You are on page 1of 6

Howard Marks โดย พี่ WEB – Pornchai

ในโลกการลงทุน คนจานวนมากจะรักสิ่งที่พวกเขาซื ้อมากขึ ้นเมื่อราคาเพิ่มสูงขึ ้น เนื่องจากพวกเขารู้สกึ ว่า


ตัวเองได้ รับการพิสจู น์วา่ คิดถูก และพวกเขาจะชอบมันน้ อยลงเมื่อราคาลดลง เพราะพวกเขาจะเริ่มตังข้
้ อ
สงสัยกับการตัดสินใจซื ้อของตัวเอง ด้ วยเหตุนี ้ เมื่อราคาหุ้นลดลง การถือหุ้นเอาไว้ หรื อการเข้ าซื ้อเพิ่มจึง
เป็ นเรื่ องยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้ าราคามันตกลงอย่างหนัก จริงๆ แล้ ว ถ้ าคุณชอบมันที่ราคา 60 คุณ
ควรจะชอบมันมากขึ ้นที่ราคา 50… และชอบมากขึ ้นไปอีกที่ราคา 40 และ 30 แต่มนั ไม่ใช่เรื่ องง่ายเลย
ไม่มีใครคนไหนสบายใจกับการขาดทุนหรอก และในที่สดุ เราก็จะเริ่มสงสัยว่า “บางที เราอาจจะคิดผิด
ตลาดต่างหากที่คดิ ถูก” ผลลัพธ์จะร้ ายแรงสุดขีดเมื่อเราเริ่มที่จะคิดว่า “มันตกลงมาเยอะมาก ผมขาย
ก่อนที่มนั จะตกลงจนไปเหลือศูนย์ดีกว่า” นี่คือวิธีคิดที่ทาให้ ตลาดสร้ างจุดต่าสุด...และทาให้ คนขายหุ้น
ออกไปที่จดุ นี ้ - Howard Marks

##
สิ่งที่ต้องระลึกไว้ ในช่วงฟองสบูค่ ือ :

• ต่อให้ ข้อดีตา่ งๆ ของหุ้นเป็ นความจริง คุณก็ยงั สามารถขาดทุนได้ ถ้ าคุณซื ้อมันมาในราคาที่แพงเกินไป

• ข้ อดีเหล่านัน้ และกาไรก้ อนใหญ่ที่ดเู หมือนใครๆ ก็ทากันได้ อาจทาให้ ในที่สดุ คนที่อดทนต้ องยอมจานน


แล้ วเข้ าไปร่วมวง

• จุดสูงสุดของหุ้น, กลุม่ หุ้น หรื อตลาดจะเกิดขึ ้นเมื่อคนวงนอกคนสุดท้ ายได้ เข้ าไปซื ้อ จังหวะเวลานันมั
้ ก
ไม่มีความสัมพันธ์กบั ปัจจัยพื ้นฐานเลย

• “ราคาแพงเกินไป” ไม่ได้ มีความหมายเดียวกับ “ราคาจะตก” หุ้นสามารถแพงและแพงอยูแ่ บบนันได้



ยาวนาน...หรื ออาจจะแพงขึ ้นไปอีกได้

• อย่างไรก็ตาม ในที่สดุ มูลค่าจะเป็ นสิ่งสาคัญ - Howard Marks

##
สถานการณ์การลงทุนซึง่ อันตรายที่สดุ จะเกิดจากการมองแง่ดีมากเกินไป ด้ วยเหตุผลนี ้ การขาดทุนจะ
สามารถเกิดขึ ้นได้ กระทัง่ ในกรณีที่ปัจจัยพื ้นฐานไม่ได้ เสื่อมถอยลง มุมมองที่แย่ลงของนักลงทุนก็เพียงพอ
แล้ วที่จะทาให้ ตลาดตก หลายๆ ครัง้ ราคาที่สงู นัน่ แหละคือสาเหตุหลักที่ทาให้ ตลาดตก - Howard
Marks

@@
ความเสี่ยงที่ยิ่งใหญ่ที่สดุ ไม่ได้ เกิดจากคุณภาพที่ต่าหรื อความผันผวนที่สงู แต่มาจากการซื ้อในราคาที่แพง
เกินไป นี่ไม่ใช่ความเสี่ยงในทางทฤษฎี แต่มนั คือสิ่งที่เกิดขึ ้นจริง - Howard Marks

##
สองสามครัง้ ในชีวิตการทางานของผม ผมได้ เห็นการเกิดขึ ้นของความเชื่อที่ว่า ความเสี่ยงได้ ถกู ขจัดไป
หมดแล้ ว วัฏจักรจะไม่เกิดขึ ้นอีกต่อไป หรื อกฎทางเศรษฐกิจใช้ ไม่ได้ แล้ ว นักลงทุนผู้มีประสบการณ์และ
ตระหนักถึงความเสี่ยงจะมองมันเป็ นสัญญาณของอันตรายครัง้ ใหญ่ - Howard Marks

@@.
โซนอันตรายจะเกิดขึ ้นเมื่อนักลงทุนพากันเชื่อว่า สิ่งต่างๆ จะดีขึ ้นๆ ไปเรื่ อยๆ แม้ มนั จะไม่สมเหตุผล แต่คน
ส่วนใหญ่ก็เชื่อมัน นี่คือสิ่งที่ก่อให้ เกิดภาวะฟองสบู่ - Howard Marks

--
อิทธิพลเชิงจิตวิทยาส่งผลอย่างมากต่อนักลงทุน นักลงทุนส่วนใหญ่จะยอมจานนและปล่อยให้ ปัจจัยเชิง
จิตวิทยาก่อให้ เกิดความเคลื่อนไหวของตลาด เมื่อไรก็ตามที่ปัจจัยเหล่านี ้ผลักดันให้ ตลาดเหวี่ยงไปสุดขัวใน

รูปของภาวะฟองสบูห่ รื อภาวะตลาดตกต่า พวกมันจะก่อให้ เกิดโอกาสการสร้ างผลตอบแทนสาหรับนัก
ลงทุนชันเซี
้ ยน ซึง่ ปฏิเสธที่จะถือหุ้น ณ จุดสูงสุดและเข้ าไปซื ้อหุ้น ณ จุดต่าสุด การต้ านทานพลังผลักดันอัน
เลวร้ ายเหล่านี ้ถือเป็ นสิ่งจาเป็ นอย่างยิ่ง - Howard Marks

##
การลงทุนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการลงทุนแบบแย่ๆ เป็ นโลกที่เต็มไปด้ วยอัตตา ด้ วยเหตุที่การเข้ ารับความ
เสี่ยงจะได้ รับผลตอบแทนในภาวะตลาดขาขึ ้น ดังนันอั
้ ตตาจะทาให้ นกั ลงทุนกล้ าแบบบ้ าบิน่ เพื่อสร้ าง
ผลตอบแทนให้ โดดเด่นกว่าคนอื่น อย่างไรก็ตาม นักลงทุนเก่งๆ ที่ผมรู้จกั จะต้ องการผลตอบแทนเมื่อ
เปรี ยบเทียบกับความเสี่ยง (Risk – adjusted return) ที่ดี...ไม่ใช่ต้องการจะเป็ นเซเลบ ใน
ความเห็นของผม โดยปกติแล้ ว เส้ นทางไปสู่ความสาเร็จทางการลงทุนจะต้ องอาศัยความอ่อนน้ อมถ่อมตน
ไม่ใช่อตั ตา - Howard Marks

##
สินทรัพย์มีราคาสูงเกินไป เพราะนักลงทุนมองพวกมันดีเกินจริงและผลักดันราคาของพวกมันขึ ้นไปสูงๆ
กระบวนการนี ้จะไม่หยุดเมื่อราคาได้ ขึ ้นมาสูร่ ะดับ “ที่เหมาะสม” หรื อเมื่อคุณได้ ขายมันไปแล้ วเพราะรู้สกึ
ว่ามันแพงเกินไป ราคามันจะลากยาวขึ ้นไปอีกและคนที่คิดว่าแพงจะดูเหมือนว่าคิดผิด แม้ วา่ เรื่ องนี ้จะเป็ น
เรื่ องที่เข้ าใจได้ แต่มนั ก็เป็ นเรื่ องที่ทาใจลาบาก - Howard Marks

##
ยามที่ห้ นุ ราคาแพงมีราคาสูงขึ ้นไปอีก หรื อหุ้นราคาถูกมีราคาลดลงไปอีก การทาสิ่งที่ถกู ต้ อง นัน่ ก็คือการ
ขายหุ้นตัวแรกและซื ้อหุ้นตัวหลัง น่าจะเป็ นเรื่ องง่าย อย่างไรก็ดี มันไม่ใช่เรื่ องง่ายเลย แนวโน้ มของการเกิด
ความสงสัยในตัวเองรวมกับข่าวการได้ กาไรอย่างมากมายของคนอื่น จะเป็ นแรงผลักดันอันทรงพลังที่ทาให้
นักลงทุนทาสิ่งผิดๆ และความแข็งแกร่งของมันก็จะยิ่งสูงขึ ้นไปอีก ถ้ าแนวโน้ มมันดาเนินไปยาวนานขึ ้น นี่
คืออิทธิพลอีกชนิดหนึง่ ที่เราต้ องต่อสู้กบั มัน - Howard Marks

##

ความอยากได้ มากขึ ้นไปอีก, การกลัวตกรถ, การชอบเปรี ยบเทียบกับคนอื่น, อิทธิพลของฝูงชน และการ


เพ้ อฝันว่าจะสาเร็จแน่ๆ เป็ นปัจจัยที่เกิดขึ ้นไปทัว่ พวกมันจะรวมตัวกันส่งผลอย่างมากต่อนักลงทุนและ
ตลาดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงภาวะตลาดสุดขัว้ ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ ้นก็คือความผิดพลาด -
Howard Marks

##
ถ้ าใครๆ ก็ชอบมัน มันอาจจะเป็ นเพราะมันกาลังให้ ผลตอบแทนดี คนส่วนใหญ่มกั จะ คิดว่า ผลตอบแทน
ชันเยี
้ ่ยมในช่วงที่ผา่ นมาเป็ นสัญญาณบ่งบอกว่า ผลตอบแทนใน อนาคตจะยอดเยี่ยมไปด้ วย แต่จริงๆ แล้ ว
มันเป็ นไปได้ มากกว่าว่า ผลตอบแทนดีๆ ในช่วงที่ผา่ นมาได้ ดงึ ผลตอบแทนในอนาคตเข้ ามาแล้ ว ซึง่ จะทา
ให้ นบั จากจุดนี ้ไป ผลตอบแทน ของมันจะอยูใ่ นระดับต่ากว่าปกติ - Howard Marks

##
ฝูงชนมองโลกในแง่ดีที่จดุ สูงสุด และมองโลกในแง่ร้ายที่ จุดต่าสุด ดังนัน้ ในการแสวงหาประโยชน์ เราต้ อง
ตังข้
้ อสงสัยการมองโลกในแง่ดีที่ จุดสูงสุด และตังข้
้ อสงสัยการมองโลกในแง่ร้ายที่ปกคลุมตลาด ณ จุด
ต่าสุด - Howard Marks

##
นักลงทุนต้ องซื่อสัตย์กบั ตัวเองในเรื่ องความสาเร็จและความล้ มเหลวของ เรี ยนรู้ที่จะตระหนักว่า โชคมี
บทบาทในการก่อให้ เกิดผลลัพธ์ เรี ยนรู้ในการแยกแยะว่า ผลลัพธ์ใดเกิดจากทักษะและผลลัพธ์ใดเกิดจาก
โชค ถ้ าหากคุณไม่ได้ เรี ยนรู้จนสามารถบอกได้ วา่ จริงๆ แล้ ว ความสาเร็จเกิดจากอะไร คุณก็จะถูกการ
เคลื่อนไหวแบบสุม่ หรื อเหตุบงั เอิญหลอก - Howard Marks

##
ในช่วงฟองสบู่ คนซื ้อไม่กงั วลว่าราคาหุ้นจะสูงเกินไปหรื อไม่ เพราะพวกเขามัน่ ใจว่า จะมีคนยินดีซื ้อหุ้นต่อ
จากพวกเขาในราคาที่สงู ขึ ้น โชคไม่ดีที่ทฤษฎีคนโง่กว่าใช้ ได้ ผลแค่ถึงวันที่มนั ใช้ ไม่ได้ ผล สุดท้ าย มูลค่าก็จะ
เข้ ามามีบทบาท และคนถือคนสุดท้ ายก็จะเสียหาย - Howard Marks

##
ในเวลาส่วนใหญ่ อนาคตจะดูเหมือนอดีต ซึง่ จะมีทงวั
ั ้ ฏจักรขาขึ ้นและวัฏจักรขาลง ในบางจังหวะเวลา เรา
อาจจะบอกได้ ว่า อะไรๆ จะดีขึ ้น นัน่ จะเป็ นช่วงที่ ตลาดอยูร่ ะดับต่าๆ และ ใครๆ ต่างก็พากันเทขายหุ้น
เหมือนให้ เปล่า การที่ตลาดอยูใ่ นระดับสูงเป็ นประวัติการณ์แล้ วเรามาคิดถึงเรื่ องบวกๆ ที่มนั ไม่เคยเป็ นจริง
ในอดีตเป็ นเรื่ องอันตราย อย่างไรก็แล้ วแต่ มีคนทาแบบนี ้มาแล้ ว และก็จะมีคนทาอีก - Howard
Marks

##
การมองข้ ามวัฏจักรและการหลงคิดว่าอนาคตจะเหมือนปัจจุบนั เป็ นสิ่งอันตรายที่สดุ ที่นกั ลงทุนสามารถทา
ได้ บ่อยครัง้ ผู้คนชอบทาเหมือนกับว่า บริษัทที่กาลังไปได้ ดีจะไปได้ ดีตลอดกาล และการลงทุนที่ให้
ผลตอบแทนชนะตลาดจะชนะตลาดตลอดไป (และในทางกลับกัน) ทังๆ
้ ที่เรื่ องราวในทางตรงกันข้ ามมี
โอกาสจะเป็ นจริงมากกว่า - Howard Marks

##
เมื่อไรก็ตามที่อะไรๆ ไปได้ ด้วยดีและราคาอยูใ่ นระดับสูง นักลงทุนจะรี บเข้ าซื ้อจนขาดความระมัดระวัง
ต่อมา เมื่อความโกลาหลบังเกิดและสินทรัพย์มีราคาถูกสุดๆ พวกเขาจะไม่อยากรับความเสี่ยงและจะเร่งรี บ
ขาย มันจะเป็ นอย่างนันตลอดไป
้ - Howard Marks

##
ตลาดมีความรู้สกึ เป็ นของตัวเอง (ซึง่ จะทาให้ มลู ค่าเปลี่ยนแปลงไป) อันเป็ นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงเชิง
จิตวิทยาของนักลงทุน (ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางปัจจัยพื ้นฐาน) ปัจจัยเชิงจิตวิทยานี่แหละที่จะก่อให้ เกิด
การเปลี่ยนแปลงของราคาหลักทรัพย์ในระยะสัน้ นอกจากนี ้ ปัจจัยเชิงจิตวิทยาที่วา่ จะเคลื่อนไหวใน
ลักษณะคล้ ายลูกตุ้มด้ วย

ราคาหุ้นจะอยูใ่ นระดับถูกที่สดุ เมื่อทุกสิ่งทุกอย่างดูมืดมน แนวโน้ มอันหดหูท่ าให้ ราคาหุ้นมันต่าอยูแ่ บบนัน้


และจะมีนกั ล่าของถูกที่ฉลาดและกล้ าไม่กี่คนเท่านันที
้ ่จะเข้ าซื ้อ บางครัง้ การเข้ าซื ้อของพวกเขาอาจจะ
ดึงดูดความสนใจได้ บ้าง หรื อบางที แนวโน้ มอาจจะเริ่มดูหดหูน่ ้ อยลงเล็กน้ อย ไม่วา่ จะด้ วยเหตุผลไหน
ตลาดจะเริ่มฟื น้ ตัวขึ ้น

ผ่านไปสักพัก แนวโน้ มจะดูเลวร้ ายน้ อยกว่าที่คนคิด ผู้คนจะเริ่มตระหนักว่า พัฒนาการ ที่ดีขึ ้นกาลังเกิดขึ ้น


และการเข้ าซื ้อในช่วงนี ้ไม่ถึงขนาดต้ องใช้ ความคิดมาก แน่นอนว่า พอเศรษฐกิจและตลาดผ่านจุดวิกฤติ
แล้ ว พวกเขาจะต้ องจ่ายเงินซื ้อหุ้นในระดับราคาที่สะท้ อนมูลค่าของหุ้นมากขึ ้น

และในที่สดุ ความคึกคะนองและความประมาทก็จะเริ่มเกิดขึ ้น ผู้คนจะเริงร่ากับการดีขึ ้นของภาวะ


เศรษฐกิจและผลการดาเนินงานของบริ ษัท และเริ่มคิดว่ามันจะดาเนินแบบนันต่
้ อไปเรื่ อยๆ ฝูงชนเริ่ม
ตื่นเต้ น (และอิจฉา) กับผลกาไรซึง่ คนที่เข้ าไปซื ้อในช่วงก่อนหน้ านันท
้ าได้ และอยากจะซื ้อบ้ าง พวกเขาจะ
มองข้ ามความเป็ นวัฏจักร และสรุปว่า การได้ กาไรแบบนี ้จะเกิดขึ ้นชัว่ นิรันดร์ นัน่ เป็ นเหตุผลที่ทาให้ ผมชอบ
สุภาษิตเก่าแก่ที่ว่า “สิ่งที่คนฉลาดทาในตอนต้ นคือสิ่งที่คนโง่จะทาในตอนสุดท้ าย” พอมาถึงช่วงท้ ายของ
ตลาดกระทิงครัง้ ใหญ่ คนจะยินดีซื ้อหุ้นในราคาแพง โดยใช้ สมมติฐานว่า ช่วงเวลาดีๆ แบบนี ้จะเกิดขึ ้น
ตลอดไป - Howard Marks

##

ถ้ าจะให้ ตลาดกระทิงคงอยูต่ ลอดไป...ตลาดจะต้ องปกคลุมไปด้ วยความโลภ, การมองโลกในแง่ดี,


ความเริงร่า, การปักใจเชื่อง่ายๆ, ความกล้ า, การทนทานต่อความเสี่ยง และความมัน่ ใจสูงๆ อย่างไรก็
แล้ วแต่ ลักษณะเหล่านี ้จะไม่สามารถปกคลุมตลาดได้ ตลอดไป ในที่สดุ พวกมันจะเปิ ดทางให้ ความกลัว,
การมองโลกในแง่ร้าย, ความรอบคอบ, ความไม่แน่นอน, การตังข้
้ อสงสัย, ความระมัดระวัง, การไม่ชอบ
ความเสี่ยง และความยับยังชั
้ ง่ ใจ เข้ ามาปกคลุมตลาดแทน....

ความล่มสลายเป็ นผลิตผลของความรุ่งเรื อง และผมเชื่อว่า โดยปกติแล้ ว การบอกว่า ความล่ม


สลายเกิดจากความเกินตัวในช่วงรุ่งเรื องก่อนหน้ า จะถูกต้ องมากกว่าการบอกว่า มันเกิดขึ ้นเพราะมี
เหตุการณ์บางอย่างเกิดขึ ้น

- Howard Marks -

You might also like