึIนเป็ น ` เท่า
ของเมื>อใช้กระจกใสธรรมดา

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-4

อัตราส่วนที>เหมาะสมของพืIนที>หน้าต่างหรื อผนังโปร่ งแสงต่อพืIนที>ผนังอาคารทัIงหมดที>แนะนําข้างต้น

SLANTED CEILING

DAYLIGHT WINDOWS

VISION WINDOW

5m

แสดงภาพตัดขวางของห้ องทีมีเพดานลาดเอียงลึกเข้ าไปจากบริเวณริมอาคาร

ปริ มาณแสงสว่างธรรมชาติทI งั หมดภายในห้อง ณ จุดที>พิจารณา ได้จากผลรวมของแสงสว่างที>ได้จากแสงสว่างโดยตรงจากด้านนอกของ


อาคาร (sum of direct light from outside) กับแสงสว่างที>เป็ นแสงสะท้อน (reflected light) จากพืIนผิวและเครื> องเรื อนเครื> องใช้ต่างๆ
ภายในห้องนัIน ยิง> ในบริ เวณที>ห่างจากช่องเปิ ดมาก สัดส่วนของแสงสว่างที>เป็ นแสงสะท้อนจะมีค่าเพิ>มขึIน ดังนัIนพืIนและผนังภายในห้อง
จึงควรมีสีสว่างหรื อสี อ่อน (light colors) เพื>อให้สะท้อนแสงได้ดี ห้องที>มีพIืนและผนังสี เข้ม แม้วา่ ปริ มาณแสงสว่างที>บริ เวณใกล้กบั ช่อง
เปิ ดอาจจะมีค่าเพียงพอ แต่ในส่วนที>ลึกเข้าไปในห้องจะมืด แสงสว่างไม่เพียงพอแก่การใช้งาน
ตารางต่อไปนีIแสดงค่าการสะท้อนแสงเพื>อการใช้งานแสงสว่างธรรมชาติที>มีประสิ ทธิภาพของพืIนผิวส่วนต่างๆ ของอาคาร

พืนC ผิว ค่ าการสะท้ อนแสง (%)


เพดาน 80
ผนัง 50 – 70
พืIน 20 - 40
เครื> องเรื อน 20 - 45
ค่าการสะท้อนแสงที>แสดงในตาราง เป็ นค่าเมื>อเพดานเป็ นสี ขาวหรื อเกือบขาว ผนังสี อ่อนมาก และพืIนเป็ นสี อ่อนถึงเข้มปานกลาง (light
to medium dark) ค่าการสะท้อนแสงของผนังและเพดานเป็ นส่ วนที> สาํ คัญที>ตอ้ งพิจารณา ทัIงนีI เพราะพืIนที>ทI งั ` ส่ วนดังกล่าว สามารถ
สะท้อนแสงสว่างเข้าไปภายในอาคารได้ปริ มาณมาก

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-5

2.1 ระบบกระจกและอุปกรณ์ กนั แดด (Glazing and shading systems)


สิ> งสําคัญที>ตอ้ งพิจารณาในการเลือกระบบกระจกและอุปกรณ์กนั แดดสําหรับอาคารคือ ปริ มาณความร้อนที>จะผ่านเข้าไปภายใน
อาคารที>มีการปรับอากาศ เพราะปริ มาณความร้อนดังกล่าวจะก่อให้เกิดภาระแก่ระบบปรับอากาศ ทําให้ระบบปรับอากาศต้องใช้พลังงาน
เพิ>มขึIนในการทําความเย็น กระจกตัดแสง มีคุณสมบัติดูดกลืนรังสี อาทิตย์ได้บางช่วงคลื>น แต่มีขอ้ เสี ยคือความร้อนดังกล่าวจะถูกดูดกลืน
อยูภ่ ายในเนืIอกระจก นอกจากจะทําให้ผิวกระจกร้อนแล้ว ความร้อนบางส่วนยังถูกส่งผ่านเข้ามาภายในห้องด้วย
ระบบอุปกรณ์ กนั แดดภายนอกและภายในอาคาร เช่น ชายคาเหนื อช่ องเปิ ด (overhang) และครี บบังแดดแนวตัIง (side fins)
สามารถช่วยป้ องกันรังสี อาทิ ตย์ส่วนที> ไม่ตอ้ งการไม่ให้เข้ามาภายในอาคาร ส่ วนระบบอุปกรณ์กนั แดดภายในอาคาร เช่น แผงกันแดด
(venetian blinds) ก็สามารถป้ องกันรังสี อาทิตย์ได้บางส่ วน แต่โดยทัว> ไปแล้วระบบอุปกรณ์กนั แดดภายในอาคารจะมีประสิ ทธิ ภาพน้อย
กว่า เพราะจะกักเก็บความร้อนไว้ที>ผิวของกระจก ความร้อนบางส่วนจะแผ่กลับออกไปภายนอก แต่ส่วนที>เหลือจะแผ่เข้ามาภายในอาคาร
2.1.1 กระจก (Glazing)
กระจกที>นิยมใช้มากที>สุดในประเทศไทยคือ กระจกชัIนเดียว (single glazing) ซึ> งมีทI งั ที>เป็ นกระจกใสธรรมดา (clear glass) และ
กระจกตัดแสง (tinted glass) หรื ออาจจะมีการเคลือบวัสดุสะท้อนรังสี อาทิ ตย์ (reflective coating) ที> ผิวด้านนอกของกระจก สําหรับ
กระจก ` ชัIน (double glazing) จะสามารถลดปริ มาณความร้อนที>เข้าสู่อาคารได้ปริ มาณมาก และสามารถเพิ>มการเคลือบวัสดุสะท้อนรังสี
อาทิตย์ที>ผิวด้านหนึ>งของกระจกที>เป็ นด้านที>สัมผัสกับช่องว่างอากาศตรงกลางได้เช่นเดียวกัน วัสดุเคลือบผิวดังกล่าวจะทําให้คุณสมบัติ
ความเป็ นฉนวนและการกันแดดของกระจกดีขI ึน โดยวัสดุเคลือบผิวจะทําหน้าที>ป้องกันการส่งผ่านของความร้อนเข้าไปภายในอาคารและ
ยังสามารถสะท้อนรังสี ความร้อนบางส่วนออกไปด้วย
ตารางต่อไปนีIแสดงคุณสมบัติของกระจกชัIนเดียวและกระจก ` ชัIน ชนิดต่างๆ

Glazing System U-value Solar Heat Gain Visible Light Transmission Visible light transmission
( 6 mm glass ) W/m2K Coefficient, % Coefficient % Solar Heat Gain Coefficient
Single Glazing, clear 5.91 81 89 1.10
Single Glazing, tinted grey 5.91 56 43 0.77
Single Glazing, reflective 5.91 29 20 0.69
Double Glazing, clear 2.71 70 78 1.11
Double, Low E 1.70 65 73 1.12
(hard coat, argon)
Double, Low E 1.70 34 55 1.62
(hard coat, argon, spectrally selective)
ที มา : 1997, Ashrae Fundamentals, p 29.8 and p 29.25
กระจก ` ชัIน (double pane glazing) ทุกชนิดในตารางมีการเคลือบผิวด้วยวัสดุสะท้อนรังสี อาทิตย์ที>ดา้ นหนึ>งของกระจก ทําให้ช่วย
ลดการส่ งผ่านความร้อนจากกระจกแผ่นที>อยูด่ า้ นนอก (outer pane) ไปยังกระจกแผ่นที>อยูด่ า้ นใน (inner pane) ซึ> งจะทําให้ค่า U-value
ของกระจกลดลง ถ้าบรรจุก๊าซเฉื> อยเข้าไปแทนที>ช่องว่างอากาศตรงกลางกระจก จะทําให้การพาความความร้อน (convection) จากกระจก
ด้านนอกไปยังกระจกด้านในลดลงได้อีกระดับหนึ> ง เนื> องจากก๊าซเฉื> อยมีคุณสมบัติการพาความร้อนที>เลวกว่าอากาศ ดังนัIนค่า U-value
ของกระจกจึงตํ>าลงไปอีก

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-6

กระจกที>มีการเคลือบผิวกระจกเพื>อให้รังสี อาทิตย์ผ่านได้เพียงบางช่วงคลื>น (spectrally selective coating) จะยอมให้รังสี อาทิตย์


ในช่วงที> ตามองเห็ น (visible light) ส่ วนใหญ่ผ่านไปได้ แต่จะสะท้อนรังสี อินฟราเรดและอัลตราไวโอเลต (infared and ultraviolet
radiation) ซึ> งเป็ นรังสี ความร้อนออกไป ซึ> งเป็ นคุณสมบัติของกระจกที> เหมาะสมสําหรับประเทศในเขตร้อนเช่นประเทศไทย สําหรับ
กระจกตัดแสง แม้วา่ จะมีคุณสมบัติป้องกันรังสี อาทิตย์ได้บางส่ วนเช่นเดียวกัน แต่ความร้อนจะถูกดูดกลืนอยูภ่ ายในเนืI อกระจกมากกว่า
ส่วนที>ถูกสะท้อนกลับออกไป ดังนัIนจึงทําให้ผิวกระจกร้อน และยังมีความร้อนบางส่วนที>ถูกส่งผ่านเข้าไปในห้องได้
ค่าในตารางช่องสุดท้าย เป็ นสัดส่วนระหว่างค่าสัมประสิ ทธิ‹ การส่ งผ่านของแสงสว่างกับค่าสัมประสิ ทธิ‹ การกันแดด (LT /SC) ซึ> ง
เป็ นค่าที> แสดงถึงคุณสมบัติของกระจกที>เคลือบผิวกระจกเพื>อให้รังสี อาทิ ตย์ผ่านได้เพียงบางช่วงคลื>น ค่า LT /SC ที> สูงกว่า แสดงถึง
คุณสมบัติของกระจกที>ดีกว่า จากตารางจะเห็นได้วา่ กระจกตัดแสงและกระจกสะท้อนแสงจะมีค่านีIต>าํ มาก ซึ>งแสดงว่ากระจกทัIง ` ชนิ ดนีI
ส่งผ่านความร้อนเข้าสู่อาคารมาก แต่ให้แสงสว่างผ่านเข้าไปได้เพียงเล็กน้อย
สําหรับการออกแบบอาคารทุกอาคาร ควรมีการใช้ระบบอุปกรณ์กนั แดดภายนอกอาคารเพื>อป้ องกันส่ วนที>เป็ นกระจกหรื อผนัง
โปร่ งแสงจากรังสี อาทิตย์โดยตรง ซึ> งจะกล่าวถึงในบทต่อไป อย่างไรก็ตาม แม้วา่ แสงแดดหรื อรังสี อาทิตย์โดยตรงจะไม่ได้ตกลงบนผิว
กระจกโดยตรง แต่รังสี กระจายที>ตกลงบนผิวกระจกก็ยงั คงมีค่าสูงมาก ทัIงนีIเนื>องจากสภาพอากาศของประเทศไทยที>มีอากาศร้อนและชืIน
เป็ นส่วนใหญ่ ทําให้ทอ้ งฟ้ ามีเมฆบางส่วน ซึ>งทําให้มีรังสี กระจายสูงมาก ดังนัIนแม้วา่ จะมีการป้ องกันกระจกจากรังสี อาทิตย์โดยตรงแล้ว
การเลือกใช้กระจกที>ยอมให้เฉพาะแสงสว่างที>ไม่มีความร้อน (the cool daylight) ผ่านเข้าไปในอาคารจึงมีความสําคัญอย่างยิง>
การทําให้กระจกมีคุณสมบัติการเลือกช่วงคลื>นของแสงที>ผ่าน สามารถทําได้โดยการติดฟิ ล์มลงบนผิวกระจก โดยสามารถทําได้
ทัIงกระจกชัIนเดียวและ ` ชัIน แต่เนื>องจากฟิ ล์มนีIอยูด่ า้ นนอก มิได้อยูร่ ะหว่างช่องว่างอากาศ ความคงทนของฟิ ล์มจึงอาจจะไม่ได้ขI ึนอยูก่ บั
ความคงทนของผิวเคลือบที>อยูร่ ะหว่างแผ่นกระจก
โดยส่ ว นใหญ่ แ ล้ว การระบุ ใ ห้อ าคารใดเลื อ กใช้ก ระจก ` ชัIน ทํา ได้ย าก การพิ จ ารณาเลื อ กใช้ก ระจก ` ชัIน ขึI น อยู่กับ การ
เปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายที>เพิ>มขึIนกับมูลค่าของพลังงานที>ประหยัดได้จากการลดลงของภาระการทําความเย็น อย่างไรก็ตาม ปั จจัยอื>นๆ เช่น
การป้ องกันเสี ยงอาจเป็ นปั จจัยเสริ มให้ตอ้ งเลือกใช้กระจก ` ชัIน ท้ายที> สุดแล้ว การศึ กษาความเหมาะสมทางด้านเศรษฐศาสตร์ ในการ
เลือกใช้กระจกและอุปกรณ์เพื>อการประหยัดพลังงานอื>นๆ ควรทําการศึกษาทัIงต้นทุนในการใช้งานอาคารและความเป็ นไปได้ในการลด
ขนาดและต้นทุนของระบบปรับอากาศของอาคาร
2.1.2 ระบบอุปกรณ์ กนั แดด (Shading systems)
จากที>กล่าวข้างต้น จะพบว่าระบบอุปกรณ์กนั แดดภายนอกอาคารมีประสิ ทธิภาพในการป้ องกันรังสี อาทิตย์ได้ดีกว่าระบบอุปกรณ์
กันแดดภายในอาคาร เพราะเมื>อรังสี อาทิตย์สามารถผ่านกระจกเข้ามาในอาคารได้แล้ว เป็ นการยากที> จะหลีกเลี>ยงไม่ให้รังสี อาทิตย์ถูก
เปลี>ยนเป็ นความร้อนซึ>งเป็ นภาระของระบบปรับอากาศ เนื>องจากระบบอุปกรณ์กนั แดดภายในอาคารส่วนใหญ่จะดูดซับรังสี อาทิตย์เอาไว้
แล้วเปลี>ยนรังสี อาทิตย์เป็ นความร้อน ระบบอุปกรณ์กนั แดดที>มีประสิ ทธิ ภาพสู งนัIน ควรมีพIืนผิวสี อ่อนและมีคุณสมบัติในการสะท้อน
รังสี อาทิตย์ได้ดี
ตารางต่อไปนีI แสดงค่าการส่งผ่านรังสี อาทิตย์ช่วงที>ตามองเห็น (visible light transmittance) และการลดลงของค่า SHGC เป็ นร้อย
ละ ของระบบอุปกรณ์กนั แดดภายในอาคารชนิดต่างๆ
ชนิดของระบบอุปกรณ์ กนั แดด % Visible Light Transmittance % reduction in SHGC
Venetian Blind, light color 5 33
Venetian Blind, dark color 5 29
Closed Vertical Blinds, light color 0 60
Closed Vertical Blinds, dark color 0 18
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-7

โดยทั>วไปแล้วระบบอุปกรณ์ กนั แดดภายนอกอาคารจะมี g รู ปแบบหลักๆ คือ อุปกรณ์กันแดดแนวนอน-ชายคา (overhangs)


อุปกรณ์กนั แดดแนวตัIง-ครี บแนวตัIง (side fins) หรื อเป็ นอุปกรณ์กนั แดดแบบผสมผสาน กันทัIงแนวนอนและแนวตัIง หน้าต่างหรื อช่อง
เปิ ดที>ติดตัIงอุปกรณ์กนั แดดโดยรอบ ทัIงในแนวนอนและแนวตัIง หรื อที> เรี ยกว่า punch hole window หรื อช่องเปิ ดที> ยุบเข้าไปในผนัง
นัน> เอง
ค่าที> แสดงในตาราง ` ตารางต่อไปนีI คือ ค่าสัมประสิ ทธิ‹ การบังแดด (shading coefficient; SC) ของระบบอุปกรณ์กนั แดด
แนวนอนและแนวตัIงแบบต่างๆ ค่าสัมประสิ ทธิ‹ การบังแดด คื อ ปริ มาณของรั งสี อาทิ ตย์ที>มิได้ถูกสกัดกัIนหรื อป้ องกัน (รังสี อาทิ ตย์ที>
สามารถผ่านระบบอุปกรณ์กนั แดดไปได้) ดังนัIนค่า SC ที>ต>าํ จึงแสดงถึงระบบอุปกรณ์กนั แดดที>มีประสิ ทธิภาพสูง

ค่ าสัมประสิทธิyการบังแดดของระบบอุปกรณ์ กนั แดดแนวนอน

Ratio Orientation
R1 North South East West
0.30 – 0.40 0.80 0.80 0.80 0.80
0.50 – 0.70 0.70 0.70 0.70 0.70
0.80 – 1.20 0.70 0.70 0.60 0.60
1.30 – 2.00 0.66 0.66 0.50 0.50
R1 = With of horizontal projection
Height of window
Note : Data from Malaysia/Kuala Lumpur.
Data are indicative for Bangkok, Thailand

ค่ าสัมประสิทธิyการบังแดดของระบบอุปกรณ์ กนั แดดแนวตัCง

Ratio Orientation
R2 North South East West
0.30 – 0.40 0.80 0.80 0.80 0.80
0.50 – 0.70 0.75 0.75 0.90 0.90
0.80 – 1.20 0.70 0.70 0.80 0.80
1.30 – 2.00 0.70 0.70 0.75 0.75
R2 = With of vertical projection
Length of window
Note : Data from Malaysia/Kuala Lumpur.
Data are indicative for Bangkok, Thailand

มีขอ้ สังเกตว่า ถึงแม้วา่ ชายคาหรื อครี บจะมีขนาดใหญ่มากขึIน แต่ค่า SC ก็จะมีค่าไม่ต>าํ ลงไปกว่า ….o…-….“… ซึ> งหมายความว่า รังสี
อาทิตย์มากกว่า o…% จะยังคงผ่านระบบอุปกรณ์กนั แดดเข้ามากระทบกระจกได้

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-8

ค่า SC สําหรับระบบอุปกรณ์กนั แดดแบบผสม ได้จากความสามารถในการกันแดดของอุปกรณ์กนั แดดในแนวนอนและแนวตัIง


รวมกัน สําหรับระบบอุปกรณ์กนั แดดแบบผสม หากออกแบบให้ความลึกหรื อความกว้างของอุปกรณ์กนั แดดมีค่าเท่ากับความสู งหรื อ
ความกว้างของหน้าต่างหรื อช่องเปิ ด ค่า SC จะลดลงได้ถึงประมาณ ….o… (….’… x ….’…)
ค่า SHGC ของระบบกระจกและระบบอุปกรณ์กนั แดด คือ ผลร่ วมกันของค่า SHGC ของกระจกและค่า SC ของระบบอุปกรณ์กนั
แดด
ผลรวมของรังสี อาทิตย์ที>ตกกระทบบนผนังตลอดทัIงปี จะมีความสัมพันธ์อย่างมากกับทิศทางของผนัง ดังจะเห็นได้จากแผนภูมิ
ข้างต้นซึ> งเป็ นข้อมูลรังสี อาทิตย์ที>ตกกระทบบนผนังอาคารในทิศทางต่างๆ ของเมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซี ย ตัIงอยูใ่ นตําแหน่ ง
ละติจูดที> q องศาเหนือ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลดังกล่าวสามารถนํามาประยุกต์ใช้สาํ หรับประเทศไทย ซึ>งตัIงอยูใ่ นตําแหน่งละติจูดที> pq องศา
เหนือ ได้เช่นกัน เนื>องจากตัIงอยูใ่ นตําแหน่งที>ใกล้เคียงกัน
จากแผนภูมิแสดงให้เห็นว่ารังสี อาทิตย์ที>ตกกระทบบนผนังแนวตัIง ด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกมีค่าสูงมาก เมื>อเปรี ยบเทียบ
กับทางด้านทิศเหนือและทิศใต้ ในเมืองกัวลาลัมเปอร์ซ> ึงตัIงอยูใ่ กล้กบั เส้นศูนย์สูตรมาก ค่ารังสี อาทิตย์ทางด้านทิศเหนื อและทิศใต้จึงมีค่า
ค่อนข้างจํากัด (น้อยมาก) ยิ>งไปกว่านัIน รังสี อาทิ ตย์โดยตรงที>ตกกระทบช่องเปิ ดก็สามารถป้ องกันได้ง่ายด้วยชายคา เพราะมุมของรังสี
อาทิตย์ที>ตกกระทบบนช่องเปิ ดมีมุมชันมาก
ในกรุ งเทพมหานคร รังสี อาทิตย์โดยตรงทางด้านทิศเหนื อแทบจะไม่มีเลย หน้าต่างในทิศนีI จะรับเฉพาะรังสี อาทิตย์แบบกระจาย
(diffuse radiation) เท่านัIน แต่หน้าต่างด้านทิศตะวันออกและตะวันตกจะรับรังสี อาทิตย์ปริ มาณมาก และป้ องกันได้ยาก หน้าต่างด้านทิศ
ใต้เป็ นด้านที>จะได้รับรังสี อาทิตย์ปริ มาณมากกว่าด้านอื>นๆ อย่างไรก็ตาม การออกแบบระบบอุปกรณ์กนั แดดภายนอกอาคารอย่างถูกต้อง
จะสามารถช่วยป้ องกันรังสี อาทิตย์ดา้ นนีIได้

2.2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง (Electric lighting systems)

การลดปริ มาณการใช้พลังงานไฟฟ้ าแสงสว่างโดยใช้แสงสว่างจากธรรมชาติทดแทน สามารถตอบสนองความต้องการและความ


พอใจในการใช้งานได้อย่างดีดว้ ย
หากแสงสว่างธรรมชาติ ถูกนํามาใช้งานภายในห้องอย่างเพียงพอแล้ว แต่แสงสว่างจากไฟฟ้ ายังคงถูกเปิ ดใช้งาน ก็จะเป็ นการ
สิIนเปลืองพลังงานไฟฟ้ าและยังทําให้ภาระของการทําความเย็นเพิ>มขึIนโดยไม่จาํ เป็ นอีกด้วย ดังนัIนการปิ ดไฟฟ้ าแสงสว่างในบริ เวณที>แสง
สว่างธรรมชาติเพียงพอแก่การใช้งานอยูแ่ ล้วจึงเป็ นสิ> งที> ตอ้ งให้ความสําคัญมาก การออกแบบไฟฟ้ าแสงสว่างที>บริ เวณใกล้กบั หน้าต่าง
ของอาคาร ซึ> งเป็ นบริ เวณที>มีแสงสว่างธรรมชาติปริ มาณมากควรออกแบบติดตัIงสวิตช์ควบคุมการปิ ด-เปิ ดไฟฟ้ าแบบแยกส่ วน สําหรับ
พืIนที>สาํ นักงานที>แยกเป็ นสัดส่ วนโดยเฉพาะ แยกออกจากส่ วนอื>นๆ หรื อเป็ นห้องทํางานส่ วนบุคคล ควรจะมีสวิตช์ควบคุมการปิ ด-เปิ ด
ไฟฟ้ าเฉพาะสําหรับส่วนนัIนๆ ทัIงนีIเพื>อให้สามารถปิ ดการใช้งานไฟฟ้ าแสงสว่างได้ในช่วงที>มีแสงสว่างธรรมชาติเพียงพอหรื อในช่วงที>
ไม่ได้ใช้งานพืIนที>ส่วนนัIนๆ
ภาพด้านล่างแสดงแผนผังของบริ เวณพืIนที>สาํ นักงาน และการออกแบบการควบคุมไฟฟ้ าแสงสว่างแบบแยกส่วน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-9

a.

b.

โดยทัว> ไปแล้วพืIนที>สาํ นักงานส่วนที>เป็ นห้องหรื อเป็ นสัดส่วนเฉพาะ (a.) ควรจะมีสวิตช์ควบคุมการปิ ด-เปิ ดไฟฟ้ าแสงสว่างแยก
ออกเป็ น ` ส่วน คือ ส่วนที> p บริ เวณริ มด้านนอกของอาคารที>อยูใ่ กล้กบั หน้าต่างหรื อช่องเปิ ด (outer daylight zone) และส่ วนที>
` บริ เวณด้านในที>อยูห่ ่ างจากหน้าต่างเข้ามาในอาคาร (Inner daylight zone) โดยแต่ละส่ วนจะต้องมีสวิตช์ปิด-เปิ ดอยูภ่ ายใน
ห้อง เพื>อให้ผใู ้ ช้งานสามารถปิ ด-เปิ ดได้ตามความต้องการ
สําหรับพืIนที>สาํ นักงานรวมด้านนอก (b.) ต้องมีสวิตช์ควบคุมการปิ ด-เปิ ดไฟฟ้ าแสงสว่างแยกออกเป็ น ` ส่ วนเช่นเดียวกัน โดย
ขนาดของพืIนที>แต่ละส่วนไม่ควรเกิน o… ตารางเมตร และแต่ละส่วนจะต้องมีสวิตช์ควบคุมแยกส่วนกัน ทัIงนีIเพื>อให้ผูใ้ ช้งานเลือกปิ ด-เปิ ด
ได้ตามความต้องการในการใช้งาน

ในการก่อสร้างหรื อปรับปรุ งระบบไฟฟ้ าแสงสว่างของอาคาร การออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างแบบแยกส่ วนดังที> ได้กล่าว


มาแล้วข้างต้นนัIน จะเป็ นต้นทุนที> เพิ>มขึIนจากปกติ แต่ตน้ ทุนดังกล่าวสามารถจะคืนทุนได้จากมูลค่าของพลังงานไฟฟ้ าที> ประหยัดได้
ภายในเวลาไม่เกิน g ปี
เมื>อผูใ้ ช้อาคารเปิ ดสวิตช์ไฟฟ้ าแสงสว่างเพื>อใช้งานในห้องแล้วมักจะลืมปิ ดสวิตช์เมื>อออกจากห้องหรื อเมื>อแสงสว่างธรรมชาติมี
ปริ มาณเพียงพอแก่การใช้งานโดยไม่จาํ เป็ นต้องใช้แสงสว่างจากไฟฟ้ า ดังนัIนการออกแบบสวิตช์ควบคุมการปิ ด-เปิ ดไฟฟ้ าแบบอัตโนมัติ
จะช่วยให้ผูใ้ ช้อาคารสามารถควบคุมการปิ ดสวิตช์ไฟฟ้ าเมื>อไม่มีความจําเป็ นต้องใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ในที> นI ี จะกล่าวถึงการ
ควบคุม ` รู ปแบบคือ
• การควบคุมด้วยอุปกรณ์ตรวจจับแสงสว่าง (light sensors) ซึ>งจะปิ ดสวิตช์ไฟฟ้ าโดยอัตโนมัติ เมื>อแสงสว่างธรรมชาติมี
เพียงพอแก่การใช้งาน
• การควบคุมด้วยอุปกรณ์ตรวจจับการเคลื>อนไหว (occupancy sensors) ซึ>งจะปิ ดสวิตช์ไฟฟ้ าโดยอัตโนมัติ เมื>อไม่มีผใู ้ ช้งาน
ห้องหรื อพืIนที>ส่วนนัIนๆ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-10

อุปกรณ์ ตรวจจับแสงสว่ างและอุปกรณ์ ตรวจจับการเคลือนไหว และอุปกรณ์ ควบคุมการปิ ด-เปิ ดไฟฟ้าแสงสว่ าง

ระบบควบคุมที>พฒั นาขึIนมาอีกขัIนหนึ> ง สามารถควบคุมระบบแสงสว่างทัIงในพืIนที>ส่วนด้านนอก (outer daylight zone) และ


ส่วนด้านใน (Inner daylight zone) ได้พร้อมๆ กัน ด้วยระบบควบคุมเพียงตัวเดียว โดยการทํางานของอุปกรณ์ควบคุมนีIจะอาศัยการอ่านค่า
จากอุปกรณ์ตรวจจับแสงสว่างธรรมชาติวา่ มีเพียงพอแก่การใช้งานหรื อไม่ หากแสงสว่างธรรมชาติที>บริ เวณด้านนอกของอาคารมีเพียงพอ
แต่ที>บริ เวณด้านในมีไม่เพียงพอ ระบบจะปิ ดเฉพาะสวิตช์ไฟฟ้ าแสงสว่างในส่วนด้านนอกเท่านัIน หรื อหากปริ มาณแสงสว่างธรรมชาติมี
มากเพียงพอแก่การใช้งานพืIนที>ทI งั ` ส่วน ระบบก็จะปิ ดสวิตช์ไฟฟ้ าแสงสว่างทัIง ` ส่วน

เมื> อมี การใช้ระบบควบคุ มแบบอัตโนมัติ เช่ น อุปกรณ์ ตรวจจับแสงสว่าง และ/หรื อ อุปกรณ์ ตรวจจับการเคลื>อนไหว ควร
ออกแบบระบบดังกล่าวให้เป็ นแบบ “ปิ ดอัตโนมัต”ิ (automatic shut off) เท่านัIน ไม่ควรเป็ นแบบเปิ ดอัตโนมัติ กล่าวคือ ควรออกแบบให้
เป็ นระบบควบคุมแบบ “Manual on, Automatic off” ระบบนีI ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถทําให้ผูใ้ ช้งานอาคารมีความพอใจและมี
ความสะดวกสูงสุด ขณะเดียวกันก็สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้ าแสงสว่างได้สูงสุดเช่นกัน

ข้อยกเว้นสําหรับการใช้งานระบบควบคุมแบบนีI คือ หากเป็ นห้องหรื อพืIนที> ที>มืดหรื อไม่ได้รับแสงสว่างตลอดเวลากลางวัน


ระบบควบคุมที>เหมาะสมสําหรับพืIนที>ส่วนดังกล่าวนีI คือ ระบบควบคุมไฟฟ้ าด้วยการตรวจจับการเคลื>อนไหวของผูใ้ ช้อาคาร ซึ> งจะเปิ ด
ไฟฟ้ าแบบอัตโนมัติเมื>อมีผูใ้ ช้งานอาคาร สําหรับพืIนที>ส่วนอื>นๆ ที> ได้รับแสงสว่างธรรมชาติเต็มที>หรื อเพียงบางส่ วน บางเวลา ผูใ้ ช้งาน
ควรเป็ นผูต้ ดั สิ นใจเองเมื>อเข้าไปใช้งานพืIนที>ส่วนนัIนๆ ว่ามีความจําเป็ นต้องใช้แสงสว่างจากไฟฟ้ าหรื อไม่

2.3 การออกแบบการใช้ งานแสงสว่ างธรรมชาติ (Design with daylight)


บริ เวณที>อยู่ใกล้กบั ผนังของอาคารสํานักงาน (outer daylight zone) เป็ นบริ เวณที>มกั จะได้รับแสงสว่างธรรมชาติปริ มาณมาก
ตลอดช่ วงเวลาการใช้งานอาคาร คื อ ตัIงแต่ …‡.……-p’.…… น. (อาคารที> ใช้งานในช่ วงเวลากลางวัน เช่ น อาคารสํานักงานและอาคาร
สถานศึกษา) ดังนัIนจึงควรใช้ขอ้ ได้เปรี ยบนีIสาํ หรับการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง หน้าต่างกระจกใสธรรมดาที>มีพIืนที> `o-q…% ของ
พืIนที>ผนังอาคาร ค่าความสว่างของแสงสว่างธรรมชาติที>ตาํ แหน่งห่ างจากผนังเพียงประมาณ ` เมตร จะมีค่าลดลงจนน้อยกว่า p…… ลักซ์
ขณะที>ความสว่างที>บริ เวณส่วนด้านนอกใกล้กบั หน้าต่าง ระดับของแสงสว่างจะเพิ>มขึIนสูงมาก

ดังนัIน การคํานวณเพื>อออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างในช่วงเวลากลางวันสําหรับอาคารที> มีช่วงเวลาการใช้งานอาคารแบบ


เดียวกับอาคารสํานักงาน ค่าที>นาํ มาคํานวณควรเป็ นระดับแสงสว่างตํ>าสุ ด (minimum amount of daylight) ทัIงนีI เพื>อให้มีปริ มาณแสงสว่าง
โดยรวมเพียงพอแก่การใช้งานตลอดเวลาใช้งานอาคาร การออกแบบการใช้งานแสงสว่างธรรมชาติที>ดีนI นั จะต้องมีการออกแบบระบบ
ไฟฟ้ าแสงสว่างที>สอดคล้องและสมดุลกัน โดยทัว> ไปแล้ว ผลรวมของแสงสว่างจากไฟฟ้ าและแสงสว่างธรรมชาติที>ตาํ แหน่งห่ างจากผนัง
อาคารประมาณ ` เมตร จะมี ค่า g……-q…… ลักซ์ การออกแบบเพื>อให้เกิ ดการใช้งานร่ วมกันระหว่างแสงสว่างจากไฟฟ้ ากับแสงสว่าง
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที> g-11

ธรรมชาติอย่างเหมาะสม อาจช่วยลดจํานวนการติดตัIงหลอดไฟฟ้ าที>บริ เวณแนวริ มผนังอาคารได้ p แถว ทําให้ตน้ ทุนในการติดตัIงหลอด


ไฟฟ้ าลดลงไปได้อีกด้วย

การใช้ แสงสว่ างเฉพาะจุด (Use of Task Lighting)

กรณี ที>บริ เวณดังกล่าวมืดมากหรื ออาจต้องใช้งานในช่วงเวลากลางคืน การเลือกใช้แสงสว่างเฉพาะจุดที>บริ เวณโต๊ะทํางานซึ> งอยู่


ใกล้กบั หน้าต่างจะช่วยเพิ>มระดับของแสงสว่างให้เพียงพอแก่การใช้งานหากมีความจําเป็ นหรื อเมื>อแสงสว่างธรรมชาติไม่เพียงพอ การให้
แสงสว่างเฉพาะจุดมีความเหมาะสมแก่การใช้งาน เนื> องจากสามารถเลือกเปิ ดไฟฟ้ าใช้งานได้เฉพาะจุดที> ตอ้ งการ ทําให้ระดับของแสง
สว่างโดยรวมและการใช้พลังงานในพืIนที> ส่วนอื> นๆ (พืIนที> สําหรั บการใช้งานทัว> ไป) ของอาคารมีค่าตํ>าลง ในประเทศแถบยุโรปบาง
ประเทศ การใช้แ สงสว่า งเฉพาะจุ ด นีI ทํา ให้ค วามต้อ งการระดับ แสงสว่า งของพืI น ที> ก ารใช้ง านทั>ว ไปลดลงเหลื อ งเพี ย ง `…… ลัก ซ์
เปรี ยบเที ยบกับในประเทศไทยซึ> งมีค่าสู งถึง q……-o…… ลักซ์ จะเห็ นได้ว่าการออกแบบให้ระดับแสงสว่างทัว> ไปเท่ากับ `…… ลักซ์นI ัน
สามารถลดต้นทุนในการติดตัIงหลอดไฟฟ้ าและต้นทุนในการใช้งานไฟฟ้ าแสงสว่างลงได้อย่างชัดเจน และสามารถประหยัดต้นทุนได้
มากกว่าการออกแบบแสงสว่างแบบระดับเดียวกันทัIงพืIนที> (general lighting) หลายเท่าตัว

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน การใช้แสงสว่างธรรมชาติภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-1

บทที ~ แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้าแสงสว่ างภายในอาคาร (Lighting System Design)

1. บทนํา
การประหยัดพลังงานแสงสว่าง สามารถทําได้โดย
การประหยัดแสงสว่าง โดยการปิ ดเมื>อไม่ใช้งาน การติดตัIงอุปกรณ์ควบคุมการเปิ ดปิ ดแสงสว่าง การปรับหรี> แสงสว่างลงโดยการลด
หลอดหรื อใช้อุปกรณ์ปรับหรี> แสงสว่าง เป็ นต้น
การประหยัดพลังงาน โดยการใช้อุปกรณ์ประสิ ทธิ ภาพสู ง การใช้แสงธรรมชาติมาช่วยส่ องสว่าง การหมัน> ทําความสะอาดโคมไฟ
และหลอดไฟ การเลือกใช้สีผนังห้องและสี เฟอร์นิเจอร์ที>มีสีอ่อน เป็ นต้น
การประหยัดพลังงานแสงสว่าง สามารถช่วยประหยัดค่าไฟได้ แต่หากการประหยัดแสงสว่าง แล้วทําให้ประสิ ทธิ ภาพในการทํางานลดลง
เกิดอุบตั ิเหตุ อาชญากรรม หรื อ การสูญเสี ยอื>นๆ จากสภาพที>ไม่ปลอดภัย เช่นนัIนแล้วก็อาจไม่เหมาะสมและไม่ประหยัดค่าใช้จ่ายสุ ทธิ ที>
แท้จริ ง ดังนัIนการมุ่งเน้นเพียงแค่ประหยัดแสงสว่างจึ งอาจไม่ใช่ส>ิ งที>เราต้องการ แต่ส>ิ งที>ตอ้ งการ คือ การใช้พลังงานแสงสว่างอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ ให้มีระดับการส่องสว่างที>เพียงพอ เหมาะสม และ ให้ได้คุณภาพของแสงสว่างที>ดี ซึ>งจะเกิดได้จากการออกแบบที>เหมาะสม
เช่น เลือกใช้อุปกรณ์ประสิ ทธิภาพสูง การใช้แสงธรรมชาติเข้าช่วย ฯลฯ
คุณภาพของแสงสว่างที>ดี จะประกอบด้วย
1) การมีระดับการส่องสว่างที>เพียงพอ
2) การมีความสมํ>าเสมอของการส่องสว่าง และ ความสว่าง
3) การมีสีของแสง ที>ให้ความถูกต้องของสี ในการมองเห็น
4) การควบคุมแสงบาดตา
5) การควบคุมทิศทางของแสง
ตาม พรบ. การส่ งเสริ มการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. `ogo ได้แนะนําให้เราใช้มาตรการ การใช้แสงสว่างอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และ ตามกฎ
กระทรวงฯ (พ.ศ. `og‡) ซึ>งไม่เพียงแต่กาํ หนดอัตราการใช้กาํ ลังไฟฟ้ าส่องสว่างสูงสุด (วัตต์ต่อตารางเมตรของพืIนที>ใช้งาน) แต่ยงั ได้ระบุ
ให้ การส่องสว่างจะต้องให้ได้ระดับความส่องสว่างสําหรับงานแต่ละประเภทอย่างเพียงพอตามหลักและวิธีการที>ยอมรับได้ทางวิศวกรรม
อีกด้วย ซึ> งการใช้พลังงานแสงสว่างอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพจะขึIนกับอุปกรณ์ และองค์ประกอบต่างๆ หลายปั จจัย เพื>อให้ได้แสงสว่างที>
ประหยัดพลังงาน และ ได้คุณภาพของแสงสว่างที>ดี ซึ> งบทความนีI จะได้แนะนํา และ กล่าวถึงข้อควรระวังต่างๆ เพื>อเป็ นแนวทางแนะนํา
สําหรับผูอ้ อกแบบแสงสว่างให้ใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิภาพต่อไป

2. ศัพท์ แสงสว่ าง (Lighting Vocabulary)


ศัพท์พIืนฐานที>เกี>ยวข้องกับการใช้พลังงานแสงสว่างอย่างมีประสิ ทธิภาพ ได้แก่
ฟลักซ์ การส่ องสว่ าง (Luminous Flux) เป็ น ปริ มาณแสงทัIงหมดที>ส่องออกจากแหล่งกําเนิ ดแสง เช่น
หลอดไฟ มีหน่วยเป็ น ลูเมน (lumen; lm)

ความเข้ มการส่ องสว่ าง (Luminous Intensity: I) เป็ น ความเข้มของแสงที>ส่องออกมาจากแหล่งกําเนิ ดใน


ทิ ศ ทางใดทิ ศ ทางหนึ> ง มัก ใช้แ สดงความเข้ม ของแสงที> มุ ม ต่ า งๆ ของโคมไฟ มี ห น่ ว ยเป็ น แคนเดลา
(Candela; cd)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-2

ความส่ องสว่ าง (Illuminance: E) เป็ น ปริ มาณแสงที> ตกกระทบบนพืIนผิวต่อพืIน ที> อาจเรี ยกว่า ระดับความสว่าง (Lighting
Illuminance level) เพื>อบอกว่าพืIนที>นI นั ๆ ได้รับแสงสว่างมากน้อยเพียงใด มีหน่วยเป็ น ลูเมน ต่อ ตร.ม. (lm/m`) หรื อ lx (lux) (หน่วย
ลูเมน ต่อ ตร.ฟุต หรื อ ฟุตแคน-เดิล (Footcandle) มีค่าเทียบเท่ากับ p….’“ lx) ค่าที>เหมาะสมสําหรับแต่ละ
พืIนที> ได้มีมาตรฐานแนะนําไว้ในเอกสาร TIEA-GD ……g

ความส่ องสว่ าง = ปริมาณแสง (ลูเมน) / พืนที (m )

ความสว่ าง (Luminance: L) เป็ น ปริ มาณแสงที>สะท้อนออกมาจากพืIนผิวใดๆ ใน


ทิศทางใดทิศทางหนึ> งต่อพืIนที> ซึ> งอาจเรี ยกว่า ความจ้า (Brightness) ซึ> งปริ มาณแสงที>
เท่ากัน เมื>อตกกระทบลงมาบนวัตถุที>มีสีต่างกัน จะมีปริ มาณแสงสะท้อนกลับต่างกัน
ทําให้เห็ นมี ความสว่างต่างกัน เนื> องจากมี ค่าสัมประสิ ทธิ‹ การสะท้อนแสงของวัตถุ
ต่างกัน มีหน่วยเป็ น แคนเดลาต่อตารางเมตร (cd/m`) เรานิ ยมใช้ค่าความสว่างในการ
ออกแบบไฟถนน เพื>อให้เกิดความปลอดภัย และ ออกแบบแสงสว่างของห้องที>มีการ
ใช้จอภาพคอมพิวเตอร์ เพื>อลดแสงบาดตา
อุณหภูมิสีของแสง (Color Temperature) เป็ นการระบุสีของแสงที>ปรากฏให้เห็น โดยเทียบกับ สี ที>เกิดจากการเปล่งสี ของการเผา
ไหม้วตั ถุดาํ อุดมคติ (Black Body) ให้ร้อนที>อุณหภูมิที>กาํ หนด ซึ>งมีหน่วยเป็ นเคลวิน (K) เช่น แสงจากหลอดไส้ที>มีอุณหภูมิสี `,’……
K มีอุณหภูมิสีต>าํ แสงที>ได้จะอยูใ่ นโทนสี ร้อน (สี แดง) ส่ วนแสงอาทิตย์ในยามเที>ยงวันที>ให้แสงขาวนัIนมีอุณหภูมิสีประมาณ o,o……
K หรื อ แสงจากหลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดสี คูลไวต์ที>มีอุณหภูมิสี “,o…… K หมายถึง ให้สีเทียบเท่าเมื>อเผาวัตถุสีดาํ ให้ร้อนถึงอุณหภูมิ
“,o…… เคลวิน วัตถุนI นั จะเปล่งแสงออกมาเป็ นสี คูลไวต์หรื อ ขาวฟ้ า เป็ นต้น
ตารางที W-6 ตัวอย่ างอุณหภูมสิ ี และ โทนสีของแสงทีใช้ กนั ทัวไป
อุณหภูมสิ ีของแสง (K) โทนสีของแสง (Color Group) ตัวอย่ างแหล่งกําเนิดแสง
1,900 สี ขาวส้ม (Incandescent) เทียนไข
2,700 สี ขาวส้ม หลอดอินแคนเดสเซนต์
3,000 สี วอร์มไวต์ (ขาวเหลือง)(Warm White; WW) หลอดฮาโลเจน
3,500 สี วอร์มไวต์ หลอดไอปรอทความดันสูง
3,500 สี วอร์มไวต์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ สี วอร์มไวต์
4,000 สี คูลไวต์ (ขาวเย็น) (Cool White; CW) หลอดเมทัลฮาไลด์
4,500 สี คูลไวต์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ สี คูลไวต์
5,000-6,000 สี เดย์ไลต์ (ขาว) (Daylight; D) แสงอาทิตย์กลางวัน
6,500 สี คูลเดย์ไลต์(ขาวฟ้ าเย็น) (Cool Daylight; CD) หลอดฟลูออเรสเซนต์ สี เดย์ไลต์
อุณหภูมิสีของแสงจะแตกต่างจากอุณหภูมิความร้อน กล่าวคือ หลอดไฟที>มีอุณหภูมิสีต>าํ จะให้โทนสี อ่นุ ส่ วนหลอดที>มีอุณหภูมิสีสูง
จะให้โทนสี เย็น ซึ>งจะตรงข้ามกับอุณหภูมิความร้อน การเลือกใช้แสงที>มีอุณหภูมิสีต่างกันจะทําให้ได้บรรยากาศแตกต่างกันไปด้วย
คือ
โทนสี อ่ ุน เช่น สี วอร์ มไวต์ เหมาะสําหรับการใช้งานที> ตอ้ งการความสว่างไม่มากนัก จะให้ความรู ้สึกอบอุ่นจึ งเหมาะสําหรับการ
พักผ่อน เช่น ห้องนัง> เล่น ห้องนอน ห้องอาหาร และ เหมาะสําหรับส่ องให้อาหารเนืI อสัตว์ดูสด น่ารับประทาน เช่น ใช้ในภัตตาคาร
และ ร้านขายเนืIอสัตว์
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-3

โทนสีเย็น เช่น สี คูลไวต์ และ สี เดย์ไลต์ เหมาะสําหรับการใช้งานที>ตอ้ งการความสว่างมาก จะให้ความรู ้สึกกระฉับกระเฉง จึงเหมาะ
สําหรับการทํางาน เช่น ห้องทํางาน และ เหมาะสําหรับส่องให้อาหารพืชผักสี เขียวดูสด น่ารับประทาน เช่น ใช้ใน ร้านขายผัก ผลไม้
สี เขียว

แสงทีมีอณ
ุ หภูมสิ ีแตกต่ างกัน ส่ งผลให้ เราเห็นวัตถุมสี ีแตกต่ างกัน
(รู ป www.DIRECTIONPLAN.net)

ตัวอย่ างการเห็นสีของวัตถุทแตกต่
ี างกันออกไป เมือให้ แสงสีต่างกัน

อายุใช้ งานของหลอด (Lamp Life) หมายถึง ระยะเวลาโดยเฉลี>ย ซึ>งเมื>อใช้งานหลอดไฟครบระยะเวลานัIนแล้ว จะคงเหลือหลอดไฟ


ที>ยงั ทํางานอยูไ่ ด้เหลืออยูจ่ าํ นวนครึ> งหนึ>ง
ความเสือมของหลอด (Lamp Lumen Depreciation, LLD) คือ อัตราส่ วนปริ มาณแสงที>เหลืออยูเ่ มื>อหลอดไฟครบอายุใช้งานเทียบ
กับค่าฟลักซ์การส่องสว่างเริ> มต้น เนื>องจากการเสื> อมสภาพของหลอดไฟแต่ละชนิด
ระยะเวลาอุ่นหลอด (Preheating Time) คือ ช่วงเวลานับจากเริ> มเปิ ด จนกระทัง> หลอดสว่างเต็มที>
ระยะเวลารอจุดหลอดซํCา (Restrike Time) ช่วงเวลาที>ตอ้ งพักให้หลอดไฟพักคืนตัว ก่อนจะเปิ ดใช้ใหม่ได้อีกครัIง
มุมองศาในการใช้ งานหลอด (Burning position) หมายถึง มุมองศาในการใช้งานหลอด สําหรับการติดตัIงหลอดตามคําแนะนําของ
ผูผ้ ลิตหลอดไฟ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-4

ค่ าดัชนีความถูกต้ องของสี (Color Rendering Index, CRI หรือ Ra) เป็ นค่าที>บอกว่าแสงที>ส่องไปถูกวัตถุ ทําให้เห็นสี ของวัตถุได้
ถูกต้องมากน้อยเพียงใด ค่า Ra ไม่มีหน่วย มีค่าตัIงแต่ …-p…… โดยกําหนดให้แสงอาทิตย์กลางวัน เป็ นดัชนี อา้ งอิงเปรี ยบเทียบ ที>มีค่า
Ra = p…… เพราะแสงอาทิตย์กลางวันประกอบด้วยสเปกตรัมครบทุกสี เมื>อใช้แสงนีI ส่องวัตถุ แล้วสี ของวัตถุที>เห็นจะไม่มีความเพีIยน
ของสี แต่หากเลือกหลอดที>มีค่า Ra ตํ>า ก็จะทําให้เห็นสี เพีIยนไปได้ การเลือกหลอดไฟสําหรับแต่ละกิจกรรมจะมีขอ้ แนะนําว่าควร
เลือกหลอดที>ให้ความถูกต้องของสี ไม่นอ้ ยกว่าค่าที>แนะนําไว้ในมาตรฐาน TIEA-GD ……g
หลอดไส้แม้มีค่าอุณหภูมิสีต>าํ แต่ก็ให้แสงที>มีสเปกตรัมครบทุกสี จึงมีค่า Ra = p…… เช่นกัน ขณะที>แหล่งกําเนิ ดแสงอื>นๆ เช่น หลอด
ฟลูออเรสเซนต์ ซึ> งให้สเปกตรัมไม่ครบทุกสี จึงอาจให้สีของวัตถุภายใต้แสงนัIน เพีIยนไปจากความจริ งได้ จึงมีค่า Ra ตํ>ากว่า p……
ส่ วนหลอดที>ให้สเปกตรัมสี ที>มีความยาวคลื>นเดียว เช่น หลอดโลว์เพรสเชอร์ โซเดียม ซึ> งทําให้เห็ นวัตถุสีเหลืองถูกต้อง แต่สีอื>นจะ
เพีIยน มีค่า Ra ตํ>า … – go เป็ นต้น
ค่ าประสิทธิผลการส่ องสว่ าง (Luminous Efficacy) ค่าประสิ ทธิผล (Efficacy) คล้ายกับ ค่าประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) ตรงที>เป็ นการ
เปรี ยบเทียบสมรรถนะ เพื>อบอกว่าอุปกรณ์ดงั กล่าวจะให้สมรรถนะได้สูงเท่าไร แต่แตกต่างกันตรงที> ค่าประสิ ทธิ ภาพนัIน เป็ นการ
เปรี ยบเทียบเรื> องเดียวกัน ดังนัIนหน่วยจึงหักล้างกันหมด ทําให้ค่าประสิ ทธิภาพไม่มีหน่วย จึง นิยมเรี ยกเป็ น ร้อยละ หรื อ เปอร์ เซ็นต์
เช่ น ค่ า ประสิ ท ธิ ภ าพของโคมไฟ เป็ นต้น ส่ ว นค่ า ประสิ ท ธิ ผ ล จะเป็ นการเปรี ย บเที ย บต่ า งเรื> องกัน จึ ง ยัง คงมี ห น่ ว ย เช่ น ค่ า
ประสิ ทธิผลการส่องสว่างของหลอด เป็ นต้น
ประสิ ทธิผลการส่ องสว่ างของหลอด (Lamp Luminous Efficacy) คือ อัตราส่ วนระหว่างปริ มาณแสงที> หลอดเปล่งออกมาได้
(ปริ มาณฟลักซ์การส่ องสว่างที> ออกจากหลอด โดยทัว> ไปวัดที> ค่าฟลักซ์การส่ องสว่างเริ> มต้น คือ หลังหลอดทํางาน p…… ช.ม.) ต่อ
กําลังไฟฟ้ าที>หลอด ซึ>งจะเรี ยกว่า ค่าประสิ ทธิผลการส่องสว่างของหลอด มีหน่วยเป็ น ลูเมน/วัตต์
แต่หากค่ากําลังไฟฟ้ าที> ใช้ ไม่ใช่ค่ากําลังไฟฟ้ าที> หลอด แต่เป็ นค่ากําลังไฟฟ้ าของวงจร ซึ> งเป็ นค่ากําลังที>หลอดรวมบัลลาสต์ ก็จะ
เรี ยกว่า ค่าประสิ ทธิ ผลการส่ องสว่างของวงจร (Circuit Luminous Efficacy หรื อ System Luminous Efficacy) หรื อ ค่าประสิ ทธิ ผล
การส่องสว่างของหลอดรวมบัลลาสต์
ค่ าดัชนีคุณภาพ (Quality Index) ของบัลลาสต์ เป็ น ค่าที> ใช้บอกประสิ ทธิ ภาพการใช้พลังงานของบัลลาสต์ หมายถึง อัตราส่ วน
ระหว่างกําลังไฟฟ้ าที>บลั ลาสต์จ่ายให้หลอด หรื อ กําลังไฟฟ้ าที>หลอด (lamp power) กับ กําลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยในบัลลาสต์ (ballast loss)
เช่น ค่าดัชนีคุณภาพขัIนตํ>าของ บัลลาสต์กาํ ลังสูญเสี ยตํ>า (low loss ballast) สําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบหลอดตรง g“ วัตต์ ควร
มีค่าไม่นอ้ ยกว่า “.…
ค่ าประสิทธิภาพของโคมไฟ (Luminaire Efficiency) เป็ น ค่าที>ใช้บอกประสิ ทธิ ภาพการให้แสงของโคมไฟ ซึ> งมาจากค่าอัตราส่ วน
ของแสงโดยรวมที>ออกจากโคมเมื>อเทียบกับแสงที>ออกจากหลอดที>ติดตัIง เช่น โคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรงโดยทัว> ไป อาจจะมีค่า
ประสิ ทธิภาพของโคมไฟ ประมาณ “… % แต่โคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรงแบบประสิ ทธิภาพสูง จะมีค่าประสิ ทธิภาพได้สูงมากถึง ‡…
% หมายความว่า หากหลอดเปล่งแสงออกจากหลอดคิดเป็ น p…… % เมื>อนําหลอดประเภทที>เหมาะสมกับโคมไฟดังกล่าวไปติดตัIงใน
โคมไฟประสิ ทธิภาพสูงก็จะให้แสงออกจากโคมไฟมากถึง ‡… %
ดังนัIนหากเลือกใช้โคมไฟที>มีประสิ ทธิภาพสูง ก็จะได้แสงออกจากโคมไฟมาก และ สามารถลดจํานวนโคมไฟที>จาํ เป็ นต้องติดตัIงลง
ซึ>งจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดตัIงและบํารุ งรักษาได้ (การเลือกโคมไฟที>ดี นอกจากพิจารณาค่าประสิ ทธิ ภาพของโคมไฟแล้ว
ยังจําเป็ นต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบอื>นๆ ประกอบกันด้วย เช่น การจํากัดแสงบาดตา เป็ นต้น)
แสงบาดตา (Glare) หมายถึง สภาพแสงที>เข้าตาแล้วทําให้มองเห็นวัตถุได้ยากหรื อมองไม่เห็นเลย แสงบาดตาแบ่งได้เป็ น ` ลักษณะ
ใหญ่ คือ แสงบาดตาแบบไม่สามารถมองเห็นได้ (disability glare) เป็ นแสงบาดตาประเภทที>ไม่สามารถมองเห็นวัตถุได้ เช่น มีแสง
เข้าตามากจนไม่สามารถมองเห็นวัตถุได้ อาทิ แสงจ้าจากดวงอาทิตย์ และ แสงบาดตาแบบไม่สบายตา (discomfort glare) เป็ นแสง

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-5

บาดตาประเภทที>ยงั มองเห็นวัตถุได้แต่เป็ นไปด้วยความลําบากและไม่สบายตา เพราะมีแสงย้อนเข้าตามาก เช่น แสงสะท้อนบนหน้า


จอคอมพิวเตอร์
การมองเห็นหลอดไฟส่องสว่างโดยตรง ก็เป็ นลักษณะแสงบาดตาโดยตรงประเภทหนึ> ง โคมไฟแต่ละชนิ ดจึงถูกออกแบบผลิตให้มี
ลักษณะจํากัดแสงบาดตาไม่เหมือนกัน การออกแบบแสงสว่างที>ดี ต้องจัดตําแหน่งติดตัIงโคม และ เลือกชนิ ดโคมไฟให้เหมาะสม
เพื>อให้เกิดแสงบาดตาน้อยที>สุด การพิจารณาคุณสมบัติแสงบาดตาของโคมไฟ ในปั จจุบนั พิจารณาจากกราฟแสงบาดตา (Luminance
Curve หรื อ กราฟความสว่าง) แต่ในอนาคตจะเริ> มมีการใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยคํานวณค่า UGR ประกอบการพิจารณาคุณสมบัติแสง
บาดตาของการส่องสว่างภายในอาคารมากขึIน
UGR (Unified Glare Rating System) เป็ นเกณฑ์ตามมาตรฐาน CIE ในการประเมินแสงบาดตา ของการให้แสงสว่างภายในอาคาร
ซึ> งเป็ นระบบที> จะถูกนํามาใช้ในการพิจารณาแสงบาดตาแทนการใช้กราฟแสงบาดตา โดยสามารถคํานวณค่า UGR ได้จากจาก
เอกสาร CIE pp’ (Discomfort Glare in Interior Lighting) ตามสมการ คือ

UGR = 8 log (0.25/Lb * Σ ( L2ω / P2))

โดย UGR = อัตราแสงบาดตา


Lb = ความส่องสว่างด้านหลัง (Background Luminance) (cd/m2)
L = ความส่องสว่างของส่วนที>ให้แสงของแต่ละโคม จากตาของผูม้ อง (cd/m2)
ω = มุมตันของส่วนที>ให้แสงของแต่ละโคมจากตาของผูม้ อง (sr)
P = Guth Position Index ของแต่ละโคม
โดยมีสเกลค่าของ UGR คือ pg p“ p‰ `` `o และ `‡ ซึ>งหากค่า UGR เป็ น pg หมายความว่ามีแสงบาดตาน้อย ส่วนหากมีค่า `‡ แสดง
ว่า มี แ สงบาดตามาก โดยในการใช้ง านแต่ ล ะกิ จ กรรม ผู ้อ อกแบบควรอ้า งอิ ง เกณฑ์ ตามข้อ แนะนํา ค่ า ระดับ ความส่ อ งสว่า ง
(Illuminance) และค่า UGR สูงสุดของแต่ละกิจกรรมตามมาตรฐาน TIEA-GD ……g ของ สมาคมไฟฟ้ าแสงสว่างแห่งประเทศไทย

3. การออกแบบระบบไฟฟ้าแสงสว่ าง
การออกแบบแสงสว่างให้ใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิภาพนัIน เราจําเป็ นต้องทราบ และ เข้าใจถึงหลักการ และ องค์ประกอบต่างๆ ที>มีผล
ต่อการประหยัดพลังงาน ซึ>งได้แก่
3.1 หลักการให้ แสงสว่ าง (Lighting Concept)
การออกแบบระบบแสงสว่างที> มีประสิ ทธิ ภาพสู งนัIน ต้องเริ> มจากการทําความเข้าใจกับพืIนที> ที>จะใช้แสงสว่าง คื อ ศึ กษาถึ ง
ประเภทหรื อชนิดของงานที>จะกระทําในพืIนที>นI นั ๆ ว่าเป็ นงานชนิ ดใด มีการทํางานในเวลาใด และต้องการระดับความสว่างสู งมากน้อย
เพียงใด โดยคํานึงถึงขนาดชิIนงาน ค่าการสะท้อนแสง ความเปรี ยบต่าง (Contrast) และการเคลื>อนไหวของชิIนงาน รวมทัIงระยะห่ างจาก
ผูป้ ฏิบตั ิงาน และ สภาพแวดล้อมของพืIนที>นI นั ๆ ด้วย เช่น ความสู งของเพดาน ช่องแสง หลักการให้แสงสว่างโดยทัว> ไปจะมีจุดมุ่งหมาย
หลัก g ประการ คือ
1) เพื>อการทํางาน อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เช่น แสงสว่างโต๊ะทํางาน แสงส่ องให้พืชโต แสงฆ่าเชืIอ แสงสว่างไฟถนน แสงสว่าง
ลานจอดรถ เป็ นต้น
2) เพื>อความปลอดภัย เช่น แสงสว่างไฟถนน แสงสว่างไฟรัIว แสงสว่างระบบรักษาความปลอดภัย แสงสว่างลานจอดรถ เป็ นต้น

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-6

3) เพื>อความสวยงาม และสร้างบรรยากาศที>เหมาะสม เช่น แสงสว่างส่ องรู ปภาพ แสงสว่างร้านอาหาร แสงสว่างประดับอาคาร


และต้นไม้ เป็ นต้น
การทํางานภายใต้ระบบแสงสว่างที> เหมาะสม ไม่เพียงแต่จะทําให้ผูป้ ฏิ บตั ิ งานสามารถทํางานได้รวดเร็ วขึI น ปริ มาณมากขึI น
ประณี ตมากขึIน แล้วยังทําให้เกิ ดความพึงพอใจในการทํางานมากขึIนด้วย เพราะระบบแสงสว่างมีผลต่อคุณภาพชี วิตของผูป้ ฏิ บตั ิงาน
วิธีการให้แสงสว่างที>เหมาะสมจึงเป็ นสิ> งสําคัญในการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง ซึ>งสามารถแบ่งออกได้เป็ น g แนวทาง คือ
1. การให้ แสงสว่ างทัวพืนC ที (General lighting)
เป็ นวิธีการให้แสงสว่าง ที>นิยมใช้โดยทัว> ไป เป็ นการให้แสงสว่างจากโคมไฟที>ติดตัIงกระจายอย่างสมํ>าเสมอบนเพดาน ซึ> งทําให้มี
ความสว่างเกือบเท่ากันตลอดพืIนที> จึงทําให้มีขอ้ ดีในแง่ที>สามารถออกแบบได้ง่าย ไม่จาํ เป็ นต้องทราบตําแหน่งโต๊ะทํางานที>แน่นอน และ
สามารถย้ายตําแหน่งโต๊ะทํางานได้อย่างอิสระ แต่ขอ้ เสี ย คือ เป็ นวิธีการให้แสงสว่างที>สิIนเปลืองพลังงานสู ง ดังนัIนจึงเหมาะสําหรับการ
ให้แสงสว่างทัว> ไปที>ไม่ตอ้ งการระดับความส่ องสว่างสู งมากนัก เช่น ทางเดิน การให้แสงสว่างสําหรับการทําความสะอาด และ เหมาะ
สําหรับห้องที>โต๊ะทํางานอยูก่ ระจัดกระจายทัว> ไป เช่น ห้องทํางาน ห้องเรี ยน
2. การให้ แสงสว่ างเฉพาะที (Local lighting)
เป็ นวิธีการให้แสงสว่างเสริ ม ให้ได้ความสว่างสูงในจุดตําแหน่งที>ใช้งานโดยเฉพาะ เช่น โคมไฟเหนือโต๊ะทํางาน หรื อบริ เวณที>อยู่
ใกล้ผูท้ าํ งานหรื อชิIนงาน เพื>อให้แสงสว่างเฉพาะตําแหน่ งและทิ ศทางที> ตอ้ งการ ในปริ มาณแสงระดับสู ง อาทิ สําหรับงานยาก งานที>
ต้องการความเที>ยงตรงสูง เช่น งานเจียระไนเครื> องประดับ งานอิเล็กทรอนิกส์
การออกแบบให้แสงสว่างเฉพาะที>จะช่วยประหยัดพลังงานได้มากกว่าการให้แสงสว่างทัว> ไป โดยจะต้องควบคุมทิศทางและความ
สว่างเฉพาะที> และ ความสว่างแวดล้อมให้เหมาะสม
3. การให้ แสงสว่ างทัวพืนC ที และเฉพาะที (General and Localized Lighting)
เป็ นวิธีการให้แสงสว่าง โดยผสานการออกแบบให้สอดคล้องกับการทํางานในแต่ละพืIนที> และมีแสงสว่างทัว> พืIนที> ประกอบกับ
แสงสว่างเฉพาะตําแหน่ง จึงทําให้ประหยัดพลังงานกว่าวิธีแรก แต่ก็มีขอ้ เสี ย คือ การปรับย้ายตําแหน่งพืIนที>ทาํ งานไม่อิสระ เหมาะสําหรับ
สํานักงาน โรงงาน และ พืIนที>ทาํ งานสมัยใหม่ ที>ตอ้ งการประหยัดพลังงาน และ ได้ระดับความส่องสว่างเพียงพอ
การออกแบบระบบแสงสว่า งที> ดี นI ัน นอกจากจะต้อ งให้ไ ด้ป ริ ม าณแสงสว่า งที> เ หมาะสมกับ การใช้ง านแล้ว ยัง ต้อ งทํา ให้
ผูป้ ฏิบตั ิงานมีความรู ้สึกสบายในการใช้สายตา (Visual Comfort) กล่าวคือ ความจ้าของแสงบนชิIนงานและสภาพแวดล้อมไม่ควรแตกต่าง
กันเกิน g เท่า และไม่ควรมี แสงบาดตา (glare) โดยตรงจากโคมไฟเกินระดับที>ยอมรับได้ หรื อ มีแสงบาดตาโดยอ้อมจากการสะท้อนจาก
พืIนผิววัตถุมนั ทัIงนีIโดยการเลือกใช้โคมไฟและการติดตัIงทิศทางให้เหมาะสม ในกรณี ที>เกิดเงาเนื>องจากชิIนงานอยูใ่ นตําแหน่งที>แสงเข้าไม่
ถึง อาจต้องติดตัIงโคมไฟเฉพาะตําแหน่ งเข้าช่วย นอกจากนีI ยงั ต้องคํานึ งถึงความสะดวกในการบํารุ งรักษา ความปลอดภัย และความ
สวยงามประกอบด้วย
3.2 การเลือกใช้ สีผนังห้ อง และ เฟอร์ นิเจอร์ ให้ ประหยัดพลังงาน (Room and Furniture Color)
สี ของผนังห้องและเฟอร์ นิเจอร์ มีส่วนสําคัญต่อการออกแบบแสงสว่างให้ประหยัดพลังงาน การออกแบบแสงสว่างให้ประหยัด
พลังงาน จําเป็ นต้องเริ> มต้นด้วยการออกแบบสี ภายในห้องให้มีการสะท้อนแสงที>ดี การเลือกสี วสั ดุภายในห้องเป็ นสี อ่อน เช่น สี ขาว ฯลฯ
โดยมีขอ้ ควรระวังในการเลือกใช้สีของส่วนประกอบต่างๆ ของห้อง ได้แก่
เพดาน
- ควรเลือกสี อ่อน เช่น สี ขาว และหากใช้ประกอบกับโคมไฟส่ องขึIน ในห้องที>เพดานตํ>าจะทําให้หอ้ งดูโปร่ ง โล่ง กว้างขึIน
ผนังห้อง
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-7

- การทาสี ผนังห้องหรื อ การติดกระดาษปิ ดฝาผนัง (wallpaper) ควรเลือกสี อ่อน เช่น สี ขาว จะช่วยให้หอ้ งสว่างและดูกว้าง
ขึIน
- ห้องที>ตกแต่งด้วยไม้ สี และผิวด้านของไม้จะดูดกลืนแสง หากใช้ไม้สีเข้มก็จะยิ>งทําให้ความสว่างภายในห้องลดลงมาก
ดังนัIนหากมีการตกแต่งห้องด้วยไม้ ก็อาจจําเป็ นต้องติดตัIงโคมไฟเพิ>มขึIน เพื>อเผื>อการลดลงของแสงจากการดูดกลืนแสง
ของไม้ และ/หรื อ ติดตัIงโคมไฟเฉพาะที> เช่น โคมไฟตัIงโต๊ะบริ เวณโต๊ะทํางาน
- หากมีการกัIนห้องด้วยผนังลอย (partition) จะทําให้ความสว่างลดลงได้ถึง `… % ดังนัIนหากมีการกัIนห้องด้วยผนังลอย
เช่น พืIนที>สาํ นักงานทัว> ไปที>จะใช้ผนังลอย ก็จาํ เป็ นต้องติดตัIงโคมไฟเพิ>มขึIน เพื>อเผื>อการลดลงของแสงจากการดูดกลืน
แสงของผนังลอย โดยการเพิ>มโคมไฟให้แสงสว่างทั>วพืIนที> ที> เพดาน หรื อ เพิ>มโคมไฟเฉพาะที> ที> เหนื อโต๊ะทํางาน
มิฉะนัIนแล้วจะทําให้ความสว่างที>ได้ต>าํ กว่ามาตรฐานที>ควรเป็ น
โต๊ะทํางาน
- ควรเลือกใช้โต๊ะที>มีผิวหน้าโต๊ะ สี อ่อน และ มีผิวด้าน เช่น โต๊ะสี ขาวด้าน
- ไม่ควรใช้โต๊ะทํางานที> มีผิวโต๊ะสี ดาํ เพราะจะทําให้กล้ามเนืI อตาเมื>อยล้าได้ง่ายจากการอ่านเอกสารสี ขาวตัดกับโต๊ะสี ดาํ
และ ไม่ควรใช้โต๊ะที>มีผิวมันหรื อผิวกระจก เพราะอาจจะสะท้อนแสงของของโคมไฟส่องลงทําให้เกิดแสงบาดตา แต่ถา้
หากมีโต๊ะสี ดาํ ผิวมันหรื อผิวกระจกอยู่ การแก้ไขโดยใช้ผา้ คลุมโต๊ะสี ขาวจะช่วยแก้ปัญหาได้อย่างประหยัดพลังงาน
มากกว่าการเลี>ยงไปใช้โคมไฟส่องขึIน
เฟอร์นิเจอร์ภายในห้อง
- หากใช้เฟอร์ นิเจอร์ โต๊ะ เก้าอีI ตู ้ สี อ่อนจะช่วยทําให้หอ้ งสว่างเพิ>มขึIน แต่หากใช้สีเข้มจะทําให้ความสว่างของห้องลดลง
ซึ>งทําให้อาจจําเป็ นต้องติดตัIงโคมไฟเพิ>ม เพื>อให้มีระดับความสว่างเพิ>มขึIน
- กองกระดาษเอกสารในห้อง สันกระดาษจะดูดกลืนแสง ลดการสะท้อนแสง ทําให้ความสว่างลดลงได้ ดังนัIนจึ งควรนํา
กองเอกสารที>ไม่ได้กาํ ลังใช้งาน ออกจากห้องทํางานไปเก็บไว้ในห้องเก็บเอกสาร
พืIนห้อง
- การเลือกพืIนห้องสี อ่อน เช่น หิ นอ่อนสี ขาว จะช่วยสะท้อนแสงได้ดี เพิ>มความสว่างของห้องได้ดีกว่า การใช้พIืนไม้
- การเลื อกใช้พรม จะดู ดกลื นแสง ทําให้ความสว่างของห้องลดลง ซึ> งทําให้อาจจําเป็ นต้องติ ดตัIงโคมไฟเพิ>ม เพื>อให้มี
ระดับความสว่างเพิ>มขึIน
ตารางที a.W ตัวอย่ างค่ าสัมประสิทธิyการสะท้ อนแสงของสีและวัสดุ
สี % การสะท้ อนแสง สี % การสะท้ อนแสง วัสดุ % การสะท้ อนแสง
ขาว 75-85 เขียวแก่ 15-20 ไม้สีอ่อน 25-35
เทาอ่อน 40-60 เหลืองอ่อน 60-70 ไม้สีแก่ 10-15
เทาแก่ 10-15 นํIาตาล 20-30 หิ นอ่อน 30-70
นํIาเงินอ่อน 40-50 แดงอ่อน 45-55 ปูนฉาบ 40-45
นํIาเงินแก่ 15-20 แดงแก่ 15-20 คอนกรี ต 20-30
เขียวอ่อน 45-55 ดํา 2-5 อิฐเผา 10-15

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-8

4. มาตรฐานในระบบแสงสว่ าง (Lighting Standards)


การออกแบบแสงสว่าง ต้องให้ได้ระดับความส่องสว่างไม่นอ้ ยกว่าที>กฎหมายกําหนด และ ควรไม่นอ้ ยกว่าความต้องการในการใช้งาน ซึ> ง
ในประเทศไทยได้มีม าตรฐานกําหนดค่าความส่ องสว่างขัIนตํ>า สําหรั บการใช้ง านแต่ละประเภทไว้ เป็ นมาตรฐานที> ยอมรั บในทาง
วิศวกรรม โดยให้อา้ งอิงตาม มาตรฐานของสมาคมไฟฟ้ าแสงสว่างแห่งประเทศไทย (TIEA) (หมายเหตุ มาตรฐานของประเทศไทย อ้างอิง
ตามมาตรฐานสากลของ CIE (Commission International del’Eclairage) ซึ>งไม่ได้อา้ งอิงตามมาตรฐาน IESNA (Illumination Engineering
Society of North America) ของประเทศสหรัฐอเมริ กา)
โดยมาตรฐานกําหนดค่าความส่ องสว่างขัIนตํ>า ซึ> งไม่ใช่ค่าความส่ องสว่างเริ> มต้น ดังนัIนการออกแบบจึงต้องเผื>อการลดลงของความส่ อง
สว่าง จากการเสื> อมของหลอด และ จากการลดลงของสัมประสิ ทธิ‹ การสะท้อนแสงภายในห้อง ที> เกิดจากฝุ่ นที> เกาะที> หลอดไฟ โคมไฟ
เฟอร์นิเจอร์ และ ผนังกัIนห้อง ด้วย ซึ>งการออกแบบแสงสว่างที>เผื>อการลดลงของแสง อาจต้องเผื>อไว้ถึง `… - q… % ขึIนกับสภาพแวดล้อม
และลักษณะการใช้งาน
นอกจากมาตรฐานที> เกี> ยวข้องแล้ว กฎหมายที> เกี> ยวข้องกับแสงสว่าง ก็เป็ นสิ> งจําเป็ นที> ผูอ้ อกแบบจําเป็ นต้องทราบ ซึ> งมาตรฐานและ
กฎหมายที>เกี>ยวข้อง ได้แก่
4.1 มาตรฐานด้ านแสงสว่ างของประเทศไทย ทีเกียวข้ อง ได้ แก่
TIEA เป็ นมาตรฐาน ของสมาคมไฟฟ้ าแสงสว่างแห่งประเทศไทย อาทิเช่น
- TIEA-GD ……p แนวทางการประหยัดพลังงานไฟฟ้ าแสงสว่าง
- TIEA–GD ……` ข้อแนะนําการส่ องสว่างสําหรับห้องที>มีจอคอมพิวเตอร์
- TIEA–GD ……g ข้อแนะนําระดับความส่ องสว่างภายในอาคาร
- TIEA–SP ……` ศัพท์ไฟฟ้ าแสงสว่าง
ว.ส.ท. เป็ นมาตรฐานของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ อาทิเช่น
- ว.ส.ท. `……q-qq มาตรฐานระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุ กเฉิ นและป้ ายทางออกฉุ กเฉิ น

ตารางแสดงตัวอย่ าง ค่ าระดับความส่ องสว่ าง (Illuminance) สําหรับพืนC ทีทํางานและกิจกรรมต่ างๆ ภายในอาคาร ตามมาตรฐาน TIEA-
GD ``a ของ สมาคมไฟฟ้าแสงสว่ างแห่ งประเทศไทย

ประเภทของพืนC ทีและกิจกรรม EmLux UGR L R a(min) หมายเหตุ


6. พืนC ทีภายในอาคารทัวไป
โถงนัง> พัก `…… `` ‡…
พืIนที>ทางเดินภายในอาคาร p…… `‡ q… ระหว่างทางเข้า-ออก ให้ระวังการ
เปลี>ยนระดับความส่ องสว่างทันที
บันได บันไดเลื>อน ทางเลื>อน po… `o q…
ห้องพักผ่อนทัว> ไป p…… `` ‡…
ห้องนํIา ห้องสุขา ห้องรับฝากของ `…… `o ‡…
ห้องเก็บของ o… `o “…
W. อาคารสํานักงาน
พืIนที>เก็บเอกสาร ถ่ายเอกสาร และพืIนที>ทว>ั ไปที>มีการสัญจร g…… p‰ ‡…
สําหรับพืIนที>มีจอคอมพิวเตอร์ ให้ดู
พืIนที>ที>มีการเขียน พิมพ์ อ่าน ใช้คอมพิวเตอร์และ data processing o…… p‰ ‡…
TIEA-GD 002
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-9

ประเภทของพืนC ทีและกิจกรรม EmLux UGR L R a(min) หมายเหตุ


พืIนที>ที>ใช้สาํ หรับเขียนแบบ ’o… p“ ‡…
สําหรับพืIนที>มีจอคอมพิวเตอร์ ให้ดู
พืIนที>ทาํ งานด้าน CAD(Computer Aid Design) o…… p‰ ‡…
TIEA-GD 002
ห้องประชุม g…… p‰ ‡…
พืIนที>เคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ ต้อนรับ g…… `` ‡…
พืIนที>ขาย (ขนาดเล็ก) g…… `` ‡…
พืIนที>ขาย (ขนาดใหญ่) o…… `` ‡…
พืIนที>เก็บเงิน /ห่อ บรรจุ o…… p‰ ‡…
a. ห้ องอาหารและโรงแรม
พืIนที>ตอ้ นรับ เคาน์เตอร์เก็บเงิน บริ การของโรงแรม g…… `` ‡…
ครัว o…… `` ‡…
แสงสว่างควรออกแบบเพื>อสร้าง
พืIนที>ภตั ตาคาร ห้องอาหาร ห้องจัดเลีIยง `…… `` ‡…
บรรยากาศ
ห้องอาหารแบบบุฟเฟ่ ต์ g…… `` ‡…
ระบบแสงสว่างควรจะเป็ นระบบ
ห้องจัดงานประชุม สัมมนา o…… p‰ ‡…
ปรับหรี> ได้
พืIนที>ทางเดิน p…… `o ‡… ความส่ องสว่างในเวลากลางคืน
สามารถตํ>าลงได้

4.2 พรบ. การส่ งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 4$4


ซึ>งพระราชบัญญัติได้กาํ หนดกฎหมายที>เกี>ยวกับแสงสว่างไว้ ได้แก่
มาตรา p’ การอนุรักษ์พลังงานในอาคารได้แก่การดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ>งดังต่อไปนีI
(1) การลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที>เข้ามาในอาคาร

(2) การใช้แสงสว่างในอาคารอย่างมีประสิ ทธิภาพ
กฎกระทรวง (พ.ศ. W^a†)
หมวด a การใช้ พลังงานในอาคาร
ข้อ q การใช้ไฟฟ้ าส่องสว่างในอาคารโดยไม่รวมพืIนที>ที>จอดรถ
(1) ในกรณี ที>มีการส่องสว่างด้วยไฟฟ้ าในอาคาร จะต้องให้ได้ระดับความส่ องสว่างสําหรับงานแต่ละประเภทอย่างเพียงพอ
ตามหลักและวิธีการที>ยอมรับได้ทางวิศวกรรม
(2) อุปกรณ์ไฟฟ้ าสําหรับใช้ส่องสว่างภายในอาคารโดยไม่รวมพืIนที>ที>จอดรถ จะต้องใช้กาํ ลังไฟฟ้ าไม่เกินค่าดังต่อไปนีI

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-10

ค่ ากําลังไฟฟ้าส่ องสว่ างสู งสุ ด


ประเภทอาคาร(1)
(วัตต์ ต่อตารางเมตรของพืนC ทีใช้ งาน)
1. สํานักงาน โรงแรม สถานศึกษาและโรงพยาบาล/สถานพักฟืI น 16
2. ร้านค้าของ ซูปเปอร์มาร์เก็ตหรื อศูนย์การค้า (2) 23
(p) อาคารที>มีการใช้งานหลายลักษณะให้ใช้ค่าในตารางตามลักษณะพืIนที>ใช้งาน
(2) รวมถึงไฟฟ้ าแสงสว่างทัว> ไปที>ใช้ในการโฆษณาเผยแพร่ สินค้า ยกเว้นที>ใช้ในตูก้ ระจกแสดงสิ นค้า
หมายเหตุ การออกแบบอาคารใหม่ ควรคํานึ งถึงเกณฑ์ ตาม ร่ าง กฎกระทรวง ฯ ฉบับใหม่ ด้วย ซึ งอาจมีเกณฑ์ ค่ากําลังไฟฟ้ าส่ องสว่ างสู งสุ ดที
แตกต่ างไปจากเกณฑ์ เดิม
4.3 พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 4
กฎกระทรวงฉบับที> gg (พ.ศ.`ogo)
กฎกระทรวงฉบับที> g‰ (พ.ศ.`og’)
กฎกระทรวง ฉบับที> q’ (พ.ศ. `oq…)
กฎกระทรวง ฉบับที> q‡ (พ.ศ. `oq…)
กฎกระทรวง ฉบับที> o… (พ.ศ.`oq…)
กฎกระทรวง ฉบับที> oo (พ.ศ. `oqg)
กฎกระทรวง ว่าด้วยการอนุ ญาตให้ใช้อาคาร ระบบความปลอดภัย และอัตราค่าธรรมเนี ยมเพื>อประกอบกิ จการเกี> ยวกับ
โรงมหรสพ พ.ศ. `oq“
4.4 พระราชบัญญัติ ส่ งเสริมและรักษาคุณภาพสิงแวดล้ อมแห่ งชาติ พ.ศ. 4$4

4.5 ประกาศกรุงเทพมหานคร เรือง ข้ อกําหนดลักษณะแบบของบันไดหนีไฟ และ ทางหนีไฟทางอากาศของอาคาร

4.6 ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรือง อาคารจอดรถยนต์ พ.ศ. 4

4.7 ข้ อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร เรือง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 400

4.8 ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือง ความปลอดภัยในการทํางานเกียวสิงแวดล้ อม

4.9 ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือง ความปลอดภัยในการทํางานก่ อสร้ างว่ าด้ วยเขตก่ อสร้ าง


เป็ นต้น

5. การเลือกหลอดไฟฟ้า

5.1 เลือกหลอดทีมีค่าประสิทธิผลการส่ องสว่ างสู ง (High Luminous Efficacy Lamp)


การบอกว่าหลอดชนิ ดใดใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพหรื อไม่ เราพิจารณาเปรี ยบเที ยบได้จากค่า ประสิ ทธิ ผลการส่ องสว่าง
(Luminous Efficacy) ซึ>งมีหน่วยเป็ น ลูเมนต่อวัตต์ (lm/W) ซึ> งการเปรี ยบเทียบให้ระวังว่าโดยทัว> ไปในแคตตาล็อกจะมีการแสดงค่าใน `
ลักษณะ คื อ กรณี คิดเฉพาะกํา ลังไฟฟ้ าของหลอด (ในแค็ต ตาล็อกของผูจ้ าํ หน่ ายหลอดโดยทั>วไป มักจะแสดงค่ านีI ) เราเรี ย กว่า ค่ า
ประสิ ทธิผลการส่องสว่างของหลอด (Lamp Luminous Efficacy)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-11

แต่หากเป็ นการคิดกําลังไฟฟ้ าของหลอดรวมบัลลาสต์ หรื อ ของวงจร เราเรี ยกว่า ค่าประสิ ทธิ ผลการส่ องสว่างของหลอดรวมบัล
ลาสต์ หรื อ ค่าประสิ ทธิ ผลการส่ องสว่างของวงจร (Circuit Luminous Efficacy) (การคิดต้องรวมค่ากําลังสู ญเสี ยในบัลลาสต์ จากข้อมูล
ของบัลลาสต์ ยีห> อ้ รุ่ นที>เลือกใช้ มารวมในการคิดค่ากําลังไฟฟ้ าของวงจรด้วย)
หลอดไฟมีอยูห่ ลายชนิ ด หลอดแต่ละชนิ ดก็มีคุณสมบัติทางแสงและทางไฟฟ้ าแตกต่างกัน การเลือกหลอดที>ประหยัดพลังงาน
ควรเลือกหลอดที> มีประสิ ทธิ ผลการส่ องสว่าง (ลูเมนต่อวัตต์) สู ง หลอดมีอายุการใช้งานนาน ราคาของหลอดเหมาะสม และ คุณสมบัติ
ทางแสงของหลอดเหมาะสมในการนําไปใช้งานด้วย
5.2 ประเภทของ หลอดไฟ (Lamp Type)
หลอดไฟ อาจแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้ดงั นีI
1. หลอดทีใช้ หลักการเปล่ งแสงแบบอินแคนเดสเซนต์ เช่น หลอดไส้ หลอดฮาโลเจน
2. หลอดทีใช้ หลักการเปล่ งแสงจากการปล่ อยประจุในหลอดก๊ าซดิสชาร์ จ เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดคอมแพกต์ฟลูออ
เรสเซนต์ หลอดไอปรอทความดันไอสู ง หลอดเมทัลฮาไลด์ หลอดโซเดี ยมความดันไอตํ>า หลอดโซเดี ยมความดันไอสู ง
หลอดเหนี>ยวนํา ฯลฯ
3. หลอดทีใช้ หลักการอิเล็กทรอนิกส์ เช่น หลอด LED (Light Emitting Diode)
โดยประเภทของหลอดชนิดต่างๆ สามารถแบ่งหมวดหมู่ ได้ตามแผนภาพ

หลอดไส้ GLS
หลอดพาร์ PAR, R
อินแคนเดสเซนต์ หลอดฮาโลเจน แรงดันไฟตํา ( 6 , 12 , 24 V )
หลอดฮาโลเจน แรงดันไฟบ้ าน ( 220 , 230 V )
หลอดสตูดโิ อ, หลอดถ่ ายรู ป
หลอดอืน ๆ
หลอดไฟ
หลอดฟลูออเรสเซนต์
ความดันไอตํา หลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรสเซนต์
หลอดเหนียวนํา
หลอดโซเดียมความดันไอตํา
ดิสชาร์ จ
หลอดไอปรอทความดันไอสู ง
ความดันไอสู ง หลอดเมทัลฮาไลด์
หลอดโซเดียมความดันไอสู ง

อิเล็กทรอนิกส์ หลอด LED


ประเภทของหลอดไฟฟ้า

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-12

วิวฒ
ั นาการของแสงประดิษฐ์ ทีปัจจุบันได้ มกี ารพัฒนาหลอด LED ทัCงในด้ านสี และ ความสว่ าง ทีดีขึนC ซึงแม้ จะมีค่าประสิทธิผลการส่ อง
สว่ างตํากว่ าหลอดก๊ าซดิสชาร์ จ แต่ กม็ จี ุดเด่ น คือ มีประสิทธิผลการส่ องสว่ างสู งกว่ าหลอดไส้ และ มีอายุการใช้ งานยาวนานกว่ าหลอดไส้
หลอดมีขนาดเล็ก และ มีความร้ อนตํามาก จึงนิยมใช้ ในการให้ แสงสว่ างไฟสัญญาณ
ทีมา: OSRAM

5.2.1 หลอดอินแคนเดสเซนต์ (Incandescent Lamp)


เป็ น หลอดที>ให้กาํ เนิดแสงโดยวิธีการเผาไส้หลอดให้ร้อน (อินแคนเดสเซนต์) ที>นิยมใช้กนั ทัว> ไปมี ` ชนิ ด คือ หลอดอินแคนเดส
เซนต์ และ หลอดฮาโลเจน
ก. หลอดอินแคนเดสเซนต์ (Incandescent Lamp)
หรื อที> เรี ยกว่า หลอดไส้ ซึ> งมีลกั ษณะมีไส้หลอด ที> โดยทัว> ไปทําจากทังสเตนบรรจุในตัวหลอดแก้วปิ ดสนิ ท ตัวหลอดมีหลาย
รู ปทรง มีทI งั ชนิ ดที>โปร่ งใสและชนิ ดเป็ นฝ้ าขุ่น ขัIวหลอดโดยทัว> ไปมี ` แบบ คือ แบบเขีIยว เช่น B`` และ แบบเกลียว เช่น Epq, E`’
หลอดไส้มีค่าราคาถูก มีอุณหภูมิสีประมาณ `,‡…… K ให้แสงที> มีค่าความถูกต้องของสี ดี Ra = p…… จึ งให้สีของวัตถุถูกต้อง แต่มีค่า
ประสิ ทธิผลการส่องสว่างตํ>า และมีอายุการใช้งานสัIน ในเกณฑ์ประมาณ p,……… - g,……… ชม.

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-13

ตารางแสดงคุณสมบัตขิ ้ อดี-ข้ อเสีย ของหลอดไส้


ข้ อดี ข้ อเสีย
ราคาหลอดถูกที>สุด ประสิ ทธิผลการส่องสว่างตํ>า 8-14 lm/W
ค่าดัชนีความถูกต้องของสี สูงที>สุด (Ra = 100) มีค่าเสื> อมของแสงมาก หลอดเสื> อมอายุการใช้งานเร็ วมาก เมื>อ
ให้แสงสว่างทันทีเมื>อเปิ ดใช้งาน เทียบกับ หลอดประเภทอื>นๆ
ไม่ตอ้ งใช้บลั ลาสต์ อุณหภูมิไม่มีผลต่อความสว่าง มีอายุใช้งานสัIน ประมาณ 1,000-3,000 ชัว> โมง
หรี> แสงได้ง่าย โดยปรับลดแรงดันไฟฟ้ าขาเข้า พลังงานสูญเสี ยก่อให้เกิดความร้อนสูงกว่า 90%
มีขนาด และรู ปทรงให้เลือกได้หลายแบบ แสงมีความร้อน และ UV ทําให้วตั ถุที>แสงตกกระทบเป็ น
ขนาดเล็ก เบา ติดตัIงและควบคุมทิศทางแสงได้ง่าย เวลานานกรอบและมีสีซีดจางลง
ให้แสงมีประกายสวยงาม เลือกอุณหภูมิสีไม่ได้ และ มีค่าอุณหภูมิสีต>าํ ประมาณ 2,800 K
มีเฉพาะหลอดขนาดกําลังวัตต์ต>าํ
ตารางแสดงประสิทธิผลการส่ องสว่ าง ของหลอดไส้
ชนิดหลอด การส่ องสว่ าง (ลูเมน) กําลังไฟฟ้า (วัตต์ ) ประสิทธิผลการส่ องสว่ าง (lm/W)
หลอดไส้ 430 40 10.76
730 60 12.16
960 75 12.80
1,380 100 13.80

ข. หลอดฮาโลเจน (Halogen Lamp)


เป็ นหลอดไส้ที>ได้พฒั นาขึIน โดยเติมก๊าซฮาโลเจน เช่น ไอโอดีน เพื>อลดการระเหิ ดของไส้หลอด ไม่ทาํ ให้ครอบแก้วของหลอดดํา
เร็ ว และ หลอดมีอายุใช้งานนานขึIน บางครัIงอาจเรี ยกว่า หลอดไอโอดีน ลักษณะโครงสร้างมีไส้หลอดเป็ นทังสเตนบรรจุในหลอดควอทซ์
ที>มีขนาดเล็กมาก ทํางานที>อุณหภูมิสูง รู ปทรงหลอดมี ` ชนิ ด คือ หลอดกําลังตํ>าจะเป็ นหลอดแคปซูล (Capsule) ขัIวเสี ยบ (GY “.go และ
GU o.g สําหรับแบบติดกับถ้วย) มีทI งั ชนิ ดใช้กบั แรงดันตํ>าและชนิ ดใช้กบั แรงดันไฟบ้าน ส่ วนหลอดกําลังสู งจะเป็ นหลอดแท่ง ที>มีขI วั ที>
ปลายทัIงสอง (R’s) ใช้กบั แรงดันไฟบ้าน
หลอดฮาโลเจน ขนาดกําลังวัตต์ต>าํ สําหรับงานที>ตอ้ งการควบคุมมุมลําแสงแคบ โดยทัว> ไป ใช้ แบบแรงดันตํ>า เช่น “ V, p` V, `q V
ซึ>งในการใช้งานจําเป็ นต้องมีหม้อแปลง เพื>อทําการแปลงแรงดันจากไฟบ้านให้เป็ นแรงดันตํ>าที>เหมาะสมกับหลอด จึงมีการสู ญเสี ยกําลัง
ในหม้อแปลง และ แบบใหม่ ที>ใช้แรงดันไฟบ้าน ``…-`g… V ซึ>งไม่จาํ เป็ นต้องใช้หม้อแปลง ทําให้ประหยัดค่าติดตัIงหม้อแปลง และ ไม่มี
การสูญเสี ยกําลังในหม้อแปลง แต่ตวั หลอดก็มีราคาแพงขึIน
ตารางแสดงคุณสมบัตขิ ้ อดี-ข้ อเสีย ของหลอดฮาโลเจน
ข้ อดี ข้ อเสีย
ค่าดัชนีความถูกต้องของสี สูงที>สุด (Ra=100) ประสิ ทธิผลการส่องสว่างตํ>า เพียง 16-25 lm/W มีค่าเสื> อมของ
ให้แสงสว่างทันทีเมื>อเปิ ดใช้งาน แสงมาก
อุณหภูมิไม่มีผลต่อความสว่าง หลอดมีราคาแพงกว่าหลอดไส้
หรี> แสงได้ง่าย โดยปรับลดแรงดันไฟฟ้ าขาเข้า หลอดกําลังตํ>า แรงดันตํ>า มีอายุการใช้งานสัIน 2,000-3,000

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-14

ข้ อดี ข้ อเสีย
ขนาดเล็ก เบา ติดตัIงและควบคุมทิศทางแสงได้ง่าย ชัว> โมง และต้องใช้หม้อแปลงประกอบ
หลอดกําลังสูง แรงดันไฟบ้าน ไม่ตอ้ งใช้หม้อแปลง แต่หลอด
มีอายุการใช้งานสัIน 500-1,000 ชัว> โมง
พลังงานสูญเสี ยก่อให้เกิดความร้อนสูงกว่า 80%
แสงมีความร้อน และ UV ทําให้วตั ถุที>แสงตกกระทบเป็ น
เวลานานกรอบและมีสีซีดจางลง (ยกเว้นหลอด ชนิดที>ให้แสง
เย็น แล้วให้ความร้อนออกด้านหลัง )
ตัวหลอดมีความร้อนสูง การใช้งานต้องระวังห้ามจับ
เลือกอุณหภูมิสีไม่ได้ และมีค่าตํ>า ประมาณ 3,000 K
หลอดอินแคนเดสเซนต์ เป็ นหลอดที>ไม่ประหยัดพลังงาน จึงนิ ยมใช้เฉพาะงานที> ตอ้ งการความสวยงาม ความถูกต้องของสี สูง
งานส่องเน้น การควบคุมมุมลําแสงได้ง่าย ซึ>งสามารถให้แสงเป็ นวงหรื อจุดได้ซ> ึ งหลอดประเภทอื>นให้ไม่ได้ สามารถปรับหรี> แสงได้ง่าย
และ งานที>ตอ้ งการแสงสว่างติดทันที
ก) ถ้าจําเป็ นต้องใช้หลอดประเภทนีI ควรพิจารณาเลือกใช้หลอดฮาโลเจน ซึ> งเป็ นหลอดที>ประหยัดพลังงานมากที>สุดในตระกูล
อินแคนเดสเซนต์ แต่ก็อาจไม่ประหยัดพลังงานเมื>อเทียบกับหลอดชนิดอื>นๆ
ข) กรณี ที>จาํ เป็ นต้องใช้หลอดอินแคนเดสเซนต์ เราสามารถยืดอายุการใช้งานของหลอดได้โดยใช้สวิตช์หรี> ไฟ หรื อ การต่อ
หลอด ` ชุดอนุกรมกัน ซึ>งก็จะทําให้ปริ มาณแสงที>ได้ลดลงไปด้วย
ค) หลอดฮาโลเจน โดยทัว> ไปมีค่าใช้จ่ายในการบํารุ งรักษา ประหยัดกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ชนิ ดอื>นๆ และมีอายุการใช้งาน
นานกว่า อาจจะประมาณ `-g เท่า
ง) ในการติดตัIงหลอดฮาโลเจน หากมือเผลอไปจับถูกตัวหลอด ให้ทาํ ความสะอาดด้วยผ้าชุบแอลกอฮอล์ เพื>อป้ องกันคราบเกลือ
จากรอยนิIวมือไหม้ทาํ ให้หลอดมีอายุการใช้งานสัIนลง
จ) หากหลี กเลี> ยงได้ ไม่ควรใช้หลอดอิ นแคนเดสเซนต์หรื อหลอดฮาโลเจนในการให้แสงสว่างทั>วไปมากนัก เนื> องจากค่ า
ประสิ ทธิผลการส่องสว่างตํ>า ทําให้สิIนเปลืองพลังงานมาก
ฉ) หลอดมีขอ้ ดีในเรื> องการติดทันทีเมื>อป้ อนไฟฟ้ า และเมื>อแรงดันไม่สมํ>าเสมอ ลดลง ก็ยงั ให้แสงสว่างได้ แต่ปริ มาณแสงอาจ
ลดลง เหมาะสําหรับงานแสงสว่างฉุกเฉิ นที>มีการจ่ายไฟจากไฟฟ้ าสํารองได้
ช) การใช้สวิตช์หรี> ไฟ แบบอิเล็กทรอนิกส์ให้ระวังฮาร์มอนิกไปรบกวนเครื> องใช้ไฟฟ้ าอื>นๆ และอาจมีเสี ยงฮัมจากสวิตช์หรี> ไฟ

หลอดฮาโลเจน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-15

5.2.2 หลอดก๊ าซดีสชาร์ จ (Gas Discharge Lamp)


เป็ น หลอดที>ให้กาํ เนิดแสงโดยวิธีลูมิเนสเซนต์ ซึ>งก็คือ การกระตุน้ อะตอมของก๊าซ ซึ>งสามารถแบ่งออกได้เป็ น ` ประเภทย่อย คือ
หลอดคายประจุความดันตํ>า (Low-pressure Discharge Lamps) และ หลอดคายประจุความดันสู ง (High-pressure Discharge Lamps) หรื อ
ที>เรี ยกว่า หลอดก๊าซดิสชาร์ จความเข้มสู ง (High Intensity Discharge Lamps; HID) ซึ> งหลอดบรรจุก๊าซแต่ละประเภทยังอาจแบ่งได้เป็ น
หลายชนิด คือ
ก. หลอดคายประจุความดันตํา
หลอดคายประจุความดันตํ>า ที>นิยมใช้ ได้แก่ หลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์
ก) หลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp)
มีลกั ษณะเป็ นหลอดแก้ว แท่งตรง (Tubular) หรื อ ดัดโค้งเป็ นวงกลม (Circular) ที>ดา้ นในของปลายทัIงสองมีไส้หลอดหรื อขัIว
อิเล็กโทรด กระบอกแก้วมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางหลายขนาดโดยทัว> ไประบุเป็ นรหัส T ซึ>งย่อมาจาก Tubular มีความหมาย เช่น
T‡ หมายถึง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ‡ หุน หรื อ `“ มม. เช่น หลอดขนาด p‡ W, g“ W (หลอดผอม)
To หมายถึง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง o หุน หรื อ p“ มม. เช่น หลอดขนาด pq W

โครงสร้ างของวงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์ (ทีมา: HowStuffWorks)


หลอดฟลูออเรสเซนต์มีโทนสี ของแสงให้เลือกได้หลายสี ซึ>งมีลกั ษณะการทํางาน g แบบตามชนิดของหลอด คือ
ชนิดอุ่นไส้ (Preheat) นิยมใช้กนั ทัว> ไปในประเทศไทย และ ยุโรป โดยการทํางานต้องอาศัยสตาร์ ตเตอร์ ต่อวงจร ให้มีกระแส
ไหลผ่านไส้หลอด จนร้อนจึงจะปล่อยประจุ และ จุดหลอดติดได้
ชนิดติดเร็ ว (Rapid Start) นิยมใช้กนั มากในประเทศสหรัฐ โดยที>บลั ลาสต์จะมีวงจรหม้อแปลงทําหน้าที>อุ่นไส้หลอด ช่วยให้
จุดหลอดติดได้เร็ วในฤดูหนาว
ชนิดติดทันที (Instant Start) หรื อ หลอด Slim line เป็ นหลอดที>ไม่จาํ เป็ นต้องอุ่นไส้หลอดก่อน นิยมใช้กนั ในประเทศญี>ปุ่น
ขัIวหลอดที>ใช้กนั ทัว> ไป ของหลอดชนิดอุ่นไส้และชนิดติดเร็ ว ที>ขI วั หลอดแต่ละข้าง จะมี ` ขา (แบบ Gpg สําหรับหลอดตรง แบบ
Go สําหรับหลอด To และ แบบ Gp…q สําหรับหลอดวงกลม) ส่วนชนิดติดทันทีจะมีขI วั หลอดที>มีขาเดียว (แบบ Fa‡)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-16

สี ของหลอด ที> นิยมใช้โดยทัว> ไป เป็ นสี ขาว g โทนสี คือ สี เดย์ไลต์ (daylight) สี คูลไวต์ (cool white) และ สี วอร์ มไวต์ (warm
white) ลักษณะหลอดและขนาดที> นิยมใช้งานกันทัว> ไป คือ แบบแท่งตรง (Linear Tubular) ขนาด p‡ และ g“ วัตต์ และ แบบวงกลม
(Circular) ขนาด ``, g` และ q… วัตต์
หลอดฟลูออเรสเซนต์ มีอายุการใช้งานยาวนาน ประมาณ ‡,………-`…,……… ชม. มีประสิ ทธิ ผลการส่ องสว่าง ประมาณ o… - ‰` lm/W
(ลูเมนต่อวัตต์) ถือว่ามีค่าสูงพอสมควรและประหยัดค่าไฟฟ้ าได้มากกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ซ> ึงมีค่าประมาณ p…-po lm/W

หลอดฟลูออเรสเซนต์ ชนิดอุ่นไส้

ตารางแสดงคุณสมบัตขิ ้ อดี-ข้ อเสีย ของหลอดฟลูออเรสเซนต์


ข้ อดี ข้ อเสีย
ประสิ ทธิผลการส่องสว่างสูง หลอดชนิดอุน่ ไส้ ใช้เวลา 2-3 วินาทีจึงให้แสงสว่าง
อายุใช้งานยาวนาน คือ 8,000-20,000 ชัวโมง ต้องใช้บลั ลาสต์ และสตาร์ตเตอร์
ราคาหลอดถูก และ มีค่าเสื อมของแสงตํา ประมาณ 10 - 25% อุณหภูมิแวดล้อมมีผลต่อความสว่าง หากอุณหภูมิร้อนหรื อ
ค่าดัชนีความถูกต้องของสี ค่อนข้างสูง(Ra= 63 – 85) เย็นกว่าอุณหภูมิหอ้ งทัว> ไป ก็จะให้แสงลดลงได้
มีอุณหภูมิสีให้เลือกได้ครบทุกโทนสี หลอดมีขนาดใหญ่ ต้องใช้กบั โคมขนาดใหญ่ การควบคุม
ให้ความร้อนแก่สภาพแวดล้อมรอบข้างตํ>าที>สุด ทิศทางแสงให้เจาะจงแน่นอน จะยากกว่าการใช้หลอดอิน
ให้แสงแบบกระจายแสง จึงมีแสงบาดตาน้อยกว่าหลอดชนิด แคนเดสเซนต์
อืน ๆ หรี> แสงได้ แต่ตอ้ งใช้บลั ลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ที>แพง

หลอดฟลูออเรสเซนต์ เหมาะสําหรับงานที>เพดานสู งไม่เกิน o เมตร (ในกรณี ที>เพดานสู งเกินกว่า o-’ เมตร หลอดประเภทนีI
อาจไม่เหมาะเพราะต้องใช้จาํ นวนโคมมาก จะมีค่าใช้จ่ายในการบํารุ งรักษา และ เปลี>ยนหลอดที>แพงกว่าการใช้หลอดก๊าซ
ดิสชาร์จความเข้มสูง)
การใช้งานที>เพดานสูงเกินกว่า ’ เมตร ควรเลือกใช้หลอดก๊าซดิสชาร์จความเข้มสู ง แต่ถา้ จําเป็ นต้องใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์
ที>เพดานสูงเกินกว่า ’ เมตร ควรพิจารณาใช้หลอดชนิดติดเร็ ว(Rapid start) เพราะหลอดมีอายุการใช้งานนาน ประมาณ `…,………
ชม. จึงประหยัดค่าบํารุ งรักษาหลอดมากกว่าหลอดชนิ ดอุ่นไส้(Preheat) ที>มีอายุการใช้งานโดยเฉลี>ยประมาณ ‡,………-po,………
ชม.
การเลือกสี หลอด ให้ถูกต้องจะทําให้คุณภาพการให้แสงดีขI ึน สี ของหลอดฟลูออเรสเซนต์มีหลายสี เช่น สี เดย์ไลต์ (อุณหภูมิ
สี “,o…… K) คูลไวต์ (q,`……- q,o…… K) วอร์มไวต์ (`,’……-g,……… K) เป็ นต้น
- งานที>ตอ้ งการความส่ องสว่างสู งกว่า o…… ลักซ์ ควรเลือกใช้หลอดสี เดย์ไลต์
- งานที>ตอ้ งการความส่ องสว่าง g……-o…… ลักซ์ ควรเลือกใช้หลอดสี คูลไวต์
- งานที>ตอ้ งการความส่ องสว่างตํ>ากว่า g…… ลักซ์ ควรเลือกใช้หลอดสี วอร์ มไวต์

ความส่ องสว่างกับชนิ ดสี ของหลอดที>แนะนําเป็ นเพียงพืIนฐานการใช้งานทัว> ไปเท่านัIน ในการใช้งานบางครัIงจําเป็ นต้องปรับให้


เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เช่น พืIนที>ติดกัน ควรใช้หลอดที>มีสีเดียวกัน ตัวอย่างได้แก่ บริ เวณงานเลีIยงในโรงแรมที>ใช้หลอดอินแคนเดส
เซนต์ และเมื>อเปิ ดประตูออกไปถึงอีกพืIนที>หนึ>งก็ควรใช้หลอดที>มีสีหลอดใกล้เคียงกัน จึงควรใช้หลอดสี วอร์มไวต์ เป็ นต้น

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-17

หลอดฟลูออเรสเซนต์ทว>ั ไป เมื>อใช้งานไปนาน จะมีปริ มาณแสงลดลงประมาณ p…-`o % ปั จจุบนั ได้มีหลอดฟลูออเรสเซนต์


ประสิ ทธิภาพสูง ที>มีการใช้ฟอสเฟอร์แบบไตรแบนด์ (g-band) หรื อ ไฟว์แบนด์ (o-band) เคลือบภายในหลอด ทําให้ปริ มาณ
แสงค่อนข้างคงที>สมํ>าเสมอตลอดอายุการใช้งาน และมีสเปคตรัมของสี ที>ดีกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ธรรมดา
ประสิ ทธิผลการส่องสว่าง ของหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบต่างๆ ได้แก่
ชนิดหลอด ประสิทธิผลการส่ องสว่ าง
หลอดฟลูออเรสเซนต์ธรรมดา 45-80 lm/W
หลอดฟลูออเรสเซนต์ประสิ ทธิภาพสูง (ไตรแบนด์ หรื อไฟว์แบนด์) 73-93 lm/W
หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ 50-80 lm/W
วงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์จะมีปริ มาณฮาร์มอนิกมากหรื อน้อยขึIนอยูช่ นิดบัลลาสต์ที>ใช้
หมายเหตุ หลอดนีออน ที นํามาดัดแปลงเป็ นรู ปตัวอักษรต่ างๆ ในโคมไฟป้ ายนัHน เป็ นหลอดคนละชนิดกับหลอดฟลูออเรสเซนต์ ทัวไป
ข) หลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรสเซนต์ (Compact Fluorescent Lamps)
หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ คือ หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาดเล็ก เป็ นหลอดปล่อยประจุความดันไอตํ>า ทํางานด้วยหลักการ
เช่นเดียวกับหลอดฟลูออเรสเซนต์ เพียงแต่หลอดมีขนาดเล็กกว่า โดยยังมีส่วนประกอบหลักเช่นเดิม มีคุณสมบัติเด่น คือ มีอายุการใช้งาน
ยาวนาน ประมาณ p,……… - po,……… ชม. มีค่าประสิ ทธิ ผลการส่ องสว่างประมาณ o…-‡… lm/W สู งกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ แต่ต>าํ กว่า
หลอดฟลูออเรสเซนต์เนื> องจากหลอดมีขนาดเล็กกว่า โดยหลอดถูกออกแบบผลิตให้มีขนาดกําลังไฟฟ้ าตํ>า ในช่วง g - oo วัตต์ แบ่งตาม
ลักษณะขัIวหลอดและการติดตัIงได้ เป็ น ` ลักษณะหลัก คือ
แบบที>ติดตัIงบัลลาสต์ภายนอก มีขI วั หลอดแบบเสี ยบ (เช่น G`g, G`qd, G`qq, `Gpp) มีขนาดที>นิยมใช้กนั มาก ได้แก่ หลอด
เดี>ยว(Single) ขนาด o, ’, ‰, pp, p‡, `q, g“, q…, oo วัตต์ หลอดคู่(Double) ขนาด p…, pg, p‡, `“ วัตต์ และ หลอดสาม(Triple)
เช่น ขนาด `…, `o วัตต์
แบบที> ติดตัIงบัลลาสต์ภายใน มีขI วั หลอดแบบเกลียว (เช่น E`’) ใช้เปลี> ยนแทนหลอดไส้แบบขัIวเกลียวได้สะดวก มีหลาย
ขนาดในช่วง g-`“ วัตต์ มีหลายแบบ เช่น หลอดเดี>ยว หลอดคู่ หลอดสาม หลอดเกลียว
ตารางแสดงคุณสมบัตขิ ้ อดี-ข้ อเสีย ของหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์
ข้ อดี ข้ อเสีย
ประสิ ทธิผลการส่องสว่าง สูงกว่าหลอดอินแคนเดนเซนต์ ราคาหลอดแพงกว่าหลอดไส้
และ หลอดคายความร้อนน้อยกว่า หลอดแบบที>ติดตัIงบัลลาสต์ภายใน มีคุณภาพหลากหลาย มี
อายุใช้งานนาน คือ 1,000-15,000 ชัวโมง อายุการใช้งาน แปรตามชนิดของชิIนส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที>ใช้
ค่าดัชนีความถูกต้องของสี สูง (Ra=78-82) ซึ>งไม่สามารถตรวจพินิจด้วยได้
มีอุณหภูมิสีให้เลือกได้ครบทุกโทนสี อุณหภูมิแวดล้อมมีผลต่อความสว่าง หากติดตัIงในโคมไฟที>
ให้ความร้อนแก่สภาพแวดล้อมรอบข้างตํ>าที>สุด ไม่ช่องระบายความร้อน ก็จะให้แสงลดลงได้ 20 – 40 %
ติดตัIงได้ทุกแนว แนวตัIง แนวนอน หรื อแนวใดๆ หลอดมีขนาดเล็ก การควบคุมทิศทางแสง จะง่ายกว่าหลอด
ให้แสงแบบกระจายแสง เหมาะสําหรับโคมไฟตั'งโต๊ะ โคม ฟลูออเรสเซนต์ แต่จะยากกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์
ไฟส่องลงทีมีช่องระบายความร้อน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-18

Q: หลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรสเซนต์ มอี ายุการใช้ งานนานกว่ าหลอดไส้ † เท่ า ใช่ หรือ ไม่ ?
A: หลอดไส้โดยทัว> ไป มีอายุการใช้งานประมาณ p,……… ชม. ส่วนหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ มีอายุการใช้งานในช่วง p,……… -po,………
ชม. ให้เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม ดังนัIนจึงไม่ได้มีอายุการใช้งานนานกว่า ‡ เท่าแต่ขI ึนกับชนิดหลอดที>เลือกใช้ และสภาพการใช้งาน
Q: ใช้ หลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรสเซนต์ แทนหลอดไส้ จะคืนทุนภายในประมาณ กีเดือน ?
A: ระยะเวลาคืนทุนขึIนอยูก่ บั ราคาของหลอด อายุการใช้งานของหลอด และ จํานวนชัว> โมงที>เปิ ดใช้
ใช้หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ แทนหลอดไส้ ในการส่ องสว่างทัว> ไป เช่น โคมไฟส่ องลง การใช้งาน ที>จาํ เป็ นต้องเปิ ด
ไฟไว้นานๆ เช่น ไฟรัIว ไฟทางเดิ น เพื>อช่วยประหยัดพลังงานได้ประมาณ ’… % ลดค่าใช้จ่ายในการบํารุ งรั กษา โดยจะมี
ระยะเวลาคืนทุนเร็ วถ้าหากมีการเปิ ดใช้งานนานหลายชัว> โมงต่อวัน ส่วนในการใช้งานโคมไฟตัIงโต๊ะจะช่วยลดความร้อนจาก
หลอดไฟได้
ตารางแสดงการเทียบเท่ าขนาดการส่ องสว่ างของหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์
ขนาดกําลังไฟฟ้าของ
ขนาดกําลังไฟฟ้าของหลอดไส้ (วัตต์ ) ฟลักซ์ การส่ องสว่ าง (ลูเมน) หลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรสเซนต์
เทียบเท่ าโดยประมาณ (วัตต์ )
25 ~ 230 ~5
40 ~ 430 ~9
60 ~ 730 ~ 13
75 ~ 960 ~ 18
100 ~ 1,380 ~ 25

ควรเลือกใช้ชนิ ดสี ของหลอด สําหรับงานแต่ละชนิ ดให้เหมาะสม ถ้าเป็ นความส่ องสว่างตํ>าก็ควรใช้หลอดที>มีอุณหภูมิสีต> าํ


เช่น สี วอร์มไวต์ ถ้าเป็ นความส่องสว่างสูงก็ควรใช้หลอดที>มีอุณหภูมิสีสูง เช่น สี คูลไวต์
การใช้หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ในโคมไฟส่องลง เช่น การเปลี>ยนใช้แทนหลอดอินแคนเดสเซนต์ ให้ระวังว่าโคมไฟ
ต้องมีช่องระบายความร้อนที>เพียงพอ มิฉะนัIนหากไม่มีช่องระบายความร้อนเพียงพอ ก็จะทําให้เกิดการสะสมของความร้อน
ทําให้หลอดเปล่งแสงลดลงมาก และ อายุการใช้งานของหลอดสัIนลงมาก
การใช้หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ในโคมไฟส่ องลง ควรระวังเรื> องแสงบาดตา เช่น ไม่ควรให้เห็นหลอดโผล่ออกจาก
โคมไฟส่องลง
หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ แบบที>มีบลั ลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ในตัว จะมีฮาร์มอนิกสูง ดังนัIนในกรณี ที>มีการใช้หลอดเป็ น
ปริ มาณมาก จําเป็ นต้องระวังปั ญหาเรื> องฮาร์มอนิกด้วย

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-19

หลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรสเซนต์ รู ปร่ างแบบ หลอดเดียว(Single) หลอดคู่(Double) หลอดสาม(Triple) และ หลอดเกลียว(Helix)


ทีมา: Philips

ประสิ ทธิผลการส่องสว่าง ของหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์แบบต่างๆ


ตารางแสดงประสิทธิผลการส่ องสว่ าง ของหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ แบบต่ างๆ
การส่ องสว่ าง กําลังไฟฟ้า
ชนิดหลอด ประสิทธิผลการส่ องสว่ าง (lm/W)
(ลูเมน) (วัตต์ )
หลอดคอมแพกต์ 450 9 50
ฟลูออเรสเซนต์ 650 13 50
แบบบัลลาสต์ภายใน 900 18 50
1350 26 48
หลอดคอมแพกต์ 230 5 46.00
ฟลูออเรสเซนต์ 400 7 57.14
แบบบัลลาสต์ภายนอก 600 9 66.67
900 11 81.82
1,250 18 69.44
2,000 24 83.33
2,900 36 80.56
ข. หลอดก๊ าซดิสชาร์ จความเข้ มสู ง
หลอดก๊าซดิ สชาร์ จความเข้มสู ง เช่น หลอดไอปรอทความดันสู ง และหลอดเมทัลฮาไลด์ ฯ มีส>ิ งที> ควรคํานึ งถึงในการเลือกใช้
หลอดประเภทนีI เช่น
มุมองศาในการใช้งานหลอด (Burning position) การใช้งานของหลอดต้องปฏิ บตั ิตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตซึ> งจะระบุไว้
ไม่เช่นนัIนจะมีผลต่อ ประสิ ทธิผล และอายุการใช้งานของหลอด
แรงดันของแหล่งจ่ายไฟ (Supply voltage) ของหลอดประเภทนีI ควรจะต้องไม่เปลี>ยนแปลงเกินกว่า o% ของแรงดันพิกดั
มิฉะนัIนอาจจะมีผลต่ออายุการใช้งานและอุณหภูมิสีของหลอด

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-20

อุปกรณ์ประกอบ เช่น บัลลาสต์ อิกนิเตอร์ ต้องมีการต่อวงจรที>ถูกต้อง มิฉะนัIนจะมีผลต่ออายุการใช้งานของหลอด บัลลาสต์


ตัวเก็บประจุ และ อิกนิเตอร์ เป็ นต้น
โดยทัว> ไป หลอดจะให้แสงสี ที>ถูกต้องตามคุณลักษณะของหลอด หลังจากผ่านการใช้งานไปแล้วประมาณไม่น้อยกว่า p……
ชม.
ไม่เหมาะสําหรับงานที>ตอ้ งการเปิ ดหลอดสว่างทันที เช่น ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉิ น
ก) หลอดไอปรอทความดันสู ง (High-pressure Mercury Vapour Lamp)
หรื อที>เรี ยกว่าหลอดแสงจันทร์ เป็ นหลอดก๊าซดิสชาร์ จความเข้มสู ง(HID) ที>นิยมใช้กนั มาก ตัวหลอดเป็ นแก้ว ` ชัIน ชัIนใน คือ
หลอดอาร์ก ที>ขา้ งในมีอิเล็กโทรดอยูท่ ี>ปลายทัIงสอง บรรจุดว้ ยไอปรอทและก๊าซอาร์กอน ส่วนหลอดชัIนนอกเป็ นแก้วทรงลูกโบว์ล>ิงบรรจุ
ด้วยก๊าซไนโตรเจนเพื>อป้ องกันหลอดแก้วชัIนใน โดยหลอดชัIนนอกมีทI งั ชนิ ดโปร่ งใสและชนิ ดเคลือบสารฟอสเฟอร์ ขัIวหลอดเป็ นแบบ
เกลียว (เช่น E`’) การทํางานต้องใช้ร่วมกับ บัลลาสต์
ยกเว้น หลอดเมอร์คิวรี> -ทังสเตน หรื อ หลอดแสงผสม (Blended Light) ที>มีไส้หลอดติดตัIงภายในทําหน้าที>แทนบัลลาสต์ ซึ> งทําให้
คุณสมบัติทางสี ของแสงดีขI ึน แต่ประสิ ทธิผลการส่องสว่าง และอายุใช้งานของหลอดจะลดลงกว่าครึ> ง
หลอดไอปรอทความดันสูง มีประสิ ทธิผลการส่องสว่างใกล้เคียงกับหลอดฟลูออเรสเซนต์ คือ ประมาณ o…-‡… lm/W แสงที>ออกมา
มีค่าความถูกต้องของสี ประมาณ “… ส่ วนใหญ่นิยมใช้แทนหลอดฟลูออเรสเซนต์ สําหรับการติดตัIงในสถานที> ที> มีเพดานสู งเกินกว่า o
เมตร มีค่าอุณหภูมิสีประมาณ q,………-“,……… K และมีอายุการใช้งานนาน ประมาณ ‡,………-`q,……… ชม. มีขนาดวัตต์ o…, ‡…, p`o, `o…, q……,
’…… และ p,……… วัตต์
ตารางแสดงคุณสมบัตขิ ้ อดี-ข้ อเสีย ของหลอดไอปรอทความดันสู ง
ข้ อดี ข้ อเสีย
อายุใช้งานนาน คือ 8,000 - 24,000 ชัวโมง มีค่าประสิ ทธิผลการส่องสว่างตํ>าที>สุด ในชนิดหลอดกําลังสูง
เป็ นหลอดกําลังไฟฟ้ าสูง ทีมีราคาถูกทีสุด ( < 80 lm/W )
ไม่ตอ้ งใช้อิกนิเตอร์ ใช้เพียงบัลลาสต์ และตัวเก็บประจุ มีอตั ราความเสื> อมของหลอดสูง
สามารถใช้โดยไม่จาํ เป็ นต้องมีแผ่นกรองแสง มีค่าดัชนีความถูกต้องของสี ค่อนข้างตํ>า (Ra= 40-63)
มีอุณหภูมิสีเฉพาะโทนสี ขาว หรื อ คูลไวต์
ใช้เวลาอุ่นหลอด 3-7 นาที และรอจุดซํIา 3-6 นาที
ใช้แทนหลอดฟลูออเรสเซนต์ ในกรณี ที>ติดตัIงกับเพดานสูง
ประสิ ทธิผลการส่องสว่างของหลอดตํ>าที>สุด ในตระกูลหลอดปล่อยประจุความดันไอสูง
ใช้อุปกรณ์ประกอบหลอด ที>มีตน้ ทุนค่าติดตัIงตํ>าที>สุด ในตระกูลหลอดปล่อยประจุความดันไอสูง
เหมาะสําหรับให้แสงสว่างทัว> ไป ในโรงงานอุตสาหกรรม แสงสว่างสาธารณะ เช่น ไฟถนน ไฟสาธารณะ บริ เวณร้านค้า
ข) หลอดเมทัลฮาไลด์ (Metal Halide Lamps)
เป็ นหลอดที>พฒั นามาจากหลอดแสงจันทร์ โดยเพิ>มสารไอโอดีน (Iodine) เข้าไปภายในหลอดอาร์ก ทําให้คุณสมบัติทางสี ของแสง
ดีขI ึน และไม่จาํ เป็ นต้องเคลือบสารฟอสเฟอร์ที>ผิวในของหลอดแก้วชัIนนอก แต่อาจเคลือบเพื>อให้สมดุลของสี ดีขI ึน รู ปทรงของหลอดมีทI งั
แบบทรงกระบอกตรง และ แบบทรงโบว์ล>ิง ขัIวหลอดเป็ นแบบเกลียว (Eq…) ต้องใช้ร่วมกับบัลลาสต์ และต้องใช้อิกนิ เตอร์ ช่วยในการจุด
ติดหลอด

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-21

หลอดเมทัลฮาไลด์ ดีกว่าหลอดก๊าซดิสชาร์ จความเข้มสู ง(HID) อื>นๆ ตรงที>วา่ ให้แสงที>มีสเปกตรัมหลายสี จึงมีค่าความถูกต้อง


ของสี ค่อนข้างดี ให้แสงที>มีค่าอุณหภูมิสีตI งั แต่ g,………-’,‡…… K (ขึIนอยูก่ บั ขนาดกําลังไฟฟ้ า) นิ ยมใช้กบั โคมไฟสนามกีฬาที>มีการถ่ายทอด
โทรทัศ น์ โคมไฟใน โรงงานทอผ้า ในโถงเพดานสู ง ของห้า งสรรพสิ น ค้า หลอดมี อ ายุก ารใช้ง านประมาณ “,………-`…,……… ชม มี
ประสิ ทธิผลการส่องสว่างสูงถึง ‰` lm/W และมีหลายขนาด เช่น p……, p`o, `o…, g……, q……, ’…… และ p,`…… วัตต์

ตารางแสดงคุณสมบัตขิ ้ อดี-ข้ อเสีย ของหลอดหลอดเมทัลฮาไลด์


ข้อดี ข้อเสี ย
อายุใช้งานนาน คือ 8,000 - 24,000 ชัวโมง มีค่าประสิ ทธิผลการส่องสว่างตํ>าที>สุด ในชนิดหลอดกําลังสูง
เป็ นหลอดกําลังไฟฟ้ าสูง ทีมีราคาถูกทีสุด ( < 80 lm/W )
ไม่ตอ้ งใช้อิกนิเตอร์ ใช้เพียงบัลลาสต์ และตัวเก็บประจุ มีอตั ราความเสื> อมของหลอดสูง
สามารถใช้โดยไม่จาํ เป็ นต้องมีแผ่นกรองแสง มีค่าดัชนีความถูกต้องของสี ค่อนข้างตํ>า (Ra= 40-63)
มีอุณหภูมิสีเฉพาะโทนสี ขาว หรื อ คูลไวต์
ใช้เวลาอุ่นหลอด 3-7 นาที และรอจุดซํIา 3-6 นาที
ใช้กบั งานที>ตอ้ งการความถูกต้องสี มาก เช่น งานพิมพ์สี งานส่องสนามกีฬา และห้างสรรพสิ นค้า เป็ นต้น
การใช้หลอดขนาดวัตต์ต่างกันในพืIนที>เดียว อาจมีสีแตกต่างกัน
5.3 คุณสมบัตสิ ําคัญของหลอดไฟทีต้ องพิจารณา (Lamp Selection Parameter)
การเลือกใช้หลอดไฟ ต้องพิจารณาหลายองค์ประกอบ ในการนําไปใช้งานที>เหมาะสม ได้แก่
1. ประสิ ทธิผลการส่องสว่าง (Luminous Efficacy)
2. อายุใช้งาน (Lamp Life)
3. ความเสื> อมของหลอด (Lamp Lumen Depreciation, LLD)
4. อุณหภูมิสี (Color temperature)
5. ความถูกต้องของสี (Color rendering)
6. ระยะเวลาอุ่นหลอด (Preheating Time) และระยะเวลารอจุดหลอดซํIา (Restrike Time)
7. มุมองศาในการใช้งานหลอด (Burning position)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-22

8. คุณสมบัติเฉพาะอื>นๆ ที>สาํ คัญได้แก่ ราคาหลอด ขนาดกําลัง และลักษณะการติดตัIง ความสามารถในการหรี> แสง ความทนต่อ


การสั>นสะเทื อนและอุณหภูมิ การแผ่คลื>นแม่เหล็กไฟฟ้ า (Radio Interference) และการกระเพื>อมของแสง (Stroboscopic
Effect) ฯลฯ
5.3.1 กรณีเพดานสู งไม่ เกิน 4 เมตร ควรเลือกใช้ หลอดฟลูออเรสเซนต์ หรือ หลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรสเซนต์
หลอดไส้ มีราคาถูก แต่สว่างน้อย กินไฟมาก มีค่าประสิ ทธิผลการส่องสว่างตํ>า เพราะพลังงานส่วนใหญ่ไม่ได้ถูกแปลงเป็ นแสง แต่
กลายเป็ นความร้อน จึงเหมาะสําหรับการใช้งานในประเทศหนาวที>ตอ้ งการความอบอุ่น แต่ไม่เหมาะสําหรับการใช้งานทัว> ไปในประเทศ
ไทย เพราะความร้อนที>เกิดขึIนจะเป็ นภาระให้เครื> องปรับอากาศต้องทํางานหนักมากขึIน ยกเว้นในบางการใช้งานที>จาํ เป็ นต้องใช้หลอดไส้
ได้แ ก่ งานที> ตอ้ งการความถู กต้องของสี สูง เช่ น แสงส่ องเพชร เครื> อ งประดับ งานที> ตอ้ งการแสงที> เ ป็ นประกาย เช่ น โคมไฟระย้า
(Chandelier) งานที>ตอ้ งการแสงสว่างติดทันที เช่น ไฟฉุกเฉิ น ไฟสัญญาณ ไฟเวที งานที>ตอ้ งการปรับหรี> แสงสว่าง เช่น ไฟเวที ไฟห้องจัด
เลีIยง เป็ นต้น
หลอดฟลูออเรสเซนต์ เหมาะสําหรับการใช้งานให้แสงสว่างทัว> ไป ที>ตอ้ งการความส่ องสว่างสู ง เช่น ห้องทํางาน ส่ วนหลอดคอม
แพกต์ฟลูออเรสเซนต์ เหมาะสําหรับการใช้งานแสงสว่างทัว> ไป ที>ไม่ตอ้ งการความส่องสว่างสูง เช่น ทางเดิน
หลอดฟลูออเรสเซนต์ มีค่าประสิ ทธิผลการส่องสว่าง สูงกว่า หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ และ สูงกว่า หลอดไส้ ตามลําดับ
หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์จะประหยัดพลังงานได้มากกว่าเมื>อเทียบกับหลอดไส้ แต่ ประหยัดน้อยกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ แต่ก็
อาจไม่สามารถนําไปเปรี ยบเทียบกันได้โดยตรง เนื> องจากเหมาะสําหรับการใช้งานกับโคมไฟต่างประเภทกัน สําหรับการให้แสงสว่าง
ทัว> ไปที> ตอ้ งการระดับความสว่างไม่มากนัก เช่น ทางเดิ น สามารถเลือกใช้โคมไฟส่ องลง (downlight) ที>ใช้หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรส
เซนต์สีวอร์ มไวต์ จะประหยัดพลังงานกว่าการเลือกใช้หลอดไส้ โดยควรเลือกโคมไฟส่ องลงที>มีการติดตัIงหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรส
เซนต์ในแนวนอน จะให้ความสว่างมากกว่าโคมไฟที>ติดตัIงหลอดในแนวดิ>ง
การเลือกใช้หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ชนิ ดที>ต่อบัลลาสต์ภายนอก ที> มีขI วั หลอดแบบเสี ยบ เมื>อหลอดหมดอายุการใช้งาน
แล้วก็สามารถเปลี>ยนแต่หลอดได้โดยไม่ตอ้ งเปลี>ยนบัลลาสต์ ซึ> งจะประหยัดกว่าหลอดชนิ ดมีบลั ลาสต์ภายในที> มีขI วั หลอดแบบเกลียว
เพราะหากหลอดหมดอายุแล้วจําเป็ นต้องเปลี>ยนทัIงหลอดและบัลลาสต์
หลอดฟลูออเรสเซนต์ มีขนาดที>นิยมใช้ คือ g“ W และ p‡ W ซึ> งมีให้เลือกหลายสี โดยแต่ละสี จะให้ความสว่างแตกต่างกัน
โดยทัว> ไปนิ ยมใช้สีเดย์ไลต์ หรื อ สี คูลไวต์ นอกจากนัIนยังมีหลอดฟลูออเรสเซนต์ประสิ ทธิ ภาพสู ง ที> มีการเคลือบสารฟอสเฟอร์ พิเศษ
ภายในหลอด ช่วยให้หลอดเปล่งแสงสว่างเพิ>มขึIนกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ธรรมดา ประมาณ g… % คือ หลอดฟลูออเรสเซนต์ g“ W
แบบธรรมดา ให้ความสว่างประมาณ `,“…… ลูเมน ส่วนหลอดฟลูออเรสเซนต์ g“ W แบบประสิ ทธิภาพสูงให้ความสว่างประมาณ g,g…… ลู
เมน โดยมีชื>อทางการค้าได้แก่ PHILIPS TL-D Super, OSRAM Lumilux, GE Polylux, SYLVANIA Luxline Plus ซึ> งการเลือกใช้หลอด
ประสิ ทธิภาพสูงจะช่วยลด จํานวนหลอดไฟ จํานวนโคมไฟลง ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้ แต่เมื>อหลอดหมดอายุแล้ว การซืI อหลอดใหม่มา
เปลี>ยนต้องเป็ นแบบประสิ ทธิภาพสูง มิฉะนัIนแล้วหากนําหลอดแบบธรรมดามาเปลี>ยนจะทําให้ความสว่างลดลง
5.3.2 กรณีเพดานสู งเกิน 4 เมตร ควรพิจารณาเลือกใช้ หลอด HID
ในกรณี ที>เพดานสูงเกินกว่า q-o เมตร ควรพิจารณาเลือกใช้หลอดก๊าซดิสชาร์ จความเข้มสู ง HID (High Intensity Discharge Lamp)
เช่น หลอดเมทัลฮาไลด์ เหมาะสําหรับ โคมไฟโถงเพดานสู งของห้างสรรพสิ นค้า ส่ วนหลอดแสงจันทร์ เหมาะสําหรับโคมไฟโรงงาน
ถนน ลานจอดรถภายนอกอาคาร ไฟสวนสาธารณะ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-23

5.4 เลือกหลอดทีมีอายุการใช้ งานนาน (Long Lamp Life)


หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ มีอายุการใช้งานให้เลือกใช้หลากหลาย เช่น p,……… ชม. ไปจนถึง po,……… ชม. (ดังนัIนจึงมีอายุการ
ใช้งาน นานเป็ น p-po เท่าของอายุการใช้งานหลอดไส้) หลอดฟลูออเรสเซนต์ มีอายุการใช้งานให้เลือกใช้หลากหลาย เช่น ‡,……… ชม. ถึง
`…,……… ชม. ดังนัIนการพิจารณาเลือกซืIอจึงจําเป็ นต้องพิจารณาอายุการใช้งานของหลอดประกอบด้วย
5.5 เลือกหลอดทีให้ สีของแสงเหมาะสมกับการใช้ งาน (Correct Light Color)
เราบอกคุณสมบัติสีของแสงได้ดว้ ย ค่าอุณหภูมิสีของแสง ค่าดัชนีความถูกต้องของสี เป็ นต้น

ความสัมพันธ์ ระหว่ างอุณหภูมสิ ีและความส่ องสว่ าง


การเลือกชนิดของหลอด ควรต้องพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่าง (lx) และ อุณหภูมิสีของหลอดประกอบด้วย โดย
หลอดที>มีอุณหภูมิสีต>าํ เช่น หลอดไส้ ควรใช้กบั งานที>ตอ้ งการความส่องสว่างน้อย
หลอดที>มีอุณหภูมิสีสูง เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ควรใช้กบั ความส่องสว่างมาก
ถ้าใช้หลอดที> มีอุณหภูมิสีต> าํ ในการให้ความส่ องสว่างมาก จะได้ผลไปตกไปในย่านโซนที> ทาํ ให้รู้สึกแสงจ้า ร้อนเกิ นไป
บรรยากาศไม่น่าอยู่ ก็จะทําให้ได้แสงสว่างที>ไม่เหมาะสม
ถ้าใช้หลอดที>มีอุณหภูมิสีสูง ในการให้ความส่องสว่างน้อย จะได้ผลไปตกในย่านที>ทาํ ให้รู้สึกทึม เย็นชา บรรยากาศไม่น่าอยู่
ก็จะทําให้ได้แสงสว่างที>ไม่เหมาะสม
ตัวอย่างการเลือกสี ของหลอดให้สมั พันธ์กบั ความส่องสว่างของแต่ละงาน เช่น
ร้านอาหาร ความส่องสว่าง `… lx ควรใช้หลอดอุณหภูมิสี `,……… K เช่น เทียนไข หรื อ โคมไฟประดับหลอดอินแคนเดสเซนต์
บ้านอยูอ่ าศัย ความส่ องสว่าง p…… lx ควรใช้หลอดอุณหภูมิสี `,o…… K เช่น หลอดอินแคนเดสเซนต์ หรื อ หลอดฮาโลเจน
หรื อ หลอดคอมแพกต์ฟลูอเรสเซนต์สีวอร์มไวต์
ร้านอาหาร ความส่องสว่าง po… lx ควรใช้หลอดอุณหภูมิสี `,‡…… K เช่น หลอดอินแคนเดสเซนต์ หรื อ หลอดฮาโลเจน หรื อ
หลอดคอมแพกต์ฟลูอเรสเซนต์สีวอร์มไวต์
สํานักงาน ความส่องสว่าง o…… lx ควรใช้หลอดอุณหภูมิสี q,……… K เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ สี คูลไวต์ หรื อ สี เดย์ไลต์

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-24

ห้องเขียนแบบ ความส่องสว่าง ’…… lx ควรใช้หลอดอุณหภูมิสี q,o…… K เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ สี คูลไวต์ หรื อ สี เดย์ไลต์
6. การเลือกโคมไฟให้ ประหยัดพลังงาน

6.1 คุณสมบัตขิ องโคมไฟ (Luminaire Characteristics)


การพิจารณาคุณสมบัติของโคมไฟ มีคาํ ศัพท์ที>เกี>ยวข้อง ได้แก่
ประสิ ทธิ ภาพของโคมไฟ (Luminaire Efficiency หรื อ Light output ratio (LOR)) คือ อัตราส่ วนระหว่างลูเมนรวมที>ออกมา
จากโคมไฟ ต่อลูเมนรวมที>ออกมาจากหลอดไฟ โคมไฟที>มีประสิ ทธิภาพสูงจะไม่ดูดกลืนแสงไว้ภายในโคมมากนัก
สัมประสิ ทธิ‹การใช้ (Coefficient of Utilization, CU) คือ อัตราส่วนระหว่างค่าลูเมนรวมที>ไปตกถึงพืIนที>ทาํ งาน ต่อลูเมนรวมที>
ออกมาจากหลอดไฟ จึงเปรี ยบเสมือนได้รวมค่าประสิ ทธิ ภาพโคมไฟเข้ากับปั จจัยด้านสภาพแวดล้อมในพืIนที>นI นั คือ ความ
สู งและสัดส่ วนของห้อง หรื อ อัตราส่ วนโพรง (Cavity Ratio) ตลอดจนค่าการสะท้อนแสงของเพดาน ผนัง และพืIนไว้ดว้ ย
แล้ว
ความเสื> อมจากโคมไฟสกปรก (Luminaire Dirt Depreciation, LDD) คือ การที>ปริ มาณแสงลดลงตามระยะเวลาที>ใช้โคมไฟ
เนื>องจากฝุ่ นละอองและสิ> งสกปรกต่างๆ ซึ>งขึIนกับความสะอาดของพืIนที> และลักษณะของโคมไฟแต่ละชนิด
กราฟการกระจายความเข้มส่ องสว่างของโคมไฟ (Luminaire Intensity Diagram) คือ กราฟในระบบโพล่าร์ โคออร์ ดิเนต ที>
แสดงค่ากําลังส่ องสว่างของโคมไฟที> มุมต่างๆ รอบโคมไฟ เพื>อใช้คาํ นวณความสว่างบนพืIนที> ทาํ งานที> จุดต่างๆ ซึ> งการ
ออกแบบที>ดีนI นั จุดที>สว่างมากที>สุดและสว่างน้อยที>สุด ไม่ควรมีระดับความส่ องสว่างแตกต่างกันเกินหนึ> งในหกของความ
สว่างเฉลี>ยบนพืIนที>ทาํ งานนัIน ทัIงนีI ผูผ้ ลิตมักจะระบุค่ามากที>สุดของระยะห่ างระหว่างโคมเป็ น อัตราส่ วนระหว่างระยะห่ าง
ของโคมไฟกับความสูงของโคมไฟ (Spacing Per Mounting Height Ratio: S/Hm)
คุณสมบัติเฉพาะอื>นๆ นอกจากพิจารณาถึงการให้แสงสว่างที> เพียงพอแล้ว ยังต้องพิจารณาถึงการป้ องกันแสงบาดตา ความ
ปลอดภัย รวมถึงความยากง่ายในการซ่อมบํารุ งประกอบด้วย
การเลือกแผ่นสะท้อนแสงที>ดีของโคมไฟ ควรทําจากแผ่นอะลูมิเนียม ที>มีการพับขึIนรู ป ให้มีการกระจายแสงที>ดี ตามลักษณะของ
ความต้องการใช้งาน

ตัวอย่ าง กราฟการกระจายความเข้ มส่ องสว่ างของโคมไฟ ซึงมีหลายลักษณะ โคมไฟแบบส่ องลงจะกระจายแสงลงด้ านล่ าง โคมไฟแบบ
ส่ องขึนK จะกระจายแสงขึนK ด้ านบน และ โคมไฟแบบส่ องขึนK และลง จะกระจายแสงทัKงขึนK ด้ านบนและลงล่ าง

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-25

การใช้งานทัว> ไป สําหรับห้องที>มีการติดตัIงโคมไฟกระจายทัว> ไปสมํ>าเสมอ ควรเลือกโคมไฟที>มีแผ่นสะท้อนแสงพับเป็ นรู ป


พาราโบลา (parabola) ซึ>งจะให้การกระจายแสงแบบปี กค้างค้าว คือ จุดสว่างสู งสุ ดไม่ได้อยูใ่ ต้โคมไฟ แต่อยูเ่ ยืIองห่ างจากจุด
ใต้โคมไฟออกไป ซึ>งจะให้ลกั ษณะดังกล่าวได้นI นั สําหรับโคมตะแกรงสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ g“ วัตต์ (T‡) จะมีความ
กว้างของโคมไฟประมาณ g… ซม. ต่อ p หลอด หรื อ “… ซม. ต่อ ` หลอด (หมายเหตุ ถ้าหากใช้โคมกว้างแค่ g… ซม. ต่อ `
หลอด จะไม่สามารถให้การกระจายแสงแบบพาราโบลาได้ ดังนัIนโคมลักษณะแบบนีI จึงไม่ใช่โคมประสิ ทธิ ภาพสู งที>แนะนํา
ให้เลือกใช้)
การติดโคมไฟเฉพาะที> เช่น เหนือโต๊ะทํางาน ควรเลือกโคมไฟที>มีการกระจายแสงแบบหยดนํIา ที>ให้จุดสว่างสู งสุ ดอยูใ่ ต้โคม
ไฟ
การติดโคมไฟส่องสิ นค้าในชัIนวางสิ นค้า หรื อ โคมไฟส่องกระดานในห้องเรี ยน ควรเลือกโคมไฟที>มีการกระจายแสงแบบไม่
สมมาตร (asymmetry)โดยให้แสงส่องไปในด้านที>ตอ้ งการ
โคมฟลูออเรสเซนต์เปลือย หรื อโคมกล่องเหล็กที>นิยมใช้กนั ทัว> ไป การติดตัIงติดเพดานแบบที>เรี ยกว่าติดลอย เป็ นโคมฟลูออเรส
เซนต์ที>มีประสิ ทธิภาพของโคมไฟสูงมากที>สุด ให้แสงกระจายโดยรอบ ทัIงขึIนด้านบนและลงด้านล่าง แสงกระจายขึIนด้านบนบางส่ วนจึง
ช่วยทําให้เพดานสว่าง ทําให้ไม่รู้สึกว่าเพดานมืด แต่ก็มีแสงบาดตามากเนื> องจากมองเห็นหลอดไฟได้ง่าย เหมาะสําหรับการใช้ให้แสง
สว่าง สถานที>เพดานไม่สูงและไม่ตอ้ งการคุณภาพแสงในการจํากัดแสงบาดตามากนัก เช่น ทางเดินทัว> ไป ห้องนํIา ห้องเก็บของ ลานจอด
รถภายในอาคาร ศาลาวัด ฯลฯ
โคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรง สําหรับติดเพดานฝังในฝ้ าเพดานแบบฝ้ าทีบาร์ หรื อ ฝ้ ายิบซัม> ให้แสงลงด้านล่าง ไม่ได้ทาํ ให้เพดาน
สว่าง เหมาะสําหรับงานให้แสงสว่างภายในสํานักงานทัว> ไป ที>ตอ้ งการจํากัดแสงบาดตา โดยโคมจะมีค่าประสิ ทธิ ภาพของโคมไฟดีกว่า
โคมฟลูออเรสเซนต์แบบกรองแสง จึงประหยัดพลังงานได้มากกว่า และ หากเลือกชนิ ดที>มีการออกแบบแผ่นสะท้อนแสงและตัวขวางที>
เหมาะสม ก็จะจํากัดแสงบาดตาได้ดีกว่า จึงสามารถใช้งานในห้องคอมพิวเตอร์ได้
โคมไฟส่องลง (downlight) แบบที>มีหน้าเปิ ดของโคมขนาดเล็ก แม้จะสวยงามกว่าแบบหน้าเปิ ดขนาดใหญ่ แต่โคมไฟแบบนีI มีการ
ระบายความร้อนด้อยกว่า และ โคมมีประสิ ทธิ ภาพตํ>ากว่า ดังนัIนการออกแบบให้ได้ความสว่างที>เท่ากัน หากเลือกโคมไฟหน้าเปิ ดเล็กก็
จําเป็ นต้องติดตัIงจํานวนโคมไฟมากกว่าโคมไฟหน้าเปิ ดใหญ่ และ เปลืองค่าใช้จ่ายสูงกว่า
โคมไฟส่ องลงสําหรับหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ มี ` ลักษณะ คือ ให้ติดตัIงหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ โดยติดตัIง
หลอดในแนวนอน หรื อ ในแนวดิ>ง พบว่าถ้าหากโคมไฟส่องลงไม่มีช่องระบายความร้อนที>ดี เมื>ออุณหภูมิของอากาศในโคมเพิ>มสูงขึIน จะ
ทําให้หลอดเปล่งแสงลดลง อีกทัIงประสิ ทธิภาพของโคมไฟแบบติดตัIงหลอดในแนวนอน จะมีค่าประสิ ทธิภาพของโคมไฟสูงกว่า โคมไฟ
แบบติดตัIงหลอดในแนวดิ>ง และ มีการระบายความร้อนได้ดีกว่า ดังนัIนการเลือกโคมไฟส่องลงสําหรับหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ ที>
ประหยัดพลังงาน จึงควรเลือกชนิดโคมที>ติดตัIงหลอดในแนวนอน
6.2 กราฟแสงบาดตา (Luminance Curve)
การพิจารณาคุณสมบัติทางด้านแสงของโคม นอกจากต้องพิจารณา กราฟการกระจายแสงของโคม เพื>อให้ทราบว่าโคมให้ปริ มาณ
แสงออกมาในทิศทางอย่างไรแล้ว ก็ตอ้ งพิจารณาว่าโคมให้แสงมีแสงบาดตามากน้อยเพียงใดและอยูใ่ นเกณฑ์ที>ยอมรับได้หรื อไม่
การพิจารณาว่าโคมให้แสงบาดตามากน้อยเพียงใด โดยใช้กราฟแสงบาดตา หรื อ กราฟลูมิแนนซ์ (Luminance Curve) สามารถ
พิจารณาเป็ นขัIนตอนได้ดงั นีI
1. หาค่ า γ สู งสุ ดทีจะเกิดในห้ องทีกําลังพิจารณา เช่น ขณะนังทํางาน ความสูงระดับสายตา 1.2 เมตร ถ้าติดตั'งโคมสูงจากพื'น
ห้อง 3 เมตร สมมุติแนวทแยงห้องเป็ น 5 เมตร ดังนั'นค่า γ มากทีสุ ดได้ดงั แสดงในรู ปที 11 มีค่า Tan-1(5/(3-1.2)) = 70 องศา

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-26

พยายามหาค่า γ ที>ใหญ่ที>สุดเท่าที>จะเกิ ดขึIนได้


ในห้องที>กาํ ลังพิจารณา และนําค่า γ นีI ไปใช้ใน
การเลือกโคม โดยพิจารณากราฟแสงบาดตา

γ
โคมไฟ
X

1.2 เมตร

X คือ ความสู งของโคมเหนือพืIน (g ม.) ลบด้วย ความสู งระดับสายตา (p.` ม.) = g – p.` ม.
H คือ ความยาวที>มากที>สุดจากตําแหน่ งนัง> ทํางานไปถึงโคมสุ ดท้ายในแนวทแยง
ในรู ปแสดงมุม γ ซึงวัดจากแนวดิงไปยังแนวของโคมไปยังเส้ นแนวสายตา โดยทัวไปเราจะพิจารณาแสงบาดตา ของมุม γ ตัKงแต่ 45
องศาเป็ นต้นไป จนถึงมุมใหญ่ ทสุี ด ของโคมไกลสุ ดทีมองเห็น เพือนําไปใช้ ในการพิจารณาแสงบาดตาในการเลือกโคมไฟ

Quality Class G Valid for Service Illuminance E (Lux)


A 1.15 2000 1000 500 ≤ 300
B 1.5 2000 1000 500 ≤ 300
C 1.85 2000 1000 500 ≤ 300
D 2.2 2000 1000 500 ≤ 300
E 2.55 2000 1000 500 ≤ 300
a b c d e f g h

a b c d e f g h
γ 85

75

65

55

45
103 2 3 4 5 6 7 8 9 104 2 3 4
สําหรับโคมไม่ มแี สงด้ านข้ าง หรือโคมยาวมองตามแนวยาว

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-27

ab c d e f g h
85
γ
75

65

55

45
103 2 3 4 5 6 7 8 9 104 2 3 4
สําหรับโคมทีมีแสงด้ านข้ าง หรือโคมยาวทีมีแสงด้ านข้ างและมองตามแนวขวาง
2. กําหนดระดับความส่ องสว่ างและคุณภาพแสงทีต้ องการ พิจารณาความต้องการ ว่าต้องการความส่องสว่างเท่าใด เช่น 7YY
ลักซ์ สําหรับห้องทํางานทัวไป และสมมุติวา่ ต้องการคุณภาพแสงทีดี ให้มีแสงบาดตาน้อยทีสุด ซึงได้แก่คุณภาพแสงเกรด (quality class)
A ดังตารางในรู ปที X_ เมือดูจากด้านล่างของตารางก็จะพบว่าตรงกับช่วง ‘c’ สําหรับความส่องสว่าง 7YY ลักซ์และคุณภาพแสง ‘A’ ดังนั'น
จึงควรเลือกโคมไฟทีมีเส้นลักษณะสมบัติของโคมในมุมองศา γ ไม่เกินช่วง ‘c’
3. นําค่ า γ และคุณภาพแสงทีต้องการไปพิจารณา นําค่า γ และเส้นกราฟทีได้จากข้อ _ ข้างต้นไปพิจารณากราฟแสงบาดตา จาก
ลักษณะของโคมไฟแบบต่างๆ ตามชนิดโคม เช่น ตัวอย่างในรู ปที X[ ถ้าเป็ นโคมไฟส่องลงไม่มีแสงด้านข้าง ก็พิจารณาจากกราฟที X โดย
พิจารณากราฟแสงบาดตาของโคมรุ่ นทีจะเลือกใช้ ว่าเส้นลักษณะสมบัติของโคม อยูท่ างด้านซ้ายของเส้น ‘c’ ของกราฟในรู ป หรื อไม่ ถ้า
กราฟแสงบาดตาของโคมอยูท่ างด้านซ้ายก็แสดงว่าโคมมีคุณภาพแสงตามทีต้องการ แต่ถา้ หากเส้นลักษณะสมบัติของโคมอยูท่ างด้านขวา
ของเส้น ‘c’ ก็แสดงว่า โคมรุ่ นนั'นมีแสงบาดตาเกินทีต้องการ

Quality Class G Valid for Service Illuminance E (Lux)


A 1.15 2000 1000 500 ≤ 300
B 1.5 2000 1000 500 ≤ 300
C 1.85 2000 1000 500 ≤ 300
D 2.2 2000 1000 500 ≤ 300
E 2.55 2000 1000 500 ≤ 300
a b c d e f g h

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-28

a b c d e f g h
γ 85

75
70
65

55

45
103 2 3 4 5 6 7 8 9 104 2 3 4
กราฟแสงบาดตาของโคมไฟ ที>ผผู้ ลิตให้มา

ตัวอย่ างกราฟแสงบาดตาของโคมไฟรุ่นหนึง
จากกราฟแสงบาดตาของโคมไฟทําให้ทราบว่าสําหรับ γ ที>คาํ นวณออกมาได้ สําหรับห้องที>พิจารณาข้างต้นสมมุติที> ’… องศานัIน
กราฟส่ วนที>อยูต่ >าํ กว่า γ ที>ค่า ’… องศาเท่านัIนที>จะนํามาพิจารณา เพราะเป็ นมุมมากที>สุดที>จะเกิดขึIนได้ภายในพืIนที>นI นั เมื>อพิจารณาจาก
กราฟแสงบาดตาของโคมที>ให้มาที>มุม γ ตํ>ากว่า ’… องศาลงมานัIน จะเห็นว่ากราฟแสงบาดตาของโคมอยูท่ างด้านซ้ายของเส้นกราฟ ‘c’
ซึ>งใช้สาํ หรับความส่องสว่าง o…… ลักซ์โดยมีคุณภาพแสงอยูใ่ นเกณฑ์ ‘A’
ถ้านําโคมที>มีกราฟแสงบาดตาดังกล่าว ไปใช้เพื>อส่องสว่างในห้อง ให้ได้ความส่ องสว่าง p,……… ลักซ์ ก็สามารถทําได้โดยพิจารณา
จากกราฟ ‘c’ ซึ>งจะเห็นว่ากราฟแสงบาดตาของโคมอยูท่ างด้านซ้ายของโคมทัIงหมดที>มุม γ น้อยกว่า ’… องศา และจากตารางที>กราฟเส้น
‘c’ มองขึIนไปหาช่อง p……… ลักซ์ก็จะได้คุณภาพแสงระดับ ‘B’ ซึ> งถือว่าดี (ถ้าเป็ นระดับ ‘C’ ถือว่าพอใช้ ‘D’ แสดงว่า มีแสงบาดตา ‘E’
แสดงว่า มีแสงบาดตามาก)
6.3 โคมฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Luminaire)
หลอดฟลูออเรสเซนต์เป็ นหลอดไฟที> ใช้กนั มากเพราะมีค่าประสิ ทธิ ผลการส่ องสว่างสู ง (Luminous Efficacy) โคมไฟสําหรับ
หลอดฟลูออเรสเซนต์จึงมีหลายรู ปแบบ เพื>อให้เหมาะกับการใช้งานแต่ละชนิดแตกต่างกันไป ซึ>งสามารถสรุ ปเป็ นชนิดหลักๆได้ดงั นีI
1. โคมฟลูออเรสเซนต์เปลือย (Bare Type Luminaire)
2. โคมฟลูออเรสเซนต์โรงงาน (Industrial Luminaire)
3. โคมฟลูออเรสเซนต์กรองแสง (Diffuser Luminaire)
4. โคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรง (Louver Luminaire)
6.3.1 โคมฟลูออเรสเซนต์ เปลือย (Bare Type Luminaire)
เหมาะใช้กบั งานที>ตอ้ งการแสงออกด้านข้าง เช่น ติดเพดานที>ไม่สูงมากนัก โดยทัว> ไปไม่
เกิน q เมตร และไม่ตอ้ งการคุณภาพในการจํากัดแสงบาดตาจากหลอด เช่น ห้องเก็บของ ลาน
จอดรถภายในอาคาร ห้องนํIา และ พืIนที>ใช้งานไม่บ่อย และไม่ตอ้ งการความสวยงามมาก
ข้อควรระวังในการใช้โคมฟลูออเรสเซนต์เปลือย
1. โคมดังกล่าวไม่มีตวั ครอบ วัตถุภายนอกอาจมากระแทกกับหลอดทําให้หลอดแตกหลุดร่ วงได้
2. โคมดังกล่าวให้แสงบาดตาจากหลอด

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-29

6.3.2 โคมฟลูออเรสเซนต์ โรงงาน (Industrial Luminaire)


เป็ นโคมที>มีแผ่นสะท้อนแสงเพื>อควบคุมแสงให้ไปในทิศทางที>ตอ้ งการ แผ่นสะท้อนแสง
อาจทําจากแผ่นอะลูมิเนียม แผ่นเหล็กพ่นสี ขาว หรื อวัสดุอื>นที>มีการสะท้อนแสงสูง
ข้อควรระวังในการใช้โคมฟลูออเรสเซนต์โรงงาน
1. โคมดังกล่าวไม่มีตวั ครอบ วัตถุภายนอกอาจมากระแทกกับหลอดทําให้หลอดแตกหลุดร่ วงได้
2. โคมดังกล่าวไม่เน้นความสวยงาม และมีแสงบาดตาจากหลอด
6.3.3 โคมฟลูออเรสเซนต์ กรองแสง (Diffuser luminaire)
แผ่นกรองแสง จะทําให้ค่าประสิ ทธิ ภาพของโคมไฟลดตํ>าลงกว่าโคมฟลูออเรสเซนต์แบบอื>นๆ อย่างไรก็ดีแผ่นกรองแสงก็เป็ น
อุปกรณ์ช่วยป้ องกันหลอดไฟจากการกระทบกระแทกเสี ยหาย หรื อ จากฝุ่ นเกาะ โดยทัว> ไปแผ่นกรองแสงมีให้เลือกใช้ g แบบด้วยกัน คือ
1. แบบเกร็ ดแก้ว (Prismatic diffuser)
2. แบบขาวขุ่น (Opal diffuser)
3. แบบผิวส้ม (Stipple diffuser)
โคมไฟที>มีแผ่นกรองแสงปิ ดหลอด เพื>อลดแสงบาดตาจากหลอด มีทI งั แบบสําหรับติดฝังฝ้ าหรื อ สําหรับติดลอยที>อาจเรี ยกว่าแบบ
ตัวยู (U-shape) การเพิ>มประสิ ทธิ ภาพโคมสามารถทําได้โดยเลือกรุ่ นที>มีการติดแผ่นสะท้อนแสงอะลูมิเนี ยมภายในโคม โดยอาจใช้แผ่น
อะลูมิเนี ยมแบบเงา (Specular surface) หรื อ แบบกระจายแสง (Diffuser surface) ติดที>ดา้ นหลังหลอดเพื>อเพิ>มประสิ ทธิ ภาพของโคมไฟ
โคมไฟประเภทนีI เหมาะกับการใช้งานที>ตอ้ งการแสงบาดตาจากหลอดตํ>าและไม่ตอ้ งการความเข้มส่ องสว่างสู งมากนัก เช่น ในห้องพัก
คนไข้ในโรงพยาบาล ที>ไม่ตอ้ งการแสงบาดตามารบกวนคนไข้ โรงงานผลิตอาหารที>ตอ้ งการโคมไฟที>สามารถเช็ดทําความสะอาดโคมไฟ
ได้ง่าย
ข้อควรระวังในการใช้โคมฟลูออเรสเซนต์กรองแสง
1. โคมมีประสิ ทธิภาพตํ>า ไม่เหมาะกับงานที>เน้นการประหยัดพลังงาน
2. เหมาะกับงานที>ไม่ตอ้ งการแสงบาดตาจากหลอด เช่น ห้องพักคนไข้ในโรงพยาบาล
3. เหมาะกับงานที>ตอ้ งการความสะอาด เช่น โรงงานผลิตอาหาร ห้องสะอาด(Clean room) และงานที>ติดตัIงโคมโดยมีความสูงไม่
มาก เช่น ห้องเพดานตํ>า ที>สูงไม่เกิน g ม. โคมไฟเหนือโต๊ะทํางาน ฯ

ก) โคมกรองแสงแบบเกร็ดแก้ ว ข) โคมกรองแสงแบบขาวขุ่น
ตัวอย่ างโคมฟลูออเรสเซนต์ กรองแสงแบบฝังฝ้ า

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-30

ด้ านซ้ ายเป็ นโคมไฟทีมองเห็นหลอด ส่ วนด้ านขวามีแผ่นกรองแสงแบบเกร็ดแก้ วมาบังจึงมองไม่ เห็นหลอดโดยตรง


ทีมา: www.DIRECTIONPLAN.net

ตัวอย่ างโคมฟลูออเรสเซนต์ กรองแสง x$• W แบบหน้ าแคบ $€ ซม. ทีเมือมองจากด้ านล่ างจะเห็นเสมือนว่ ามี • หลอด แสดงว่ าเป็ นโคม
ทีมีการพับแผ่นสะท้ อนแสง เน้ นให้ แสงลงมาด้ านล่ างเป็ นหลัก ไม่ ได้ การกระจายแสงไปด้ านข้ าง จึงเป็ นโคมเหมาะสําหรับติดตัKงเหนือโต๊ ะ
ทํางานแต่ ไม่ เหมาะสําหรับติดตัKงในสํานักงานเปิ ดทัวไปทีโต๊ ะทํางานอยู่กระจัดกระจาย
ทีมา: www.DIRECTIONPLAN.net

6.3.4 โคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรง (Louver luminaire)


มีทI งั แบบติดลอยและฝังฝ้ า ลักษณะของโคมไฟประกอบด้วยแผ่นสะท้อนแสงด้านข้างและอาจมีแผ่นสะท้อนแสงด้านหลังหลอด
เพิ>มเข้ามาเพื>อสะท้อนแสงและควบคุ มแสงให้ไปในทิ ศทางที> ตอ้ งการ ส่ วนตัวขวางช่ วยลดแสงบาดตา เช่ น ในมุมที> เลย มุมตัดแสง
โดยทัว> ไปแผ่นสะท้อนแสงและตัวขวางจะทําจากอะลูมิเนี ยม (Anodized aluminium) ซึ> งมีทI งั แบบเงา (Specular Surface) และแบบ
กระจาย (Diffuser Surface) ซึ>งขึIนอยูก่ บั ผูอ้ อกแบบโคมไฟและลักษณะการใช้งานของโคมไฟนัIน

แผ่นสะท้อนแสงหลังหลอด (Back Reflector)

แผ่นสะท้อนแสงข้างหลอด (Reflector)

ตัวขวาง (Cross Blade)

แสดงส่ วนประกอบของโคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรง

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-31

โคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรง จําแนกตามชนิดตะแกรงออกได้เป็ น g ชนิดคือ


1. โคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรงแบบตัวขวาง (Profile Mirror Louver Luminaire)
2. โคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรงแบบพาราโบลิก (Parabolic Louver Luminaire)
3. โคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรงแบบช่องถี> (Mesh Louver Luminaire)
ถ้าพิจารณาคุณภาพการจํากัดแสงบาดตาของโคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรง จะพบว่า แบบช่องถี>จะให้แสงบาดตาน้อยกว่า แบบพารา
โบลิก น้อยกว่าแบบตัวขวางริI ว และ น้อยกว่าแบบตัวขวางเรี ยบตามลําดับ ส่ วนราคาจะกลับกัน คือ มีราคาแพงตามลําดับเช่นกัน ซึ> งโคม
ดังกล่าวมีรายละเอียดดังนีI
1. โคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรงแบบตัวขวาง
โคมตะแกรงที>นิยมใช้กนั ทัว> ไป เป็ นโคมตะแกรงแบบตัวขวาง ซึ>งได้แก่ แบบตัวขวางริI ว และ แบบตัวขวางเรี ยบ
ก) โคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรง แบบตัวขวางริCว
เป็ นโคมตะแกรงที> มีการใช้กนั มาก โคมไฟมีตะแกรงทําจากแผ่นอะลูมิเนี ยม
ตามแนวยาวของหลอด โดยจะแบ่งช่องตามแนวยาวให้เท่ากับจํานวนหลอด ส่ วนตาม
แนวขวางของหลอดจะมีตวั ขวางทําจากโลหะขึIนรู ปเป็ นลายริI ว เพื>อแบ่งช่องแสงของ
หลอดให้เป็ นช่องๆ ซึ>งโดยทัว> ไปแล้วจะแบ่งเป็ น pq ช่องสําหรับโคมหลอดฟลูออเรส
เซนต์ g“ วัตต์ที>ยาว p.` เมตร และ ’ ช่อง สําหรับโคมหลอดฟลูออเรสเซนต์ p‡ วัตต์ที>ยาว ….“ เมตร ซึ> งจํานวนช่องนีI ขI ึนอยูก่ บั ผูอ้ อกแบบ
และผูผ้ ลิตแต่ละราย ซึ>งตัวขวางของโคมทําหน้าที>ลดแสงบาดตา หากมีตวั ขวางน้อยลง ก็จะทําให้โคมมีราคาถูกลง แต่แสงบาดตาเพิ>มขึIน
โคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรงแบบตัวขวางริCวมีคุณสมบัตแิ ละการใช้ งานทีควรพิจารณาดังนีC
1. เป็ นโคมไฟที>มีประสิ ทธิภาพสูง “…-‡…% (ขึIนอยูก่ บั การออกแบบและวัสดุที>ใช้ในการผลิต)
2. โดยทัว> ไปค่าระยะห่างระหว่างโคมไฟ ต่อ ความสูงเหนือระนาบทํางาน (S/H) สูง จึงสามารถทําให้ใช้จาํ นวนโคมน้อยสําหรับ
ความส่องสว่างที>สมํ>าเสมอโดยทัว> พืIนที>
3. เหมาะสมกับการใช้ในพืIนที>สาํ นักงานและพืIนที>ทาํ งานทัว> ไป
4. การใช้ในห้องทํางานที>มีจอคอมพิวเตอร์ หรื อ ห้องควบคุมที>มีจอมอนิ เตอร์ ให้ระวังการใช้โคม ประเภทนีI เพราะแสงบาดตา
จากโคมอาจจะไปสะท้อนปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ได้ จึงจําเป็ นต้องเลือกโคมที>มีการจํากัดแสงบาดตาให้ดี
5. ถ้าใช้วสั ดุในการผลิตแผ่นสะท้อนแสงที>มีคุณภาพสูงจะสามารถลดแสงสี รุ้งที>เกิดจากหลอดฟลูออเรสเซนต์ได้
ข) โคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรงแบบตัวขวางเรียบ
เป็ นโคมไฟที>มีคุณสมบัติคล้ายโคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรงแบบตัวขวางริI ว แต่เปลี>ยนการใช้
ตัวขวางมาเป็ นแผ่นโลหะเรี ยบ จึงมีราคาถูกลง
2. โคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรงแบบพาราโบลิก
เป็ นโคมไฟที>มีคุณสมบัติคล้ายโคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรงแบบตัวขวางริI ว แต่เปลี>ยนการใช้
ตัวขวางมาเป็ นแผ่นโลหะที>ขI ึนรู ปเป็ นรู ปโค้งพาราโบลิก (Parabolic curve) วัสดุที>ใช้ส่วนมากจะเป็ น
แบบเงา (Specular surface) หรื อ แบบกระจายแสง (Diffuser surface) ก็ได้ โคมไฟจะให้แสงบาดตา
น้อยกว่าแบบตัวขวางริI ว แต่ก็มีราคาแพงกว่าด้วย เหมาะสําหรับการใช้งานในพืIนที> สํานักงานที> มี
จอคอมพิวเตอร์ อยูเ่ กื อบทัว> พืIนที> สถานที>ตอ้ งการแสงบาดตาน้อย รวมถึง ห้องประชุม ห้องผูบ้ ริ หาร ห้องประมวลผลข้อมูล ห้องแสดง
สิ นค้า ห้างสรรพสิ นค้า เป็ นต้น

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-32

โคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรงแบบพาราโบลิก มีคุณสมบัตแิ ละการใช้ งานทีควรพิจารณาดังนีC


1. เป็ นโคมไฟที>มีประสิ ทธิภาพสูง “…-‡…% (ขึIนอยูก่ บั การออกแบบและวัสดุที>ใช้ในการผลิต) มีประสิ ทธิภาพของโคมไฟตํ>ากว่า
แบบตัวขวาง แต่จาํ กัดแสงบาดตาได้ดีกว่า
2. โดยทัว> ไปค่า S/H สูงพอประมาณ จึงสามารถทําให้ใช้จาํ นวนโคมน้อยสําหรับความส่องสว่างที>สมํ>าเสมอโดยทัว> พืIนที>
3. ให้แสงนุ่ม และ แสงบาดตาจากโคมไฟน้อยเหมาะกับการใช้ในพืIนที>สาํ นักงานที>มีจอคอมพิวเตอร์ทาํ งานอยูท่ ว>ั พืIนที>
4. ถ้าใช้วสั ดุในการผลิตแผ่นสะท้อนแสงที>มีคุณภาพสูงจะสามารถลดแสงสี รุ้งที>เกิดจากหลอดฟลูออเรสเซนต์
3. โคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรงแบบช่ องถี
เป็ นโคมฟลูออเรสเซนต์ที>มีตะแกรงถี>มาก อยู่ในเกณฑ์ประมาณ หนึ> งนิI วหรื อน้อยกว่า
ตะแกรงดังกล่าวอาจทําจากพลาสติก หรื อวัสดุอย่างอื>น ซึ> งมีทI งั แบบตะแกรงขาวธรรมดา หรื อ
เป็ นสี เงินเพื>อความสวยงาม ลายตะแกรงอาจเป็ นสี> เหลี>ยม หรื อ วงกลม หรื อหกเหลี>ยม หรื อลาย
สวยงามอย่างอื>น โคมฟลูออเรสเซนต์แบบนีI ไม่ประหยัดพลังงาน แต่เน้นความสวยงาม เน้นการ
จํา กัด แสงบาดตาเหมาะสํา หรั บ ใช้ใ นพืI น ที> เช่ น โคมไฟเหนื อ โต๊ ะ เคาน์ เ ตอร์ ต ้อ นรั บ หรื อ
ประชาสัมพันธ์ เป็ นต้น
โคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรงแบบช่ องถีมีคุณสมบัตแิ ละการใช้ งานทีควรพิจารณาดังนีC
1. เป็ นโคมไฟที>มีประสิ ทธิภาพไม่สูงเมื>อเทียบกับโคมฟลูออเรสเซนต์ตะแกรงอย่างอื>นโดยทัว> ไป ค่าระยะห่ างระหว่างโคมไฟ
ต่อ ความสูงเหนือระนาบทํางาน (S/H) มีค่าตํ>าจึงใช้จาํ นวนโคมมากสําหรับความสว่างที>สมํ>าเสมอโดยทัว> พืIนที>
2. ไม่เหมาะกับพืIนที>เพดานตํ>าเพราะเมื>อใช้โคมไฟชนิดนีIจะทําให้เพดานมืด
3. โคมไฟชนิดนีIให้แสงบาดตาน้อยเหมาะใช้กบั พืIนที>ที>มีจอคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ประหยัดพลังงานและบํารุ งรักษายาก
ตารางแสดงชนิดของโคมฟลูออเรสเซนต์ และการใช้ งาน
ชนิดโคมฟลูออเรสเซนต์ หมายเหตุ - การใช้ งาน
โคมฟลูออเรสเซนต์ เปลือย ใช้กบั งานที>ไม่มีขอ้ จํากัดเกี>ยวกับแสงบาดตา เหมาะสําหรับเพดานไม่สูง ใช้ติดตัIงภายในตู,้ ไฟหลืบ
(Batten, bare type, general-diffuse luminaire) ทางเดิน ห้องนํIา ห้องเก็บของ
โคมฟลูออเรสเซนต์ โรงงาน
(Industrial luminaire)
แผ่นสะท้อนแสงด้านหลังหลอด แบบแผ่น ใช้ติดตั'งภายในอาคาร สําหรับงานทีไม้ตอ้ งการความสวยงามมาก ใช้ในห้องทีมีเพดานสู งได้ถึง ~4 เมตร
เหล็กเคลือบสี ขาว ( with white reflectors ) ให้การกระจายแสงทีสมําเสมอ อาจใช้ชนิ ดมีตวั ขวางหรื อไม่ ขึ'นกับข้อจํากัดเกียวกับแสงบาดตาใน
การใช้งาน
แผ่นสะท้อนแสงด้านหลังหลอด แบบแผ่น ใช้ติดตั'งภายในอาคาร ทีมีเพดานสู งได้ถึง ~5 เมตร มีมุมแผ่นสะท้อนแสงหลายแบบ เช่น
อะลูมิเนี ยมเงา (with specular reflectors) แบบมุมกว้าง (wide-angle) สําหรับให้กระจายแสงในพืIนที>บริ เวณกว้าง
แบบอสมมาตร (asymmetrical) สําหรับให้กระจายแสงไปในทิศทางที>ตอ้ งการ
แบบมุมแคบ (narrow-angle) สําหรับให้กระจายแสงเหนื อพืIนที>ใช้งาน เช่น โต๊ะทํางาน
โคมฟลูออเรสเซนต์ กรองแสง (Diffuser ใช้กบั งานที>ตอ้ งการแสงบาดจากหลอดตํ>า และ ไม่ตอ้ งการความเข้มส่ องสว่างสู งมากนัก เช่น ห้องพัก
luminaire) คนไข้ในโรงพยาบาล, ห้องประชุม
ชนิ ดฝังฝ้ า แผ่นกรองแสง มีหลายแบบ เช่น
ชนิ ดติดลอย (ตัวยู) แบบเกร็ ดแก้ว (prismatic)
ชนิ ดติดผนัง (ตัวแอล) แบบขาวขุ่น (opal)
มี / ไม่มี แผ่นสะท้อนแสงด้านหลังหลอด แบบผิวส้ม (stipple)
โคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรง ให้การกระจายแสงที>ดี สามารถควบคุมมุมการกระจายแสงให้กว้าง หรื อ อสมมาตรได้ , ใช้กบั งานที>

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-33

ชนิดโคมฟลูออเรสเซนต์ หมายเหตุ - การใช้ งาน


(Louvered luminaire) ต้องการจํากัดแสงบาดตาโดยตรงจากหลอดและโคมได้ เช่น สํานักงานทัว> ไป พืIนที>ที>มีการใช้
แบบตัวขวาง จอคอมพิวเตอร์
แบบพาราโบลิก แผ่นสะท้อนแสงมีแบบเงา และ แบบกระจายแสง มีมุมแผ่นสะท้อนแสงหลายแบบ เช่น
แบบช่องถี> แบบมุมกว้าง (wide-angle) สําหรับให้กระจายแสงในพืIนที>บริ เวณกว้าง
แบบอสมมาตร (asymmetrical) สําหรับให้กระจายแสงไปในทิศทางที>ตอ้ งการ
แบบมุมแคบ (narrow-angle) สําหรับให้กระจายแสงเหนื อพืIนที>ใช้งาน เช่น โต๊ะทํางาน

7. การเลือกบัลลาสต์ ให้ ประหยัดพลังงาน (Energy Efficient Ballast)


บัลลาสต์มีหลายชนิด ได้แก่
1) บัลลาสต์ธรรมดา ทัว> ไป มีราคาถูก แต่ไม่ประหยัดพลังงาน และ มีความร้อนสูง เหมาะสําหรับงานติดตัIงชัว> คราว เช่น งานวัด
2) บัลลาสต์กาํ ลังสู ญเสี ยตํ>า (low loss ballast) มีราคาแพงขึIน แต่ช่วยประหยัดพลังงานได้ โดยมีระยะเวลาคืนทุนเร็ ว มีอุณหภูมิขณะ
ทํางานตํ>า ปลอดภัยต่อการใช้งานมากขึIน เหมาะสําหรับงานติดตัIงทัว> ไป เช่น สํานักงาน บ้าน
3) บัลลาสต์อิเล็กทรอนิ กส์ (electronic ballast) ช่วยประหยัดพลังงานได้มาก หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาด g“ วัตต์ที>ใช้บลั ลาสต์
อิเล็กทรอนิ กส์ หลอดจะได้รับกําลังไฟฟ้ าลดลงเหลือ g` วัตต์ ส่ วนค่ากําลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยในบัลลาสต์จะมีค่าประมาณ q วัตต์ มี
อุณหภูมิขณะทํางานตํ>า ปลอดภัยต่อการใช้งานมากขึIน แต่มีราคาแพงมากขึIนมาก จึงเหมาะสําหรับงานติดตัIงที>มีจาํ นวนชัว> โมงการใช้
งานสู ง เช่ น โรงงานที> ทาํ งาน `q ชม. มี ขอ้ ระวัง คื อ มี ระยะเวลาคื นทุ นนาน ต้องพิจารณาเรื> องระยะเวลาคืนทุ น กับ ระยะเวลา
รับประกันให้ดี ซึ>งถ้าหากมีอายุการใช้งานสัIน หรื อ ระยะเวลารับประกันสัIน ก็อาจไม่คุม้ ทุนได้ และต้องมีการจํากัดฮาร์ มอนิ กไม่ให้
เป็ นมลภาวะต่อระบบไฟฟ้ า
ข้อควรระวังในการติดตัIงบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่
1) การใช้บลั ลาสต์อิเล็กทรอนิ กส์จะใช้จาํ นวนเซอร์ กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) มากกว่าการ ใช้บลั ลาสต์ธรรมดา หรื อ บัลลาสต์
กําลังสูญเสี ยตํ>า ประมาณ `… - q… % เพราะค่ากระแสตอนเริ> มทํางานมีค่าสู งมากกว่า ซึ> งอาจต้องปรับเปลี>ยน-เพิ>มแผงสวิตช์ไฟ(Load
Center Panel), เพิ>มจํานวนสวิตช์เปิ ด-ปิ ด, เพื>อป้ องกันปั ญหาเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ทริ ปขณะหลอดไฟถูกจุดติดพร้อมกันทัIงชัIนหรื อทัIง
ตึก(ตอนที>ไฟฟ้ ามาหลังจากที>เกิดไฟดับ) หรื อ ปั ญหาหน้าสัมผัสของสวิตช์ เปิ ด-ปิ ดไฟเกิดอาร์กติดกันเนื> องจากกระแสจุดหลอดมีค่า
สูง
2) ต้องระวังฮาร์มอนิก ซึ>งอาจจําเป็ นต้องใช้สายนิ วทรอล (Neutral line) มีขนาดใหญ่ขI ึนเช่นเป็ น ` เท่าของสายเส้นไฟ (Live line) เพื>อ
ป้ องกันสายนิ วทรอลไหม้ และอาจต้องพิจารณาการติดตัIงรี แอกเตอรฟิ ลเตอร์ เพื>อลดฮาร์ มอนิ ก เพื>อป้ องกันอุปกรณ์ไฟฟ้ าอื>นๆ เช่น
หม้อแปลงไฟฟ้ ากําลัง, สายไฟ, คาปาซิเตอร์แบงค์ เสี ยหายได้
3) การติดตัIงบัลลาสต์อิเล็กทรอนิ กส์ตอ้ งมีการต่อลงดิ นของกล่องบัลลาสต์/โคมไฟ มีการชิ ลด์สายไฟ ตามมาตรฐานการติดตัIง เพื>อ
ป้ องกันการส่ งคลื>นสนามแม่เหล็กไฟฟ้ ารบกวนอุปกรณ์ไฟฟ้ าอื>นๆ เช่น อุปกรณ์สื>อสาร วิทยุ (Radio) คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รักษา
ความปลอดภัย หรื อ เครื> องมือวัด เครื> องมือทางการแพทย์ต่างๆ
บัลลาสต์ทI งั g ประเภทข้างต้น มีทI งั ชนิ ดค่าตัวประกอบกําลังของวงจรตํ>า และ ชนิ ดค่าตัวประกอบกําลังของวงจรสู ง ถ้าเป็ นไปได้
ควรเลือกใช้ชนิดค่าตัวประกอบกําลังสูง เพราะแม้จะมีราคาแพงขึIน แต่จะสามารถลดกระแสไฟฟ้ าในสายไฟ ลดการสูญเสี ยกําลังไฟฟ้ าใน
สายไฟ และลดค่าใช้จ่ายในการติดตัIงอุปกรณ์ประกอบ เช่น สายไฟ จํานวนเซอร์ กิตเบรกเกอร์ ขนาดแผงสวิตช์ไฟ(Load Center) ขนาด
หม้อแปลง เป็ นต้น

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-34

ตาราง แสดงค่ าการใช้ กาํ ลังไฟฟ้าของวงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์ a‹ วัตต์


กําลังไฟฟ้าสู ญเสียทีบัลลาสต์
ชนิดบัลลาสต์ กําลังไฟฟ้าเข้ าวงจร กําลังไฟฟ้าทีหลอด (แปรตามคุณภาพบัลลาสต์
และการระบายความร้ อน)
บัลลาสต์ธรรมดา ประมาณ 46-48 วัตต์ ประมาณ 36 วัตต์ ประมาณ 10-12 วัตต์
(ตาม มอก. ของหลอด)
บัลลาสต์กาํ ลังสูญเสี ยตํ>า (low loss ballast) ประมาณ 41-42 วัตต์ ประมาณ 36 วัตต์ ประมาณ 5-6 วัตต์
(ตาม มอก. ของหลอด)
บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ (electronic ballast) ประมาณ 36 วัตต์ ประมาณ 32 วัตต์ ประมาณ 4-5 วัตต์
(อาจตํ>ากว่าได้ ซึ>งถ้าหากตํ>าลง
ก็จะทําให้ปริ มาณแสงลดลง)
การปรับปรุ งระบบแสงสว่างให้ประหยัดพลังงาน โดยการเปลี>ยนบัลลาสต์นI นั จําเป็ นต้องพิจารณาถึงระยะเวลาคืนทุน อายุการใช้
งานของอุปกรณ์ และระยะเวลารับประกันอุปกรณ์ ประกอบในการพิจารณาด้วย

ตัวอย่ างบัลลาสต์ กาํ ลังสู ญเสียตํา

ตัวอย่ างบัลลาสต์ อเิ ล็กทรอนิกส์


8. การใช้ อุปกรณ์ ควบคุมแสงสว่ างช่ วยให้ ประหยัดพลังงาน (Lighting Control)
การเลือกใช้อุปกรณ์ควบคุมแสงสว่างที>เหมาะสม สามารถช่วยประหยัดพลังงานได้ เช่น
อุปกรณ์ปรับหรี> แสงสว่าง (dimmer) ติดตัIงในห้องประชุม ห้องนัง> เล่น
อุปกรณ์สวิตช์ (ไม่อตั โนมัติ) การติดตัIงสวิตช์ ` ทาง สวิตช์ g ทาง หรื อ สวิตช์เชือกกระตุก ก็จะช่วยเพิ>มความสะดวกในการปิ ดไฟ
เมื>อไม่ใช้ ช่วยประหยัดพลังงานได้
อุปกรณ์เปิ ด-ปิ ดไฟอัตโนมัติ ได้แก่
- สวิตช์แสงแดด (Photo cell Switch)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-35

- สวิตช์นาฬิกาตัIงเวลา (Timer)
- สวิตช์ที>ควบคุมด้วยเซ็นเซอร์ อินฟราเรด (Infrared sensor) ซึ> งทํางานโดยการตรวจจับความร้อนของคน เหมาะสําหรับการติดตัIง
ในพืIนที>ไม่กว้างนัก เช่น ทางเดิน แต่ไม่เหมาะสําหรับพืIนที>มีลมแอร์ผา่ น หรื อ ห้องนํIา หรื อ พืIนที>ที>ไม่ค่อยมีคนเคลื>อนไหว
- สวิตช์ที>ควบคุมด้วยเซ็นเซอร์ ไมโครเวฟ (Microwave sensor) ซึ> งทํางานโดยการตรวจจับการเคลื>อนที> ผ่าน เหมาะสําหรับพืIนที>
บริ เวณกว้าง
- สวิตช์ที>ควบคุมด้วยเซ็นเซอร์ อลั ตราโซนิ ก (Ultrasonic sensor) ซึ> งทํางานโดยการตรวจจับเสี ยงค่อยมากในระดับอัลตราโซนิ กที>
หู คนไม่ได้ยิน เหมาะสําหรับพืIนที> กว้างที> ตอ้ งการความไวสู ง เช่น ห้องประชุม ห้องนํIา แต่ไม่เหมาะสําหรับพืIนที> ที> มีลมแรง
บริ เวณที>มีการสัน> สะเทือน
9. การใช้ แสงอาทิตย์ ช่วยให้ ประหยัดพลังงาน (Daylighting)
ดวงอาทิตย์เป็ นแหล่งกําเนิดแสงธรรมชาติ แสงจากดวงอาทิตย์ตามปกติเป็ น แสงสี ขาว ซึ>งเกิดจากการรวมตัวกันของแสงครบทุกแถบสี ที>
มี ค่ า พลัง งานครบทุ ก สเปกตรั ม ที> มี ค วามต่ อ เนื> อ ง ประกอบด้ว ยคลื> น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ตัIง แต่ ช่ ว งที> ต าคนมองไม่ เ ห็ น จากย่า นรั ง สี
อัลตราไวโอเลต (รังสี เหนือม่วง) ที>ความยาวคลื>นสัIนกว่า g‡… นาโนเมตร ตลอดจน ช่วงที>ตาคนมองเห็น ในย่าน g‡…-’“… นาโนเมตร และ
ไปถึง ย่านรังสี อินฟราเรด (รังสี ใต้แดง) ที>มีความยาวคลื>นมากกว่า ’“… นาโนเมตร แสงจากธรรมชาติสามารถนํามาใช้เป็ นแหล่งกําเนิ ด
แสงสว่างได้ใน g ลักษณะ คือ
9.1 แสงแดด (Sunlight)
เป็ นแสงที>เกิดจากการแผ่รังสี จากดวงอาทิตย์โดยตรง ซึ> งมีความเข้มของแสงสู งมาก ให้แสงเป็ นลํา ที>มีรังสี ความร้อนอินฟราเรด
และ รังสี อลั ตราไวโอเลต จึ งไม่ควรนํามาใช้โดยตรง แต่ควรนํามาใช้โดยให้แสงแดดส่ องผ่านวัสดุกรองแสงที>มีลกั ษณะ กระจายแสง
(Diffusive translucent) หรื อ ใช้แสงสะท้อนกับวัสดุที>มีผิวสะท้อนแสง
9.2 แสงจากท้ องฟ้า (Skylight)
เป็ นแสงที>เกิดจากแสงแดด ที>ไม่ได้ส่องมาโดยตรง แต่มีการกระจาย หักเห และ การสะท้อนของแสงจากไอนํIาในท้องฟ้ า จึงทําให้
แหล่งกําเนิดแสงมาจากพืIนที>ทอ้ งฟ้ าบริ เวณกว้างหลายทิศทาง ไม่ได้ให้แสงเป็ นลําเหมือนเช่นแสงแดด จึงไม่มีแสงบาดตามาก เพราะให้
แสงที> กระจายแสง ดุจท้องฟ้ าเป็ นโคมไฟผืนใหญ่ ซึ> งเป็ นแสงที> สามารถนํามาใช้ได้โดยตรง เพราะไอนํIาในท้องฟ้ าช่วยกรองแสงใน
เบืIองต้น
9.3 แสงจากการสะท้ อนพืนK ผิวอืน (Light from Reflecting Surfaces)
เป็ นแสงที>เกิดจากการสะท้อนที>ผวิ วัตถุอื>น เช่น แสงสะท้อนจากแสงแดดที>ผิวดวงจันทร์ก็เป็ นแสงจันทร์ แสงสะท้อนจากแสงแดด
และ แสงสะท้อนจากท้องฟ้ าที> สะท้อนที> วตั ถุแวดล้อมหรื อพืIนผิวขนาดใหญ่ของอาคารใกล้เคียงก็สามารถเป็ นแหล่งกําเนิ ดแสงนีI ได้
เช่นกัน
แสงธรรมชาติ ที>นาํ มาใช้งานในช่วงเวลากลางวัน จากแหล่งกําเนิดแสงทัIง g ลักษณะ นิ ยมเรี ยกรวมกันว่า แสงกลางวัน(Daylight)
ส่วนแสงธรรมชาติ ที>นาํ มาใช้งานในช่วงเวลากลางคืน ซึ>งจะเหลือเฉพาะ ส่ วนของแสงสะท้อนพืIนผิวดวงจันทร์ เท่านัIน นิ ยมเรี ยกว่า แสง
จันทร์ (Moonlight)
การออกแบบสถาปั ตยกรรมของอาคาร ควรมีช่องเปิ ดให้มีการใช้แสงธรรมชาติช่วยส่ องสว่างทัว> ไป เช่น บริ เวณทางเดิน จะช่วย
ให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้ าแสงสว่างได้

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-36

ในงานหลังคา ไม่ควรใช้กระจกใดๆ ในงานหลังคา สามารถเลือกใช้วสั ดุหลังคาที>ผลิตจากพลาสติกโปร่ งแสงได้ ส่ วนในงานผนัง


การพิจารณาเลื อกใช้กระจกลดความร้อน อิ ฐแก้ว อาจคุม้ ทุ นได้กบั การใช้งานในทิ ศตะวันตก หรื อ ใช้ในงานที> ตอ้ งการกันเสี ยง การ
พิจารณาคุณสมบัติของกระจกที>เหมาะสมจะช่วยให้มีอายุการใช้งานที>ยาวนานกว่าการติดฟิ ล์มลดความร้อน ซึ> งการติดฟิ ล์มจะนิ ยมใช้กบั
การปรับปรุ งอาคารเก่าโดยต้องพิจารณาถึงอายุการใช้งานของฟิ ล์มประกอบการพิจารณาด้วย การเลือกซืI อกระจกลดความร้อนและฟิ ล์ม
ลดความร้อน สามารถอ้างอิงคุณลักษณะเฉพาะของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ที> พพ. g……g กระจกฉนวนความร้อน
และ พพ. g……q ฟิ ล์มลดความร้อน ได้ โดยผลการทดสอบคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ ควรเป็ นการทดสอบตามมาตรฐาน เช่น มาตรฐาน
ISO, มาตรฐาน AIMCAL (มิใช่ผลการทดสอบ ที>ผูข้ ายทําการทดสอบเองโดยขาดมาตรฐานรองรับ ซึ> งต้องระวังค่าที>ไม่ถูกต้อง เช่น จาก
การทดสอบที>ไม่ถูกต้อง อาทิ การใช้แสงจากหลอดอินฟราเรด แทนแสงอาทิตย์ ซึ>งให้ค่าความยาวคลื>นแสงแตกต่างกัน)
การออกแบบโดยนําแสงธรรมชาติมาใช้งานนัIน สําหรับสถานที> ที> ไม่เน้นคุณภาพของแสงมากนัก เช่น ทางเดิ น โถงหน้าลิฟต์
บันไดหนีไฟ พบว่าการนําแสงธรรมชาติมาใช้ สามารถช่วยประหยัดพลังงานได้ ซึ> ง บางกรณี อาจสามารถประหยัดได้มากถึง q… – o… %
ของพืIนที>ริมหน้าต่าง
แต่การนําแสงธรรมชาติมาใช้ในสถานที> ที>ตอ้ งการคุณภาพของแสงมาก เช่น สํานักงาน กลับพบว่าการนําแสงธรรมชาติมาใช้ช่วย
ให้ประหยัดพลังงานนัIน อาจทําได้แต่ไม่ง่ายนัก เนื> องจากแสงธรรมชาติ มีความร้อน และ แสงบาดตา จึงทําให้หากผูใ้ ช้ได้รับความร้อน
หรื อแสงบาดตา ก็จะนิ ยมติดม่านบังแสง เพื>อลดหรื อตัดแสงธรรมชาติ โดยพึ>งแสงประดิ ษฐ์จากหลอดไฟเป็ นหลัก และ ไม่ได้ใช้แสง
ธรรมชาติ เพื>อให้ได้แสงที>สามารถควบคุมสภาวะให้เหมาะกับการใช้งานได้มากกว่า การเลือกชนิ ดของกระจกที>สามารถตัดความร้อนได้
มาก แต่ให้แสงผ่านได้ดี ก็เป็ นอีกปั จจัยที>มีผลกระทบ
การนําแสงธรรมชาติมาใช้ ขึIนกับหลายปั จจัย เช่น แสงจ้าจากดวงอาทิตย์ ภาพวิวของหน้าต่าง หรื อ รบกวนสมาธิ ในการทํางาน
ทิศทางของช่องแสง ผูใ้ ช้ถนัดมือขวาหรื อมือซ้าย อายุของผูใ้ ช้งาน ทิศทางของโต๊ะทํางาน การจัดวางเฟอร์ นิเจอร์ ตําแหน่งของประตูและ
ทิศทางสําหรับต้อนรับผูม้ าเยี>ยม การใช้ผนังกัIนสําเร็ จรู ป และทิศทางของประตู ลักษณะการบังแสงภายนอกอาคาร ลักษณะการใช้งาน
และ ลักษณะการใช้คอมพิวเตอร์ และ ระยะเวลาในการใช้ พร้อมชนิดของหน้าจอแสดงผล
ในสํานักงานในอดี ต อาจมี การอ่านเอกสารมากถึง o… % ของเวลาทํางาน และ ใช้โทรศัพท์หรื อสนทนา นาน g… % ของเวลา
ทํางาน และ ใช้เครื> องมือสํานักงานและอื>นๆ นาน `… % ของเวลาทํางาน แต่ในสํานักงานสมัยใหม่ การใช้เวลาในการทํางานจะเปลี>ยนไป
เป็ นการใช้คอมพิวเตอร์นานถึง o… % ใช้โทรศัพท์หรื อสนทนา นาน g… % และ อ่านเอกสารและอื>นๆ นาน `… % ดังนัIนการออกแบบ ควร
คํานึงถึงแสงสว่างภายในห้องคอมพิวเตอร์มากขึIน
การผสานการใช้แสงธรรมชาติร่วมกับแสงประดิ ษฐ์ จําเป็ นต้องใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ จาํ พวกอุปกรณ์ปรับหรี> แสงมาช่วย
ควบคุมการทํางาน
ในห้องที>มีการใช้คอมพิวเตอร์ พบว่านิยมติดม่านบังแสง เพื>อไม่ตอ้ งการแสงสะท้อนจากหน้าต่าง ปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ และ
ระดับความสว่างบนโต๊ะทํางาน ไม่จาํ เป็ นต้องสูงมาก เนื>องจากแสงจากการเรื องแสงของจอภาพให้ความสว่างแก่การมองเห็นเพียงพอใน
การทํางานกับคอมพิวเตอร์

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-37

ก. หันหลังให้หน้าต่าง ข. หันด้ านซ้ ายให้ หน้ าต่าง ค. หันด้ านขวาให้ หน้ าต่าง ง. หันด้ านหน้ าให้ หน้ าต่าง
การจัดวางโต๊ ะริมหน้ าต่ าง พบว่ าลักษณะการวางโต๊ ะก็มีผลต่ อการนําแสงธรรมชาติมาใช้ เช่ น แบบ ก. หันหลังให้ หน้ าต่ าง และ แบบ ค.
หันด้ านขวาให้ หน้ าต่ าง ไม่ นิยมนําแสงธรรมชาติมาใช้ เพราะเงาจะรบกวนการมองเห็น ทําให้ ผู้ใช้ นิยมติดม่ านบังแสง ไม่ ได้ ใช้ แสง
ธรรมชาติและเปิ ดไฟใช้ แสงประดิษฐ์ แบบ ข. หันด้ านซ้ ายให้ หน้ าต่ าง และ แบบ ง. หันด้ านหน้ าให้ หน้ าต่ าง ซึงสามารถนําแสงธรรมชาติ
มาใช้ ได้ โดยอาจติดตัCงอุปกรณ์ ควบคุมแสงบาดตา เช่ น มู่ลี และอาจมีการเปิ ดใช้ แสงประดิษฐ์ เพือให้ ระดับความส่ องสว่ างเพียงพอต่ อการ
ใช้ งาน โดยปัจจัยกําหนดลักษณะการวางโต๊ ะ ก็ขึนC กับตําแหน่ งหน้ าต่ าง ประตู และ ทิศ

การออกแบบกรอบอาคาร โดยใช้ หลังคาโปร่ งแสง จากวัสดุ เช่ น กระเบือC งโปร่ งแสง เพือนําแสงธรรมชาติมาใช้ จะช่ วยประหยัดพลังงานได้
ซึงสามารถใช้ ได้ กับโรงงานทัวไป มีข้อควรระวัง คือ ต้ องระวังความร้ อนจากแสงแดด จึงควรพิจารณาการกรองแสง และ การลดความ
ร้ อน และ การใช้ แสงธรรมชาติจากแสงสะท้ อน ทีหลีกเลียงการใช้ แสงแดดโดยตรง

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-38

ก. การใช้ ท่อแสง (light pipe) ข. การใช้ ชCันสะท้ อนแสง (light shelf)

อาคารใหม่ สามารถออกแบบให้ ใช้ ท่อแสง (light pipe) เพือเป็ นช่ องส่ งผ่ านแสงอาทิตย์ เข้ ามาภายในอาคาร หรือ ใช้ ชCันสะท้ อนแสง (light
shelf) ช่ วยสะท้ อนแสงอาทิตย์ เป็ นการเพิมระยะลึกของการนําแสงอาทิตย์ เข้ ามาใช้ ภายในอาคารช่ วยประหยัดพลังงานได้

10. การบํารุ งรักษาระบบแสงสว่ าง (Lighting Maintenance)


ควรหมัน> เช็ดฝุ่ น ที> ตวั หลอด และ แผ่นสะท้อนแสงของโคมไฟ และ แผ่นกรองแสงของโคมไฟ เป็ นประจําสมํ>าเสมอ จะช่วยเพิ>ม
ความสว่างได้
- โคมไฟที>มีการเช็ดฝุ่ นอย่างสมํ>าเสมอดีมาก สามารถคงความสว่างในการใช้งานได้ประมาณ ’…-‡…% ของความสว่างเริ> มแรก (ใน
การคํานวณใช้ค่าตัวประกอบการบํารุ งรักษา(Maintenance Factor, MF) = ’o%)
- โคมไฟที>มีการเช็ดฝุ่ นบ้าง สามารถคงความสว่างในการใช้งานได้ประมาณ “…-’… % ของความสว่างเริ> มแรก (ในการคํานวณใช้
ค่า MF = “o%)
- โคมไฟที> ไม่มีการเช็ดฝุ่ นเลย สามารถคงความสว่างในการใช้งานได้ประมาณ o…-“… % ของความสว่างเริ> มแรก (ในการคํานวณ
ใช้ค่า MF = oo%)
หลอดไฟที>ขาด หรื อ หมดอายุการใช้งานแล้ว เช่น ให้แสงกะพริ บ ควรรี บเปลี>ยน
ก่อนเปลี>ยนหลอดไฟ จะต้องมัน> ใจว่าได้ปิดสวิตช์ไฟของวงจรนัIนก่อน
การเปลี>ยนหลอดเป็ นกลุ่มจะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายของค่าแรงในการเปลี>ยนหลอดได้
ไม่ติดตัIงวัสดุไวไฟ หรื อ ติดไฟง่าย ไว้ใกล้โคมไฟ เช่น ไม่มีกระดาษ หรื อ ผ้า บริ เวณโคมไฟ
ควรปิ ดสวิตช์ไฟเมื>อไม่ใช้งาน ยกเว้น แสงสว่างเพื>อความปลอดภัย ที>จาํ เป็ นต้องคงความสว่างไว้

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-39

ความสว่าง ร้อยละของค่าเริ> มต้น


100
แสงลด จากอุณหภูมิและแรงดัน
90 แสงลดจากวัสดุของโคมไฟเสื> อมสภาพ
แสงลดจากห้องสกปรก
แสงลดจากหลอดเสื> อมสภาพ
80 แสงลดจากหลอดเสี ย
แสงลดจากโคมไฟสกปรก
70
60
เวลา (ปี )
50
3 6 9 12 20

1 2 3 4

ทดลอง 1 ทดลอง 2 ทดลอง 3 ทดลอง 4


ทําความสะอาดโคม ทํ า ความสะอาดโคม ทําความสะอาดโคมทุก 18 เดือน และ ทํ า ความสะอาดโคมทุ ก 12 เดื อ น
และเปลี ยนหลอด ทุ ก 18 เดื อ น และ เปลียนหลอดใหม่ ครึ งของจํานวนทุ ก เปลี ยนหลอดใหม่ จํ า นวน 1/3 ของ
ใหม่ ทCั ง หมดทุ ก 36 เปลี ย นหลอ ดให ม่ 18 เดือน จํานวนทัCงหมด ทุก 12 เดือน
เดือน ทัCงหมดทุก 36 เดือน

แสดงการทําความสะอาดโคมไฟและหลอดไฟจะช่ วยเพิมระดับความส่ องสว่ างได้

11. การคํานวณระยะเวลาคืนทุน (Payback Period Analysis)

11.1 การวิเคราะห์ ระยะเวลาคืนทุนอย่ างง่ าย (SPP: Simple Payback Period)

ข้ อดี
การวิเคราะห์ระยะเวลาคืนทุนอย่างง่าย มีการคํานวณที>ง่าย คนทัว> ไปเข้าใจง่าย เป็ นวิธีที>เหมาะใช้กบั การลงทุนจํานวนเงินไม่มาก
เพื>อบอกว่าการลงทุนนีIจะคืนทุนโดยประมาณเมื>อใด ควรไม่ลงทุนหรื อควรพิจารณาวิเคราะห์โดยละเอียดต่อไป ถึงอัตราผลตอบแทนการ
ลงทุนหรื อระยะเวลาคืนทุนโดยคํานึงถึงอัตราดอกเบีIย
ข้ อเสีย
ผลที>ได้โดยประมาณ แต่ไม่ถูกต้องในชีวติ จริ งนัก เพราะไม่ได้คาํ นึ งถึงมูลค่าของเงินตามเวลา (ไม่มีการคิดอัตราดอกเบีIย) ดังนัIน
ผลที>ได้จึงอาจผิดพลาดได้
การวิเคราะห์ ผล
ควรมีระยะเวลาคืนทุนไม่นานเกินอายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์ และ ไม่นานเกินระยะเวลารับประกัน
11.2 การวิเคราะห์ อตั ราผลตอบแทนการลงทุน (Internal Rate of Return: IRR)

ข้ อดี
เป็ นการวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุนโดยพิจารณาถึงอัตราดอกเบีIย(Interest) และอัตราผลตอบแทน(Rate of Return) (หรื อเรี ยก
อัตราส่วนลด[Discount Rate]) เพื>อเปรี ยบเทียบระหว่างทางเลือกหนึ>งกับอีกทางเลือกหนึ>ง เพื>อบอกว่าควรลงทุนอะไรดี

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-40

ข้ อเสีย
1. การคํานวณด้วยมือไม่สะดวก เพราะต้องใช้การ Trial & Error และ Interpolation ดังนัIนที> เหมาะจึ งต้องใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ช่วย
2. การคํานวณตัIงสมมติฐานจํานวนอายุการใช้งานของอุปกรณ์ เช่น บัลลาสต์กาํ ลังสู ญเสี ยตํ>า มีอายุการใช้งาน `… ปี บัลลาสต์
อิเล็กทรอนิกส์ มีอายุการใช้งาน ’ ปี โดยระยะเวลามีผลต่ออัตราการคืนทุน ซึ>งถ้าหากใช้ค่าที>ไม่เหมาะสม ค่าอัตราผลตอบแทนการลงทุน
ที>ได้ก็จะผิดพลาดมาก
การวิเคราะห์ ผล
1. ควรมีผลตอบแทนการลงทุนไม่นอ้ ยกว่าอัตราดอกเบีIยเงินกูจ้ ากสถาบันการเงิน
2. ต้อ งพิ จ ารณาถึ งทางเลื อ กอื> น ที> จะลงทุ นแล้ว ให้อ ัต ราผลตอบแทนดี ก ว่าหรื อ ไม่ หากเลื อ กลงทุ น ผิ ด จะเสี ย โอกาสหรื อ
ประโยชน์ที>ควรจะได้รับ
11.3 การวิเคราะห์ ระยะเวลาคืนทุนแท้ จริงโดยคํานึงถึงอัตราดอกเบียK (Complex Break Even / Payback period)

ข้ อดี
ให้ผลการวิเคราะห์ที>ถูกต้องใกล้เคียงสภาพการใช้จริ งและเหมาะสม มีการคิดอัตราดอกเบีI ยแบบดอกเบีI ยทบต้น (Compound
Interest) เพื>อบอกว่าการลงทุนนีIจะคืนทุนแท้จริ งเมื>อใด ควรลงทุนนีIหรื อไม่
ข้ อเสีย
1. การคํานวณด้วยมือไม่สะดวก ต้องใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วย
2. ผูใ้ ช้ควรมีพIืนฐานทางด้านการบัญชี เศรษฐศาสตร์ การเงิน จึงจะเจ้าใจวิธีคิด
การวิเคราะห์ ผล
ควรมีระยะเวลาคืนทุนที>แท้จริ ง ไม่นานเกินระยะเวลารับประกัน และ อายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์ มิฉะนัIนจะเกิดความเสี> ยงของ
การลงทุนที>ไม่สามารถยอมรับได้
ตัวอย่ างผลการคํานวณ เช่ น

ตารางแสดงตัวอย่ างผลการคํานวณระยะเวลาคืนทุน จากการใช้ บัลลาสต์ ประหยัดพลังงานสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ a‹ วัตต์


ใช้ บัลลาสต์ กาํ ลังสู ญเสียตํา ใช้ บัลลาสต์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ระยะเวลาคืนทุน คิดระยะเวลาคืนทุน คิดอัตราดอกเบียC เงินกู้ คิดระยะเวลาคืนทุน คิดอัตราดอกเบียC เงินกู้
อย่ างง่ าย 5% อย่ างง่ าย 5%
การเปลี>ยนบัลลาสต์ในอาคารเก่า 5.6 ปี 6.6 ปี 7.2 ปี 8.9 ปี
การติดตัIงบัลลาสต์ในอาคารใหม่ 3.6 ปี 4.0 ปี 6.3 ปี 7.5 ปี
หมายเหตุ อ้ างอิงสมมติฐาน ราคาบัลลาสต์ ธรรมดา LM บาท ราคาบัลลาสต์ กาํ ลังสูญเสี ยตํา OP บาท ราคาบัลลาสต์ อิเล็กทรอนิ กส์ QMP บาท
ค่ าแรงในการเปลียนบัลลาสต์ MP บาท อัตราค่ าไฟฟ้ า R.R บาท/กิโลวัตต์ ชัวโมง เปิ ดใช้ งานวันละ TP ชม. เดือนละ RR วัน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-41

12. กรณีศึกษาตัวอย่ างการออกแบบ (Lighting Design Case Studies)

12.1 ตัวอย่ างการออกแบบแสงสว่ างแบบให้ แสงทัวไป


ต้องการระดับความส่องสว่างไม่นอ้ ยกว่า o…… ลักซ์ สมํ>าเสมอทัว> ทัIงห้อง ห้องตัวอย่าง กว้าง p… ม. ยาว p` ม. สู ง g ม. มีสีเพดานสี
ขาว สี ผนังสี เทาอ่อน สี พIืนสี เทาแก่
จากสี และชนิ ดของเพดาน ผนัง พืIน ของห้อง เปิ ดตารางพบว่ามี ค่าสัมประสิ ทธิ‹ การสะท้อนแสง เป็ น ’… % o… % p… %
ตามลําดับ
คํานวณพืIนที>หอ้ ง = กว้าง x ยาว = p… x p` = p`… ตร.ม.
เลือกชนิ ดหลอดไฟ เป็ นหลอดฟลูออเรสเซนต์ g“ วัตต์ โดยเลือกใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ประสิ ทธิ ภาพสู ง ที>ให้ความสว่าง
g,g…… ลูเมน และ เลือกใช้บลั ลาสต์กาํ ลังสูญเสี ยตํ>า ชนิดค่าตัวประกอบกําลังสูง (low loss high power factor ballast)
เลือกชนิ ดโคมไฟ เป็ นโคมตะแกรง `xg“ วัตต์ แบบโคมฟลูออเรสเซนต์ประสิ ทธิ ภาพสู ง ที>มีการกระจายแสงกว้างแบบปี ก
ค้างคาว เพื>อให้กระจายแสงทัว> ห้อง จากแค็ตตาล๊อกของโคมไฟยี>ห้อหนึ> ง มีตารางค่า สัมประสิ ทธิ‹ การใช้ (Coefficient of
Utilization, CU) ของโคมไฟ โดยดู จ ากตารางของโคมตะแกรงรุ่ นตัวอย่างตามลักษณะที> ต ้องการ เลื อกชนิ ดของค่ า
สัมประสิ ทธิ‹การสะท้อนแสงของ เพดาน ผนัง พืIน เป็ น ’… % o… % p… % (หรื อ เรี ยกว่า ’op) ไปดู ในตารางหาค่าสัมประสิ ทธิ‹
การใช้ (CU) ของโคมไฟ พบว่ามีค่า CU = ….q’ (หมายเหตุ ค่า Room Cavity Ratio (RCR) = o / RI)
คํานวณหาค่าความส่องสว่างเฉลี>ย lux = lm x UF x MF / พืIนที>
ตารางแสดงตัวอย่ างค่ าสัมประสิทธิyการใช้ (Coefficient of Utilization, CU) ของโคมฟลูออเรสเซนต์ ตะแกรง
Ceiling 70% 50% 30%
Luminaire Type Walls 50% 30% 10% 50% 30% 10% 30% 10%
Room Index Coefficient of Utilization for 10 % Floor Reflectance
โคมไฟให้แสงส่องลง 0.6 0.37 0.31 0.27 0.36 0.31 0.27 0.31 0.27
มี ค่ า ประสิ ท ธิ ภ าพของ 0.8 0.45 0.41 0.37 0.45 0.40 0.37 0.40 0.37
โคม 79 % 1 0.49 0.45 0.42 0.49 0.45 0.42 0.45 0.42
1.25 0.53 0.49 0.46 0.53 0.49 0.46 0.48 0.46
Maintenance Factor 1.5 0.56 0.53 0.49 0.55 0.52 0.49 0.51 0.49
Good.................0.75 2 0.61 0.58 0.53 0.60 0.57 0.55 0.56 0.55
Average............0.65 2.5 0.66 0.63 0.60 0.64 0.62 0.60 0.61 0.60
Poor..................0.55 3 0.67 0.65 0.62 0.66 0.64 0.62 0.63 0.61
4 0.71 0.68 0.66 0.69 0.67 0.65 0.66 0.64
5 0.72 0.70 0.67 0.71 0.68 0.67 0.67 0.66
สําหรั บการเลื อกใช้โคมไฟประสิ ทธิ ภาพสู งนัIน มิ ใช่ พิจารณาจากค่า ประสิ ทธิ ภาพของโคมไฟ แต่ตอ้ งพิ จารณาจากค่ า
สัมประสิ ทธิ‹การใช้ประโยชน์ (CU) อันแสดงถึงปริ มาณแสงที>โคมไฟส่องมาถึงพืIนที>ทาํ งาน ซึ>งผูผ้ ลิตโคมไฟจะต้องให้ตาราง
มา ค่า CU จะเริ> มจากการหา อัตราส่วนช่องว่างของห้อง (Room Cavity Ratio, RCR) หรื อ ดัชนีหอ้ ง (Room Index, Kr) โดยที>

RCR = ! x ความสู งจากพืนงานของโคมไฟ x (กว้ าง+ยาว) / (กว้ างxยาว) = ! / Kr

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-42

จากนัIนจึงพิจารณา ค่าความสามารถในการสะท้อนแสงของ เพดาน พนัง และพืIน ซึ>งสําหรับโรงงานโดยทัว> ไป จะมีค่า ’…, o…


และ p…% ตามลําดับ เมื>อทราบค่าทัIงหมดแล้ว ก็จะหาค่า SC จากตารางได้ เช่น ถ้า Kr = p หรื อ RCR = o โคมมีค่า CU = ….q‰
จากค่า CU ที>คาํ นวนได้ เมื>อทําการกําหนดระดับความสว่างที>ตอ้ งการ โดยพิจารณาจากมาตรฐานต่างๆ ที>มีอยูใ่ นข้อกําหนด
ระบบแสงสว่าง จะสามารถคํานวณหาจํานวนโคมไฟที>ตอ้ งติดตัIงจาก
E=F/A
E = [N x n x Fl x CU x LLF] / A
นันคือ N = [E x A] / [n x Fl x CU x LLF]
โดยที> E คือ ค่าระดับความสว่างที>ตอ้ งการ (lux หรื อ lm/m`)
F คือ ฟลักซ์การส่องสว่างทัIงหมดที>ตกลงบนพืIนที>ทาํ งาน (lm)
A คือ พืIนที>ทาํ งาน (m`)
N คือ จํานวนโคมไฟ (โคม)
n คือ จํานวนหลอดไฟในโคมไฟ p โคม (หลอด/โคม)
Fl คือ ฟลักซ์การส่องสว่างของหลอดไฟ p หลอด (lm/หลอด)
LLF คือ ค่าแฟกเตอร์ การสู ญเสี ยแสง (Light Loss Factor) ซึ> งเป็ นผลรวมของความเสื> อมของหลอดและความ
เสื> อมจากโคมไฟสกปรก = LLD x LDD
และเมื>อต้องการคํานวณถึงค่าพลังงานไฟฟ้ าที>ใช้ในระบบแสงสว่างต่อตารางเมตรของพืIนที>ทาํ งาน จะสามารถคํานวณได้จาก
E = [N x n x Fl x CU x LLF] / A
[N x n] / A = E / [Fl x CU x LLF]
[N x n x P] / A = E x P/ [Fl x CU x LLF]
นันคือ W/m = E / [LPW x CU x LLF ]
โดยที> P คือ กําลังไฟฟ้ าที>ใช้ของหลอดไฟ p หลอด (W)
LPW คือ ค่าประสิ ทธิภาพของแสง (lm/W) = Fl / P
จะเห็นได้วา่ ค่ากําลังไฟฟ้ าที>ใช้ในระบบแสงสว่างจะมากหรื อน้อยขึIนกับ ปั จจัย q ข้อ คือ
1. ค่าระดับความสว่างที>ตอ้ งการ ถ้าต้องการระดับความสว่างสูงก็ยอ่ มต้องใช้พลังงานมาก
2. ค่าประสิ ทธิภาพของแสง ถ้าใช้หลอดไฟที>มีประสิ ทธิภาพของแสงสูงก็จะใช้พลังงานน้อยลง
3. ค่าสัมประสิ ทธิ‹การใช้ประโยชน์ ถ้าเลือกโคมไฟที>มีค่า CU สูงก็จะใช้พลังงานน้อยลง
ค่าตัวประกอบการสูญเสี ยแสง ถ้าใช้หลอดไฟที>มีความเสื> อมของหลอดตํ>า (ค่า LLD ใกล้ p) หรื อมีการทําความสะอาดโคมไฟ
บ่อย (ค่า LDD ใกล้ p) ก็จะใช้พลังงานน้อยลง
12.2 ตัวอย่ างการออกแบบแสงสว่ างแบบให้ แสงทัวไป และ มีโคมไฟเสริมเฉพาะจุดใช้ งาน
เช่น ออกแบบให้ได้ระดับความส่องสว่างไม่นอ้ ยกว่า `…… ลักซ์ ทัว> ทัIงห้อง และ มีโคมไฟติดตัIงที>โต๊ะทํางาน ให้มี ระดับความส่ อง
สว่างไม่นอ้ ยกว่า o…… ลักซ์ ที> บริ เวณโต๊ะทํางาน จะเห็นได้ว่า การออกแบบด้วยหลักการนีI จะช่วยประหยัดพลังงานได้มากกว่าตัวอย่าง
ข้างต้น โดยการ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-43

ก. ออกแบบให้แสงสว่างทัว> ไป ไม่สูงมากนัก เพื>อประหยัดพลังงาน โดยมีขอ้ ควรระวัง คือ ต้องมีระดับความส่ องสว่างขัIนตํ>า ไม่


น้อยกว่าที>มาตรฐานแนะนํา
ข. ออกแบบเพิ>มระดับความสว่างเฉพาะบริ เวณจุดใช้งาน เช่น โต๊ะทํางาน เพื>อให้มีความส่ องสว่างเพิ>มสู งขึIนเพียงพอในการใช้
งานตามจุดที>ตอ้ งการ โดยมีขอ้ ควรระวัง คือ ต้องเลือกโคมไฟที>เหมาะสม ที>ไม่ทาํ ให้เกิดแสงบาดตา
12.3 ตัวอย่ างการคํานวณระยะเวลาคืนทุนของการเปลียนหลอดไส้ มาเป็ นหลอดคอมแพกต์ ฟลูออเรสเซนต์
เดิมใช้หลอดไส้ขนาด “… วัตต์ อายุการใช้งาน p,……… ชม. ราคา `… บาท จํานวน p หลอด เปิ ดใช้งานวันละ g ชม./วัน g“o วัน/ปี
หากเปลี>ยนไปใช้หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ ชนิ ดมีบลั ลาสต์อิเล็กทรอนิ กส์ในตัว ขนาด pg วัตต์ อายุการใช้งาน o,……… ชม. ราคา
p‡… บาท จํานวน p หลอด ซึ>งให้ความส่องสว่างใกล้เคียงกัน จะประหยัดค่าไฟได้ปีละเท่าไร
จํานวนชั>วโมงการใช้งาน gxg“o = p,…‰o ชม./ปี แสดงว่าในการใช้งานดังกล่าวหากใช้หลอดไส้ จะมี อายุการใช้งานหลอด
ประมาณหลอดละ p ปี แต่หากใช้หลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์จะมีอายุการใช้งานหลอดได้นานประมาณ o ปี การเปลี>ยนจากหลอดไส้
มาเป็ นหลอดคอมแพกต์ฟลูออเรสเซนต์ จะสามารถประหยัดพลังงานได้ปีละ (“…-pg) x g x g“o / p,……… = op.q“o หน่วย/ปี ซึ> งหากใช้
ไฟฟ้ าในอัตราค่าไฟหน่วยละ ` บาท ก็จะประหยัดได้ op.q“o x ` = p…`.‰g บาท/ปี ส่วนระยะเวลาคืนทุนในการเปลี>ยนหลอด จะประมาณ
p‡…/p…`.‰g = p.’ ปี ซึ>งจะเห็นว่าระยะเวลาคืนทุนจะขึIนกับราคาหลอดไฟและจํานวนชัว> โมงในการเปิ ดใช้งานด้วย และต้องระวังการซืI อ
หลอดไฟราคาแพง แต่มีอายุการใช้งานสัIน อาจไม่คืนทุนก็เป็ นได้

13. สรุ ป
การประหยัดพลังงานแสงสว่างมีความสําคัญ เพราะเป็ นการใช้พลังงานหลักอย่างหนึ>งของอาคาร วิธีการประหยัดสามารถทําได้ง่ายๆ โดย
การปิ ดไฟเมื>อไม่ใช้ และ นอกจากนัIนยังสามารถประหยัดได้มากขึIนถ้ามีการออกแบบที> เหมาะสม โดยเอาใจใส่ ในหลักการประหยัด
พลังงานตัIงแต่แรก
อย่างไรก็ตาม แสงสว่างก็มีผลต่อประสิ ทธิภาพในการทํางาน เพราะถ้าผูใ้ ช้มองเห็นได้ไม่ดี ก็ไม่สามารถทํางานให้ดีได้ ดังนัIนคงจะไม่เกิด
ประโยชน์ถา้ หากจะประหยัดแสงสว่าง แล้วส่ งผลให้ประสิ ทธิ ภาพในการทํางานต้องลดลง ดังนัIนการจะประหยัดพลังงานแสงสว่างได้
อย่างเหมาะสมจึ งจําเป็ นต้องใช้เทคนิ คและความรู ้ประกอบกัน เอกสารนีI ให้ขอ้ แนะนําเบืI องต้นสําหรับการออกแบบแสงสว่าง ให้ใช้
พลังงานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึIน โดยกล่าวถึงข้อแนะนํา และ ข้อควรระวังที>จาํ เป็ นต้องพิจารณาต่างๆ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที \-44

เอกสารอ้ างอิง
1. ระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง, สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน, กระทรวงพลังงาน
2. ประโมทย์ อุณห์ไวทยะ, เทคนิคแสงสว่าง, p‰‡p
3. ดร.ชํานาญ ห่อเกียรติ, เทคนิคการส่องสว่าง, p‰‰’
4. ประสิ ทธิ‹ พิทยพัฒน์, การออกแบบและใช้งานระบบแสงสว่างอย่างมีประสิ ทธิภาพ, p‰‡’
5. ไชยะ แช่มช้อย, การเพิ>มประสิ ทธิภาพของการให้แสงสว่าง
6. ไชยะ แช่มช้อย, พืIนฐานวิศวกรรมการส่องสว่าง เล่มที> p, เอ็มแอนด์อี, `oqq
7. วัฒนา ถาวร, การส่องสว่าง
8. พิบูลย์ ดิษฐอุดม, การออกแบบระบบแสงสว่าง, ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี `o`‡
9. ศุลี บรรจงจิตร, วิศวกรรมการส่องสว่าง, ซีเอ็ด, `og‡
10. ธนบูรณ์ ศศิภานุเดช, การออกแบบระบบแสงสว่าง, ซีเอ็ด, `ogg
11. มงคล ทองสงคราม, วิศวกรรมการส่องสว่าง, `og“
12. TIEA-GD ……p แนวทางการประหยัดพลังงานไฟฟ้ าแสงสว่าง, สมาคมไฟฟ้ าแสงสว่างแห่งประเทศไทย
13. TIEA–GD ……` ข้อแนะนําการส่องสว่างสําหรับห้องที>มีจอคอมพิวเตอร์, สมาคมไฟฟ้ าแสงสว่างแห่งประเทศไทย
14. TIEA–GD ……g ข้อแนะนําระดับความส่องสว่างภายในอาคาร, สมาคมไฟฟ้ าแสงสว่างแห่งประเทศไทย
15. TIEA–SP ……` ศัพท์ไฟฟ้ าแสงสว่าง, สมาคมไฟฟ้ าแสงสว่างแห่งประเทศไทย
16. ว.ส.ท. `……q-qq มาตรฐานระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุ กเฉิ นและป้ ายทางออกฉุ กเฉิ น, วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทยในพระบรม
ราชูปถัมภ์
17. คุณลักษณะเฉพาะของอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
18. คู่มือการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
19. รศ.วัฒนะ จูฑะวิภาต, ศิลปการออกแบบตกแต่งภายใน
20. เอกสารเผยแพร่ ฉบับที> Bg เรื> อง “ข้อแนะนําการประหยัดพลังงานในอาคาร”
21. เอกสารเผยแพร่ ฉบับที> B’ เรื> อง “หลอดไฟชนิดใหม่ช่วยประหยัดพลังงาน”
22. เอกสารเผยแพร่ รหัส I’ เรื> อง “การลดค่าใช้จ่ายด้วยการประหยัดพลังงาน”
23. เอกสารเผยแพร่ ชุด ประสิ ทธิภาพการใช้พลังงาน เรื> อง “หลอดไฟ และ บัลลาสต์”
24. เอกสารเผยแพร่ ชุด ความรู ้พIืนฐานเกี>ยวกับการใช้พลังงาน เรื> อง “แสงสว่าง”
25. เอกสารเผยแพร่ ชุด ความรู ้พIืนฐานเกี>ยวกับการใช้พลังงาน เรื> อง “หลอดไฟทัว> ไป”
26. เอกสารเผยแพร่ ชุด ความรู ้พIืนฐานเกี>ยวกับการใช้พลังงาน เรื> อง “หลอดฟลูออเรสเซนต์”
27. เอกสารเผยแพร่ ชุด ความรู ้พIืนฐานเกี>ยวกับการใช้พลังงาน เรื> อง “บัลลาสต์ประสิ ทธิภาพสูง”
28. เอกสารเผยแพร่ ชุด ความรู ้พIืนฐานเกี>ยวกับการใช้พลังงาน เรื> อง ”ระบบควบคุมปิ ด-เปิ ดไฟฟ้ าแสงสว่าง”
29. ’… เรื> องน่ารู ้เทคนิคไฟฟ้ า, รวมบทความเกี>ยวกับไฟฟ้ าจากวารสารเทคนิค (ชุดที> p)
30. op เรื> องน่ารู ้เทคนิคไฟฟ้ า, รวมบทความเกี>ยวกับไฟฟ้ าจากวารสารเทคนิค (ชุดที> `)
31. g“ เรื> องน่ารู ้เทคนิคไฟฟ้ า, รวมบทความเกี>ยวกับไฟฟ้ าจากวารสารเทคนิค (ชุดที> q)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-1

บทที ^ แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร (Air-conditioning System Design)

1. แนวทางการออกแบบและประยุกต์ ใช้ ระบบปรับอากาศอย่ างมีประสิ ทธิภาพ


ขัIนตอนการออกแบบระบบปรับอากาศและระบายอากาศ โดยทัว> ไป มีขI นั ตอนดังต่อไปนีI
1.1 คํานวณภาระการทําความเย็น
การคํานวณภาระการทําความเย็น โดยอาศัยข้อมูลเบืIองต้น จากแบบสถาปั ตยกรรมเช่น วัสดุ ผนัง และหลังคา รู ปด้านของอาคาร
แบบผังพืIน ลักษณะการใช้พIืนที> จํานวนคนที>ใช้พIนื ที> เป็ นต้นและต้องมีขอ้ มูล ภูมิอากาศของท้องถิ>นที>จะคํานวณออกแบบ เช่น อุณหภูมิ
กระเปาะแห้งและกระเปาะเปี ยก, ความร้อนจากดวง อาทิ ตย์ เป็ นรายชั>วโมงของทุกเดื อน จากนัIนจะนํามาทําการคํานวณโดยอาศัย
คอมพิวเตอร์โปรแกรม
เมื>อได้ผลการคํานวณภาระการทําความเย็น จะนําผลไปคํานวณในไซโครเมตริ กต่อ เพื>อให้ได้ปริ มาณ ลมเย็นที>หมุนเวียนในระบบ
รวมทัIงสภาวะของอากาศในพืIนที>ปรับอากาศนัIนๆ
1.2 กําหนดปริมาณลมทีจะต้ องจ่ ายเข้ าพืนK ที และลมทีรับกลับ รวมทัKงอากาศทีจะต้ องเติมเข้ าและดูด ออกจาก พืนK ทีต่ างๆ
เมื>อทราบปริ มาณอากาศที>จะต้องจ่ายเข้าไปในแต่ละพืIนที>ก็สามารถแบ่งจ่ายปริ มาณลมเย็นในแต่ละ พืIนที>ให้สอดคล้องกับภาระ
ความเย็นที>ตอ้ งการ จากนัIนก็จะสามารถหาขนาดเครื> องส่ งลมเย็นโดยรวมได้ และ เมื>อทราบขนาดเครื> องส่ งลมเย็น ก็จะสามารถคํานวณ
อัตราไหลนํIาเย็นที>ตอ้ งการได้ เมื>อทราบตําแหน่งของเครื> อง ส่งลมเย็น และอัตราไหลนํIาเย็นที>ตอ้ งการ ก็จะสามารถกําหนดแนวท่อนํIาเย็น
และคํานวณขนาดท่อนํIาเย็นได้
1.3 กําหนดขนาดและตําแหน่ งหัวจ่ ายลมเย็นในแต่ ละพืนK ที รวมทัKงแนวท่ อลม และขนาดท่ อลม
เมื>อทราบปริ มาณลมเย็นที>ตอ้ งการและกําหนดห้องเครื> องปรับอากาศได้แล้ว ก็จะทําการเลือก ชนิ ดของ หัวจ่ายลมเย็นที>จะใช้ให้
เหมาะสมกับปริ มาณลมจ่าย และสอดคล้องกับงานสถาปั ตยกรรมในแต่ละพืIนที> จากนัIน ก็จะทําการกําหนดแนวท่อลม เพื>อนําลมเย็นจาก
เครื> องส่ งลมเย็นไปจ่าย การกําหนดแนวท่อลมนีI จะต้องคํานึ งถึง การประหยัดพลังงาน และความสมดุลในระบบท่อลม ซึ> งจะขึIนอยูก่ บั
ประสบการณ์ของผูอ้ อกแบบแต่ละคน
1.4 กําหนดขนาดเครืองทํานําK เย็น, เครืองสู บนําK , หอระบายความร้ อน, ออกแบบห้ องเครืองทํานําK เย็น
เมื>อทราบภาระการทําความเย็นของทัIงอาคาร ก็จะสามารถกําหนดขนาดเครื> องทํานํIาเย็นและอุปกรณ์ ประกอบได้ เมื>อทราบขนาด
และจํานวนแล้ว ก็จะสามารถออกแบบรายละเอียด สําหรับห้องเครื> องทํานํIาเย็น ให้ เหมาะสมได้
การออกแบบข้างต้น ยังขึIนกับประสบการณ์ทาํ งาน ของวิศวกรผูอ้ อกแบบซึ> งอาจจะชํานาญ ในแต่ละ ส่ วน แตกต่างกันไป ทัIงนีI
ผูอ้ อกแบบยังต้องเข้าใจปั จจัยต่างๆดังนีI
1.4.1 การคํานวณภาระการทําความเย็น
การคํานวณภาระการทําความเย็นหรื อ Cooling Load Calculation ถือเป็ นขัIนตอน ที>เป็ นหลักการ พืIนฐานที>สาํ คัญมาก ก่อนการ
คํานวณในขัIนตอน โดยละเอียดต่อๆไป หากคํานวณผิด จะทําให้การออกแบบ ต่อจากนีI ไปผิดพลาดได้ การคํานวณในขัIนนีI ตอ้ งมีการ
กําหนดเกณฑ์ ที>จะใช้ในการออกแบบ ที>ถูกต้อง และ สอดคล้องกับประเภท และการใช้งานอาคารที> จะออกแบบเกณฑ์ดงั กล่าวนีI เองจะ
เป็ นปั จจัยสําคัญ ที>จะเกี>ยว ข้องกับการใช้พลังงานในอาคารต่อไปในอนาคต

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-2

ในปั จจุบนั มีโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ช่วยในการคํานวณ ทําให้ผอู ้ อกแบบมีความสะดวกในการคํานวณ และผลการคํานวณแม่นยํา


มากขึIน แต่ตอ้ งไม่อาศัย ความสะดวกนีI จนมองข้ามการวิเคราะห์ตวั เลขการคํานวณ ให้เกิ ดความถูกต้อง หากพบค่าที> ผิดสังเกตจะได้
ตรวจสอบได้
อาคารทัว> ไป ภาระความร้อนจากแสงอาทิ ตย์ ภาระความร้ อนจากอากาศภายนอก รวมทัIงภาระ ความ ร้อนอื>นๆ จะมี สัดส่ วน
โดยประมาณพอกัน และสําหรับอาคารที> มีค่า OTTV ตํ>าก็จะมีสัดส่ วนของภาระความร้อน จากแสงอาทิ ตย์ลดลง อาคารที>มีระบบการ
ป้ องกันการแทรกซึมของอากาศภายนอก ที>ดีก็จะมีสดั ส่วนของ ภาระ ความร้อนจากอากาศภายนอกลดลง
1.4.2 สภาวะอากาศทีผู้อยู่อาศัยรู้ สึกสบาย
ภาวะอากาศที>ทาํ ให้ผอู ้ ยูอ่ าศัยในพืIนที>รู้สึกสบายโดยทัว> ไปจะออกแบบให้อยูใ่ นเกณฑ์เบืIองต้นดังนีI
ระดับอุณหภูมิ 24 ±2 C
ความชืIน 55 ±5% RH
ความเร็ วลมในพืIนที> 15-25 ฟุตต่อนาที
ปริ มาณอากาศบริ สุทธิ‹ ที>เข้ามาเติมทดแทนปริ มาณอากาศที>ถูกดูดทิIงออกไป หรื อปริ มาณ CO2 ในพืIนที>ไม่ควรเกิน 2% หรื อ
200 PPM
ทัIงนีI เกณฑ์ดงั กล่าวนีIจะขึIนกับกิจกรรมที>ดาํ เนินอยูซ่ > ึงจะแตกต่างกันออกไป ในแต่ละพืIนที>
เกณฑ์ดงั กล่าวนีIจะมีผลต่อการออกแบบระบบและการเลือกระบบ รวมไปถึงพลังงานที>ใช้ในระบบ
1.4.3 รู ปแบบภาระการทําความเย็นโดยรวม (Cooling Load Profile)
หลังจากที>ได้ผลการคํานวณภาระความเย็นที>ตอ้ งการในแต่ละพืIนที> ณ เวลาใดเวลาหนึ> งแล้ว ก็จะมีการ คํานวณภาระการทําความ
เย็นโดยการคํานวณทุกช่วงเวลาซึ>งจะทําให้เห็นภาพรวมของภาระความเย็นที>ตอ้ งการจริ ง ในแต่ละช่วงเวลา และจะมีผลต่อการเลือกระบบ
และขนาดของระบบปรับอากาศที>ใช้ ซึ> งจะมีผลต่อไปยังการ ใช้พลังงาน ในช่วงเวลาต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ>ง เมื>อจะใช้ในการวิเคราะห์
ขนาดของระบบทําความเย็นแบบ ส่วนกลาง ทัIงในระบบหลัก ระบบสํารอง การกักเก็บความเย็น ระบบ District Cooling และระบบ Co-
generation ต่อไป
1.4.4 Psychometric Chart
Psychometric Chart ถือเป็ นเครื> องมือพืIนฐานที>นาํ มาใช้ประกอบการออกแบบเลือกเครื> องปรับอากาศ ความรู ้ ความเข้าใจในการใช้
Psychometric Chart จะทําให้ผูอ้ อกแบบสามารถเลือกใช้เครื> องส่ งลมเย็นได้อย่าง ถูกต้อง ซึ> งจะมีผลต่อสมรรถนะของระบบปรับอากาศ
การใช้ Psychometric Chart ให้เป็ นประโยชน์อาจจะเรี ยก ได้วา่ เป็ นทัIงศาสตร์และศิลป์ ทัIงนีIขI ึนกับประสบการณ์ ในการออกแบบ
1.4.5 ระบบการทําความเย็น
การเลือกระบบทําความเย็นให้สอดคล้องกับ ประเภทของการใช้งาน ภาระในแต่ละช่วงเวลา จะเป็ น ปั จจัยในการคํานึงถึงเรื> องการ
อนุรักษ์พลังงานในขัIนปฐมภูมิ การเลือกระบบที>เหมาะสมและใช้พลังงาน ตํ>าที> สุด เท่าที> จะงบประมาณจะมี และสอดคล้องกับผลของ
ระยะเวลาคืนทุนที>เหมาะสม จะทําให้ มีการอนุรักษ์ พลังงาน เป็ นไปได้อย่างสู งสุ ด ก่อนที>จะมาพิจารณาเรื> องการอนุรักษ์พลังงานที>จะ
ดําเนินการ หลังจากติดตัIงอุปกรณ์ ต่างๆ แล้ว

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-3

1.4.6 การวางตําแหน่ งห้ องเครืองหลัก


ห้องเครื> องหลักก็เปรี ยบเสมือนหัวใจของการดําเนิ นงานระบบ ห้องเครื> องที>อยู่ ในตําแหน่งที>ไม่เหมาะสม ก็จะทําให้ระบบต้อง
ทํางานหนัก หรื อต้องใช้พลังงานมากไปจนตลอดอายุการ ใช้งาน เพราะห้องเครื> องหลัก เมื>อกําหนด ให้อยูท่ ี>ใดแล้ว จะไม่สามารถย้ายไป
บริ เวณอื>นได้ เนื>องจากมีค่าใช้จ่ายในการเคลื>อนย้ายสูงหรื ออาจ เป็ นไปไม่ได้เลยเนื>องจากสภาพอาคารหรื อโครงสร้างอาคารไม่สอดคล้อง
กับนํIาหนักของเครื> อง
ในกรณี ที>เลือกใช้ เครื> องปรับอากาศแบบแยกส่ วนหรื อแบบครบชุดในตัว การกําหนดห้องไฟฟ้ า หลักให้อยู่ กลางภาระการจ่าย
ไฟฟ้ า(Center of Load) จะทําให้การสูญเสี ยในระบบการจ่ายไฟฟ้ าลดลงและ ค่าใช้จ่ายใน การลงทุนจะตํ>ากว่า
ในกรณี ของระบบทํานํIาเย็นขนาดใหญ่ ห้องเครื> องทํานํIาเย็นหลักและห้องไฟฟ้ าหลักควรจะอยูด่ ว้ ยกัน เนื> องจากห้องเครื> องทํานํIา
เย็นหลักเป็ นห้องที>ใช้ไฟฟ้ ามากที>สุดในอาคารคือประมาณ 30-50% และอยูบ่ ริ เวณ กลางอาคาร
สําหรับอาคารที>มีโพเดียม (Podium) บริ เวณหลังคาโพเดียมเป็ นตําแหน่งหนึ>งที>เหมาะสม เพราะนอกจาก จะสามารถจัดให้อยูใ่ กล้
บริ เวณกลางอาคารแล้ว ยังสะดวกกับการระบายความร้อนออกจากห้องเครื> องหลัก โดยที> ไม่ตอ้ งเดินท่อระบายความร้อนไกล หากเป็ น
กลุ่มอาคาร ก็ควรจะพิจารณาวางห้องเครื> องหลักให้อยูก่ ลางภาระการจ่ายความเย็น (Center of Cooling Load)
การวางห้องเครื> องหลักที>ดี จะทําให้แรงเสี ยดทาง และการสู ญเสี ยพลังงานในการเดินระบบทําความเย็น และ การจ่ายความเย็น
ลดลงได้เป็ นอย่างมาก
1.4.7 การวางแกนระบบ
เช่นเดียวกับร่ างกายของมนุษย์ที>มีกระดูกสันหลังเป็ นแกนของร่ างกาย อาคารก็จาํ เป็ นที>จะต้อง มีแกนระบบที>ชดั เจน การวางแกน
ระบบ ทําให้การก่อสร้างและการบริ หารจัดการ การดูแลระบบ ทําได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ ที>จะนํามาซึ> งการประหยัดพลังงาน ทัIงในส่ วน
การทํางานของระบบ และงานเกี>ยว เนื>องทัIงหมด รวมทัIงการปรับแต่ง การปรับสมดุลของระบบที>มีความสําคัญเป็ นอย่างมาก

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-4

2. การคํานวณภาระทางความเย็น

2.1 การคํานวณภาระทางความเย็นทีใช้ ในอาคาร


การคํานวณหาค่าภาระทางความเย็น เพื>อใช้ในการกําหนดหาขนาดของเครื> องปรับอากาศ เป็ นการ คํานวณหา อัตราการความร้อน
ที>จะต้องถูกนําออกไปจากพืIนที>ปรับอากาศ (Space Heat Extraction Rate) ซึ>งจะนํามาหา ภาระความเย็นที>คอล์ยเย็นต้องการ (Cooling Coil
Load) หรื อเท่ากับผลรวมของอัตราการนําความร้อนออก ของทุกพืIนที> กับ ค่าความร้อนที>เกิดขึIนจากระบบจ่ายความเย็น รวมทัIงค่าความ
ร้อน และ ความชืIน จากอากาศที> นําเข้าสู่อุปกรณ์ทาํ ความเย็น
ในการคํานวณหาภาระการทําความเย็นที> ตอ้ งการใช้จริ งในอาคาร จะทําการคํานวณทัIงแบบ Block Cooling Load และ Zone
Cooling Load และจะดูวา่ Peak เกิดเมื>อเวลาใด โดยควรจะมีการแบ่ง ขอบเขตการคํานวณ ที>ชดั เจน ซึ> งโดยทัว> ไป จะแบ่งเป็ น Perimeter
Zone และ Inner Zone
เมื>อสามารถกําหนดช่วงเวลาที> เกิ ดค่าความร้อนสู งสุ ดแล้ว ก็จะรวมค่าความร้อนในแต่ละส่ วน เข้าด้วยกันเพื>อ กําหนดขนาดทํา
ความเย็นของระบบทัIงหมดในอาคารนัIนๆ โดยทัว> ไป จะมีการเผื>อ เพิ>มเติมอีก 5-10 % ซึ> งจะใช้ ในการเลือกขนาดเครื> องทําความเย็น
สําหรับอาคารนัIน ต่อไป
เมื>อได้ค่าความเย็นที> ตอ้ งการในแต่ละส่ วนแล้ว ก็จะทําการคํานวณหาภาระ ความเย็นที>ตอ้ งการสู งสุ ด ในแต่ละ ห้องของอาคาร
เพื>อกําหนดขนาดทําความเย็นของเครื> องปรับอากาศที>ใช้
2.2 วิธีการคํานวณ
การคํานวณค่าภาระทางความเย็น ของอาคารโดยทัว> ไป มีวธิ ีที>นิยมใช้อยู่ 3 แบบ คือ
2.2.1 Heat Balance Method
เป็ นวิธีการหาค่าภาระความเย็นโดยการคํานวณค่าความสมดุลของการถ่ายเทความร้อนทัIงในรู ปการนําการพา และการแผ่รังสี ของ
ผิวแต่ละผิวภายในห้องกับค่าการสมดุลของการถ่ายเทความร้อนในรู ปการพาของ อากาศในห้อง
2.2.2 Total Equivalent Temperature Differential and time-average Method
เป็ นวิธีการคํานวณค่า Total Equivalent Temperature Differential (TETD) สําหรับผนังและหลังคาซึ> งจะ สัมพันธ์กบั Sol-air
Temperature และอุณหภูมิของห้อง จากนัIน ค่าที>ได้ไปคํานวณหาค่า heat gain จากนัIน จะใช้เทคนิ คของ Time-Average ทําการเฉลี>ยค่า
ส่วนของความร้อนจากการแผ่รังสี แล้วจึงนําไป รวมกับค่าความร้อนจากองค์ประกอบอื>น
2.2.3 Transfer Function Method
เป็ นวิธีการ คํานวณโดยอาศัยวิธี Heat Balance Method ร่ วมกับ ค่าความแตกต่างระหว่าง Sol-air Temperature และอุณหภูมิ ภายใน
ห้องเพื>อทําการคํานวณหาค่า Heat Gain ส่วน Heat Gain จาก แหล่งความร้อนภายในจะนําคํานวณสําหรับภาระในชัว> โมงนัIนโดยตรง และ
จะนําค่าสัมประสิ ทธิ‹ ของ Room Transfer Function (RTF) ไปใช้กบั ค่า Heat Gain ในส่ วนขององค์ประกอบที>เป็ นการแผ่รังสี เพื>อนําผล
ของความสามารถในการสะสมความร้อน ของวัตถุในห้องไปพิจารณา ประกอบในการแปลงค่า Heat Gain ไปเป็ นค่าภาระทางความเย็น
ซึ>งในการคํานวณดังกล่าวนีIจะต้องนําผลของ Heat Gain ใน ชัว> โมงก่อนๆมาพิจารณาประกอบกับค่า Heat Gain ในชัว> โมงที>พิจารณาด้วย
CLTD/SCL/CLF Method เป็ นวิธีการคํานวณภาระความเย็นที>พฒั นามาจากวิธี Transfer Function โดยนําผลการคํานวณค่าภาระ
ความเย็น ที>ผา่ นผนังทึบและกระจกซึ> งอยูใ่ นรู ปของการนําความร้อนที>ได้จาก การคํานวณโดยวิธี Transfer Function มาแปลงเป็ นผลคูณ
ของค่าสัมประสิ ทธิ‹การถ่ายเทความร้อนของผนัง ทึบหรื อ กระจก และค่า CLTD (Cooling Load Temperature Difference) จะแทนผลของ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-5

สภาพภูมิอากาศภายนอกและ Thermal Delay Effect ของผนังทึบ และผลการเปลี>ยนค่า Heat Gain เป็ นค่า Cooling Loadที>แปรตาม สภาพ
วัสดุภายในห้อง ส่ วนค่า SCL (Solar Cooling Load) จะเป็ นส่ วนหนึ> งของการแปลงผลของภาระความเย็น ที>เกิดขึIนจากการแผ่รังสี จาก
แสงอาทิตย์ ผ่านกระจก ที>คาํ นวณได้จากวิธี Transfer Function ให้อยูใ่ นรู ปของผลคูณของพืIนที>กระจกกับค่า SC (Shading Coefficient ซึ> ง
เป็ นคุณสมบัติของกระจกชนิด ต่างๆ) กับค่า SCL สําหรับการแปลงค่า Heat Gain เป็ นค่า Cooling Load
การคํานวณหาค่า Heat Gain จะประกอบไปด้วย
1. Heat Gain ผ่านผนังและหลังคาภายนอก
2. Heat Gain ผ่านกระจก
3. Heat Gain จากผนังด้านใน เพดานและพืIน
4. Heat Gain จากแหล่งภายใน
จากคน
จากไฟฟ้ าแสงสว่าง
จากอุปกรณ์ไฟฟ้ ากําลัง
จากอุปกรณ์ไฟฟ้ าอื>น
จากอากาศที>เข้าสู่อาคาร และจากการระบายอากาศ
2.3 รายละเอียดในการคํานวณ
ในการคํานวณจะคํานึงถึง ค่าต่างๆ ที>เกี>ยวข้องในการคํานวณภาระการทําความเย็น ดังนีI
Space instantaneous heat gain คืออัตราของความร้อนที>ถ่ายเทเข้าสู่ ภายในพืIนที> หรื อ อัตราความร้อนที> เกิดขึIนในห้องในเวลาขณะนัIน
ซึ>งความร้อนที>อยูใ่ นห้องจะแบ่งเป็ น ความร้อนสัมผัส และความร้อนแฝง ความร้อนสัมผัส จะทําให้อุณหภูมิภายในห้องเปลี>ยนแปลงไป
ในขณะที>ความร้อนแฝง จะเป็ นส่วนที>ทาํ ให้ ความชืIนภายในห้อง เปลี>ยนแปลงไป
Space cooling load คือค่าอัตราความร้อนที>จะนําออกจากห้องเพื>อรักษาอุณหภูมิ ของอากาศภาย ใน ห้องให้มีค่าคงที>
Space heat extraction rate คือค่าอัตราความร้อนที>จะต้องนําออกไปจากห้องที>มีการปรับสภาวะอากาศ
Cooling coil load คือค่าอัตราความร้อนที>ถูกดึงโดย คอล์ยเย็นซึ>งจะมีค่าเท่ากับ ผลรวมของ Space heat extraction rate ของห้องทุกห้องที>
ต้องจ่ายความเย็นจากคอล์ยเย็น มาบวกกับ ค่าความร้อนเพิ>มที> เกิด จากระบบจ่ายลม และ ความร้อนและความชืIนจากอากาศที>ถูกนําเข้าสู่
อุปกรณ์ทาํ ความเย็น
2.4 สภาพแวดล้ อมภายในทีใช้ ในการออกแบบ
สภาวะการปรับอากาศภายในอาคาร ที>ทาํ ให้มนุษย์ รู ้สึกสบาย ขึIนกับปั จจัยดังที>ได้กล่าวไปแล้วคือ
อุณหภูมิ
ความชืIนสัมพัทธ์
ความเร็ วลม
อุณหภูมิ ที>มีการแผ่ความร้อน (Radiant Temperature)
ปั จจัยลบที>มีผลต่อการระบายอากาศและการกําหนดสภาวะภายในพืIนที>ปรับอากาศ
ไอเสี ยจากรถยนต์ หรื อเครื> องยนต์ ต่างๆ เช่น CO, NOx, Sox และอนุภาคขนาดเล็กที>อาจเป็ นอันตราย กับปอด

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-6

เชืIอจุลินทรี ยท์ ี>อยูใ่ นคอล์ยเย็น และหอผึ>งนํIาระบายความร้อน


รอยรั>วภายนอกอาคาร
ก๊าซเรดอน (Radon) ที>เข้าสู่อาคารทางพืIนชัIนล่างหรื อฐานรากของอาคาร
กลิ>นจากระบบสุขาภิบาลที>ไหลย้อนเข้าอาคาร
วัสดุที>ใช้ก่อสร้างอาคารหรื อตกแต่งภายใน ที>คายสารเคมีออกมา
สิ> งสกปรกและฝุ่ นผงจากอุปกรณ์เครื> องใช้ในสํานักงาน
ควันบุหรี>
2.5 สภาพแวดล้ อมภายนอกทีใช้ ในการออกแบบ
ปกติจะมีการกําหนดอุณหภูมิ และความชืIนสัมพัทธ์ ของอากาศภายนอกพืIนที>ปรับอากาศที> 95 F/35 C(Dry bulb temperature) และ
83 F/28.3 C (Wet bulb temperature) ตามมาตรฐานการออกแบบและตามอุณหภูมิ ที>ใช้ ทดสอบความสามารถในการทําความเย็นของ
เครื> องปรับอากาศในประเทศไทย แต่หากใช้ขอ้ มูลที>ได้จากสถิติ ภูมิอากาศในประเทศหรื อในเขตพืIนที> ที>จะออกแบบจะทําให้ได้ขอ้ มูล
ถูกต้องมากยิง> ขึIน
2.5.1 การระบายอากาศ
การระบายอากาศมีผลต่อความสบายของผูอ้ ยูอ่ าศัยในพืIนที>โดยตรง ถ้าปริ มาณการระบายอากาศสู ง จะทําให้ คนรู ้สึกสบายแต่จะ
ทําให้มีการใช้พลังงานในการทําความเย็นสู ง ในขณะที> อตั ราการระบายอากาศตํ>าจะทําให้ ภาระ ทางความเย็นลดลง ทําให้ใช้พลังงาน
น้อยลง ดังนัIนจึ งต้องมีการกําหนดอัตราการระบายอากาศที> เหมาะสม ในพืIนที> การใช้งานที> แตกต่างกัน ทัIงนีI อตั ราการระบายอากาศ
โดยทัว> ไป จะอ้างอิงตามมาตรฐาน ASHRAE ดังนีI

อัตราการระบายอากาศมาตรฐานทีนิยมใช้ ในการออกแบบ
พืนC ที อัตราการระบายอากาศลูกบาศ์ กฟุตต่ อคน
พืIนที> สํานักงาน 20
ร้านอาหารและภัตตาคาร 20
ผับ บาร์ 30
ห้องพักในโรงแรม 30 (ต่อห้อง)
ห้องประชุม 15-20
ห้องในโรงพยาบาล 25
ห้องผ่าตัด 30
พืIนที>สูบบุหรี> 60
ร้านทําผม 25
ซุปเปอร์มาร์เก็ต 15
ห้องเรี ยน 15
ห้องทดลอง 20
ร้านขายของ 15
อ้ างอิงจาก ASHRAE 1989 ANSI/ASHRAE Standard 62-198, Ventilation for Acceptable Indoor Air Quality.

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-7

ซึ>งการออกแบบระบายอากาศดังกล่าวจะต้องตรวจสอบกับ ความต้องการระบายอากาศขัIนตํ>า ที>กฎหมาย กําหนดใน กฎกระทรวง


ฉบับที> 33 และ 39 ที>ออกตามพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ดังนีI
ข้อ 9 การระบายอากาศในอาคารสู งหรื ออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ หรื อโดยวิธีกล
ดังต่อไปนีI
1) การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ให้ใช้เฉพาะกับพืIนที> มีผนังด้านนอกอย่างน้อยหนึ> งด้าน โดยให้มีช่องเปิ ดสู่ ภายนอก
อาคารได้ เช่น ประตู หน้าต่าง หรื อบานเกร็ ด ซึ>งต้องเปิ ดไว้ระหว่างใช้สอยพืIนที>นI นั ๆ และพืIนที>ของช่องเปิ ดนีIตอ้ งเปิ ด ได้
ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพืIนนัIน
2) การระบายอากาศโดยวิธีกล ให้ใช้กับพืIนอาคารใดก็ได้ โดยให้มีกลอุปกรณ์ขบั เคลื> อนอากาศเพื>อให้เกิ ด การนําอากาศ
ภายนอกเข้ามาตามอัตราดังต่อไปนีI

อัตราการระบายอากาศโดยวิธีกล
อัตราการระบายอากาศ
ลําดับ lสถานที (ประเภทการใช้ ) ไม่ น้อยกว่ าจํานวนเท่ าของ
ปริมาตรของห้ องใน 1 ชัวโมง
p ห้องนํIา ห้องส้วมของที>พกั อาศัยหรื อสํานักงาน `
` ห้องนํIา ห้องส้วมของอาคารสาธารณะ q
g ที>จอดรถที>อยูต่ >าํ กว่าระดับพืIนดิน q
q โรงงาน q
o โรงมหรสพ q
“ อาคารพาณิ ชย์ q
’ ห้างสรรพสิ นค้า q
‡ สถานที>จาํ หน่ายอาหารและเครื> องดื>ม ’
‰ สํานักงาน ’
p… ห้องพักในโรงแรมหรื ออาคารชุด ’
pp ห้องครัวของที>พกั อาศัย p`
p` ห้ อ งครั ว ของสถานที> จํ า หน่ ายอาคารและ `q
เครื> องดื>ม

สําหรับห้องครัวของสถานที> จาํ หน่ ายอาหารและเครื> องดื> มจะให้มีอตั ราการระบายอากาศน้อยกว่าที> กาํ หนดได้ แต่ตอ้ ง มี การ
ระบายอากาศคลุมแห่งที>เกิดของกลิ>น ควัน หรื อก๊าซที>ตอ้ งการระบาย ทัIงนีI ต้องไม่นอ้ ยกว่า 12 เท่าของปริ มาตร ของห้องใน 1 ชัว> โมง
สถานที>อื>นๆ ที>มิได้ระบุไว้ในตารางให้ใช้อตั ราการระบายอากาศของสถานที>ที>ลกั ษณะใกล้เคียงกัน
ตําแหน่งช่องนําอากาศเข้าโดยวิธกล ต้องห่ างจากที>เกิดอากาศเสี ยและช่องระบายอากาศทิIงไม่นอ้ ยกว่า 5.00 เมตร สู งจากพืIนดิน
ไม่นอ้ ยกว่า p.o… เมตร
การนําอากาศเข้าและการระบายอากาศทิIงโดยวิธีกล ต้องไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญแก่ประชาชน ผูอ้ ยูอ่ าศัย ใกล้เคียง
ข้อ 10 การระบายอากาศในอาคารสู งหรื ออาคารขนาดใหญ่พิเศษที> มีการปรั บภาวะอากาศด้วยระบบปรั บภาวะอากาศ ต้องมี
ลักษณะดังต่อไปนีI
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-8

1) ต้องมีการนําอากาศภายนอกเข้ามาในพืIนที>ปรับภาวะอากาศหรื อดูดอากาศจากภายในพืIนที>ปรับภาวะอากาศไป ไม่นอ้ ยกว่า


อัตราดังต่อไปนีI

อัตราการระบายอากาศในกรณีทมีี ระบบการปรับภาวะอากาศ
ลําดับ สถานทีประเภทการใช้ ลูกบาศก์ เมตร/ชัวโมง/ตารางเมตร
1 ห้างสรรพสิ นค้า (ทางเดินชมสิ นค้า) 2
2 โรงงาน 2
3 สํานักงาน 2
4 สถานอาบ อบ นวด 2
5 สถานที>สาํ หรับติดต่อธุรกิจในธนาคาร 2
6 ห้องพักในโรงแรมหรื ออาคารชุด 2
7 ห้องปฏิบตั ิการ 2
8 ร้านตัดผม 3
9 สถานกีฬาในร่ ม 4
10 โรงมหรสพ (บริ เวณที>นง>ั สําหรับคนดู) 4
11 ห้องเรี ยน 4
12 สถานบริ หารร่ างกาย 5
13 ร้านเสริ มสวย 5
14 ห้องประชุม 6
15 ห้องนํIา ห้องส้วม 10
16 สถานที>จาํ หน่ายอาคารและเครื> องดื>ม(ห้องรับประทาน 10
17 อาหาร) 10
18 ไนท์คลับ บาร์ หรื อสถานลีลาศ 30
19 ห้องครัว 2
สถานพยาบาล 8
ห้องคนไข้ 5
ห้องผ่าตัดและห้องคลอด 5
ห้องช่วยชีวติ ฉุกเฉิ น
ห้อง ไอ.ซี.ยู และห้อง ซี.ซี.ยู.

สถานที>อื>นๆ ที>มิได้ระบุไว้ในตารางให้ใช้อตั ราการระบายอากาศของสถานที>ที>มีลกั ษณะใกล้เคียงกัน


2) ห้ามนําสารทําความเย็นชนิดเป็ นอันตรายต่อร่ างกาย หรื อติดไฟได้ง่ายมาใช้กบั ระบบปรับภาวะอากาศ ที>ใช้สารทําความ เย็น
โดยตรง
3) ระบบปรับภาวะอากาศด้วยนํIา ห้ามต่อท่อนํIาของระบบปรับภาวะอากาศเข้ากับท่อนํIาของระบบประปาโดยตรง
4) ระบบท่อลมของระบบปรับภาวะอากาศต้องมีลกั ษณะดังต่อไปนีI
ท่อลม วัสดุหุ้มท่อลม และวัสดุบุภายในท่อลม ต้องเป็ นวัสดุที>ไม่ติดไฟและไม่เป็ นส่ วนที>ทาํ ให้เกิดควันเมื>อเกิดเพลิง
ไหม้

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-9

ท่อลมส่ วนที> ติดตัIงผ่านผนังกันไฟหรื อพืIนที> ทาํ ด้วยวัสดุทนไฟต้องติดตัIงลิIนกันไฟที> ปิดอย่างสนิ ทโดยอัตโนมัติ เมื>อ


อุณหภูมิ สูงเกินกว่า 74 องศาเซลเซียส และลิIนกันไฟต้องมีอตั ราการทนไฟไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว> โมง 30 นาที
ห้ามใช้ทางเดิ นร่ วม บันได ช่องบันได ช่องลิฟต์ของอาคารเป็ นส่ วนหนึ> งของระบบท่อลมส่ งหรื อระบบท่อลมกลับ
เว้นแต่ส่วนที>เป็ นพืIนที> วา่ งระหว่างเพดานกับพืIนห้องชัIนเหนื อขึIนไปหรื อหลังคาที>มีส่วนประกอบของเพดานที>มีอตั รา
การทน ไฟไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว> โมง
5) การขับเคลื>อนอากาศของระบบปรับภาวะอากาศต้องมีลกั ษณะดังต่อไปนีI
มีสวิตซ์พดั ลมของระบบการขับเคลื>อนอากาศที>ปิดเปิ ดด้วยมือติดตัIงในที>ที>เหมาะสมและสามารถปิ ดสวิตซ์ได้ทนั ที เมื>อ
เกิดเพลิงไหม้
ระบบปรับภาวะอากาศที> มีลมหมุนเวียนตัIงแต่ 50 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที ขI ึนไป ต้องติดตัIงอุปกรณ์ตรวจจับควันหรื อ
อุปกรณ์ ตรวจสอบการเกิดเพลิงไหม้ที>มีสมรรถนะไม่ดอ้ ยกว่าอุปกรณ์ตรวจจับควันซึ> งสามารถบังคับ ให้สวิตซ์หยุดการ
ทํางาน ของระบบได้โดยอัตโนมัติ
ทัIงนีI การออกแบบและควบคุมการติดตัIงระบบปรับภาวะอากาศและระบบอากาศในอาคารสู งหรื ออาคารขนาดใหญ่ พิเศษต้อง
ดําเนินการโดยผูไ้ ด้รับใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตัIงแต่ประเภทสามัญวิศวกรขึIนไป ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ
วิศวกรรม
อัตราการระบายอากาศดังกล่าว ถือเป็ นต้นทุนของระบบปรับอากาศ โดยจะเรี ยกเป็ น Air Change/hour หรื อเป็ นจํานวนเท่าของ
ปริ มาณห้อง ที>อากาศปริ มาณดังกล่าวต้องถูกนําออกจากพืIนที>และหาอากาศใหม่ มาทดแทนให้ทนั ภายในช่วงเวลาเดียวกัน

3. ประเภทของระบบปรับอากาศ

3.1 ระบบการทําความเย็นแบบเพิมอัดความดัน
เครื> องปรับอากาศที>นิยมใช้ สามารถแบ่งออกได้ดงั นีI
3.1.1 เครืองปรับอากาศแบบแยกส่ วน (Split-type Air conditioning Unit)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-10

เป็ นเครื> องปรับอากาศที>ประกอบด้วยส่ วนเครื> องระบายความร้อน(Condensing Unit) และส่ วนเครื> อง ส่ งลมเย็น (Air handling or
Fan coil unit) ขนาดที>นิยมใช้ในบ้านพักอาศัยมีขนาดตัIงแต่ 8000 Btuh ถึง 3 ตัน และ มีขนาดใหญ่ถึง 30 ตันหรื อมากกว่าสําหรับการใช้
งานอื> นๆ ที> นิยมใช้กันมากที> สุด เป็ นแบบระบาย ความร้ อนด้วยอากาศ (Air-cooled) แต่ก็มีแบบที> ระบายความร้ อนด้วยนํIา(Water-
cooled)เช่นกัน โดยทัว> ไป แบบระบายความร้อนด้วยนํIาจะกินไฟน้อยกว่าคือประมาณไม่เกิน 1.2 kW/RT
นอกจากนีI ยังมีเครื> องปรับอากาศที> ออกแบบมาสําหรับการอนุ รักษ์พลังงาน โดยใช้นI าํ ระบาย ความ ร้อนเป็ นนํIาอุ่นสําหรับใช้
อาบนํIา และเครื> องปรับอากาศที>ระบาย ความร้อนด้วย การระเหยของนํIา (Evaporative Condenser) เครื> องปรับอากาศในกลุ่มนีI ใช้สารทํา
ความเย็นทําความเย็นโดยตรง (Direct Expansion) โดยสารทํา ความเย็นที>นิยมมากที>สุดคือ R-22
การเลือกเครื> องปรับอากาศในกลุ่มนีI สามารถอ้างอิงถึงมาตรฐานจากเอกสาร พพ. 22001: 2546
ชุด เครื> องปรับอากาศประสิ ทธิภาพสูงขนาดเล็ก (High Efficient Small Air Conditioner) ตามตารางแสดงประสิ ทธิภาพขัIนตํ>า

ค่ าอัตราส่ วนประสิทธิภาพพลังงานขัCนตํา
ขนาดทําความเย็นของเครืองปรับอากาศ อัตราส่ วนประสิทธิภาพพลังงาน
(วัตต์) (บีทยี ู/ชม) (COP)
ไม่เกิน 3,500 วัตต์ ไม่เกิน 11,942 บีทีย/ู ชม > 3.11
เกินกว่า 3,500 ถึง 7,600 วัตต์ เกินกว่า 11,942 ถึง 25,931 บีทีย/ู ชม > 3.11
เกินกว่า 7,600 ถึง 12,000 วัตต์ เกินกว่า 25,931 ถึง 40,944 บีทีย/ู ชม > 3.11
เกินกว่า 12,000 ถึง 17,600 วัตต์ เกินกว่า 40,944 ถึง 60,051 บีทีย/ู ชม > 2.82

หมายเหตุ 1 วัตต์ = 3.412 บีทียตู ่ อชัวโมง, 12,000 บีทีย/ู ชม = 3,517 วัตต์

ลักษณะการใช้ งานทีเหมาะสม
เครื> องปรับอากาศแบบแยกส่วนขนาดเล็กที>วางขายทัว> ไป เหมาะกับบ้านอยูอ่ าศัย เนื>องจากสะดวกกับ การหาซืI อมาติดตัIง และ
การดูแลรักษา
เครื> องแบบที>ระบายความร้อนด้วยอากาศที>มีขนาดใหญ่ เหมาะกับการใช้งานทัว> ไป ที>มีชว>ั โมงการใช้ งานไม่มาก และต้องการ
ความเป็ นอิสระในการใช้งาน

เครื> องปรับอากาศแบบแยกส่ วนที> ระบายความร้อนด้วยนํIา เหมาะกับศูนย์การค้าขนาดกลาง หรื อ ใช้เป็ นเครื> องสํารองใน


อาคารสูงที>ไม่มีที>ตI งั เครื> องระบายความร้อนด้วยอากาศ หรื อใช้กบั โรงแรม ชายทะเลขนาดกลาง

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-11

เครื> องแบบที>ใช้นI าํ ระบายความร้อนเป็ นนํIาอุ่นสําหรับอาบ เหมาะกับโรงแรม และคอนโดมิเนียม

ลักษณะการใช้ งานทีไม่ เหมาะสม


เครื> องปรับอากาศแบบแยกส่ วนขนาดเล็กที>วางขายทัว> ไป ไม่เหมาะกับอาคารขนาดใหญ่ เนื> องจาก ไม่มีการเฉลี>ยภาระความ
เย็น(Load Sharing) ทําให้ประสิ ทธิ ภาพโดยรวมตํ>า และมีความต้องการ ไฟฟ้ ามาก(High Electricity Demand) นอกจากนีI
ส่วนใหญ่เครื> องระบายความร้อนที>ติดตัIง รอบอาคาร ทําให้เกิดความร้อนสะสมรอบอาคาร
เครื> องแบบที>ระบายความร้อนด้วยอากาศที>มีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะกับการใช้งานทัว> ไป ที>มีชว>ั โมงการ ใช้งานมาก เนื>องจากกิน
ไฟมากและประสิ ทธิภาพโดยรวมตํ>า
เครื> องปรับอากาศแบบแยกส่วนที>ระบายความร้อนด้วยนํIา เครื> องระบายความร้อนมีเสี ยงดัง จึงไม่ เหมาะกับ การใช้เป็ นระบบ
หลัก ยกเว้นว่าจะมีการป้ องกันเสี ยง
เครื> องแบบที>ใช้นI าํ ระบายความร้อนเป็ นนํIาอุ่นสําหรับอาบ ไม่เหมาะกับโรงแรม ที>ตอ้ งการ อุณหภูมิ นํIาที>แน่นอน

ข้ อแนะนําสําหรับการติดตัCง
ระยะห่างระหว่างเครื> องระบายความร้อนและเครื> องส่งลมเย็นไม่ควรเกิน 15 เมตร
เครื> องระบายความร้อนควรอยูใ่ นระดับสูงและเป่ าความร้อนสู่บรรยากาศด้านบน เพื>อไม่ให้ความร้อนสะสมรอบอาคาร

เครื> องปรับอากาศแบบแยกส่ วนที>ระบายความร้อนด้วยนํIา คุณภาพของนํIาระบายความร้อน จะต้อง มีคุณภาพดี ไม่มีตะกรัน


และสิ> งสกปรก
การใช้คอมเพรสเซอร์ชนิดโรตารี> (Rotary Compressor) หรื อสครอล (Scroll Compressor) ทําให้ ประหยัด ไฟฟ้ ามากกว่าชนิ ด
ลูกสูบ(Reciprocating Compressor)
เครื> องปรับอากาศที>มีระบบควบคุมการทํางานของคอมเพรสเซอร์ ดว้ ยการปรับรอบมอเตอร์ (Inverter Control)ช่วยประหยัด
ไฟฟ้ า

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-12

ควรใช้เครื> องควบคุมอุณหภูมิชนิดอิเลคทรอนิก(Electronic Thermostat)


ควรติดตัIงให้สามารถดูแลและทําความสะอาดได้อย่างสมํ>าเสมอ จะทําให้ประสิ ทธิภาพ การทํางาน คงเดิม
ไม่ควรติดตัIงเครื> องส่งลมเย็นในฝ้ าเพดานหรื อหลังคาที>มีอากาศร้อนหรื อชืIน

โดยทัว> ไป ไม่จาํ เป็ นต้องติดตัIงพัดลมดูดอากาศในห้องทํางานหรื อห้องนอน


นอกจากนีI เครื> องปรับอากาศแบบแยกส่ วนได้รับการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี มาอย่างต่อเนื> องและได้มีการกล่าวถึงระบบที>
สอดคล้องกับภาระการทําความเย็นให้มากที>สุด จนมีการพัฒนาระบบ VRV ขึIน

VRV (Variable Refrigerant Volume)


VRV เป็ นระบบที>พฒั นาโดยกลุ่มผูผ้ ลิตญี>ปุ่น เพื>อสร้างจุด แข็ง แข่งกับระบบนํIาเย็นและ Water Chiller ที>สหรัฐอเมริ กาครองเจ้า
ตลาดอยู่ ระบบดังกล่าวนีI เป็ นระบบที> พัฒนา ต่อเนื> องกับเครื> องปรับอากาศที>ใช้ระบบควบคุมด้วย Inverter ซึ> งเป็ นสิ ทธิ บตั รของ ผูผ้ ลิต
เครื> องปรับ อากาศ ญี>ปุ่น โดยระบบ VRV ใช้ระบบควบคุม Inverter ในการควบคุมปริ มาณสารความเย็น ประกอบกับ อุปกรณ์ แยกสาร
ความเย็นและนํIามัน ทําให้เครื> องระบายความร้อน 1 เครื> องสามารถทํางานร่ วมกับเครื> อง Fan coil Unit หลายเครื> องที>มีขนาดต่างกัน และ
ยังติดตัIงห่างกันได้มาก
ระบบดังกล่าวนีI นับว่าเป็ นระบบอัจฉริ ยะและใช้งานได้ดีในหลายโครงการ แต่มาตรฐานการติดตัIง ต้องดี และระบบไฟฟ้ าควรจะ
สมํ>าเสมอ แน่นอนราคาแพงกว่าเครื> องปรับอากาศปกติประมาณ 2 เท่า

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-13

3.1.2 เครืองปรับอากาศแบบครบชุดในตัว (Packaged Unit)


เป็ นเครื> องปรับอากาศที>มีเครื> องระบายความร้อนและเครื> องส่งลมเย็นครบชุดในตัว หรื อเรี ยกว่า Packaged Unit มีทI งั แบบที>ระบาย
ความร้อนด้วยอากาศและแบบที>ระบายความร้อนด้วยนํIา โดยเครื> อง ขนาดเล็กก็คือ เครื> องปรับอากาศแบบหน้าต่าง (Window Type)นัน> เอง
ส่วนเครื> องขนาดใหญ่มีขนาดถึง 50-60 ตัน การกินไฟใกล้เคียงหรื อน้อยกว่าเครื> องปรับอากาศแบบแยกส่วนเล็กน้อย
เครื> องปรับอากาศในกลุ่มนีI ใช้สารทําความเย็นทําความเย็นโดยตรง(Direct Expansion) โดยสารทําความเย็นที>นิยมมากที>สุดคือ R-
22

ลักษณะการใช้ งานทีเหมาะสม
เครื> องปรับอากาศขนาดเล็ก เช่น เครื> องปรับอากาศแบบหน้าต่าง เหมาะกับบ้านอยูอ่ าศัย เนื> องจากสะดวก กับการหาซืI อมา
ติดตัIง และการดูแลรักษา
เครื> องแบบที>ระบายความร้อนด้วยอากาศที>มีขนาดใหญ่ เหมาะกับการใช้งานทัว> ไป ที>มีชว>ั โมงการใช้งานไม่มาก และต้องการ
ความเป็ นอิสระในการใช้งาน
เครื> องปรับอากาศที>ระบายความร้อนด้วยนํIา เหมาะกับศูนย์การค้าขนาดกลาง หรื อ สํานักงาน

ลักษณะการใช้ งานทีไม่ เหมาะสม


เครื> องปรับอากาศขนาดเล็กที>วางขายทัว> ไป ไม่เหมาะกับอาคารขนาดใหญ่
เครื> องแบบที>ระบายความร้อนด้วยอากาศที>มีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะกับการใช้งานทัว> ไป ที>มีชว>ั โมงการใช้งานมาก เนื> องจากกิน
ไฟมากและประสิ ทธิภาพโดยรวมตํ>า รวมทัIงทําให้ความร้อนสะสมรอบอาคาร
เครื> องปรับอากาศที>ระบายความร้อนด้วยนํIา เครื> องระบายความร้อนมีเสี ยงดัง จึงควรจะมีการป้ องกันเสี ยง

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-14

ข้ อแนะนําสําหรับการติดตัCง
เครื> องแบบที>ระบายความร้อนด้วยอากาศที>มีขนาดใหญ่ ควรจะจัดให้อากาศที>เข้าระบายความ ร้อนเข้า คนละ ทางกับการเป่ า
ลมร้อน ช่องเปิ ดสําหรับการระบายอากาศจะต้องใหญ่พอ และทิศที> เป่ าลมร้อนจะต้องไม่สวนกับ ทิศลมตามธรรมชาติ
เครื> องปรับอากาศที> ระบายความร้อนด้วยนํIา ควรติดตัIงคูลลิ>งเทาเวอร์ (Cooling Tower) ที> ดา้ นบนของอาคาร และเป่ าขึIน
ด้านบน เพื>อไม่ให้เกิดการสะสมความชืIนรอบอาคาร
คุณภาพของนํIาระบายความร้อนจะต้องมีคุณภาพดี ไม่มีตะกรัน และสิ> งสกปรก
การใช้ คอมเพรสเซอร์ ชนิ ดโรตารี> (Rotary Compressor) หรื อสครอล (Scroll Compressor) ทําให้ประหยัด ไฟฟ้ า มากกว่า
ชนิดลูกสูบ(Reciprocating Compressor)
เครื> องปรับอากาศที>มีระบบควบคุมการทํางานของคอมเพรสเซอร์ ดว้ ยการปรับรอบมอเตอร์ (Inverter Control) ช่วยประหยัด
ไฟฟ้ า
ควรใช้เครื> องควบคุมอุณหภูมิชนิดอิเลคทรอนิก(Electronic Thermostat)
ควรติดตัIงให้สามารถดูแลและทําความสะอาดได้อย่างสมํ>าเสมอ จะทําให้ประสิ ทธิภาพการทํางานคงเดิม
โดยทัว> ไป ไม่จาํ เป็ นต้องติดตัIงพัดลมดูดอากาศในห้องทํางานหรื อห้องนอน

เครืองปรับอากาศแบบครบชุดในตัวระบายความร้ อนด้ วยนําC (PACKAGED WATER COOLED AIR-CONDITIONER)


เป็ นระบบ Direct Expansion (DX) ที>ไม่ต่างจากระบบ Split Type เท่าใดนัก เพียงแต่เปลี>ยนจากการ ระบายความร้อนด้วยอากาศ
เป็ นการระบายความร้อนด้วยนํIา และลดปั ญหาที>ตI งั เครื> องระบายความร้อน เนื> อง จากการใช้ระบบท่อนํIาระบายความร้อนและ Cooling
Tower เหมาะกับอาคารสํานักงาน และห้างสรรพสิ นค้า ขนาดกลาง และต้องระวังเรื> องเสี ยงจากคอมเพรสเซอร์

เครืองปรับอากาศแบบครบชุดในตัวระบายความร้ อนด้ วยอากาศ (PACKAGED AIR-COOLED AIRCONDITIONER)


เป็ นระบบ Direct Expansion (DX) ที>ไม่ต่างจากระบบ Split Type เท่าใดนัก เพียงแต่ทI งั เครื> อง ส่ งลม เย็น และเครื> องระบายความ
ร้ อ นอยู่ใ นเครื> อ งเดี ย วกัน และระบายความร้ อ นด้ว ยอากาศ เป็ น ระบบ ที> เริ> ม ต้น และ ได้รั บ ความนิ ย มในอาคารสํา นัก งานที> เ ป็ น
คอนโดมิเนียม เนื>องจากแยกเป็ นอิสระและ ให้เป็ น ภาระของผูซ้ Iือ ใน การจัดหาและติดตัIงเองได้

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-15

การเลือกเครื> องปรับอากาศในกลุ่มนีI สามารถอ้างอิงถึงมาตรฐานจากเอกสาร พพ. 22002 : 2546


เครื> องปรับอากาศประสิ ทธิภาพสูง ขนาดใหญ่ (High Efficient Large Air Conditioner) ตามตารางแสดงประสิ ทธิภาพขัIนตํ>า ดังนีI

เกณฑ์ ค่าการใช้ พลังงานไฟฟ้าของเครืองปรับอากาศขนาดใหญ่


ค่ าการใช้ พลังงานไฟฟ้า
ค่ าซีโอพี (COP) ขัCนตํา
ต้ องไม่ เกิน
ชนิด เครืองปรับอากาศ ต้ องไม่ น้อยกว่ า
(กิโลวัตต์ ต่อตันความเย็น)
เครืองปรับอากาศแบบเป็ นชุด (Packaged Unit)
1. ชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศ > 2.56 < 1.37
(Packaged Air-cooled Air - Conditioner)
2. ชนิดระบายความร้อนด้วยนํIา > 3.99 < 0.88
(Packaged Water-cooled Air- Conditioner)
หมายเหตุ COP = kWR / kW, cop= EERx3.52x1000/12000, EER = Btu/W, kW/ton = 12000/(EER x 1000) , kWR = ((Btu/hr)/12000)
x 3.52
3.1.3 เครืองปรับอากาศทีใช้ ระบบทํานําK เย็นหมุนเวียน (Chilled Water System)
เป็ นระบบที>ทาํ นํIาให้เย็นก่อนแล้วจึงส่งนํIาเย็นไปใช้ในการทําความเย็น นํIาจึงทําหน้าที>เป็ นตัวกลาง ใน การส่งความเย็น ทําให้ไม่มี
ข้อจํากัดเรื> องระยะทางระหว่างระบบผลิตความเย็นและพืIนที>ปรับอากาศมี ทัIง แบบที>ระบายความร้อนด้วยอากาศ และแบบที>ระบายความ
ร้อนด้วยนํIา โดยมีขนาดเล็กเพียง 3 ตันต่อ เครื> อง ถึงหลายร้อยตันต่อเครื> องสําหรับแบบที> ระบายความร้อนด้วยอากาศ และถึงพันสอง
พันตันสําหรับ แบบที>ระบายความร้อนด้วยนํIา
เครื> องทํานํIาเย็น(Chiller)ในกลุ่มนีI ขนาดเล็กใช้สารทําความเย็นที>นิยมมากที>สุดคือ R-22 ส่ วนขนาดกลางและขนาดใหญ่ นิ ยมใช้
R-123 หรื อ R-134a
เครื> องทํานํIาเย็น (Chiller) สามารถแบ่งตามหลักเกณฑ์ดงั นีI

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-16

แบ่ งตามประเภทของ Compressor


1) แบบลูกสู บ (Reciprocating Compressor) นิ ยมใช้ในอดีต หรื อเครื> องขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง แต่มีส่วนที>เคลื>อน ไหวมาก
ทําให้เกิดความสึ กหรอบ่อย และความเชื>อถือตํ>า
2) แบบสกรู (Screw Compressor) มีส่วนที> สึกหรอน้อยกว่า ทําให้อายุการใช้งานนานกว่า และมี ความต่อเนื> อง และทํางาน
สอดคล้องกับภาระงานได้ดีกว่า
3) แบบสกอลร์ (Scroll Compressor) มีส่วนที>เคลื>อนไหวน้อยกว่า และมีการเปลี>ยนแปลง torque น้อยกว่า ทําให้อายุการใช้งาน
นานกว่า
4) แบบหอยโข่ง (Centrifugal Compressor) นิยมใช้เนื>องจากมีความสมํ>าเสมอที>ภาระความเย็นสูง
แบ่ งตามประเภทของการระบายความร้ อน
1) ระบายความร้อนด้วยอากาศ นิยมใช้ในกรณี ที>ไม่มีนI าํ ในการระบายความร้อนหรื อ ไม่สะดวก ที>จะติดตัIงอุปกรณ์ระบายความ
ร้อนด้วยนํIา ประสิ ทธิภาพจะตํ>ากว่า การระบายความร้อนด้วยนํIา
2) ระบายความร้ อ นด้วยนํIา นิ ย มใช้ม าก เนื> องจากระบายความร้ อนได้มี ประสิ ท ธิ ภาพ มากกว่า รวมทัIงการใช้พ ลัง งานมี
ประสิ ทธิภาพดีกว่า
แบ่ งลักษณะของ Compressor

1) แบบ Hermetic Compressor


2) แบบ Semi hermetic Compressor
3) แบบ Open Drive Compressor
แบ่ งวัฏจักรการทําความเย็น
1) แบบ Vapor Compression Chiller
2) แบบ Absorption Chiller
สําหรับเอกสารชุดนีIจะกล่าวถึงการแบ่งตามเกณฑ์การระบายความร้อนเป็ นหลัก

เครืองปรับอากาศทีใช้ ระบบทํานําC เย็นหมุนเวียนระบายความร้ อนด้ วยอากาศ (AIR-COOLED CHILLER)


เป็ นระบบทํานํIาเย็นหมุนเวียน (Chilled Water) ระบบเล็กถึงขนาดกลาง โดยเริ> มต้นและนิ ยม ใช้สาํ หรับ โรงแรม ที>ไม่ตอ้ งการใช้
เครื> อง Split Type ที>มีเสี ยงดังและมีปัญหาที>ตI งั เครื> องระบายความร้อน หรื อในกรณี ที>ไม่ ต้องการ มี Cooling Tower ที>ตอ้ งดูแลมากกว่า
และกินนํIา

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-17

เครืองปรับอากาศทีใช้ ระบบทํานําC เย็นหมุนเวียนระบายความร้ อนด้ วยนําC (WATER-COOLED CHILLER)


เครื> องทํานํIาเย็น (Water Chiller) เป็ นเครื> องจักรที>ใช้ในระบบปรับอากาศที>นบั ว่าผลิตโดยใช้เทคโนโลยีชI นั สู ง โดยเฉพาะอย่างยิ>ง
Centrifugal Chiller ล้วนแล้วแต่มีตน้ กําเนิ ดจากสหรัฐอเมริ กา ถือว่า สหรัฐอเมริ กา ประสบ ความสําเร็ จทางด้านการตลาดมากและครอง
ตลาดมานานเกือบศตวรรษ
การเปลี>ยนแปลงที>มีผลกระทบกับเครื> องทํานํIาเย็นคือการเปลี>ยนสารความเย็นจากตระกูล CFC เป็ น HCFC และ Non CFC การ
เปลี>ยนสารความเย็นทําให้ผผู ้ ลิตต้องออกแบบเครื> องใหม่ และโรงงาน ผลิต สารความ เย็นต้องสร้างโรงงานใหม่ เครื> องรุ่ นใหม่ที>ออกมา
ใช้งานในระยะแรกคือประมาณปี 1990 ยังมี ปั ญหาจาก การใช้ สารความเย็นใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ>ง Centrifugal Chiller ที> ใช้ R-22
นอกจากนีI Centrifugal Chiller ยังมักจะมี ปั ญหาเมื>อทํางานที> Part Load เครื> องจะครางและต้องเปลี>ยนอะไหล่ มาก ขึIน ผูผ้ ลิตบางรายหัน
ไปผลิตเครื> องที> เป็ น Multiple Compressor เพื>อแก้ปัญหานีI
Screw Chiller ได้รับความนิยมเพิ>มขึIน และได้รับการพัฒนาให้มีประสิ ทธิภาพสูงขึIน เงียบและนิ>ง โดยมีจุดเด่นที>การทํางานที> Part
Load นอกจากนีI ยังใช้ประกอบกับ Centrifugal Chiller เพื>อทําหน้าที> ใน ช่วงที>ภาระของระบบตํ>า
เมื>อก่อนนีI การดูค่าการกินไฟของเครื> องจะดูกนั ที> Full Load แต่เนื> องจากส่ วนใหญ่พบว่า เครื> อง ทํางานที> Part Load ในระยะหลัง
จึงใช้ค่าการกินไฟที> Part Load หรื อ IPLV แทน

การเลือกเครื> องปรับอากาศในกลุ่มนีI สามารถอ้างอิงถึงมาตรฐานจากเอกสาร พพ. 22011 : 2546


เครื> องทํานํIาเย็นประสิ ทธิภาพสูง (High Efficient Water Chiller) ตามตารางแสดงประสิ ทธิภาพขัIนตํ>า ดังนีI

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-18

เกณฑ์ ค่าการใช้ พลังงานไฟฟ้าของเครืองทํานําC เย็น


ค่ าซีโอพี (COP) ค่ าสมรรถนะในการทํา
ชนิด เครืองทํานําC เย็น ต้ องไม่ น้อยกว่ า ความเย็นต้ องไม่ เกิน
(วัตต์ ความเย็น/วัตต์ ไฟฟ้า) (กิโลวัตต์ ต่อตันความเย็น)
ก. เครืองทํานําC เย็นทีระบายความร้ อนด้ วย อากาศ (Air Cooled Water Chiller)
ก1. ขนาดไม่เกิน 100 ตัน > 2.70 < 1.30
ก2. ขนาดเกินกว่า 100 ตัน > 2.93 < 1.20
ข. เครืองทํานําC เย็นทีระบายความร้ อนด้ วย นําC (Water Cooled Water Chiller)
ข1. ขนาดไม่เกินกว่า 150 ตัน > 3.91 < 0.90
ข2. ขนาดเกินกว่า 150 ตัน ไม่เกิน 200 ตัน > 4.69 < 0.75
ข3. ขนาดเกินกว่า 200 ตัน ไม่เกิน 250 ตัน > 5.25 < 0.67
ข4. ขนาดเกินกว่า 250 ตัน ถึง 500 ตัน > 5.41 < 0.65
ข5. ขนาดเกินกว่า 500 ตัน > 5.67 < 0.62
หมายเหตุ COP = kWR / kW, cop= EERx3.52x1000/12000, EER = Btu/W, kW/ton = 12000/(EER x 1000) , kWR = ((Btu/hr)/12000)
x 3.52
ลักษณะการใช้ งานทีเหมาะสม
เครื> องทํานํIาเย็นขนาดเล็กเหมาะกับคอนโดมิเนียม และอพาร์ตเมนต์ เพื>อแก้ปัญหาที>ตI งั เครื> อง ระบาย ความร้อน
เครื> องทํานํIาเย็นแบบระบายความร้อนด้วยอากาศเหมาะกับอาคารขนาดกลาง โรงแรมขนาดกลาง ศูนย์คอมพิวเตอร์
เครื> องทํานํIาเย็นแบบระบายความร้ อนด้วยนํIาเหมาะกับอาคารขนาดใหญ่ โรงแรม โรงพยาบาล ศู นย์การค้า ขนาดใหญ่
โดยเฉพาะอย่างกลุ่มอาคารที>มีเวลาการใช้งานแตกต่างกัน สามารถจัดให้เป็ นระบบการทํา ความเย็นร่ วม (District Cooling)
ทําให้ขนาดการทําความเย็นโดยรวมลดลง และมีผลทําให้ความต้องการ ไฟฟ้ า (Electricity Demand)ลดลง
เหมาะกับอาคารที>ตอ้ งการควบคุมอุณหภูมิและความชืIนที>แน่นอน เนื>องจากการควบคุม อุณหภูมิในระบบ นํIาเย็น ควบคุมได้
ง่ายกว่า
เหมาะกับระบบระบบการเติมอากาศเข้าสู่อาคาร( Dedicated Outdoor Air System-DOAS) ดังจะได้ กล่าวถึงต่อไป
เหมาะกับการปรับอากาศพิเศษ เช่น ห้องสะอาด ห้องผ่าตัด ห้องทดลอง ห้องปฏิบตั ิการ ห้องที>ตอ้ งการ ควบคุมความชืIน
ลักษณะการใช้ งานทีไม่ เหมาะสม

ลักษณะการใช้งานที>มีค่าเฉลี>ยภาระการทําความเย็นสูง(High Diversity) เช่น สํานักงานขนาดเล็ก หรื อ ขนาดกลาง


อาคารที>ไม่มีช่างดูแลประจํา
ข้ อแนะนําสําหรับการติดตัCง

เครื> องแบบที>ระบายความร้อนด้วยอากาศที>มีขนาดใหญ่ ควรติดตัIงไว้ในระดับสู งและเป่ าลมร้อนขึIนด้านบน เพื>อไม่ให้ความ


ร้อนสะสมรอบอาคาร

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-19

เครื> องปรับอากาศที> ระบายความร้อนด้วยนํIา ควรติดตัIงคูลลิ>งเทาเวอร์ (Cooling Tower) ที>ดา้ นบนของ อาคาร และเป่ าขึIน
ด้านบน เพื>อไม่ให้เกิดการสะสมความชืIนรอบอาคาร
เครื> องทํานํIาเย็นขนาดใหญ่ควรอยูใ่ กล้กบั ห้องไฟฟ้ าหลัก เพื>อลดการสูญเสี ยในระบบการจ่ายไฟฟ้ า
ระบบการหมุนเวียนนํIาเย็นควรเป็ นระบบที>สามารถปรับสมดุลย์ของนํIาได้ตามที>ตอ้ งการ
ระบบหมุนเวียนที>เป็ นระบบใหญ่ควรเป็ นระบบ Primary/Secondary Supply System และมีการพิจารณา การจ่ายนํIาเย็นเป็ น
พืIนที> ด้วยความดันนํIาเย็นที>จดั ไว้อย่างเหมาะสม
นอกจากระบบที>ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นนีI ยังมีระบบที>ได้รับความสนใจอย่างมาก และเกี>ยวข้องกับการ ใช้พลังงานในอาคารขนาด
ใหญ่โดยตรงได้แก่
3.2 ระบบการทําความเย็นระบบดูดซับ
โดยทัว> ไป เราจะเคยชินกับระบบการทําความเย็นแบบการอัดเพิ>มความดัน (Vapour Compression) เนื>องจาก ในศตวรรษที>ผ่านมา
ผูน้ าํ ทางด้านเครื> องทําความเย็นคือ สหรัฐอเมริ กาได้พฒั นาและส่งเสริ ม การผลิต เครื> องทําความเย็น ในระบบนีI จนทําให้สหรัฐครองความ
เป็ นผูน้ าํ ทางด้านเครื> องทําความเย็นมาโดยตลอด แม้กระทัง> ในปั จจุบนั นีI ก็ยงั เป็ น ผูผ้ ลิตคอมเพรสเซอร์รายใหญ่ที>สุดในโลก อย่างไรก็ตาม
เนื>องจากสารทําความเย็นที>ใช้กนั มานานเป็ นสาร CFC และใน ระยะ หลังนีI พบว่ามีผลกระทบอย่างรุ นแรงกับภาวะเรื อนกระจก และการ
สลายตัวของชัIนบรรยากาศโอโซน จนทําให้ผูผ้ ลิต สาร ทําความเย็นต้องหันมาผลิตสารทําความเย็นทดแทน เช่น R 134a R123 R404
R407
ปั ญหาจากสารทําความเย็น ประกอบกับกระแสการอนุ รักษ์พลังงานและสิ> งแวดล้อม ทําให้ผูผ้ ลิตเริ> มหันกลับมา ผลิตเครื> องทํา
ความเย็นระบบดูดซับ (Absorption Refrigeration) โดยเฉพาะอย่างยิ>งการนําไปใช้ในระบบ Co-generation และใช้ความร้อนทิIงจากการ
ผลิตไฟฟ้ าในการทํางานของเครื> องทําความเย็นระบบดูดซับ
เครื> องทําความเย็นระบบดูดซับแบ่งได้เป็ น 2 กลุ่ม คือ
3.2.1 Desiccant Cooling
อย่างที>ทราบกันอยูแ่ ล้วว่า ความร้อนนัIนประกอบด้วยความร้อนสัมผัสและความร้อนแฝง ดังนัIนหลักการทํา ความเย็นโดยใช้สาร
ดูดซับ(Desiccant) ซึ>งทําหน้าที>ในการดูดซับความชืIนออกจากอากาศ ก็คือการ ทําความเย็นใน ลักษณะหนึ>งนัน> เอง
ข้อดีในการใช้สารดูดซับก็คือ สารดูดซับมีคุณสมบัติในการกําจัดความชืIนได้มีประสิ ทธิภาพมากกว่าขบวนการกลัน> ตัวเป็ นหยดนํIา
ที>คอยล์เย็น และ มีจุดนํIาค้าง (Dew point temperature) ที>ต>าํ ถึงติดลบ ซึ> งคอยล์เย็นทําไม่ได้ สารดูดซับที>นิยมใช้คือ ซิ ลิกา เจล และลิเธี ยม
คลอไรด์

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-20

ข้อเสี ยของวิธีการนีI ก็คือ ขบวนการทําความเย็นด้วยสารดูดซับมีค่า COP ตํ>า โดยเฉพาะอย่างยิ>ง เมื>อต้องให้ ความร้อนเพื>อไล่


ความชืIนออก (Regeneration)ด้วยขดลวดไฟฟ้ าหรื อคอยล์ไอนํIา ที>ตอ้ งใช้พลังงานมาก และยังกลายเป็ น ภาระความร้อนสัมผัสของห้อง
ดังนัIน เครื> องในลักษณะนีI ยังคงจํากัดในกรณี ของการลดความชืIน โดยใช้เครื> อง ทําหน้าที> เป็ นเครื> องลดความชืIน(Dehumidifier)
ผูผ้ ลิต Desiccant Dehumidifier ในปั จจุบนั ทราบจุดอ่อนการที>ใช้พลังงานในการไล่ความชืIนนีIดี จึงมีทางเลือกให้สามารถใช้ระบบ
Heat Pump โดยใช้ความร้อนทางด้านคอยล์ร้อนในการไล่ความชืIน และใช้ความเย็นจากคอยล์เย็นในการเพิ>มการทําความเย็น ทําให้ได้ค่า
COP เกิน 3 ได้ แต่ระบบดังกล่าวมีราคาที>สูงขึIน ผูข้ ายจึงไม่ค่อยนําเสนอทางเลือกนีI

ในกรณี ที>ผตู ้ รวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงานพบเครื> องที>ใช้ขดลวดไฟฟ้ าหรื อคอยล์ไอนํIา ก็เป็ นโอกาสที>จะ ปรับปรุ งเพื>อการ
อนุรักษ์พลังงาน โดยมีโอกาสคืนทุนภายใน 2 ปี

3.2.2 Absorption Refrigeration


ความจริ ง เทคโนโลยีนI ี เกิ ดมากว่า 100 ปี พอๆกับ แบบการอัดเพิ>มความดัน โดยในสมัยแรกใช้ทาํ ความเย็น ให้กบั ตูเ้ ย็น เช่ น
Electrolux และ Kelvinator ในปั จจุ บัน Electrolux ก็ย งั มี ตูเ้ ย็นแบบนีI อยู่ เพื>อใช้ใ นโรงแรม ที> ไม่ตอ้ งการ ให้มีเสี ยงรบกวนจาก
คอมเพรสเซอร์ เหมือนตูเ้ ย็นทัว> ไป
สารทําความเย็นคือนํIา และสารดูดซับที>นิยมในปั จจุบนั คือ ลิเทียม โบรไมด์ การทํางานของระบบอาศัยแหล่ง ความร้อนเพื>อใช้ไล่
ความชืIนจากสารดูดซับ และเครื> องสูบนํIาเพื>อหมุนเวียนนํIาภายในระบบ
สําหรับเครื> องทํานํIาเย็นแบบดูดซับ(Absorption Chiller) หากเป็ นแบบการให้ความร้อนชัIนเดี ยว(Single Effect) จะมีค่า COP
ประมาณ 0.6 และหากเป็ นแบบการให้ความร้อน 2 ชัIน(Double Effect) ก็จะมีค่า COP ประมาณ 1.2 ซึ> ง เมื>อเทียบกับเครื> องทําความเย็น
แบบการอัดเพิ>มความดันที> มีค่า COP เกิน 3 จะเห็ นว่าเครื> องชนิ ดนีI มีประสิ ทธิ ภาพตํ>ากว่า ดังนัIน เครื> องทําความเย็นแบบ Absorption

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-21

Refrigeration จึงเหมาะกับการใช้งานในกรณี ที>มีแหล่งความร้อนทิIง เช่น ไอเสี ย จากเครื> องผลิตไฟฟ้ า ไอนํIาที>เหลือหรื อมีราคาถูก หรื อมี
แหล่งเชืIอเพลิงราคาถูกกว่าไฟฟ้ า เช่น ก๊าซธรรมชาติ
Absorption Chiller ในอดีต ส่ วนใหญ่เป็ นชนิ ดที>ออกแบบมาเพื>อใช้กบั ไอนํIา (Steam Fired) เนื> องจาก การใช้งาน ในประเทศที>มี
อากาศหนาว มีการใช้ไอนํIาในการทําความร้อน จึงใช้ไอนํIานัIนกับเครื> องทําความเย็นด้วย แต่ในปั จจุบนั มีเครื> องที>ออกแบบมาให้ใช้กบั
แหล่งความร้อนต่างๆ เช่น นํIาร้อน ไอเสี ย การเผาไหม้โดยตรง (Direct Fired) จึงทําให้มีทาง เลือกสําหรับแหล่งความร้อนมากขึIน รวมทัIง
มีโอกาสทําให้ประสิ ทธิภาพโดยรวมเพิ>มขึIน

หอระบายความร้ อน (COOLING TOWER)


Cooling Tower เป็ นอุปกรณ์ ที>ใช้ในการระบายความร้อนที>อาศัยการระเหยตัวของนํIา (Evaporation) นํIาส่ วนที> ระเหยไปจะดึงเอา
ความร้อนจากปริ มาณนํIาที>เหลือ ซึ>งนํIาที>ระเหยไป 1 % จะช่วยลดอุณหภูมิลงได้ประมาณ 10 C
Cooling Tower สามารถแบ่งออกตามวิธีที>อากาศเคลื>อนไหว คือ
1) แบบอาศัยการเคลื>อนไหวของอากาศตามธรรมชาติ (Atmospheric หรื อ Natural Draft Cooling Tower)
2) แบบอาศัยพัดลมในการขับดันอากาศ (Mechanical Draft Cooling Tower) ซึ>งสามารถแบ่งตามการดูดอากาศ เข้าออกได้เป็ น 2
ประเภทคือ
Cooling Tower แบบเป้ าอากาศเข้า (Forced Draft) โดยอากาศจะถูกเป่ าเข้าจากด้านล่างไปสู่ ดา้ น บน ช่วยในการลดเสี ยง
แต่จะมีโอกาสที>อากาศร้อนและชืIน อาจย้อนกลับเข้าไปใหม่ ทําให้ประสิ ทธิ ภาพอาจไม่ดีนกั
Cooling Tower แบบดูดอากาศออก (Induced Draft) จะทําให้การกระจายอากาศเป็ นไปอย่างสมํ>าเสมอไม่เกิดการดูด
กลับแต่เสี ยงจะดังกว่าแบบแรก
นอกจากการแบ่งตามประเภทที>กล่าวไปแล้วนีIอาจจะแบ่งออก ตามทิศทางการไหลของอากาศและนํIาใน Cooling Tower อันได้แก่
Cooling Tower ชนิ ดอากาศและนํIาไหลตัดกัน (Cross Flow) ซึ> งนํIาจะถูกปล่อยออกในแนวดิ>ง และอากาศจะเคลื>อนที>
ผ่านในแนวนอน ทําให้ใช้พลังงานในการดูดอากาศน้อยกว่า
Cooling Tower ชนิดอากาศและนํIาส่วนทางกัน (Counter Flow) ซึ>งนํIาจะถูกปล่อยออกในแนวดิ>ง และอากาศจะเคลื>อนที>
ผ่านสวนทางกัน ทําให้ตอ้ งใช้พลังงานในการดูดอากาศมากขึIน และทําให้นI าํ มีโอกาสสูญเสี ยได้มากกว่า
ในระยะหลังนีI ผูอ้ อกแบบเริ> มเห็นความสําคัญของ Cooling Tower มากขึIน เพราะหากระบายความ ร้อนไม่ดี เครื> องทํานํIาเย็นก็จะ
ไม่มีประสิ ทธิภาพ

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-22

นอกจากนีI ปั ญหาเรื> องโรคลีเจียแนร์มีเพิ>มขึIน จึงเริ> มหันมาใช้ Cooling Tower แบบ Cross Flow มาก ขึIน ที>นอกจากจะใช้นI าํ น้อยลง
30% แล้ว ยังระบายความร้อนได้ดี และใช้พIนื ที>ตI งั น้อยกว่า

แบบ Counter Flow แบบ Cross Flow

ปัจจัยด้ านพลังงานทีต้ องคํานึงถึงในการเลือกหอระบายความร้ อน

1) การเลือกประเภทและขนาดของหอระบายความร้ อน
การเลื อกประเภทและขนาดของหอระบายความร้ อนที> เหมาะสมกับภาระความร้ อนทําให้การระบายความร้ อน เป็ นไปอย่างมี
ประสิ ทธิภาพเท่าที>หอระบายความร้อนจะทําได้ เมื>อมีการติดตัIงตามคําแนะนําของผูผ้ ลิต
2) ตําแหน่ งทีตัCงของหอระบายความร้ อน
ตําแหน่งที>ตI งั ต้องอยูใ่ นตําแหน่งที>มีอากาศถ่ายเทได้สะดวกทัIงด้านข้างและด้านบนของหอระบายความร้อน และไม่ควรมีส>ิ งปิ ดบัง
ทางไหลของ อากาศเข้าและออกจากหอระบายความร้อน ทัIงนีI สามารถศึกษาได้จากคู่มือ ของผูผ้ ลิตหอระบายความร้อน ซึ> งปกติมกั จะ
ติดตัIงให้ห่างจากผนังทึบไม่นอ้ ยกว่าเส้นผ่าศูนย์กลางของหอ ระบายความร้อน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-23

3) ทิศทางการไหลของอากาศและความเร็วของกระแสลม
ตําแหน่งที>ตI งั หอระบายความร้อน โดยเฉพาะช่องรับลมเข้า ควรสอดคล้องกับทิศทางไหลของอากาศ
4) ช่ องเปิ ดรับลมด้ านข้ างและด้ านบนของหอระบายความร้ อน
หอระบายความร้อนมักจะถูกติดตัIงให้อยูใ่ นพืIนที>ปิดบัง เพื>อเหตุผลทางสถาปั ตยกรรมซึ> งปั จจัยดังกล่าวนีI ทําให้ประสิ ทธิ ภาพในการ
ระบายความร้อนไม่เป็ นไปตามปริ มาณความร้อนที>ตอ้ งการให้ระบายออก
5) ระบบท่ อนําC และระบบเครืองสู บนําC ทีต่ อเข้ ากับหอระบายความร้ อน
การจัดวางและการต่อท่อนํIาของหอระบายความร้อนกับเครื> องทําความเย็นส่วนการกลาง ก็เป็ นปั จจัยที> สามารถดําเนิ นการได้ในช่วง
การออกแบบให้เกิดการประหยัดพลังงาน
3.3 เกณฑ์ ในการออกแบบระบบส่ งจ่ ายความเย็น
การออกแบบในระบบส่งจ่ายในระบบปรับอากาศ จะมีอยูส่ องส่วนใหญ่ๆ อันได้แก่
ระบบส่งลม (Air Side -Air Distribution System)
ระบบส่งนํIา (Water Side -Chilled and Condenser Water System)
3.3.1 ระบบส่ งลม
ระบบส่งลมไม่วา่ จะเป็ นระบบปรับอากาศ ระบายอากาศ หรื อ กรองอากาศต่างๆ จะมีองค์ประกอบดังนีI
เครืองส่ งลม, พัดลม (Fan/Blower)
พัดลม ที>นิยมใช้ในระบบปรับอากาศและระบายอากาศ และระบายอากาศ ได้แก่
พัดลมแบบแรงเหวียง (Centrifugal Fan) เป็ นพัดลมที>ใช้ในงานที>ตอ้ งการความดันอากาศสูง แบ่งออกได้ ตามลักษณะใบพัด
และที>นิยมใช้ ได้แก่

- พัดลมแบบใบพัดโค้งไปด้านหน้า (Forward Curved Blade Fan) เป็ นพัดลมที>นิยมใช้ในการ ระบายอากาศและส่ งลมเย็น


ทัว> ๆไป แต่ไม่ควรใช้ในกรณี ที> อัตราการไหลของอากาศ เปลี>ยน แปรตลอดเวลา ซึ> งจะทําให้ มอเตอร์ อาจทํางานเกิ น
กําลังได้ และอากาศต้องสะอาด ไม่เช่นนัIนอาจ มีส>ิ งสกปรกติดอยูบ่ ริ เวณใบพัดได้ง่าย แต่พดั ลมประเภทนีI จะให้เสี ยงเบา
กว่า และมีการสัน> สะเทือนน้อยกว่า

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-24

- พัดลมแบบใบพัดโค้งไปด้านหลัง (Backward Curved Blade Fan) เป็ นพัดลมที>นิยมใช้ใน การ ระบายอากาศและส่ งลม
เย็น เพราะมีประสิ ทธิภาพสูงกว่า ในกรณี ที>ตอ้ งการความดันมากขึIน หรื อใช้ในกรณี ที>อากาศ ที>ระบายออกสกปรกที>อาจ
ทําให้มอเตอร์อาจทํางานเกินกําลังได้
- พัดลมแบบใบตรง (Radial or Straight Blade Fan) เป็ นพัดลมที> มีประสิ ทธิ ภาพตํ>าสุ ด มักใช้ในอุตสาหกรรมที> มีส>ิ ง
สกปรกปนมาในอากาศ

พัดลมแบบอากาศไหลตามแนวแกน (Axial Flow Fan) เป็ นพัดลมที> อากาศจะถูกบังคับให้ไหล ขนานไปกับแกนของใบพัด


เหมาะกับการใช้งานที>มีความต้านทานลมตํ>า แบ่งได้เป็ น
- พัดลมแบบ Tube Axial เป็ นพัดลมแบบท่อรู ปทรงกระบอก ใช้ในกรณี ที>ความดันตํ>าและ ปานกลาง
- พัดลมแบบ Vane Axial คล้ายกับแบบ Tube Axial แต่มีการเพิ>ม Guide Vane เข้าไปเพื>อใช้ในกรณี ที>ตอ้ งการความดัน
และประสิ ทธิภาพสูงขึIน
- พัดลมแบบ Propeller เป็ นพัดลมที>นิยมใช้กนั ทัว> ไปในการระบายอากาศที>ไม่ตอ้ งการ ความดันมากนัก ประสิ ทธิ ภาพจะ
ตํ>ากว่า

ระบบท่ อลม หรือระบบการกระจายลม (Air Distribution System)


ท่อลมที>นิยมใช้ในงานระบบปรับอากาศ จะทําจากแผ่นสังกะสี นาํ มาตีขI ึนรู ป เป็ นท่อ โดยการยึดตาม มาตรฐาน SMACNA (Sheet
Metal and Air Conditioning Contractors’ National Association Inc.) ซึ>งวิศวกรที>ปรึ กษา ในไทย นิยมใช้ ในการอ้างอิง
ขัIนตอนในการออกแบบระบบกระจายลม โดยทัว> ไปจะดําเนินการดังนีI
คํานวณภาระความเย็นที>ตอ้ งการในพืIนที>ที>ตอ้ งการออกแบบ
เลือกระบบปรับอากาศ และประเภทของเครื> องส่งลมเย็นที>ตอ้ งใช้
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-25

ประมาณระบบกระจายลมเย็นที>ตอ้ งใช้
กําหนดแนวทางท่อลมเย็นที>เป็ นไปได้และตําแหน่งหัวจ่ายที>ทาํ ให้การกระจายลม เป็ นไปอย่าง มีประสิ ทธิภาพมากที>สุด
กําหนดขนาดของท่อลมเย็น และปรับปรุ งแนวทางการเดินท่อลมที>เหมาะสม
ระบบกระจายลมเย็น จะแบ่งเป็ น 2 ประเภท ได้แก่
ระบบความเร็ วลมตํ>า จะมีความเร็ วโดยเฉลี>ยประมาณ 800-2,400 fpm. จะมีความดันสถิต ประมาณ 0.1-0.5 in. WG.
ระบบความเร็ วลมสูง จะมีความเร็ วโดยเฉลี>ยประมาณ 2,500-5,000 fpm จะมีความดันสถิต ประมาณ 1.0-3.0 in. WG.
การออกแบบท่อลม ที>วศิ วกรออกแบบนิยมใช้ จะใช้วธิ ี Equal Friction มากกว่า วิธี Static Regain ซึ>งจะใช้เวลา มากกว่าและให้ผล
ไม่แตกต่างมากนัก โดยวิธี Equal Friction เป็ นวิธีที>ให้ค่าความเสี ยดทานในท่อลมมีค่าคงที>เท่ากันหมดทัIงเส้นท่อลม ซึ> งจะใช้ประมาณ
0.08 - 0.1 นิIว(นํIา) ต่อความยาวท่อเทียบเท่า 100 ฟุต หรื อประมาณ 0.6 – 0.8 ปาสคาลต่อเมตร ทัIงนีI การใช้ค่าดังกล่าว ขึIนกับวิจารณญาณ
ของวิศวกรผูอ้ อกแบบ ถ้าต้องการให้ท่อลมเล็กลงก็จะทําให้ค่าความเสี ยดทานเพิ>มมากขึIน ทําให้ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานก็จะสู งตามไปด้วย
ดังนัIนการออกแบบที>ตอ้ งการให้ท่อลมเล็กก็จะมีค่าพลังงานที>ตอ้ ง จ่ายมากขึIนแฝงตามมาด้วย เกณฑ์ดงั กล่าว จึงขึIนกับจรรยาบรรณ ของ
วิศวกรผูอ้ อกแบบ มากกว่าหลักการทางทฤษฎี

การออกแบบท่อลม ที>คาํ นึงถึงประสิ ทธิภาพในด้านพลังงาน จะต้องคํานึงถึง


วัตถุประสงค์ของการออกแบบ และเป้ าหมายที>ตอ้ งการในการกระจายลม
กําหนดแนวทางการเดินท่อลม ให้สอดคล้องกับหลักการกระจายลมที>สมมาตรและสมดุล ในแต่ละเส้นท่อ
พิจารณาแนวทางในการเดินท่อลมที>ประหยัด และสัIนที>สุดและมีการหักเลีIยวน้อยที>สุด เท่าที>จะเป็ นไปได้ เพื>อให้ค่าความดัน
ลดในท่อลมน้อยที>สุด ซึ>งจะมีผลต่อการใช้พลังงานในเครื> องส่งลมเย็น
ปริ มาณลมและความต้านทานลมที>กาํ หนดจะต้องสอดคล้องกับการระบายอากาศที>ตอ้ งการจริ ง
ควรพิจารณาการติดตัIง Damper หรื ออุปกรณ์ควบคุมต่างๆให้ติดเท่าที> จาํ เป็ นเพราะ จะเป็ นการเพิ>มความ ต้านทานให้กบั
อากาศในท่อลมมากขึIน
ควรให้มี aspect ratio ของท่อลมเป็ นอัตราส่วนที>นอ้ ยที>สุด หรื อให้ความสู งและ ความกว้างของท่อลม ไม่แตกต่างกันมากนัก
ซึ>งปกติท่อลมใหญ่จะยอมให้ อัตราส่วนดังกล่าว ขึIนถึง 3 ต่อ 1
การต่อท่อลมควรจะให้สมํ>าเสมอ หรื อต่อแบบหน้าแปลน
การกระจายลมเย็น ควรจะมีการแบ่งขอบเขตของการจ่ายลมเย็นให้ชดั เจน ทัIง Perimeter Zone และ Inner Zone โดยในส่ วน inner
Zone นัIน ภาระทําความร้อนอาจไม่เปลี>ยนแปลงมากนัก จึงสามารถใช้ แบบปริ มาณลมคงที> (CAV-Constant Air Volume) ส่ วน Perimeter
Zone ควรใช้การกระจายลมเย็นแบบ แปรเปลี>ยนปริ มาณลมเย็น (VAV-Variable Air Volume) ทัIงนีIขI ึนกับการใช้สอยในแต่ละพืIนที>
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-26

Variable Air Volume (VAV) เป็ นระบบที>ในทางทฤษฎี สามารถช่วยในการปรับปริ มาณลมให้ได้ตามอุณหภูมิที>ตอ้ งการ โดย
ส่วนตัวยังเห็นว่าทฤษฎีนI ี ใช้ได้ และระบบนีI สามารถช่วยให้เกิดความสะบายและช่วยในการประหยัดพลังงานได้ แต่สาเหตุที>ระบบนีI ไม่
สามารถทํางานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ส่วนใหญ่เกิดจากอุปกรณ์ที>ไม่ได้คุณภาพ และการติดตัIง กล่อง VAV หากประกอบไม่ได้มาตรฐาน
อุปกรณ์ขบั ลิIนปรับปริ มาณลมจะไม่ทาํ งาน ตัวควบคุมอุณหภูมิหากติดตัIงใกล้หวั จ่าย ใกล้โคมไฟ ใกล้แสงแดดก็วดั ค่าผิด ฝ้ าเพดานปิ ดตาย
ทําให้ไม่สามารถเปิ ดตรวจสอบได้ หัวจ่ายไม่ใช่ชนิดที>ใช้กบั ระบบ VAV เหล่านีIเป็ นปั ญหาที>ผา่ นมาของระบบ VAV
ในทางทฤษฎี ระบบ VAV ควรใช้ผสมกับระบบการจ่ายลมคงที> โดยใช้ระบบ VAV เฉพาะบริ เวณ เช่น บริ เวณรอบเปลือกอาคาร
(Perimeter Zone) และห้องผูบ้ ริ หาร ห้องประชุม ส่วนภายใน (Interior Zone) และสํานักงานเปิ ด (Open office) ใช้ระบบการจ่ายลมคงที>ก็
ได้ โดยแยกพัดลมของสองส่วนนีIออกจากกัน

หัวจ่ ายลม (Air Grille/Diffuser)


หัวกระจายลมหรื อหัวจ่ายลม ทําหน้าที>ในการส่งลมเย็นไปในพืIนที>จะทําความเย็น การกระจายลมเย็น ที>มี ประสิ ทธิภาพจะทําให้มี
ความสมํ>าเสมอของการทําความเย็นในแต่ละพืIนที>เป็ นอย่างเหมาะสมและทัว> ถึง
การออกแบบระบบท่อลมและระบบกระจายลมผิด อาจทําให้มีการติดตัIงเครื> องปรับอากาศเพิ>มเพราะคิดว่า การทําความเย็นไม่
เพียงพอรวมทัIงมลภาวะทางเสี ยง ที>ออกมาจากหัวจ่ายซึ>งมีความเร็ ซลมที>สูงเกินไป
หัวจ่ายลมที>นิยมใช้โดยทัว> ไป มีดงั นีI
หัวจ่ายลมแบบกลม (Round Ceiling Diffuser) มักใช้ในกรณี ที>ตอ้ งการความสวยงาม หรื อความสมํ>าเสมอ ในการกระจายลม
ออกเป็ นแนวรัศมี

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-27

หัวจ่ายลมแบบสี> เหลี>ยมจัตุรัส (Square Ceiling Diffuser) แบบทัว> ไป จะมีการกระจายลมเย็นออก 4 ทาง ใช้ในงานอาคาร


ประเภทต่างๆ มีทI งั แบบที>มีใบปรับลม และไม่มีใบปรับปริ มาณลม
หัวจ่ายลมแบบสี> เหลี>ยมจัตุรัส (Square Ceiling Diffuser) แบบสองทาง สามทาง มักใช้ในกรณี ที>มี เข้ามุม ห้องหรื อสุดทาง

หัวจ่ายลมแบบ Perforated Square Ceiling Diffuser นิยมใช้ในกรณี ที>มีการใช้ VAV (Variable Air Volume)
หัวจ่ายลมแบบ Slot นิยมใช้ในกรณี ที>มีที>หรื อแนวช่องจ่ายลมที>จาํ กัดหรื อมีการใช้ระบบ VAV
ปกติความเร็ วลมที>ใช้ในการคํานวณเมื>อผ่านหัวจ่ายลมจะประมาณ 600 ฟุตต่อวินาที (3 เมตรต่อวินาที)สําหรับด้าน ช่องจ่ายลม
และประมาณ 400 ฟุตต่อวินาที (/ เมตรต่อวินาที) สําหรับช่องลมกลับ
ในการออกแบบ ติดตัIงใช้งานหัวจ่ายลม จะต้องคํานึ งถึง ระยะตกในแนวดิ> ง(DROP) และระยะที> แรงลม ส่ งไปถึง (THROW)
โดยทัว> ไป จะนิ ยมออกแบบหัวจ่ายลมแบบสี> เหลี>ยมจัตุรัส จ่ายลมได้ 400 cfm (cubic foot per minute) ต่อหนึ> งหัวจ่ายและเลือกระยะ
THROW ที>มีความเร็ วลมปลายทางเท่ากับ 150 fpm (foot per minute) ที>ระยะความ สูง 9 ฟุตซึ>งเป็ นระดับเพดานทัว> ไป
LOW AIR VELOCITY COOLING COIL
การทําให้ลมผ่าน Cooling Coil ช้าลงทําให้ลมมีเวลาสัมผัสกับ Cooling Coil นานขึIน ทําให้มีเวลาในการแลกเปลี>ยนความร้อนมาก
ขึIน การกลัน> ตัวของนํIาในอากาศมากขึIน และทําให้ความชืIนตํ>าลง เป็ นทฤษฎีที>ตรงไปตรงมา
เครื> องส่งลมเย็นส่วนใหญ่จะสร้างมาให้มีความเร็ วลมผ่าน Cooling Coil 500-600 ฟุตต่อนาที เพื>อทําให้เครื> องมีขนาดเล็กลง และมีราคาถูก
เครื> องประเภทนีI หากใช้ที>อื>นอาจจะมีปัญหาไม่มากนัก แต่พอมาใช้กบั ประเทศไทยที>อากาศชืIน จึงมักไม่สามารถควบคุมความชืIนได้
ความเร็ วลมที> 400 ฟุตต่อนาที ช่วยให้ Cooling Coil สามารถดึงความชืIนออกจากอากาศได้ดีขI ึนมาก
การจ่ ายลมเย็นโดยการทดแทนอากาศ (DISPLACEMENT VENTILATION)
Displacement Ventilation หรื อ DV เป็ นระบบการจ่ายลมเย็นที>ทาํ ความเย็นด้วยการพาความร้อน (Convection Cooling) โดยอาศัย
คุณสมบัติอากาศร้อนที>ลอยขึIน และอากาศที> เย็นกว่าเข้ามาแทนที> ดังนัIนการจ่ายลมเย็นจึ งจ่ายในระดับตํ>า และควบคุมสภาวะการปรับ
อากาศให้อยูใ่ นระดับความสูงของห้องที>ตอ้ งการเท่านัIน สําหรับห้องที>มีความสูงมากๆจึงไม่มีความจําเป็ นที>จะต้องปรับอากาศตลอดความ
สูงของห้อง
ระบบดังกล่าวนีI เหมาะอย่างยิง> สําหรับ อาคารที>มีความสูงมาก เช่น อาคารโถงผูโ้ ดยสารสนามบิน ห้องประชุม ห้องประชุมขนาด
ใหญ่ โรงภาพยนตร์ โรงแสดงดนตรี ละคร นอกจากจะทําให้ขนาดของเครื> องปรับอากาศลดลง และประหยัดพลังงานแล้ว ยังทําให้

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-28

อุณหภูมิและความชืIนอยูใ่ นระดับที>พอเหมาะ ไม่ตอ้ งปรับอุณหภูมิให้ต>าํ จนเกินไป และทําให้คุณภาพอากาศดีขI ึน เนื> องจากการจ่ายลมเย็น


กระทบผูใ้ ช้ โดยมีการปนเปืI อนกับอากาศภายในห้องน้อยกว่า หลังจากนัIนก็จะลอยตัวขึIนไปเลย
เนื>องจาก การหมุนเวียนอากาศของระบบ DV เป็ นลักษณะการทดแทนอากาศ จึงมีความเร็ วลมตํ>ากว่าปกติ จึงต้องควบคุมความชืIน
ให้อยู่ในระดับตํ>า และเปลือกอาคารจะต้องมีคุณสมบัติในการแผ่รังสี ความร้อนเข้าสู่ ภายในอาคารตํ>า มิเช่นนัIน จะมีผลกระทบกับทิ ศ
ทางการหมุนเวียนอากาศในลักษณะของการพาความร้อนภายในห้อง
ระบบกรองอากาศ (Air Filtering System)
เป็ นส่วนที>ใช้ในการกรองฝุ่ นละอองต่างๆที>เข้ามาพร้อมกับอากาศภายในหรื อภายนอก อาคารเพื>อทําให้อากาศหมุนเวียน มีความ
สะอาดเพียงพอที>จะทําให้ผใู ้ ช้งานระบบ ไม่มีความรู ้สึกอึดอัดหรื อ มีกลิ>นเข้าไปในอากาศที>หายใจ
ชนิดของแผงกรองอากาศ
แผงกรองอากาศที>นิยมใช้ จะแบ่งตามโครงสร้างของแผงกรองอากาศดังต่อไปนีI
1) Panel Filter
เป็ นแผงกรองอากาศชนิ ดที> เป็ นแผ่นแบบแห้ง(Dry Type) ที> เคลือบด้วย viscous impingement type เป็ นชนิ ดที> ใช้แล้วทิI ง
(disposable filter) หรื อหากเป็ นชนิดที>สามารถนํากลับมาใช้อีก (Permanent filter) จะทําด้วยเหล็กหรื ออลูมิเนี ยม ที>สามารถล้างได้ดว้ ยไอ
นํIา แผงกรองอากาศชนิ ดนีI จะมีความดันตก (pressure drop) ตํ>า ความหนาประมาณ 1-2 นิIว บางครัIงจะใช้แบบ Renewable Media Filter
ซึ>งจะเป็ นแบบที>มีมอเตอร์ขบั ให้หมุนเวียนวัสดุกรอง

2) Extended Surface Filter


เป็ นแผงกรองอากาศที>มีการเพิ>มพืIนที>ผิวในการจับฝุ่ นละออง ได้มากขึIน ซึ>งมักจะทําจากเส้นใยแก้ว มาจัดเรี ยงตัวเป็ นแบบถุง หรื อ
อัดเป็ นแบบตัววี มีประสิ ทธิภาพสูงกว่าแบบ Panel Filter
3) Electronic Air Cleaner
เป็ นแบบที>มีการยิงประจุไฟฟ้ าสถิตเพื>อจับฝุ่ น ที>มีขนาดเล็ก แล้วเข้าไปเก็บที>วสั ดุกรอง แผงกรองประเภทนีI จะมีความดันตกคร่ อม
และประสิ ทธิภาพคงที>
โดยประสิ ทธิภาพของแผงกรองอากาศจะขึIนอยูก่ บั
1) ประสิ ทธิภาพ(Efficiency) ซึ>งจะวัดเป็ นความสามารถในการกําจัดฝุ่ นของจากกระแสลม
2) ความดันตกคร่ อม(Pressure Drop)หรื อความเสี ยดทานกระแสลม (Air Flow Resistance)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-29

3) ความสามารถในการเก็บฝุ่ น (Dust Holding Capacity) เป็ นปริ มาณในที>แผงกรองอากาศสามารถ เก็บได้จน ถึงค่าความ


ต้านทานสูงสุด
การใช้แผงกรองอากาศที> มีประสิ ทธิ ภาพมากก็จะทําให้การกรองอากาศเป็ นไปอย่างเหมาะสม ซึ> งค่าความดันตกคร่ อมจะเป็ น
ปั จจัยในเชิงพลังงาน ที>สาํ คัญ โดย
1) แผงกรองอากาศ ควรมีขนาดที>เหมาะสมและสอดคล้องกับ ปริ มาณลมและปริ มาณฝุ่ นที>จะดักจับ เลือกที>ความเร็ วลมตํ>า จะทํา
ให้อายุการใช้งานของแผงกรองอากาศนานขึIน และถ้าความเร็ วลมคงที> จะทําให้แผงกรองอากาศทํางานได้ดีขI ึน
2) การออกแบบท่อลมควรมีระยะขยายและลดก่อนถึงส่วนที>ติดตัIงแผงกรองอากาศ ให้เหมาะสม
3) ควรติดตัIงแผงกรองอากาศทางด้านดูดของพัดลมหรื อเครื> องส่งลมเพื>อให้การกระจายลมเป็ นไป อย่างทัว> ถึง
4) ควรติดตัIงชุดตรวจวัดความดันตกคร่ อม (Air Filter Pressure Gauge)หรื อสวิตซ์ความดัน (Pressure Switch) เพื>อตรวจวัดความ
ดัน ถ้าปริ มาณลมที>จ่ายในระบบลดลงตํ>ากว่า 10 % ควรมีการตรวจสอบแผงกรองอากาศ
3.3.2 ระบบส่ งนําK (Chilled and Condenser Water Pumping System)
ในการออกแบบระบบการจ่าย นํIาอย่างมีประสิ ทธิภาพ จะเริ> มจาก
การเลือกเครืองสู บนําC ให้ เหมาะสมกับระบบการจ่ ายนําC
การเลือกเครื> องสูบนํIา ให้เหมาะสมกับระบบการจ่ายนํIา จะดําเนินการโดย
หา Pump Curve โดยดูจาก Catalog ของเครื> องสูบนํIาที>จะเลือกใช้
หา System Pressure Curve (เส้นกราฟแรงดันระบบ) โดยคํานวณจากอัตราการไหล ที>ออกแบบและ ความดันสูญเสี ย ของท่อ
นํIา คอยล์นI าํ เย็น วาล์วควบคุม และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ของระบบ
หาจุดตัดระหว่าง Pump Curve และ System Curve ซึ>งจะเป็ นจุดที>เหมาะสมของแรงดันที>เครื> องสู บนํIาสร้าง ได้สอดคล้อง กับ
ความต้านทานของระบบ
การใช้ Variable Speed Drive ในระบบการจ่ ายนําC
จาก Affinity Law ที>กาํ ลังไฟฟ้ าที>ใช้ จะเป็ นสัดส่วนกําลังสามกับความเร็ ว หากสามารถลด ความเร็ ว รอบของเครื> องสู บนํIาที>ใช้ใน
ระบบได้ก็จะทําให้สามารถลดการใช้พลังงานลงได้มาก
ในการออกแบบระบบส่งนํIาเย็นโดยทัว> ไปจะแบ่งเป็ น
แบบทัว> ไป (Conventional Design) เป็ นแบบปริ มาณนํIาเย็นคงที> (CWV-Constant Water Volume System) โดยการควบคุม
ความดันให้คงที>ตลอดระบบท่อนํIาเย็น ซึ>งนิยมใช้ วาล์วแบบ 3 ทาง (three-way Control Valve)
แบบที>มีการแปรเปลี>ยนปริ มาณนํIา (Variable Water Volume System) เป็ นแบบที>ให้มีการปรับเปลี>ยนปริ มาณนํIาตาม ความ
ต้องการ ความเย็น ที>ใช้จริ ง (VWV-Variable Water Volume System) ซึ>งจะมีการใช้เครื> องสู บนํIา สองกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรกจะ
เป็ นกลุ่มปฐมภูมิ (Primary Pumps) ซึ> งเป็ นกลุ่มที> จะทําให้นI าํ เย็นหมุนเวียน เอา ชนะความดันลด (Friction Loss) ผ่านเครื> อง
ทําความ เย็นท่อและอุปกรณ์ต่างๆในห้องเครื> องทําความเย็นได้ กลุ่มที>สองจะเป็ นกลุ่มทุติยภูมิ (Secondary Pumps) ซึ> งจะ
สร้างแรงดันนํIาเย็น ให้มากพอ ที>จะจ่ายนํIาเย็นผ่านเข้าไปในระบบท่อทัIงวงจรได้ โดยในการควบคุมนํIา ที>เครื> องปรับอากาศ
จะใช้วาล์วแบบ 2 ทาง (Two-way Control Valve)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-30

Variable Chilled Water Volume (VWV) ก็เป็ นระบบที>ปรับปริ มาณนํIาเย็นตามความต้องการของ ปริ มาณนํIาเย็น เนื> องจากปริ มาณ
นํIาเย็นที>หมุนเวียนในระบบนํIาเย็นมีปริ มาณมาก หากสามารถปรับ ปริ มาณนํIาเย็นได้ ก็จะช่วยประหยัดพลังงานของเครื> องสู บนํIาเย็นได้
มาก
ถ้ามีเจ้าของอาคารเรี ยกให้เข้าไปตรวจสอบและเสนอมาตรการในการประหยัดพลังงาน การปรับ ปริ มาณนํIาเย็นของระบบนํIาเย็น
มักจะได้ผลเสมอ เพราะเกือบทุกอาคาร หรื อทุกอาคารก็วา่ ได้ที> ระบบ นํIาเย็นไม่สมดุลย์ การที>ระบบนํIาเย็นไม่สมดุลย์นI ี นอกจากเครื> อง
สูบนํIาเย็นจะกินไฟมากแล้ว ยังทําให้มี ปั ญหาในการควบคุมความเย็นและความชืIน
ระบบ VWV ช่วยลดปั ญหาดังกล่าวได้ส่วนหนึ>ง เพราะในระบบดังกล่าว ใช้ 2-way Control Valve ซึ>งหากหรี> จะทําให้เครื> องส่งลม
เย็นใช้นI าํ เย็นน้อยลง และมีนI าํ เย็นเหลือในระบบ
ปั ญหาที>สาํ คัญของระบบ VWV จนทุกวันนีIก็คือ ระบบการควบคุมเครื> องสูบนํIาเย็นและการรักษา ความดันในระบบให้คงที>

4. ระบบควบคุม
ระบบควบคุม มีองค์ประกอบพืIนฐานได้แก่
ตัววัด (Sensor) เป็ นส่วนที>จะวัดค่าที>ตอ้ งการและส่งค่ากลับไปยังเครื> องควบคุม
เครืองควบคุม (Controller) เป็ นส่ วนที>จะรับค่าจากตัววัดแล้วนํามาเปรี ยบเทียบกับค่าที>ตI งั ไว้ แล้วส่ งสัญญาณไป อุปกรณ์ควบคุม
ต่อไป
อุปกรณ์ ควบคุม (controlled Device) เป็ นอุปกรณ์ที>รับสัญญาณจากส่วนควบคุมมาปฏิบตั ิ
สําหรับระบบปรับอากาศและระบายอากาศ จะมีค่าที>ตอ้ งการวัดอยู่ 4 ประเภทคือ อุณหภูมิ ความชืIน ความดัน อัตราการไหล
อุปกรณ์สาํ หรับวัดอุณหภูมิ ที>นิยมใช้ในระบบปรับอากาศ ได้แก่
Thermocouple เป็ นลวดโลหะ 2 ชนิ ดที>ปลายต่อเชื>อมกันและขยายตัวต่างกันเมื>อมีการเปลี>ยนแปลงอุณหภูมิ ไม่ค่อยนิ ยมใช้ทาํ เป็ น
เครื> องมือวัดแต่จะใช้ในการอ่านค่ามากกว่า
Resistance Thermometer Detector(RTD) เป็ นโลหะที>มีค่าความต้านทานเปลี>ยนแปลงตามอุณหภูมิ นิ ยมใช้ทาํ เป็ นตัววัดในระบบ
ปรับอากาศ
Thermister ทําจาก Semiconductor ที>มีความไวต่อการเปลี>ยนแปลงอุณหภูมิสูง แต่บอบบางและแตกหักง่ายกว่า
Integrated Circuit Temperature Sensor (I.C. Sensor) เป็ น Diode ที>มีค่าแรงดันเปลี>ยนไปตามอุณหภูมิ
Bimetal Sensor เป็ นโลหะ 2 ชนิดที>ขยายตัวตามการเปลี>ยนแปลงอุณหภูมิ
Bellow เป็ นอุปกรณ์ที>บรรจุก๊าซหรื อของเหลว ซึ>งจะขยายตัวหรื อหดตัวตามการเปลี>ยนแปลงตามอุณหภูมิ
อุปกรณ์สาํ หรับวัดความชืIน ที>นิยมใช้ในระบบปรับอากาศ ทําจากวัสดุ 2 ประเภทได้แก่
Organic Element เช่น ผม ขนม้า หนังสัตว์ ไม้ จะขยายหรื อหดตัวเมื>อความชืIนเปลี>ยนไป
Non-Organic Element เช่น วัสดุสารเคมี จะเปลี>ยนค่าความต้านทาน เมื>อความชืIนเปลี>ยนไป
อุปกรณ์สาํ หรับวัดความดัน ที>นิยมใช้ในระบบปรับอากาศ จะเป็ นพวก Bellow หรื อ Diaphragm โดยเมื>อมีการ เปลี>ยนแปลงความดัน
Bellow หรื อ Diaphragm ก็จะขยายหรื อหดตัว และ Transducer ก็จะให้ค่าความดันหรื อ กระแสไฟฟ้ าเปลี>ยนแปลงไป
อุปกรณ์สาํ หรับวัดอัตราการไหล ที>นิยมใช้มีหลายชนิด
Pitot Tube ใช้วดั ความเร็ วของลมและนํIาในท่อ โดยวัดได้ค่าความดัน แล้วนํามาคํานวณหาค่าอัตราการไหล

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-31

Hot wire เป็ นอุปกรณ์ที>ใช้วดั ความเร็ วลม โดยให้อากาศไหลผ่านขดลวด ซึ> งพลังงานไฟฟ้ าทําให้ขดลวดร้อนขึIน ซึ> งจะเปลี>ยนค่า
ดังกล่าวมาเป็ นค่าความเร็ วลม
ประเภทของระบบควบคุม มี 6 ประเภท ได้แก่
Self-Actuated Control System เป็ นระบบที>มีการทํางานโดยตัวระบบเอง
Electrical Control System เป็ นระบบที>ใช้กระแสไฟฟ้ าในการสัง> งาน
Pneumatic Control System เป็ นระบบที>ใช้ลมในการสัง> งาน
Electronic Control System เป็ นระบบที>ใช้วงจร Electronic ในส่วนของ controller และไฟฟ้ าจ่ายให้ อุปกรณ์ควบคุม
Electronic Hydraulic Control System เหมือนระบบ Electronic แต่มีการเพิ>มระบบ Hydraulic เข้ามาเสริ ม
Electronic Pneumatic Control System เหมือนระบบ Electronic แต่มีการเพิ>มระบบลมเข้ามาเสริ ม
พฤติกรรมการควบคุม (Control Action) หรื อการวิธีการควบคุมของชุดควบคุมที>ใช้บ่อยในระบบปรับ อากาศ และระบายอากาศมีดงั นีI
Two-Position Control เป็ นการควบคุมที>นิยมใช้สาํ หรับการควบคุมการปิ ดและเปิ ดอุปกรณ์ หรื อระบบ
Proportional Control (P-Control) เป็ นการควบคุมที>ปรับเปลี>ยนเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับข้อมูล เข้าและออกจาก ชุดควบคุม
Proportional Integral Control (PI Control) เป็ นการควบคุมที>พฒั นาจาก P-Control และปรับปรุ งในส่วนของเวลา
Proportional Integral Derivative Control (PID Control) เป็ นการควบคุมที>พฒั นาจาก PI-Control และปรับปรุ ง ในส่ วนของเวลา ให้
ถูกต้องและแม่นยํามากขึIน
DDC (Direct Digital Control) เป็ นระบบควบคุมแบบดิจิตอล ซึ>งเป็ นการนําเอา PID Control มาผนวกกับการทํางานของคอมพิวเตอร์
หรื อไมโครโปรเซสเซอร์
จากองค์ประกอบด้านบนดังกล่าวข้างต้น จึงนํามาสู่การควบคุมสําหรับระบบ ปรับอากาศและระบายอากาศ ทัIงหมด

การควบคุมระบบปรับอากาศ
การควบคุมระบบปรับอากาศ ที>นิยมใช้ โดยทัว> ไป
Chilled water Reset
เป็ นการควบคุมเครื> องทําความเย็นขนาดใหญ่ เมื>อความร้อนในอาคารลดลง อุณหภูมินI าํ เย็นที>ออกจากเครื> อง ทําความเย็นจะถูก
ปรับให้สูงขึIนกว่าเมื>อตอนภาระงานเต็มที> ทําให้ชุดเครื> องอัด (Compressor) ทํางานน้อยลง และลดการใช้พลังงานลง วิ ธี ดั ง กล่ า วนีI จะ
ลดการใช้พลังงานลงได้ ประมาณ 1.5 % ต่อทุกๆ 1 F ของนํIาเย็นที> ถูกปรับให้สูงขึIน
Duty Cycling
เป็ นการควบคุมเครื> องปรับอากาศขนาดเล็กตาม zone ต่างๆในอาคาร โดยการตรวจวัดอุณหภูมิ ในแต่ละ บริ เวณ แล้วควบคุม
เครื> องปรับอากาศแต่ละชุดให้ทาํ งานตามช่วงเวลาที>กาํ หนด หรื อหยุดการทํางาน ของ เครื> องปรับอากาศดังกล่าวลง ตามช่วงเวลาสัIนๆ วิธี
ดังกล่าวนีI จะช่วยลดการใช้พลังงาน และลดความต้องการ ใช้ไฟฟ้ าสูงสุดได้
Optimum Start Stop
เป็ นการควบคุมเครื> องปรับอากาศให้ทาํ งานน้อยลงโดยการลดเวลาการทํางาน ให้สI นั ลง เช่นการเปิ ดเครื> อง ปรับอากาศให้ชา้ ลงใน
ตอนเช้าและปิ ดเครื> องปรับอากาศเร็ วขึIน ในตอนเย็น

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-32

System Optimization
เป็ นการพิจารณาการออกแบบ ปรับปรุ งการใช้งานทัIงระบบให้สมบูรณ์ และสอดคล้องกันทัIงหมด ทุกส่ วน ไม่ ว่าจะเป็ นทางด้าน
ระบบอากาศ ได้แก่ เครื> องส่ งลมเย็น ท่อลม หัวจ่ายลม และระบบนํIา ได้แก่ เครื> อง ทําความ เย็นขนาดใหญ่ เครื> องสู บนํIาทัIงปฐมภูมิ และ
ทุติยภูมิ เครื> องระบายความร้อนหรื อหอระบายความร้อน จะถูก เลื อกให้สอดคล้องและ มีการควบคุมเป็ นลําดับขัIนที> สอดคล้องและ
ต่อเนื>องกัน
Automatic shutdown
เป็ นการทําการปิ ดเครื> องปรับอากาศบางส่ วนหรื อทัIงหมดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ> งที> ภาระการทําความเย็นลดลง โดยอาศัยการ
ควบคุมอัตโนมัติ ซึ>งมีวตั ถุประสงค์เพื>อลดการใช้พลังงานลงบางช่วงเวลา
Setback control
เป็ นการลดระดับการใช้งานบางส่วน เมื>อภาวะการทํางานเปลี>ยนไปในทางที>สามารถลดการทํางานของระบบได้ เช่นการปรับลด
ระดับอุณหภูมิในระดับที>ตI งั ไว้ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ>ง หรื อปรับลดการทํางาน ตามการเปลี>ยนแปลงอุณหภูมิภายนอกอาคารตามฤดูกาล
เป็ นต้น
Zone control
เป็ นการแยกขอบเขตการควบคุมระบบปรับอากาศออกเป็ นบริ เวณเนื>องจากบริ เวณที>แยกออก อาจมีการใช้งานที>แตกต่างกัน ทําให้
สามารถควบคุมระบบปรับอากาศหรื อระบายอากาศได้ เฉพาะบริ เวณได้อย่างเหมาะสม มีผลทําให้สามารถลดการใช้พลังงานโดยรวมลง
ได้

5. การใช้ ฉนวน
การเลือกฉนวนที>เหมาะสม
ฉนวน จะแบ่งตามโครงสร้างได้ดงั นีI
1) ฉนวนแบบเซลเปิ ด (Open-Cell Type) เป็ นฉนวนที>มีโพรงอากาศแทรกตัวอยู่ ฉนวนแบบนีI เหมาะที>จะ ใช้หุ้มอุปกรณ์ หรื อท่อที>มี
อุ ณ หภู มิ สู ง ๆ เพราะนํIาที> อ าจติ ด อยู่ภ ายในฉนวนเองจะ ระเหยออกสู่ ภ ายนอก ทํา ให้อ ากาศที> มี อ ยู่ใ นเนืI อ ฉนวนแห้ง ทํา ให้
ความสามารถในการ เป็ น ฉนวนยังคงเดิม นิยมนํามาใช้เป็ น ฉนวนท่อลม และท่อความร้อนต่างๆ
2) ฉนวนแบบ Interconnection-Cell Type เป็ นฉนวนที> เกิดจากากรอัดเชื>อมติดกันของเม็ดโฟมหรื อ ไม้คอร์ กเล็กๆ นํIาที>เกิ ดจากการ
ระเหยจะเข้าแทรกซึมได้ยากกว่าแบบเปิ ด
3) ฉนวนแบบเซลกึ>งปิ ด (Semi-Closed Cell Type) เป็ นฉนวนที>มีเซลอิสระอยูแ่ ต่ละเซลมีผนังกัIนเซลแต่ละเซลอยูแ่ ต่ยงั ไม่สมบูรณ์ ทํา
ให้อาจมีนI าํ เข้าแทรก ซึมได้ เช่นฉนวนโพลียรู ี เทนโฟม เป็ นต้น
4) ฉนวนแบบเซลปิ ด (Closed-Cell type) เป็ นฉนวนยางสังเคราะห์หรื อยางสังเคราะห์ ผสมพลาสติก แต่ละเซลไม่ทะลุถึงกัน ผนังของ
แต่ละเซลเปรี ยบเสมือนผนังกันความชืIนทําให้นิยมใช้เป็ น ฉนวนท่อ นํIาเย็น
หากแบ่งตามชนิดของวัสดุพIนื ฐานที>ใช้ในการผลิต อาจแบ่งได้เป็ น
1) วัสดุประเภทใยแร่ (Mineral Fibrous Material) เช่นใยหิ น ใยแก้ว
2) วัสดุประเภท เส้นใยธรรมชาติ (Organic Fibrous Material) เช่นไม้ ชานอ้อย เส้นใยสังเคราะห์

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-33

3) วัสดุประเภทเซลธรรมชาติ (Organic Cellular Material) เช่น โฟมยาง โพลีสไตรี น โพลียรู ี เทน


4) วัสดุประเภทเซลแร่ (Mineral Cellular Material) เช่น แคลเซียมซิลิเกต เวอร์มิคูไลท์
การเลือกใช้งานจะพิจารณาจากปั จจัยต่างๆ ดังนีI
1) รู ปแบบทางกายภาพ (Physical Forms)
2) ความหนาแน่น (Bulk Density) และความจุความร้อน (Heat Capacity)
3) อุณหภูมิการใช้งานที>เหมาะสม (Suitability for Service Temperature)
4) การขยายตัวหรื อหดตัวเมื>อได้รับความเย็น (Thermal Expansion)
5) ความสามารถในการต้านทานความร้อนหรื อความเย็น (Thermal Resistivity)
6) ความต้านทานต่อความชืIน (Resistance to Water Penetration)
7) ความต้านทานต่อแรงอัด (Resistance to Compaction)
8) ความแข็งแรงทางกล (Mechanical Strength)
9) อันตรายจากไฟไหม้ (Fire Hazard)
10) ความต้านทานต่อแมลงและเชืIอรา (Resistance to Vermin & Fungus)
11) การกันเสี ยง (Acoustical Resistance)
12) การปลอดจากกลิ>น (Freedom from Odour)
13) ความต้านทานต่อการกัดกร่ อนและสารเคมี (Corrosion & Chemical Resistance)
14) การบํารุ งรักษา (Maintenance)
สําหรับระบบปรับอากาศ การเลือกใช้ฉนวนสําหรับท่อส่ งลมเย็นและท่อลมกลับ จะนิ ยมใช้ฉนวนแบบใยแก้ว ซึ> งจะช่วยกันความเย็น
รั>วไหลและสามารถนํามาทําเป็ นฉนวนกันเสี ยงได้
ฉนวนใยแก้วสําหรับหุม้ ภายนอกท่อลมเย็นทัว> ไป มักกําหนดให้มีคุณสมบัติดงั นีI
ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 25 มิลลิเมตร (1 นิIว)
ความหนาแน่นไม่นอ้ ยกว่า 24 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (1.5 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟตุ )
ไม่ติดไฟ
มีค่าสัมประสิ ทธิ‹การนําความร้อนไม่เกิน 0.038 W/m . K (0.27 Btu.in/ft2.h.°F)
ฉนวนใยแก้วจะต้องยึดติดอยูก่ บั Aluminium Foil โดยใช้กาวชนิ ดไม่ติดไฟ (เมื>อแห้ง) Aluminium Foil จะต้องประกอบด้วย แผ่น
ฟอยล์ดา้ นนอก, กระดาษดร๊ าฟ, เส้นใย ไฟเบอร์ กล๊าสเสริ มแรง และแผ่นฟอยล์ดา้ นใน ส่ วนประกอบทัIงหมดจะยึดติดกันโดย
Adhesive ตามกรรมวิธีของ แต่ละ การผลิต
สําหรับท่อนํIาเย็นและท่อสารทําความเย็น จะนิยมใช้ฉนวนประเภทโฟม เซลปิ ดเพื>อป้ องกันการควบแน่นและความชืIนที>จะเกิดขึIนในเนืI อ
ฉนวน โดยมีคุณสมบัติทว>ั ไปดังนีI
ฉนวนต้องเป็ นชนิดดับไฟได้เองหรื อไม่ลามไฟ (Self Extinguishing)
เกิดควันน้อย เมื>อโดนไฟ
ทนทานต่อโอโซนได้ดี
ค่าดูดซึมนํIาน้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์โดยนํIาหนัก

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-34

ความหนาแน่นจําเพาะมากกว่า 35 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (2.18 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟตุ )


ขนาดความหนาของฉนวนที>ใช้หุม้ ท่อนํIาเย็น ขนาดต่างๆ โดยทัว> ไป นิยมใช้ดงั ต่อไปนีI

ขนาดท่ อ ขนาดความหนาของฉนวน
65 มม. (2 1/2 นิIว) และเล็กกว่า ไม่นอ้ ยกว่า 25 มม. (1 นิIว)
80 มม. (3 นิIว) - 150 มม. (6 นิIว) ไม่นอ้ ยกว่า 38 มม. (1 1/2 นิIว)
200 มม. (8 นิIว) และใหญ่กว่า ไม่นอ้ ยกว่า 50 มม. (2 นิIว)
ขนาดความหนาของฉนวนที>ใช้หุม้ ท่อนํIาทิIงจะต้องไม่นอ้ ยกว่า 12 มิลลิเมตร (1/2 นิIว)

ฉนวนที> เลือกใช้ ถ้ามีความหนาน้อยกว่านีI ก็จะทําให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าฉนวนลงได้ แต่จะทําให้ เกิดการสู ญเสี ยพลังงานและอาจจะมี


ปั ญหาอื>นตามมาเช่น นํIาที> กลัน> ตัวจากท่อนํIาเย็น ซึ> งจะทําให้ ฉนวนหลุดได้ ในทางตรงกันข้าม หากใช้ฉนวนที> มีความหนามากกว่าที>
กําหนดมาก ก็จะทําให้ค่าใช้จ่าย ค่าฉนวนสูงขึIน ไม่คุม้ ค่ากับค่าการสูญเสี ยพลังงาน ที>ลดลงได้

6. สมรรถนะของอุปกรณ์ (Performance of equipments)


มาตรฐานการใช้พลังงาน ของอุปกรณ์ในระบบปรับอากาศ (Standard energy consumption)
มาตรฐานการปรับอากาศในอาคาร อาจอ้างอิงจากฎกระทรวงที>ออกตามความในพระราชบัญญัติการส่ งเสริ ม การอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ.
2535 ดังนีI
ระบบปรับอากาศที>ติดตัIงในอาคารจะต้องมีค่าพลังไฟฟ้ าต่อตันความเย็น ที>ภาระเต็มพิกดั (full load) หรื อที>ภาระใช้งานจริ ง (actual load)
ไม่เกินกว่าค่าตามตารางดังต่อไปนีI

1) เครืองทําความเย็นชนิดระบายความร้ อนด้ วยนําC


ชนิดส่ วนทําความเย็น/เครืองทําความเย็น อาคารใหม่ อาคารเก่ า
(กิโลวัตต์ ต่อตันความเย็น)
ส่วนทํานํIาเย็นแบบหอยโข่ง (centrifugal chiller)
ขนาดไม่เกิน `o… ตันความเย็น ….’o ….‰…
ขนาดเกินกว่า `o… ตันความเย็น ถึง o…… ตันความเย็น ….’… ….‡q
ขนาดเกินกว่า o…… ตันความเย็น ….“’ ….‡…
ส่วนทําเย็นแบบลูกสูบ (reciprocating chiller)
ขนาดไม่เกิน go ตันความเย็น ….‰‡ p.p‡
ขนาดเกินกว่า go ตันความเย็น ….‰p p.p…
เครื> องทําความเย็นแบบเป็ นชุด (package unit) ….‡‡ p.…“
ส่วนทํานํIาเย็นแบบสกรู (screw chiller) ….’… ….‡q

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-35

2) เครืองทําความเย็นชนิดระบายความร้ อนด้ วยอากาศ


อาคารใหม่ อาคารเก่ า
ชนิดส่ วนทําความเย็น/เครืองทําความเย็น
(กิโลวัตต์ ต่อตันความเย็น)
ส่วนทํานํIาเย็นแบบหอยโข่ง (centrifugal chiller)
ขนาดไม่เกิน `o… ตันความเย็น p.q… p.“p
ขนาดเกินกว่า `o… ตันความเย็น p.`… p.g‡
ส่วนทํานํIาเย็นแบบลูกสูบ (reciprocating chiller)
ขนาดไม่เกิน ๕๐ ตันความเย็น p.g… p.o…
ขนาดเกินกว่า ๕๐ ตันความเย็น p.`o p.qq
เครื> องทําความเย็นแบบเป็ นชุด (package unit) p.g’ p.o‡
เครื> องทําความเย็นแบบติดหน้าต่าง/แยกส่วน (window/split type) p.q… p.“p

ประสิทธิภาพขัCนตํา (Minimal Energy Efficiency)


นอกจากข้อกําหนดในพระราชบัญญัติส่งเสริ มการอนุรักษ์พลังงานข้างต้นแล้ว กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงานยังได้
ออกเอกสารอุปกรณ์ประหยัดพลังงานซึ>งมีเกณฑ์ดงั นีI
1) เครืองปรับอากาศขนาดเล็ก แบบแยกส่ วน (split type)
ขนาดไม่เกิ น 17,600 วัตต์ (60,051 บี ทียูต่อชัว> โมง) ใช้ไฟฟ้ ากระแสสลับ ที> ความถี> 50 เฮิรตซ์ สําหรับใช้เพื>อปรับลดอุณหภูมิและ
ความชืIน จะมีค่าอัตราส่วนประสิ ทธิภาพพลังงาน (EER) ไม่นอ้ ยกว่าที>กาํ หนด ตามตาราง

ค่ าอัตราส่ วนประสิทธิภาพพลังงานขัCนตํา
ขนาดทําความเย็นของเครืองปรับอากาศ
อัตราส่ วนประสิทธิภาพพลังงาน
(วัตต์) (บีทยี ู/ชม)
ไม่เกิน 3,500 วัตต์ ไม่เกิน 11,942 บีทีย/ู ชม > 3.11
เกินกว่า 3,500 ถึง 7,600 วัตต์ เกินกว่า 11,942 ถึง 25,931 บีทีย/ู ชม > 3.11
เกินกว่า 7,600 ถึง 12,000 วัตต์ เกินกว่า 25,931 ถึง 40,944 บีทีย/ู ชม > 3.11
เกินกว่า 12,000 ถึง 17,600 วัตต์ เกินกว่า 40,944 ถึง 60,051 บีทีย/ู ชม > 2.82
หมายเหตุ 1 วัตต์ = 3.412 บีทียตู ่ อชัวโมง , 12,000 บีทีย/ู ชม = 3,517 วัตต์
2) เครืองปรับอากาศประสิทธิภาพสู ง ขนาดใหญ่ (High Efficient Large Air Conditioner)
ที> มี ขี ดความสามารถ ทํา ความเย็น รวมสุ ท ธิ ของเครื> อง เกิ นกว่า 17,600 วัต ต์ (60,051 บี ที ยูต่ อ ชั>ว โมง) ขึI น ไป จะมี ค่า สัมประสิ ท ธิ‹
สมรรถนะ หรื อ ซีโอพี (COP, Coefficient of Performance) ดังตาราง

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-36

เกณฑ์ ค่าการใช้ พลังงานไฟฟ้าของเครืองปรับอากาศขนาดใหญ่


ค่ าการใช้ พลังงานไฟฟ้า
ค่ าซีโอพี (COP) ขัCนตํา
ชนิด เครืองปรับอากาศ ต้ องไม่ เกิน
ต้ องไม่ น้อยกว่ า
(กิโลวัตต์ ต่อตันความเย็น)
เครืองปรับอากาศแบบเป็ นชุด (Packaged Unit)
1. ชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศ > 2.56 < 1.37
(Packaged Air-cooled Air - Conditioner)
2. ชนิดระบายความร้อนด้วยนํIา > 3.99 < 0.88
(Packaged Water-cooled Air- Conditioner)
หมายเหตุ COP = kWR / kW , cop= EERx3.52x1000/12000 , EER = Btu/W, kW/ton = 12000/(EER x 1000)
kWR = ((Btu/hr)/12000) x 3.52
ผลการทดสอบขีดความสามารถทําความเย็นรวมสุ ทธิ ของเครื> องปรับอากาศ เมื>อชุดคอนเดนซิ> ง และ เครื> องส่ งลมเย็นทํางาน ร่ วมกันที>มี
ขนาดไม่นอ้ ยกว่าค่าความสามารถทําความเย็นตามที>กาํ หนด เมื>อใช้สภาวะในการทดสอบ คือ
อุณหภูมิอากาศภายในห้อง หรื อ อุณหภูมิอากาศก่อนเข้าเครื> องส่ งลมเย็น (Evaporator Air Inlet) 27 องศาเซลเซี ยส DB/ 19 องศา
เซลเซียส WB
กรณี ระบายความร้อนด้วยอากาศ อุณหภูมิอากาศภายนอกห้อง หรื อ อุณหภูมิอากาศก่อนเข้าเครื> องระบายความร้อน (Condenser Air
Inlet) 35 องศาเซลเซียส DB / 24 องศาเซลเซียส WB
กรณี ระบายความร้อนด้วยนํIา
อุณหภูมินI าํ ออกจากเครื> องควบแน่น (Leaving Condenser) 37.8 องศาเซลเซียส
อุณหภูมินI าํ เข้าเครื> องควบแน่น(Entering Condenser) 32.2 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิสารทําความเย็นอิ>มตัวด้านดูด (Saturated Suction Temperature) และอุณหภูมิสารทําความเย็นที>เครื> อง ระเหย (คอยล์เย็น)
(Evaporator Temperature) มี อุณหภูมิเดียวกันอยูใ่ นช่วง 5.5 - 9.5 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิสารทําความเย็นอิ>มตัวด้านเครื> องควบแน่น(คอยล์ร้อน) (Saturated Condensing Temperature ) ไม่ต>าํ กว่า 49 องศาเซลเซียส
ระบบไฟฟ้ าความถี> 50 เฮิรตซ์
3) เครืองทํานําC เย็นประสิทธิภาพสู ง (High Efficient Water Chiller)
ทัIงแบบระบายความร้อนด้วยนํIา และอากาศ ที>มีขีดความสามารถ ทําความเย็นรวมสุทธิของเครื> อง เกินกว่า 17,600 วัตต์ ( 60,051 บีทียตู ่อ
ชัว> โมง) ขึIนไป จะมีค่าสัมประสิ ทธิ‹สมรรถนะ หรื อ ซีโอพี (COP, Coefficient of Performance) ดังตาราง

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-37

เกณฑ์ ค่าการใช้ พลังงานไฟฟ้าของเครืองทํานําC เย็น


ค่ าซีโอพี (COP) ค่ าสมรรถนะในการทําความ
ชนิด เครืองทํานําC เย็น ต้ องไม่ น้อยกว่ า เย็นต้ องไม่ เกิน
(วัตต์ ความเย็น/วัตต์ ไฟฟ้า) (กิโลวัตต์ ต่อตันความเย็น)
ก. เครืองทํานําC เย็น ทีระบายความร้ อนด้ วย อากาศ (Air Cooled Water Chiller)
ก1. ขนาดไม่เกิน 100 ตัน > 2.70 < 1.30
ก2. ขนาดเกินกว่า 100 ตัน > 2.93 < 1.20
ข. เครืองทํานําC เย็น ทีระบายความร้ อนด้ วย นําC (Water Cooled Water Chiller)
ข1. ขนาดไม่เกินกว่า 150 ตัน > 3.91 < 0.90
ข2. ขนาดเกินกว่า 150 ตัน ไม่เกิน 200 ตัน > 4.69 < 0.75
ข3. ขนาดเกินกว่า 200 ตัน ไม่เกิน 250 ตัน > 5.25 < 0.67
ข4. ขนาดเกินกว่า 250 ตัน ถึง 500 ตัน > 5.41 < 0.65
ข5. ขนาดเกินกว่า 500 ตัน > 5.67 < 0.62
หมายเหตุ COP = kWR / kW , cop= EERx3.52x1000/12000 , EER = Btu/W, kW/ton = 12000/(EER x
1000) , kWR = ((Btu/hr)/12000) x 3.52
ผลการทดสอบขีดความสามารถการทําความเย็นของเครื> องทํานํIาเย็น ทัIงแบบระบายความร้อนด้วยนํIาและอากาศ ตามที>กาํ หนด โดยใช้
สภาวะในการทดสอบ คือ
อุณหภูมิอากาศสําหรับระบายความร้อนก่อนเข้าเครื> องควบแน่น (Condenser Air Inlet) 35 องศาเซลเซี ยส DB / 24 องศาเซลเซี ยส
WB
อุณหภูมินI าํ เย็นออก (Leaving Chilled) 7.2 องศาเซลเซียส
อุณหภูมินI าํ เย็นเข้า (Entering Chilled) 12.8 องศาเซลเซียส
อุณหภูมินI าํ ออกจากเครื> องควบแน่น (Leaving Condenser) 7.8 องศาเซลเซียส
อุณหภูมินI าํ เข้าเครื> องควบแน่น(Entering Condenser) 32.2 องศาเซลเซียส
ระบบไฟฟ้ าความถี> 50 เฮิรตซ์

7. การปรับปรุ งระบบปรับอากาศทีใช้ อยู่


การปรับปรุ งระบบปรั บอากาศที> ใช้อยู่ ที> มีการแนะนําให้มีการปรับปรุ งในมาตรการอนุ รักษ์ พลังงาน ตามที> มี การจัดทํารายงานการ
ตรวจสอบวิเคราะห์ การใช้พลังงาน ภายใต้ พระราชบัญญัติ การส่งเสริ ม การอนุรักษ์พลังงาน โดยทัว> ไป มีดงั นีI
มาตรการการเพิ>มประสิ ทธิภาพการทํางานของเครื> องทํานํIาเย็น (Chiller)
- การดัดแปลงเครื> องทําความเย็น (Chiller) เก่าให้มีประสิ ทธิภาพสูงขึIน
- การใช้เครื> องทําความเย็น (Chiller) ใหม่ ประสิ ทธิภาพสูงทดแทนของเดิม
มาตรการการเพิ>มประสิ ทธิภาพที>ชุดจ่ายลมเย็น (AHU) ของระบบปรับอากาศขนาดใหญ่
- การดัดแปลงหน่วยจ่ายลมเย็นให้มีประสิ ทธิภาพสูงขึIน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-38

- การใช้หน่วยจ่ายลมเย็นใหม่ที>มีประสิ ทธิภาพสูงทดแทนของเดิม
- การใช้ระบบปรับความเร็ วรอบ (VVVF) กับมอเตอร์ของหน่วยจ่ายลมเย็น
- การใช้ประโยชน์จากอากาศเย็นภายนอกอาคาร
- การใช้ประโยชน์จากอากาศเย็นก่อนปล่อยทิIงออกนอกอาคาร
มาตรการการเพิ>มประสิ ทธิภาพที>อุปกรณ์ใช้ความเย็น
มาตรการการเพิ>มประสิ ทธิภาพในระบบนํIาเย็นและลมเย็น ของระบบปรับอากาศขนาดใหญ่
- การหุม้ ฉนวนท่อนํIาเย็นและท่อลมเย็น
- การใช้ระบบปรับความเร็ วรอบ (VVVF) กับมอเตอร์ของปั‘ มนํIาหล่อเย็น
มาตรการการเพิ>มประสิ ทธิภาพที>หอผึ>งนํIาเย็น (Cooling Tower)
- การดัดแปลงหอระบายความร้อนให้มีประสิ ทธิภาพสูงขึIน
- การใช้หอผึ>งนํIาเย็นใหม่ที>มีประสิ ทธิภาพสูงทดแทนของเดิม
- การใช้ระบบ VVVF กับมอเตอร์พดั ลมของหอระบายความร้อน
- การใช้ระบบตรวจจับอุณหภูมิของนํIาหล่อเย็น เพื>อควบคุมการทํางานของหอระบายความร้อน
มาตรการการเพิ>มประสิ ทธิภาพในระบบนํIาหล่อเย็น ของระบบปรับอากาศหรื อทําความเย็นขนาดใหญ่
- การกําจัดตะกรันในระบบนํIาหล่อเย็น รวมถึงในตัวเครื> องทําความเย็น (Chiller)
- การใช้ระบบปรับความเร็ วรอบ (VVVF) กับมอเตอร์ป‘ั มนํIาหล่อเย็น
มาตรการการเพิ>มประสิ ทธิภาพของเครื> องปรับอากาศหรื อทําความเย็นแบบเป็ นชุด (Package Unit)
- การดัดแปลงเครื> องปรับอากาศให้มีประสิ ทธิภาพสูงขึIน
- การใช้เครื> องปรับอากาศชุดใหม่ที>มีประสิ ทธิภาพสูงทดแทนชุดเดิม
มาตรการการเพิ>มประสิ ทธิภาพของเครื> องแบบแยกส่วน (Window/Split Type)
- การดัดแปลงเครื> องปรับอากาศให้มีประสิ ทธิภาพสูงขึIน
- การใช้เครื> องปรับอากาศชุดใหม่ที>มีประสิ ทธิภาพสูงทดแทนชุดเดิม
มาตรการการเพิ>มประสิ ทธิภาพในการใช้งานระบบปรับอากาศหรื อทําความเย็น
- การปรับตัIงอุณหภูมินI าํ หล่อเย็น
- การปรับตัIงอุณหภูมินI าํ เย็น
- การปรับตัIงอุณหภูมิในห้อง
- การบํารุ งรักษาที>เหมาะสม
- การลดการรั>วไหลของอากาศร้อน-เย็น
- การกําหนดเวลาเปิ ด-ปิ ดที>เหมาะสม
- การใช้ตวั ควบคุมอุณหภูมิชนิดอิเล็คทรอนิกส์
มาตรการการเพิ>มประสิ ทธิภาพของระบบระบายอากาศ
- การใช้ระบบปรับความเร็ วรอบ (VVVF) กับมอเตอร์พดั ลมระบายอากาศ
- การควบคุมการเปิ ด-ปิ ดพัดลมระบายอากาศโดยใช้ค่าระดับ CO
- การตรวจวัดอุณหภูมิเพื>อควบคุมการปิ ด-เปิ ดของพัดลมระบายอากาศ
- การเปลี>ยนเครื> อง Refrigeration Unit
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-39

8. เทคโนโลยีในการอนุรักษ์ พลังงาน

CO-GENERATION
ระบบ Co-generation และ District Cooling จะกลายเป็ นนโยบายพลังงานในอนาคต เนื> องจากระบบ ดังกล่าวนีI จะช่วยลดความ
จําเป็ นในการก่อสร้างโรงไฟฟ้ าได้อย่างทวีคูณ

270 MMBtuh 76.95 MMBtuh


22.5 MWe
Input NG Gas Turbine G
Exhaust Gas 450C
loss 70% 189 MMBtuh Exhaust Loss
35%
180C
HRSG
Cooling
System
12,285 Ton Steam 65% 122.85 MMBtuh
147.42 MMBtuh

SAC TR
Chilled Water COP 1.20 Pump + CT 3.4 MW Electricity

65.32 MMBtuh
19.1 MWe

Co-Generation System 2 (GT/HRSG/SAC)


3

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-40

APPLICATION EXAMPLE

natural exhaust exhaust exhaust


gas loss
188 kW Heat Recovery 95 kW
263 kW Micro Turbine Dehumidifier 35 kW
Chiller/Heater

55 kW
dehumidificati
on70 kW cooling

Total efficiency cooling cycle 86.7

Co-Generation System 3 (GT/DFAC1)

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-41

Combined Heat and Power (CHP) อาจจะเป็ นชื>อที>หลายคนไม่คุน้ ซึ> งหมายถึงระบบที>ผสมผสาน ระหว่างกําลังงานและความ
ร้อน เช่น การใช้เครื> องยนต์ขบั เครื> องปรับอากาศ ซึ>งหากใช้เชืIอเพลิงเป็ นก๊าซ ก็เรี ยกว่า Gas Air-conditioner ส่วนความร้อนจากเครื> องยนต์
สามารถนําไปใช้ในการทําความร้อน
เครื> องประเภทนีI ในยุโรปใช้ผลิตไฟฟ้ าในบ้านพร้อมกับการทําความร้อนและความเย็น ระบบ CHP เป็ นที> แพร่ หลายมากขึI น
เนื>องจากการพัฒนาเครื> องยนต์กงั หันก๊าซ โดยเฉพาะเครื> องยนต์กงั หันก๊าซขนาด กลางและขนาดเล็ก (Micro Turbine) ที>กาํ ลังตื>นตัวเป็ น
อย่างมาก เนื>องจากนอกจากเครื> องยนต์กงั หัน ก๊าซจะ ผลิตไฟฟ้ าแล้ว ความร้อนจากท่อไอเสี ยยังสามารถนําไปใช้ในการทําความร้อนและ
ความเย็นได้อีกด้วย
ผูผ้ ลิตหลายรายกําลังพัฒนา Micro Turbine กันอย่างเต็มที> เช่น Honeywell Capstone Elliot Ebara แต่การพัฒนานีI ต้องอาศัยการ
ลงทุนและเทคโนโลยี จึงยังคงมีเพียงไม่กี>รายที>สามารถพัฒนา จนถึงระดับเชิง พาณิ ชย์
การนําความร้อนไปใช้ทาํ ความเย็น สามารถใช้ประกอบกับ Absorption Chiller โดยให้ความร้อนกับ Solution Generator ของ
Absorption Chiller หรื อใช้กบั ระบบ Desiccant Cooling โดยการให้ความร้อนใน การไล่ ความชืIนออกจาก Desiccant
ระบบ CHP จะเป็ นตลาดใหม่ที>เติบโตเป็ นอย่างมากในอนาคต เนื> องจากประสิ ทธิ ภาพในการ ใช้ พลัง งานเชืI อเพลิงของระบบ
CHP มักจะสูงกว่า 70% ซึ>งคุม้ ค่าต่อการลงทุน โดยเฉพาะอย่างยิง> ในโครงการที> ต้อง การกําลังการผลิตไฟฟ้ าสํารอง ระบบ CHP สามารถ
ทําหน้าที>เป็ นระบบกําลังการผลิตไฟฟ้ าสํารอง พร้อมๆ กับ การผลิตความเย็น และ/หรื อความร้อน ข้อมูลเพิ>มเติมของระบบ CHP หาดูได้
จาก Web ของ DOE

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-42

ระบบการสะสมความเย็น
เป็ นระบบที> เก็บสะสมความเย็นในรู ปของนํIาเย็น หรื อนํIาแข็ง โดยอาศัยการผลิตนํIาเย็นหรื อนํIาแข็ง ในเวลา กลางคืน ที>อตั ราค่า
ไฟฟ้ าถูก และนําความเย็นที>สะสมไว้มาใช้ในกลางวัน
ระบบดังกล่าวเป็ นที> แพร่ หลายมากในประเทศไต้หวัน เนื> องค่าไฟฟ้ าที> แพงมากในตอนกลางวัน และถูกลง ครึ> งหนึ> งในตอน
กลางคืน ส่วนประเทศไทยยังไม่นิยมเพราะค่าไฟฟ้ าของเราถูกมาก และการลงทุนระบบมีราคา แพง รวมทัIงใช้พIืนที>มาก
การพิจารณาใช้ระบบ Thermal Storage จะต้องทราบ Load Profile หาก Load Profile มีลกั ษณะที>มี จุดยอด สู งกว่าค่าเฉลี>ยมาก ก็
อาจจะมีโอกาสใช้ระบบนีI เพื>อลดให้จุดยอด (Peak) ตํ>าลง ซึ>งอาจจะคุม้ ค่ากับ ค่าไฟฟ้ า Peak Demand
หากใช้ Thermal Storage ด้วยนํIาแข็งหรื อ Ice Storage ก็ควรจะพิจารณาใช้ระบบการจ่ายความเย็น ที> มีอุณหภูมิต> าํ หรื อ Low
Temperature เพื>อที>จะได้นาํ ประโยชน์จากความเย็นที>มีอุณหภูมิ ตํ>าของนํIาแข็ง มาใช้อย่างเต็มที> อาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติก็
ใช้ระบบในลักษณะนีI

ระบบการปรับอากาศอุณหภูมติ าํ (LOW TEMPERATURE AIR SUPPLY)


ระบบ Low Temperature ที>แท้จริ งจะเป็ นระบบที>ใช้ร่วมกับระบบสํารองความเย็นด้วยนํIาแข็ง (Ice Storage) ซึ> งจ่ายนํIาเย็นที>
อุณหภูมิ 36 F และมีตวั อย่างให้ดูที>อาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ ระบบดังกล่าวนีI
ระบบการจ่ายลมจะต้องเป็ นระบบที>สามารถสร้างลมหมุนเวียนเพิ>มมากกว่าปกติ เพื>อให้เกิดการผสมของ ลมที>เย็นจัด กับลมใน
ห้องให้ได้ผลลัพธ์ของอุณหภูมิที>สูงขึIน และจะต้องมี OAT เพื>อควบคุมความชืIน และป้ องกัน ไม่ให้ เกิดการกลัน> ตัวของอากาศที>ระบบการ
จ่ายลม

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-43

DOAS
Outdoor Air Treatment (OAT) คือระบบที>ได้รับการยอมรับในปั จจุบนั ว่าเป็ นระบบที>สาํ คัญ ในการควบคุม คุณภาพอากาศภายใน
อาคาร (ดูบทความ Important to Outdoor Air Treatment) เนื> องจากระบบดังกล่าวนีI จะทําหน้าที>ปรับสภาพอากาศภายนอกอาคารเพื>อใช้
เป็ นอากาศบริ สุทธิ‹ที>กรอง ลดอุณหภูมิและความชืIนแล้ว และจ่ายเข้ามาในอาคารในปริ มาณที>ควบคุมได้ ทําให้ทุกบริ เวณในอาคารได้รับ
อากาศบริ สุทธิ‹อย่างทัว> ถึง
การปรับสภาพ และการเลือกตําแหน่งนําอากาศเข้าที>เหมาะสมทําให้ได้สภาพอากาศบริ สุทธิ‹ ที>ตอ้ งการ และทําให้คุณภาพอากาศ
ภายในอาคารดี มีความดันภายในอาคารเป็ นบวก และลด Infiltration
ระบบดังกล่าวนีI เริ> มนํามาใช้ในโรงงานอิเลคทรอนิ ค และมีความจําเป็ นอย่างยิ>งสําหรับอาคารทัว> ไป อาคาร ขนาดใหญ่ โรงแรม
ศูนย์คอมพิวเตอร์ อาคารที>ใช้ระบบการทําความเย็นด้วยการแผ่รังสี อาคารที>ใช้ระบบ Low Temperature สําหรับโรงแรมที>อยูช่ ายทะเล
ระบบ OAT ช่วยลดภาระของเครื> องปรับอากาศ ช่วยลดปั ญหา ความชืIนในห้องพักอย่างได้ผล ทําให้กลิ>นอับหายไป ยืดอายุของพรมและ
อุปกรณ์ตกแต่งภายใน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-44

สําหรับโรงพยาบาล ระบบ OAT ช่วยลดปั ญหาการติดเชืIอ และสร้างสภาวะอากาศภายในอาคารที>ดี

FRESH AIR DUCT SUPPLY SYSTEM


ระบบการจ่ายอากาศบริ สุทธิ‹ดว้ ยระบบท่อลม ทําให้การจ่ายอากาศบริ สุทธิ‹ไปในตําแหน่งที>ตอ้ งการได้อย่างทัว> ถึง และหากมีกล่อง
ควบคุมปริ มาณการจ่ายลมประกอบก็จะ ทําให้สามารถควบคุมปริ มาณการจ่ายอากาศ บริ สุทธิ‹ได้ตาม ที>ตอ้ งการ
ยังมีอาคารอีกเป็ นจํานวนมากที>ไม่มีระบบการควบคุมและจ่ายอากาศบริ สุทธิ‹ที>ดีพอ และไม่สามารถบอก ได้เลย ว่าในบริ เวณต่างๆ
ของอาคารมีปริ มาณการจ่ายอากาศบริ สุทธิ‹ ที>เพียงพอหรื อไม่ เช่น ร้านค้าต่างๆ ในศูนย์การค้า ส่ วนใหญ่ จะอาศัยรับอากาศบริ สุทธิ‹ จาก
ทางเดินหน้าร้านซึ>งไม่เพียงพอ ลองคิดดูวา่ พนักงานที>ตอ้ งทํางานในร้านค้าเหล่านีIทุกวันจะ มี สุขอนามัยที>ดีได้อย่างไร อยูไ่ ปนานๆ สมอง
ก็อาจจะเสื> อมลงก็เป็ นได้
IAQ CONTROL

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-45

ระบบวัดและควบคุ มคุ ณภาพอากาศภายในอาคารได้รับความสําคัญและมีการพัฒนาตลอดเวลา อุปกรณ์ ใหม่ๆ ถูกพัฒนาให้


เลียนแบบจมูกของมนุษย์ สามารถรับรู ้ค่า CO CO2 และค่าก๊าซต่างๆ เพื>อใช้ในการสัง> การทํางานของ OAT และใช้ในการควบคุมปริ มาณ
อากาศบริ สุทธิ‹ที>จะจ่ายให้กบั บริ เวณห้องต่างๆภายในอาคาร

TERMINAL UNIT
ในระบบที>มี OAT ภาระในระบบปรับอากาศจากอากาศภายนอกอาคารได้ถูกกําจัดโดย OAT ไปแล้ว ดังนัIน ภาระที>ยงั เหลืออยู่
เป็ นเพียงภาระภายในห้อง ซึ>งไม่มากนัก ภาระดังกล่าวสามารถให้ Terminal Unit เป็ นผูท้ าํ หน้าที> โดย Terminal Unit อาจจะอยูใ่ นรู ปของ
Fan Coil Unit ก็ได้ หรื อ ใช้ Radiant Cooling Panel ก็ได้
Terminal Unit สามารถปิ ดเปิ ดได้โดยอิสระ จึงสะดวกกับการใช้งาน นอกจากนีI ยังทําให้สามารถควบคุม อุณหภูมิเฉพาะที>ได้อย่าง
ถูกต้อง แม่นยํากว่าการควบคุมอุณหภูมิที>เครื> องส่ งลมเย็น และยังสามารถช่ วยควบคุมปริ มาณ การหมุนเวียนอากาศภายในห้อง(Air
Changes)ได้ตามที>ตอ้ งการ เนื>องจากส่วนใหญ่ Terminal Unit จะมี Speed Control ด้วย
โครงการสถาบันมาตรวิทยาใช้ Terminal Unit ในห้องเทียบวัด เพื>อให้การควบคุมอุณหภูมิและความชืIนแม่นยํา ซึ> งเป็ นข้อกําหนด
ที>สาํ คัญของระบบ โดยการวัดและสัง> การควบคุมมีวงจรระยะเวลาที>สI นั จึงทําให้การสัง> การควบคุม ได้ผลมากขึIนกว่าเดิม

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-46

RADIANT COOLING

การควบคุมความชืCน
เทคโนโลยีในการควบคุมความชืIนในปั จจุบนั ได้พฒั นาไปมาก จากระบบเดิมที>ใช้วธิ ีทาํ ความเย็น ให้มาก และจึงให้ความร้อนเพื>อ
ดึงอุณหภูมิให้สูงขึIนกลับมาอยูใ่ นตําแหน่งที>ตอ้ งการ(Over Cooling and Reheat) ซึ>งเป็ นวิธีการควบคุมความชืIนที>สิIนเปลืองพลังงานอย่าง
มาก
วิธีการทําความเย็นให้อากาศเบืIองต้นและให้ความร้อนกลับ(Pre-cool and Reheat) มีอยูห่ ลายวิธี เช่น การใช้คอยล์เย็นติดตัIงหน้า
หลังของคอยล์เย็นหลัก (Run around coil) การใช้ Wrap around Heat Pipe หรื อการใช้ เครื> องแลกเปลี>ยนความร้อน PHE ดังที>จะได้กล่าว
ต่อไป

1 2 3 4

Cooling Coil
Precooling

Reheating
1 2 3 4

5
2.

5 2 1
2.
5 8.

3 4

3
1

2
4

HEAT PIPE
Heat Pipe คือท่อที>มีความสามารถในการนําความร้อนได้สูงมาก หากนําแท่ง Heat Pipe จุ่มลงในนํIาร้อน ความร้อนจะไปที>ปลาย
อีกด้านหนึ>งทันที เนื>องจากภายในแท่ง Heat Pipe บรรจุสารความเย็นไว้
ความลับของการทํางานของ Heat Pipe อยูท่ ี>ความสามารถในการนําความร้อนอย่างต่อเนื> อง และการที>สาร ความเย็น สามารถวิ>ง
กลับไปมาภายในแท่ง Heat Pipe โดยแรงโน้มถ่วงหรื อกาลักนํIา และไม่อาศัยเครื> องไฟฟ้ าใดๆ ในการ ช่วยการไหลเวียนนีI
เมื>อนํามาขดเป็ น Coil ที>มีลกั ษณะคล้าย Cooling Coil ประกบหน้าหลังของ Cooling Coil สามารถทําหน้าที> เป็ น Precool and
Reheat Coil เป็ นการเพิ>มประสิ ทธิภาพในการดึงความชืIนออกจากอากาศให้กบั Cooling Coil
ที>ผา่ นมา Heat Pipe เป็ นที>นิยมใช้ในระบบ OAT เป็ นอย่างมาก เนื>องจากใช้งานได้ผลดีเยีย> ม โดยไม่ตอ้ งการดูแลรักษาอะไรมาก
นอกจากนีI ยังมีการนําแท่ง Heat Pipe ไปใช้กบั แผงรับแสงอาทิตย์ และใช้ใน Computer Notebook เพื>อใช้ถ่ายเทความร้อนของ
เครื> อง

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-47

DESICCANT AIR-CONDITIONER
เครื> องปรับอากาศชนิ ดนีI เดิมใช้เป็ นเครื> องลดความชืIนในโรงงานอุตสาหกรรม โดยใช้สารดูดความชืIน หรื อ Desiccant บนกงล้อ
หมุน เมื>ออากาศผ่านกงล้อหมุนนีI ก็จะแห้งลง เครื> องดังกล่าวจะต้องเติมความร้อนด้วยขดความร้อน Steam Coil หรื อไฟฟ้ า เพื>อให้ความ
ร้อนไล่ความชืIนออกจากสารดูดความชืIนที>อ>ิมตัว ในระยะหลังสารดูดความชืIน ที>นิยม ใช้กนั คือลิเทียม คลอไรด์

นอกจาก เครื> องที> ใช้ Desiccant Wheel ยังมีเครื> องที>ใช้ Liquid Desiccant ซึ> งอยูใ่ นสภาพของนํIาเกลือลิเทียม คลอไรด์ และเพิ>ม
ประสิ ทธิภาพโดยการใช้ Heat Pump เข้ามาเสริ ม ทําให้ไม่จาํ เป็ นต้องใช้ความร้อนจากภายนอก ใน การไล่ความชืIนออกจากเกลือ
เครื> องที>เป็ น Desiccant Wheel ในปั จจุบนั ก็นาํ Heat Pump เข้ามาเสริ มเช่นกัน

p
`

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-48

1 2 3

Cooling Coil
Desiccant

Heater
10
1

3 2

1 2
Desiccant
Liquid
Desiccant

1
2

5
8.
1

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร


โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-49

PHE
Plate Heat Exchanger (PHE) ที>พวกเราคุน้ เคยกันดี ใช้สาํ หรับแลกเปลี>ยนความร้อนระหว่างนํIาที>มี อุณหภูมิ และความดันต่างกัน
และทําจากโลหะไร้สนิม ในระยะหลังมีผผู ้ ลิต PHE ขนาดเล็กสําหรับใช้กบั เครื> องปรับอากาศ ขนาด เล็กทัว> ไป
PHE ยังเริ> มเป็ นที>นิยมใช้เป็ น Air to Air Heat Exchanger เพื>อทําหน้าที>เป็ น Precool and Reheat เช่นเดียวกับ Heat Pipe หรื อใช้เป็ น
Heat Recovery อย่างไรก็ตาม เนื> องจากช่องทางลมของ PHE เป็ นช่องแคบๆ ลมจึงต้องผ่านการ กรองอากาศที> ดี และพัดลมจะต้องมี
แรงดันลมที>สูงขึIน เนื>องจากการที>ช่องลมแคบจะทําให้มีแรงเสี ยดทานที>สูงขึIน โดย เฉพาะอย่างยิ>งเมื>อมีนI าํ กลัน> ตัวภายใน PHE ก็จะทําให้
ช่องลมลดลงไปอีก
PHE ที>ใช้กบั อากาศนีI ส่วนใหญ่เป็ นวัสดุอลูมิเนียม หรื อ High Density Polyethylene

ระบบการทําความเย็นร่ วม

ในกรณี ของกลุ่มอาคารที>มีเวลาการใช้งานแตกต่างกัน สามารถจัดให้เป็ นระบบการทําความเย็นร่ วม (District Cooling) ทําให้ขนาด


การทําความเย็นโดยรวมลดลง และมีผลทําให้ความต้องการไฟฟ้ า (Electricity Demand) ลดลง เช่น กลุ่มอาคารที>ประกอบด้วย อาคาร
สํานักงาน ศูนย์การค้า ที>พกั อาศัย ซึ>งมีเวลาการ ใช้ งานต่างกัน
ระบบการทําความเย็นร่ วมจะมีขนาดเพียงไม่ถึงครึ> งของภาระการทําความเย็นที>ตอ้ งการรวมกันเท่านัIน
ระบบการทําความเย็นร่ วมยังเหมาะกับอาคารที>ใช้งานทัIงกลางวันและกลางคืน เช่น โรงแรม โรงพยาบาล โรงงานอิเลคทรอนิก อีก
ด้วย
คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร
โครงการปรับปรุ งข้อกําหนดการใช้พลังงานในอาคารควบคุม บทที 7-50

District Cooling (DC) เป็ นระบบการจ่ายนํIาเย็นส่ วนกลางสําหรับโครงการประเภท Complex ที>มีอาคารประเภทต่างๆอยูด่ ว้ ยกัน


และใช้ประโยชน์จากการใช้งานที>ไม่พร้อมกันทําให้สามารถลดขนาดเครื> องทํา ความเย็นส่ วนกลางลงไปได้ นอกจากนีI การพัฒนาเมือง
ใหม่หรื อสนามบินในโลก จะมีนโยบายให้ใช้ระบบ DC เนื>องจากการใช้ระบบดังกล่าว ทําให้ความต้องการไฟฟ้ าลดลงเป็ นอย่างมาก เป็ น
การลดภาระ ในการก่อสร้าง โรงไฟฟ้ าที>เป็ นปั ญหากับทุกประเทศในขณะนีI
ระบบการทําความเย็นส่วนกลางพืIนฐานที>สุดคือระบบทํานํIาเย็น โดยใช้เครื> องทํานํIาเย็น ซึ>งหากว่าไปแล้ว โครงการขนาดใหญ่ที>ใช้
ระบบทํานํIาเย็นส่ วนกลางก็คือระบบ DC นั>นเอง และที> ระบบทํานํIาเย็นส่ วนกลางเป็ นที> นิยมในโครงการขนาดใหญ่ก็เนื> องจากระบบ
ดังกล่าวสามารถทําให้ขนาดของเครื> องปรับอากาศโดยรวมลดลงนัน> เอง
นอกจากนีIยงั สามารถกําหนดตําแหน่งเครื> องระบายความร้อนในตําแหน่งที>เหมาะสม เพื>อให้ความร้อนออกพ้นจากตัวอาคาร
นอกจากจะใช้เครื> องทํานํIาเย็นในการผลิตความเย็นดังที>ใช้อยูใ่ นโครงการขนาดใหญ่ ในอนาคต ระบบ CHP จะได้รับความนิ ยม
มากขึIน โดยเฉพาะอย่างยิ>ง โครงการที>มีแหล่งก๊าซธรรมชาติ และมีชว>ั โมงการใช้งาน 5000 ชัว> โมงขึIนไป ระบบ DC ที>ใช้ CHP ในการ
ผลิตความเย็น จะมีระยะเวลาในการคืนทุนไม่เกิน 7 ปี เท่านัIน

คู่มือการออกแบบอาคารที>มีประสิ ทธิ ภาพด้านการประหยัดพลังงาน แนวทางการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร

You might also like