You are on page 1of 8

เปรียบเทียบระบบการศึกษาของ

อังกฤษและสหรัฐอเมริกา
อังกฤษ
ระบบการศึกษาของอังกฤษในระดับโรงเรียนจะแบ่งระดับการศึกษาออกเป็ นหลายระดับโดยใช้คาว่า ”Key Stage” เป็ นตัว
แบ่งนักเรียนในแต่ละระดับออกจากกัน คาว่า Key Stage จึงไม่ได้หมายถึงนักเรียนในระดับ “เด็กเล็ก” อย่างทีค่ นส่วนใหญ่
เข้าใจ เพราะในระดับ”เด็กโต” เช่น GCSE/ GCE ‘O’ Level ก็มชี ่อื เรียกอย่างเป็ นทางการว่า Key Stage 4 เป็ นต้น

แผนภาพที่1: แผนภาพระบบการศึกษาของระบบอังกฤษ

www.aims.co.th
โดยการศึกษาในระดับประถม (Primary หรือ Element School) นัน้ ไม่มขี อ้ แตกต่างจากระบบอเมริกนั มากนัก แต่ใน
ระดับมัธยม (Secondary School) เริ่มมีจดุ แตกต่างเมือ่ นักเรียนมีอายุระหว่าง 14-16 ปี ซง่ึ เป็ นช่วงเข้าสู่ Key Stage 4
หรือทีร่ ูจ้ กั กันว่า “GCSE/ GCE ‘O’ Level” ซึง่ การทีจ่ ะผ่านการเรียนในระดับนี้ได้ นักเรียนจะมีทางเลือก 3 ทางคือ
(1) เลือกสอบ GCSE หรือ (2) เลือกสอบ GCE ‘O’ Level หรือ (3) นาผลสอบ GCSE และ GCE ‘O’ Level มารวมกัน
ในระดับต่อไปหรือ Key Stage 5 นัน้ เป็ นระดับทีผ่ ูเ้ รียนมีโอกาสทีจ่ ะได้เลือกเรียนเพือ่ เตรียมตัวศึกษาต่อในระดับ
มหาวิทยาลัย โดยนักเรียนมีทางเลือก 2 ทางคือ (1) เลือกสอบ IB ในระดับ Diploma หรือ (2) เลือกสอบ GCE ‘A’ Level

Take IB or
A Level

Take GCSE or
O Level or
Combine

แผนภาพที่2: ทางเลือกในระดับ KS 4 และ KS 5 ของนักเรียน (KS 5 บางครัง้ เรียกว่า Sixth Form)


หมายเหตุ: การสอบ GCSE นอกสหราชอาณาจักรจะเรียกว่า IGCSE โดยตัว I ทีเ่ พิม่ มาหมายถึง International ส่วนการสอบ O Level นัน้ มีเปิ ดสอบ
เฉพาะในบางประเทศเท่านัน้ เช่น สิงคโปร์ (สหราชอาณาจักรไม่มสี อบ O Level แล้ว) สาหรับประเทศไทยนัน้ การสอบ KS 4 เป็ นการสอบ IGCSE

www.aims.co.th
ข้อแตกต่างระหว่าง IB Diploma และ GCE ‘A’ Level
International Baccalaureate Program หรือ IB Programme เป็ นระบบการศึกษาทีใ่ ช้แพร่หลาย
ทัว่ โลกกว่า 125 ประเทศ โดยองค์กรทีจ่ ดั การสอบอยู่ท่ปี ระเทศสวิสเซอร์แลนด์
IB Programme แบ่งหลักสูตรออกเป็ น 3 ระดับคือ
1. Primary Years Programme
2. Middle Years Programme
3. Diploma Programme
โดยคาว่า IB ทีไ่ ด้ยนิ กันทัว่ ไปมักหมายถึง IB Diploma Programme ในข้อ 3 ซึง่ เป็ นหลักสูตรในระดับเดียวกันกับ
A Level ก็คือรอยต่อระหว่าง High School กับ University
IB Diploma Programme มีวชิ าอยู่ 6 กลุม่ ดังต่อไปนี้
1. Language A1
2. Second Language
3. Individuals and Societies เช่น Philosophy, economics, and business and management
4. Experimental Sciences เช่น physics, chemistry, and biology
5. Mathematics
6. Arts and Electives เช่น visual arts, film, music, dance, and theatre arts
การทีจ่ ะผ่านหลักสูตร IB Diploma Programme จะต้องสอบผ่าน 6 วิชา โดยจะต้อง
 มีอย่างน้อยหนึ่งวิชาจากกลุ่ม 1 ถึง 5 และหนึ่งวิชาจากกลุ่ม 1, 2, 3, 4, หรือ 6
 มีอย่างน้อยสามวิชาทีส่ อบแบบ Higher Level (HL) โดยทีเ่ หลือเป็ น Standard Level (SL) ซึง่ HL ใช้เวลา
เรียนประมาณ 240 ชัว่ โมง ส่วน SL ประมาณ 150 ชัว่ โมง
การประเมินผลนัน้ มีคะแนนตัง้ แต่ 1 ถึง 7 ในแต่ละวิชา บวกกับคะแนนพิเศษ 3 คะแนนจาก EE และ ToK Essay
(จะกล่าวถึงต่อไป) รวมเป็ น 45 คะแนน การทีจ่ ะสอบผ่าน IB Diploma Programme ต้องได้คะแนนไม่ตา่ กว่า 28 คะแนน
นอกจากนี้นกั เรียนจะต้องผ่านเงือ่ นอีก 3 ข้อคือ
1. Theory of Knowledge (ToK) โดยเข้าคอร์สเรียนไม่ตา่ กว่า 100 ชัว่ โมง และเขียน Essay ไม่ตา่ กว่า 1,200-1,600 คา
2. Extended Essay (EE) โดยเขียน Essay ทีม่ จี านวนคาไม่เกินกว่า 4,000 คา

www.aims.co.th
3. Creativity, Action, Service (CAS) โดยเป็ นกิจกรรมนอกโรงเรียนทีน่ กั เรียนต้องใช้เวลาไม่นอ้ ยกว่า 50 ชัว่ โมง
ในแต่ละกิจกรรม Creativity หมายถึงกิจกรรมทีใ่ ช้ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างกิจกรรมใหม่ๆ Action หมายถึงการ
เล่นกีฬา Service หมายถึง การมีส่วนร่วมและทากิจกรรมเพือ่ สังคม
นักเรียนที่ไม่ผ่านเงือ่ นไข 3 ข้อนี้จะไม่ได้ IB Diploma แต่ได้เพียง IB Certificate เท่านัน้
การจัดสอบ IB จะมีข้นึ ทัว่ โลก ปี ละ 2 ครัง้ ครัง้ แรกในเดือนพฤษภาคม ส่วนครัง้ ทีส่ องในเดือนพฤศจิกายน แต่ละวิชา
จะมี 2-3 Paper หากสอบไม่ผ่านจะสามารถสอบได้ใหม่อกี ไม่เกิน 3 ครัง้

Advanced Level หรือ A Level เป็ นระบบการศึกษาที่ใช้ในอังกฤษและประเทศในเครือจักรภพโดยวิชาทีเ่ รียน


จะมีเนื้อหาทีม่ ากกว่าระดับมัธยมทัว่ ไปคล้ายกับ Advanced Placement (AP) ของระบบอเมริกนั
ปัจจุบนั A Level ได้ถูกแบ่งเป็ น 2 ส่วนใหญ่ๆคือ
1. AS Examination (Advanced Subsidiary) มักใช้เรียนในระดับ Year 12
2. A2 Examination มักใช้เรียนในระดับ Year 13
หากนักเรียนเลือกเรียนเฉพาะ AS จะได้ Credit เท่ากับครึ่งหนึ่งของ A Level จานวนวิชาทีน่ กั เรียนเลือกเรียนทัง้ AS และ
A2 นัน้ แตกต่างกันออกไป แต่ส่วนมากแล้วมักนิยมเรียน AS 4 วิชา และ A2 3 วิชา เนื่องจากมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่
มักต้องการผล A Level 3 วิชา (คาว่าผล A Level หมายถึงการสอบผ่านทัง้ AS และ A2 ในวิชาเดียวกัน)
หลักสูตร A Level นัน้ ถูกวิจารณ์ในเรื่องเนื้อหาทีไ่ ม่มคี วามหลากหลาย เนื่องจากนักเรียนจะใช้เวลาทัง้ ปี เรียนอยู่ 3-4 วิชา
เท่านัน้ เพราะต้องการเรียนเพียงเพือ่ ให้ตรงตามเงือ่ นไขทีม่ หาวิทยาลัยต้องการ ในขณะที่หลักสูตรอื่นๆ เช่น IB Diploma
นักเรียนต้องเรียนไม่ตา่ กว่า 6 วิชา หรือหลักสูตร European Baccalaureate ทีน่ กั เรียนต้องเรียนไม่ตา่ กว่า 10 วิชา

www.aims.co.th
สหรัฐอเมริกา
ระบบการศึกษาในระบบอเมริกนั จะเริ่มแบ่งรายละเอียดชัดเจนขึ้นในระดับมัธยมโดยแบ่งออกเป็ น
1. Middle School คล้ายกับระดับมัธยมต้น นิยมเรียกว่า Junior High School
2. High School คล้ายกับระดับมัธยมปลาย แต่ส่วนใหญ่แล้วมักใช้เวลาเรียน 4 ปี
เนื่องจากสหรัฐอเมริกาเป็ นประเทศใหญ่ซง่ึ การปกครองแบ่งออกเป็ นรัฐต่างๆมากมาย ระบบการศึกษาจึงได้ถกู กาหนด
ให้แตกต่างกันออกไปตามกฎหมายของแต่ละรัฐด้วยจึงไม่อาจระบุชดั ว่าการศึกษาในระดับ Middle School หรือ High
School ต้องใช้เวลาเรียนกี่ปี เริ่มเรียนตัง้ แต่ปีไหน บางรัฐอาจเริ่มเรียน High School ตัง้ แต่ Grade 9 ในขณะทีบ่ างรัฐ
อาจเริ่มที่ Grade 10 ก็ได้

University Level

Grade 9-12
(ACT, SAT, AP, IB) 14-18 years

Grade 6-8 11-14 years

Grade 1-5 6-11 years

Kindergarten 4-6 years

แผนภาพที่3: แผนภาพระบบการศึกษาของระบบอเมริกนั

www.aims.co.th
ในระดับ High School นัน้ รายวิชาทีเ่ รียนมักคล้ายกับวิชาใน GED (ระบบการศึกษานอกโรงเรียน ผูท้ ส่ี อบผ่านถือว่าจบ
ระดับ High School) หากนักเรียนต้องการทีจ่ ะศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยจะมีทางเลือกให้เลือกหลายแบบ ได้แก่

1. หลักสูตรทัว่ ไป เพือ่ เรียนให้จบหลักสูตร High School โดยรายวิชาทีเ่ รียนมักคล้ายกับรายวิชาใน GED ได้แก่


Science, Mathematics, English, Social Science, Physical Education โดยเมือ่ จบการศึกษาแล้ว นักเรียนจะต้อง
สอบ ACT หรือ SAT เพือ่ สอบเข้ามหาวิทยาลัยต่อไป

2. Advanced Placement (AP) เป็ นการสอบทีจ่ ดั โดย College Board จุดเด่นของ AP คือนักเรียนสามารถเข้าสอบได้
แม้ว่าจะไม่ได้ผ่านการเรียนในหลักสูตร AP มาก่อน ดังนัน้ นักเรียนทีเ่ รียนใน High School ที่ไม่ได้จดั การเรียนการสอน
แบบ AP หรือแม้แต่นกั เรียนทีเ่ รียนหนังสือที่บา้ น (Home Schooling) ก็สามารถเข้าสอบได้โดยเสียค่าสมัคร $119 ต่อวิชา

AP นัน้ มีลกั ษณะคล้ายกับ A Level คือผูส้ อบสามารถนาผลการสอบไปแสดงกับมหาวิทยาลัยเพือ่ ขอยกเว้นการเรียนวิชา


นัน้ ๆในระดับมหาวิทยาลัย แต่หลายมหาวิทยาลัยอนุ ญาตให้ไม่ไม่จาเป็ นต้องเรียนวิชานัน้ ๆเท่านัน้ แต่ไม่ให้หน่วยกิต
ซึง่ หมายความว่าผูเ้ รียนต้องไปลงทะเบียนเรียนวิชาอื่นๆอีก เช่น นักเรียนสอบผ่าน AP ได้เกรด 5 (มี 5 ระดับโดย 5 คือ
ระดับสูงสุด) ในวิชา Biology เมือ่ เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยจึงไม่ตอ้ งเรียนวิชา Biology ซึง่ มี 3 หน่วยกิตอีก แต่ว่าต้องไป
ลงทะเบียนเรียนวิชาอื่นที่มี 3 หน่วยกิตเท่านัน้

AP มีขอ้ สอบให้เลือกสอบมากกว่า 30 วิชา โดยประเมินผลการสอบออกเป็ นเกรด 5 ระดับ ได้แก่

5: Extremely well qualified


4: Well-qualified
3: Qualified
2: Possibly qualified
1: No recommendation
อย่างไรก็ตาม นักเรียนทีจ่ ะเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยยังคงต้องสอบ ACT หรือ SAT โดย AP เป็ นเพียง “ทางลัด”
ทีจ่ ะเรียนในระดับมหาวิทยาลัยให้สนั้ ลงเท่านัน้

3. IB Diploma Programme ทางเลือกเดียวกันกับระบบอังกฤษทีก่ ล่าวไป นักเรียนทีจ่ ะเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย


คงต้องสอบ ACT หรือ SAT

www.aims.co.th
Begin University Begin University Level

Finish High School ACT, SAT

Finish High School


IB Diploma A Level

GED

Grade 12

Grade 12 + AP

IGCSE GCE ‘O’ Level IB Diploma

UK US
แผนภาพที่4: เปรียบเทียบทางเลือกในระดับ High School ของนักเรียนในระบบอังกฤษและอเมริกนั

www.aims.co.th
สรุป
ระบบการศึกษาทัง้ สองระบบนัน้ มีจดุ หมายคล้ายกัน คือ เตรียมความพร้อมให้นกั เรียนในการเรียนในระดับทีส่ ูงขึ้น หลังจาก
จบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Key Stage 3 หรือ Middle School) ไม่ว่าจะเป็ นการศึกษาในสายอาชีพ (Vocational and
Technical School) หรือการศึกษาในสายสามัญซึง่ มีจดุ มุง่ หมายคือการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย

สาหรับในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ในทีน่ ้ ีจะกล่าวถึง Year 12-13 ของระบบอังกฤษและ Grade 11-12 ของระบบ


อเมริกนั ) จะเน้นการเตรียมความพร้อมในการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยระบบอังกฤษเชื่อในการศึกษาในโรงเรียน
มากกว่าระบบอเมริกนั ทีเ่ ชื่อในการวัดผลโดยข้อสอบกลาง ด้วยความทีเ่ ป็ นประเทศใหญ่และมีหลายรัฐทาให้เป็ นการยากทีจ่ ะ
ทาให้ทกุ ๆรัฐมีมาตรฐานใกล้เคียงกัน จะเห็นได้ชดั จากกรณีท่นี กั เรียนผ่านหลักสูตร IB Diploma หรือ แม้แต่ AP ก็ยงั ต้อง
สอบข้อสอบ SAT หรือ ACT อยู่ดี

ในกรณีของนักเรียนไทยที่ตอ้ งการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีในอังกฤษ หากไม่ได้เรียนในโรงเรียนทีส่ อนด้วยระบบ


อังกฤษก็มโี อกาสน้อยทีจ่ ะได้ศึกษาต่อในอังกฤษ เนื่องจากมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ยนิ ดีรบั ผล A Level หรือ IB Diploma
เนื่องจากการสอบ A Level ในประเทศไทยนัน้ ไม่ได้จดั สอบโดย British Council เหมือนในระดับ IGCSE ทีใ่ ครๆก็
สามารถเข้าสอบได้ แต่จะจัดสอบภายในโรงเรียนที่ทาการสอนในระบบอังกฤษเท่านัน้ แต่มโี รงเรียนนานาชาติท่ที าการสอนใน
ระบบอังกฤษแห่งหนึ่งอนุญาตให้บคุ คลทัว่ ไปเข้าสอบ A Level ได้ ก็คือโรงเรียนนานาชาติฮาร์โรว์ (Harrow International
School) อย่างไรก็ตาม หลายมหาวิทยาลัยในอังกฤษอนุ ญาตให้นกั เรียนที่ไม่ได้เรียนในโรงเรียนทีส่ อนด้วยระบบอังกฤษ
เรียนต่อในระดับปริญญาตรีทอ่ี งั กฤษได้ แต่ตอ้ งผ่านการเรียนที่เรียกว่า Undergraduate Foundation ก่อน

ในขณะทีน่ กั เรียนไทยทีต่ อ้ งการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีของสหรัฐอเมริกานัน้ มีโอกาสเปิ ดกว้างมากกว่าเพราะแม้จะ


ไม่ได้เรียนในโรงเรียนทีท่ าการสอนด้วยระบบอเมริกนั แต่นกั เรียนก็สามารถไปสอบวิชาต่างๆ เช่น GED, TOEFL, SAT
หรือ ACT ซึง่ เปิ ดให้สอบได้อย่างอิสระ แม้นกั เรียนจะไม่ได้เรียนในโรงเรียนทีส่ อนด้วยระบบอเมริกนั ก็ตาม

เอมส์เปิ ดสอนวิชาภาษาอังกฤษทัง้ ในระดับพื้นฐานและในระดับที่สูงขึ้นไปเพือ่ ใช้ในการสอบเข้าศึกษาต่อในหลักสูตร


นานาชาติ หรือหลักสูตรในต่างประเทศ เช่น GED, IGCSE, SAT, CU-TEP, IELTS และ TOEFL โดยเปิ ดสอน
ตัง้ แต่ปี 2538 และช่วยให้นกั เรียนประสบความสาเร็จในการเรียน เช่น สามารถสอบเข้าหลักสูตรนานาชาติจฬุ าฯได้
เฉลีย่ ปี ละ 250-270 คนหรือประมาณ 1 ใน 4 ของนิสติ ใหม่ทงั้ หมดในแต่ละปี

www.aims.co.th @aims

You might also like