You are on page 1of 47

ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี

วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1


มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 

8 

9 

10 

11 

12 

13 

14 

15 

16 

17 

18 

19 

20 

21 

22 

23 

24 

25 

26 

27 

28 

29 

~1~
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
30 

31 

32 

33 

34 

35 

36 

37 

38 

39 

40 

41 

42 

43 

44 

45 

46 

47 

48 

49 

50 

51 

52 

53 

54 

55 

56 

57 

58 

59 

60 



~2~
ศิลปะ ชุดที่ 1 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 90

ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการจัดองค์ประกอบศิลป์ในงานทัศนศิลป์
1. แสดงให้เห็นถึงเทคนิคในการสร้างผลงานทัศนศิลป์ที่มีความหลากหลาย
2. ผลงานจะมีราคาสูงขึ้นถ้ามีการจัดองค์ประกอบศิลป์ที่ครบถ้วน
3. ต้องการสร้างสุนทรียภาพให้เกิดขึ้นภายในผลงาน
4. สะท้อนความคิดสร้างสรรค์ของศิลปิน
2. ข้อใดไม่จัดเป็นทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์
1. รูปร่าง รูปทรง 2. จุด บริเวณที่ว่าง
3. สี น้้าหนักอ่อน-แก่ 4. เอกภาพ ความสมดุล
3.

จากภาพศิลปินต้องการสื่อให้เห็นทัศนธาตุในข้อใดชัดเจนที่สุด
1. จุด 2. สี
3. รูปร่าง 4. แสงเงา
4. “ จุดเริ่มต้นของการออกแบบทางทัศนศิลป์ทุกชนิด ” จากข้อความนี้มีความหมายตรงกับทัศนธาตุ
ในข้อใด
1. สี 2. เส้น
3. ลักษณะพื้นผิว 4. น้้าหนักอ่อน-แก่

~3~
5. เส้นชนิดใดให้ความรู้สึกอันตราย
1. 2.

3. 4.
6. ข้อใดที่แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างรูปร่างกับรูปทรงได้ชัดเจนที่สุด
1. ความจุ 2. ขนาด
3. สีสัน 4. มิติ
7. ลักษณะเด่นในการวาดภาพของอาจารย์สวัสดิ์ ตันติสุข มีความสอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
1. เน้นใช้สีที่สดใสและเน้นการแรเงา 2. ใช้เส้นน้อยเป็นรูปร่างและบรรยากาศ
3. ใช้ฝีแปรงขนาดใหญ่ป้ายอย่างรวดเร็ว 4. เก็บรายละเอียดของภาพอย่างประณีต
8. อาจารย์ก มล ทัศนาญชลี เป็นศิล ปินที่มีการใช้เทคนิค และวัสดุ อุปกรณ์แตกต่า งจากศิลปินท่า นอื่น
อย่างไร
1. เป็นงานสื่อผสม ทั้งเทคนิคภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม
2. เป็นงานประติมากรรมสมัยใหม่ที่ใช้วัสดุสังเคราะห์หลากหลายชนิด
3. เป็นงานภาพพิมพ์แกะไม้ผสมผสานกับงานประติมากรรมที่ประสานกลมกลืนกันอย่างลงตัว
4. เป็นงานสื่อผสมทั้งเทคนิคภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม โดยใช้วัสดุสังเคราะห์ตามแนวคิด
ใหม่
9. เพราะเหตุใดในการวาดภาพสื่อความหมายและเรื่องราวจึงต้องมีการกาหนดกรอบแนวคิด
1. ก้าหนดวัสดุ อุปกรณ์ที่จะน้ามาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานได้
2. ศิลปินสามารถแสดงแนวคิดของตนได้อย่างหลากหลาย
3. ท้างานได้อย่างรวดเร็ว เพราะมีขอบเขตที่แน่นอน
4. ระบุราคาขายภาพผลงานได้อย่างเหมาะสม
10. ข้อใดเป็นคุณสมบัติเฉพาะของสีน้าที่นามาใช้ในการเขียนภาพ
1. โปร่งใส เนื้อสีเบาบาง มีสีสันสวยงาม
2. ทึบแสง เนื้อสีเข้มข้น ระบายเรียบสวยงาม
3. ในเนื้อสีจะผสมผสานกันระหว่างทึบแสง กับโปร่งแสง
4. เนื้อสีเหมือนกับสีชนิดอื่นๆ ขึ้นอยู่กับปริมาณที่น้ามาใช้
11. นักวิจารณ์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
1. มีหอศิลป์จัดแสดงผลงานทัศนศิลป์เป็นของตัวเอง 2. ต้องมีความเที่ยงธรรม และมีความเป็นกลาง
3. เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในวงการสังคม 4. จบการศึกษาขั้นสูงจากต่างประเทศ

~4~
12. เพราะเหตุใดนักวิจารณ์จึงต้องมีความรอบรู้ในหลายสาขาวิชา
1. ค้าวิจารณ์จะมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
2. ได้รับการยอมรับจากผู้รู้ในสาขาทัศนศิลป์
3. จะใช้ภาษาในการวิจารณ์ที่ง่ายต่อการท้าความเข้าใจ
4. ท้าให้สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างลุ่มลึก
13. ข้อใดไม่จัดเป็นความสาคัญในการพัฒนาผลงานทัศนศิลป์
1. การสร้างนิสัยในการท้างานที่ดี
2. ความคิดสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่
3. พัฒนาให้เกิดการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งใหม่ๆ
4. ยกระดับความคิดให้มีความทันสมัยตามทันเทคโนโลยี
14. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของคาว่า “บุคลิกลักษณะ” ได้ถูกต้องที่สุด
1. ลักษณะจ้าเพาะตัวของบุคคลแต่ละคน 2. การก้าหนดโครงสร้างของรูปแบบ
3. การถ่ายทอดอารมณ์จากผู้วาด 4. ผู้แสดง หรือตัวละคร
15. หลักสาคัญของการออกแบบโฆษณาคือสิ่งใด
1. ออกแบบส้าหรับธุรกิจการค้า
2. ใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
3. เน้นที่ความแปลกใหม่ในด้านรูปแบบ
4. สื่อความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างผู้ออกแบบและผู้พบเห็น
16. เพราะเหตุใดวัฒนธรรมกับงานทัศนศิลป์จึงไม่สามารถแยกออกจากกันได้
1. สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นชาติไทย
2. มีความเกี่ยวพันในลักษณะพึ่งพาต่อกัน
3. เป็นเครื่องมือวัดความสามารถของศิลปิน
4. แสดงให้เห็นความงามของผลงานทัศนศิลป์
17. ข้อใดจัดเป็นผลงานทัศนศิลป์ประเภทสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นในสมัยทวารวดี

1. 2.

3. 4.

~5~
18. ประติมากรรมสมัยลพบุรีมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นอย่างไร
1. แสดงลักษณะที่อ่อนหวานและนุ่มนวล
2. ขนาดสูงใหญ่กว่าล้าตัวของมนุษย์ 3-5 เท่า
3. สวมเครื่องแต่งกายเลียนแบบเครื่องทรงของกษัตริย์
4. ให้ความรู้สึกหนักแน่นด้วยเส้นและปริมาตรที่แน่นอน
19.

จากภาพจัดเป็นปฏิมากรรมที่เกิดขึ้นในสมัยใด
1. สมัยเชียงแสน 2. สมัยทวารวดี
3. สมัยศรีวิชัย 4. สมัยลพบุรี
20. การออกแบบงานทั ศ นศิ ล ป์ ใ นวั ฒ นธรรมไทยมี ค วามแตกต่ า งไปจากวั ฒ นธรรมอื่ น ๆ หรื อ ไม่
เพราะเหตุใด
1. แตกต่างกัน เพราะมีต้นก้าเนิดที่แตกต่างกัน
2. แตกต่างกัน เพราะได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย
3. ไม่แตกต่างกัน เพราะเป็นงานทัศนศิลป์ที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง
4. ไม่แตกต่างกัน เพราะจัดเป็นงานทัศนศิลป์ที่มีรูปแบบเช่นเดียวกันทุกประเภท
21. เพราะเหตุใดในการเรียนวิชาดนตรีจึงต้องศึกษาในเรื่ององค์ประกอบของดนตรีควบคู่กันไปด้วย
1. ท้าให้สามารถสร้างท้านองได้หลากหลาย 2. จะท้าให้เข้าใจเรื่องราวของดนตรีชัดเจน
3. บทเพลงมีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้น 4. จัดเป็นส่วนหนึ่งของบทเพลง
22. ดนตรีมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์อย่างไรมากที่สุด
1. เป็นสิ่งที่ช่วยสร้างความแข็งแรงให้แก่ร่างกาย
2. เป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมการด้าเนินชีวิตของมนุษย์
3. เป็นผลงานที่สามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่ประเทศชาติ
4. เป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยี
23. “ สิ่งที่ทาให้ดนตรีสามารถขับเคลื่อนได้อย่างเป็นระบบ ” จากข้อความนี้หมายถึงสิ่งใด
1. จังหวะ 2. ท้านอง
3. บันไดเสียง 4. มาตราเสียง

~6~
24. จังหวะหน้าทับมีลักษณะที่พิเศษอย่างไร
1. น้าฉิ่งมาใช้เป็นหลักในการสร้างจังหวะดนตรี
2. จังหวะที่ได้มีความหลากหลายทางท้านองเพลง
3. สร้างท้านองเพลงด้วยเครื่องดนตรีประเภทหนัง
4. เป็นจังหวะที่นักดนตรียึดเป็นหลักในการบรรเลงและขับร้อง
25. เครื่องหมายในข้อใดทาหน้าที่ในการแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงสูงขึ้น ½ เสียง

1. 2.

3. 4.
26. เพราะเหตุใดในการประพันธ์เพลงจึงต้องมีการพิจารณาในเรื่องเสียงควบคู่กันไปด้วย
1. เพราะในหนึ่งบทเพลงจะได้ปรากฏรูปแบบของเสียงที่มีความหลากหลาย
2. เพราะต้องการสร้างเสียงดนตรีให้มีความแตกต่างกับเสียงของดนตรีในชาติอื่นๆ
3. เพราะเสียงแต่ละเสียงมีความเหมาะสมในการน้ามาใช้กับเครื่องดนตรีแต่ละประเภท
4. เพราะจะท้าให้เสียงที่น้ามาเรียบเรียงมีความสอดประสานกลมกลืนกันอย่างเหมาะสม
27. ธรรมชาติมีส่วนสาคัญต่อการสร้างสรรค์บทเพลงอย่างไรมากที่สุด
1. มีการสร้างท้านองเพลงที่มีความพลิ้วไหว
2. ใช้เป็นแรงบันดาลใจในการประพันธ์เพลง
3. สร้างเสียงดนตรีที่มีความหลายหลายไปตามวัฒนธรรม
4. เป็นต้นแบบในการสร้างเสียงดนตรีที่เหมือนจริงตามธรรมชาติ
28. เพราะเหตุใดการขับร้องเพลงไทยมีความแตกต่างจากการขับร้องเพลงสากล
1. มีลักษณะเด่นอยู่ที่การเอื้อนเสียง 2. ศิลปินจะมีเนื้อเสียงที่ไม่เหมือนกัน
3. ใช้จังหวะและท้านองดนตรีต่างกัน 4. เพลงที่น้ามาขับร้องเกิดขึ้นคนละยุคสมัย
29. เพราะเหตุใดการขับร้องเพลงไทยที่ดีจึงต้องออกเสียงให้เต็มเสียงตามจังหวะและทานองของเพลง
1. เสียงขับร้องจะได้ดังกลบทับเสียงเครื่องดนตรี 2. ผู้ฟังจะได้ยินเสียงที่ดังกังวาน และชัดเจน
3. บทเพลงจะมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น 4. ลดการใช้อุปกรณ์ขยายเสียง
30. “ พวกเราเหล่ามาชุมนุม ต่างกุมใจรัก สมัครสมาน
ล้วนมิตร จิตชื่นบาน สราญเริงอยู่ ทุกผู้ทุกนาม ฯ ”
ในการขับร้องเพลงดังเนื้อร้องข้างต้นควรมีการแสดงอารมณ์อย่างไรจึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด
1. อารมณ์โกรธ 2. อารมณ์ฮึกเหิม
3. อารมณ์โศกเศร้า 4. อารมณ์เบิกบานใจ

~7~
31. ข้อใดตอบถูกต้องเกี่ยวกับคุณภาพของเสียง
1. ความสูง-ต่้าของเสียงเกิดจากจ้านวนความถี่ของการสั่นสะเทือน
2. ความหนัก-เบาของเสียงช่วยสนับสนุนเสียงให้มีจังหวะที่สมบูรณ์
3. ความยาว-สั้นของเสียงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการก้าหนดจังหวะเพลง
4. คุณภาพของแหล่งก้าเนิดเสียงที่แตกต่างกัน จะท้าให้ผู้ฟังสามารถแยกแยะสีสันของเสียงได้อย่า ง
ชัดเจน
32. ถ้านักเรียนได้รับมอบหมายให้ประเมินคุ ณภาพด้านเสียงของผู้ขับร้อง นักเรียนจะประเมินในเรื่องใด
เป็นหลัก
1. ประสบการณ์ของผู้ขับร้อง 2. ความถูกต้องด้านอักขรวิธี
3. รูปร่างหน้าตาของผู้ขับร้อง 4. เนื้อเพลงที่น้ามาใช้ในการขับร้อง
33. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของดนตรีที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย
1. ช่วยในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย 2. ท้าให้เศรษฐกิจไทยเจริญก้าวหน้า
3. ท้าให้คนไทยใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือย 4. ช่วยให้ธุรกิจดนตรีขยายตัว
34. พรรัม ภา เป็นผู้มีค วามรู้ ความเชี่ยวชาญในเรื่องการปฏิบัติ ต่อเครื่องดนตรีไ ทยและสากลตามหลัก
ทฤษฎี วิ ช าดนตรี และมี ป ระสบการณ์ ใ นการสอนดนตรี พรรั ม ภา ควรประกอบอาชี พ ใดจึ ง จะ
เหมาะสมมากที่สุด
1. นักวิชาการดนตรี 2. นักประพันธ์เพลง
3. นักอ้านวยเพลง 4. ครูดนตรี
35. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงแนวคิดสาคัญในการสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีในวัฒนธรรมอินเดีย
1. เน้นในเรื่องท้านอง บันไดเสียง จังหวะและเสียงหนัก-เบา
2. ความพิถีพิถันในการเลือกวัสดุ อุปกรณ์มาสร้างเครื่องดนตรี
3. คัดเลือกนักดนตรีที่สามารถบรรเลงดนตรีได้อย่างหลากหลายเท่านั้น
4. ผู้ประพันธ์เพลงต้องมีชื่อเสียง และมีความสามารถทางดนตรีเป็นอย่างมาก
36. เพราะเหตุใดอินเดียจึงได้รับการขนานนามว่า “ เจ้าแห่งจังหวะ ”
1. สร้างจังหวะโดยไม่ต้องใช้เครื่องดนตรี
2. จังหวะดนตรีมีรูปแบบที่หลากหลาย
3. เป็นต้นแบบการสร้างจังหวะดนตรี
4. นิยมน้ากลองมาใช้ในการบรรเลง
37. เครื่องดนตรีชนิดใดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับซอสามสายของประเทศไทย
1. Tro 2. Saung
3. Khene 4. Gambus

~8~
38. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับที่มาของดนตรีในวัฒนธรรมเวียดนาม
1. ดนตรีมีความเกี่ยวพันกับความเชื่อในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
2. ดนตรีได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากประเทศอินเดีย
3. ดนตรีที่มีชื่อเสียงเป็นผลงานที่เกิดขึ้นในยุคส้าริด
4. ดนตรีมีความหลากหลายในรูปแบบของเสียง
39. ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีกับงานดนตรี
1. มีแนวคิดเกี่ยวกับเพลงเกียรติยศส้าหรับบุคคลส้าคัญของชาติมาจากชาวตะวันตก
2. โทมัส อัลวา เอดิสัน ประดิษฐ์เครื่องมือส้าหรับใช้บันทึกเสียงดนตรีขึ้น
3. ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย
4. สภาพเหตุการณ์บ้านเมืองมีความแตกแยกทางความคิด
40. วิทยุได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองอย่างไรมากที่สุด
1. ใช้สร้างความบันเทิงให้แก่ประชาชน
2. ใช้เป็นเกณฑ์วัดมาตรฐานเรื่องรายได้
3. ใช้เป็นเครื่องแสดงความมีอารยธรรมของประเทศ
4. ใช้กระจายเสียงเป็นสื่อในการเผยแพร่ความรู้เรื่องการปกครอง
41. แสงมีความสาคัญต่อการจัดการแสดงอย่างไรมากที่สุด
1. ช่วยให้บรรยากาศดูไม่น่ากลัว
2. ช่วยเน้นจุดเด่นของลีลาการแสดง
3. ช่วยให้เกิดสุนทรียภาพในการชมการแสดง
4. ช่วยให้การมองเห็นของผู้ชมมีประสิทธิภาพมากขึ้น
42. เพราะเหตุใดจึงมีการนาฉาก แสง สี เสียงมาใช้ประกอบการแสดงนาฏศิลป์
1. ดึงดูดความสนใจของผู้ชม
2. เพิ่มยอดจ้าน่ายบัตรเข้าชมการแสดง
3. ท้าให้การแสดงมีความสมจริงมากขึ้น
4. ผู้ที่ท้าหน้าที่ออกแบบฉาก แสง สี เสียงเป็นที่รู้จักมากขึ้น
43. ข้อใดไม่จัดเป็นประโยชน์ของการนาดนตรีมาใช้ประกอบการแสดง
1. พื้นที่ของเวทีจะไม่มีบริเวณว่าง
2. เสริมสร้างให้การแสดงสมบูรณ์
3. สื่อความหมายในการแสดงได้ชัดเจน
4. ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการแสดง

~9~
44. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์
1. จะท้าให้ผู้ชมหันมาสนใจการแสดงมากขึ้น
2. จะได้น้าผลที่ได้รับไปพัฒนาผลงานให้ดียิ่งๆ ขึ้น
3. การแสดงจะได้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสังคม
4. จะท้าให้ยอดจ้าหน่าย CD หรือ DVD ทางนาฏศิลป์สูงขึน้
45. นาฏศิลป์ไทยมีคุณค่าและประโยชน์แก่เยาวชนไทยหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ไม่มี เพราะเป็นการแสดงที่หาชมได้ยาก
2. ไม่มี เพราะเป็นสิ่งโบราณที่ไม่มีการพัฒนาให้ทันสมัย
3. มี เพราะเป็นการแสดงที่มีความสวยงามในเรื่องของการแต่งกาย
4. มี เพราะเป็นเครื่องหมายแสดงความเป็นชาติที่มีมรดกทางวัฒนธรรม
46. ข้อใดไม่มีความเกี่ยวข้องกับคาว่า “ ศิลปวิจารณ์ ”
1. การใช้ถ้อยค้าเพื่อสื่อความคิด 2. ใช้ในการแก้ไข และพัฒนาผลงาน
3. สร้างมูลค่าของผลงานให้สูงขึ้นกว่าปกติ 4. สามารถวิจารณ์ได้ด้วยการพูด และเขียน
47. เพราะเหตุใดผู้วิจารณ์จึงต้องมีความรู้เป็นอย่างดีในสาขาที่จะวิจารณ์
1. จะวิจารณ์ได้อย่างถูกต้องและมีเหตุผล 2. ค้าวิจารณ์จะเป็นที่ยอมรับในวงสังคม
3. สามารถสร้างความเชื่อให้แก่ผู้ชมได้ 4. สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้เข้าชม
48. ข้อใดอธิบายเกี่ยวกับความหมายของราวงมาตรฐานไม่ถูกต้อง
1. จัดเป็นการละเล่นพื้นบ้านอย่างหนึ่งที่สนุกสนาน
2. ใช้ฉิ่งเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ
3. เป็นศิลปะแห่งการร้าวงที่งดงาม
4. พัฒนามาจากการเล่นร้าโทน
49. บทเพลงที่นามาใช้ในการขับร้องประกอบการราวงส่วนใหญ่จะมีลักษณะอย่างไร
1. มีการน้าค้าราชาศัพท์มาแทรกไว้ในบทเพลง
2. เน้นการใช้ค้าที่มีทั้งแบบสัมผัสนอก และสัมผัสใน
3. บทเพลงจะสะท้อนสภาพบ้านเมือง และสังคมปัจจุบัน
4. ใช้ภาษาที่เรียบง่าย ไม่พิถีพิถันในเรื่องถ้อยค้า และสัมผัส
50. ข้อใดอธิบายความสาคัญในการนาวิชาต่างๆ มาบูรณาการให้นักเรียนได้เรียนรู้มากที่สุด
1. นักเรียนสามารถเข้าใจเนื้อหาในบทเรียนง่ายขึ้น
2. นักเรียนสามารถแสดงแนวคิดอยู่ในกรอบที่ครูก้าหนดไว้ได้
3. นักเรียนสามารถถ่ายทอดเรื่องราวที่เรียนให้บุคคลภายนอกรับรู้ได้
4. นักเรียนสามารถน้าความรู้ที่ได้มาใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ้าวัน

~ 10 ~
51. บุคคลในข้อใดสามารถนาความรู้เกี่ยวกับละครมาใช้บูรณาการกับวิชาอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสมที่สุด
1. ส้ม ใช้เวลาในวันหยุดออกไปขายหนังสือพิมพ์เป็นอาชีพเสริม
2. น้้าตาล น้ากระดาษที่ใช้แล้วมาพับเป็นถุง แล้วน้าไปจ้าหน่าย
3. ชมพู ฝึกเขียนบทละครโดยน้านิทานมาใช้เป็นโครงเรื่อง
4. แดง ชอบร้องเพลงที่ตู้คาราโอเกะในห้างสรรพสินค้า
52. การแสดงนาฏศิล ป์ ช นิ ด ใดที่ส ามารถสะท้ อ นให้ เห็ นถึ ง วิถี ชี วิต ความเป็ นอยู่ข องผู้ ค นในสั ง คมได้
ชัดเจนที่สุด
1. นาฏศิลป์ชาวบ้าน 2. นาฏศิลป์พื้นเมือง
3. นาฏศิลป์เบ็ดเตล็ด 4. นาฏศิลป์มาตรฐาน
53. การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในแต่ละภาคจะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันในเรื่องใดมากที่สุด
1. สร้างความสนุกสนานในงานเทศกาลต่างๆ
2. แหล่งก้าเนิด หรือที่มาของการแสดง
3. จ้านวนนักแสดงที่ใช้ในแต่ละครั้ง
4. การออกแบบเครื่องแต่งกาย
54. ข้อใดไม่ใช่การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคเหนือ
1. ฟ้อนวี 2. ฟ้อนเจิง
3. ฟ้อนภูไท 4. ฟ้อนดาบ
55. ในการราหมู่ที่ดีนักแสดงควรยึดหลักปฏิบัติยกเว้นข้อใด
1. สมาธิมั่นคง 2. แม่นย้าในท่าร้า
3. แต่งหน้าด้วยสีสดใส 4. รักษากฎระเบียบในการตั้งแถว
56. การแสดงนาฏศิลป์ชุดใดจะเน้นความสามารถของนักแสดงเป็นหลัก
1. สีนวล 2. รองเง็ง
3. ตารีกีปัส 4. ฉุยฉายเบญกาย
57. การละครในสมัยใดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการแสดงละครไปจากเดิมมากนัก
1. สมัยสุโขทัย 2. สมัยอยุธยา
3. สมัยธนบุรี 4. สมัยรัตนโกสินทร์
58. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับที่มาของการแสดงละคร
1. ละครเป็นเครื่องราชูปโภคอย่างหนึ่งของพระมหากษัตริย์
2. ละครสามารถน้ามาใช้ในการบ้าบัดรักษาโรคทางจิตเวชได้เป็นอย่างดี
3. ละครเป็นสื่อกลางที่ใช้ในการถ่ายทอดความคิดจากรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง
4. ละครสามารถสะท้อนให้เห็นภาพประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมได้

~ 11 ~
59. เพราะเหตุใดจึงมีคากล่าวว่า “ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) เป็นสมัยที่
การละครได้เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด ”
1. พระมหากษัตริย์ทรงให้การสนับสนุน
2. การละครไทยได้แพร่หลายไปยังต่างประเทศ
3. เกิดนักแสดงที่มีชื่อเสียงด้านการละครหลายท่าน
4. ประชาชนนิยมฝึกหัดการแสดงละครเพื่อใช้ประกอบอาชีพ
60. เพราะเหตุใ ดในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้า เจ้า อยู่หัว (รัช กาลที่ 7) การละครจึง มีรูป แบบที่
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเป็นอย่างมาก
1. ประชาชนลดความนิยมลง
2. เกิดภาวะสงครามโลกครั้งที่ 2
3. ศิลปินถูกย้ายโอนไปสังกัดท้างานในหน่วยอื่นๆ
4. ต้องการสร้างประเทศให้มีอารยธรรมทัดเทียมกับตะวันตก



~ 12 ~
ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี
วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 2
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 

8 

9 

10 

11 

12 

13 

14 

15 

16 

17 

18 

19 

20 

21 

22 

23 

24 

25 

26 

27 

28 

29 

~ 13 ~
มาตรฐานตัวชี้วัด
ข้อ มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
30 

31 

32 

33 

34 

35 

36 

37 

38 

39 

40 

41 

42 

43 

44 

45 

46 

47 

48 

49 

50 

51 

52 

53 

54 

55 

56 

57 

58 

59 

60 



~ 14 ~
ศิลปะ ชุดที่ 2 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 90

ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. การสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ทั้งการจัดองค์ประกอบ และความงาม
โดยอาศัยหลักเกณฑ์ตรงกับข้อใด
1. ยึดวิธีการวาดโดยเน้นการใช้เส้น แสงเงา และสี
2. ยึดหลักเกณฑ์ความเป็นเอกภาพ ความสมดุล และความกลมกลืน
3. ยึดหลักธรรมชาติเป็นส้าคัญเพื่อให้ได้ความงดงาม และความเหมือนจริง
4. ยึดหลักการใช้เทคนิคที่มีความหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลงานที่มีความแปลกใหม่
2. ในการเรี ย นวิ ช าทั ศ นศิ ล ป์ สิ่ ง ส าคั ญ อั น ดั บ แรกที่ นั ก เรี ย นจะต้ อ งมี ค วามรู้ ความเข้ า ใจมากที่ สุ ด
คือเรื่องใด
1. นักเรียนจะต้องเข้าใจทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์อันเป็นส่วนประกอบของการมองเห็น
2. นักเรียนจะต้องมีความเข้าใจในเรื่องรูปร่าง รูปทรง แสงเงาที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ
3. นักเรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการจะวาด และวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการวาด
4. นักเรียนจะต้องมีความรู้ในเรื่องลักษณะของเส้นต่างๆ และวิธีการระบายสี
3. ภาพในข้อใดจัดเป็นรูปทรงอิสระ หรือดัดแปลง

1. 2.

3. 4.

~ 15 ~
4. เพราะเหตุใดการแบ่งที่ว่างจึงต้องให้มีความสมดุลกัน
1. ภาพมีความสวยงามมากขึ้น
2. ประหยัดเวลาในการระบายสี
3. แบ่งแยกภาพให้มีความชัดเจน
4. เมื่อมองแล้วเกิดความสบายตา
5.

จากภาพศิลปินต้องการสื่อให้เห็นทัศนธาตุใดมากที่สุด
1. น้้าหนักอ่อน-แก่ 2. ลักษณะพื้นผิว
3. บริเวณว่าง 4. รูปร่าง
6. “ เมื่อสัมผัสจะเกิดความรู้สึกที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง ” จากข้อความนี้หมายถึงลักษณะที่พิเศษของ
ทัศนธาตุใด
1. น้้าหนักอ่อน-แก่ 2. ลักษณะพื้นผิว
3. รูปทรง 4. เส้น
7. “ การใช้ฝีแปรงป้ายปาดอย่างฉับไว แสดงรูปร่าง รูปทรงอย่างคร่าวๆ ไม่เน้นรายละเอียด แต่เน้นการสื่อ
ความหมาย และอารมณ์ ” เป็นเทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปินท่านใด
1. ถวัลย์ ดัชนี 2. สวัสดิ์ ตันติสุข
3. กมล ทัศนาญชลี 4. ช้าเรือง วิเชียรเขตต์
8. งานประติมากรรมของอาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับเรื่องใด
1. วิถีชีวิต สภาพความเป็นอยู่ของคนไทย 2. การเสียดสี ล้อเลียนการเมือง
3. แนวคิดทางพระพุทธศาสนา 4. สภาพสังคมในปัจจุบัน
9. ข้อใดจัดเป็นคุณลักษณะเฉพาะของสีโปสเตอร์ที่นามาใช้ในการเขียนภาพ
1. ทึบแสง เนื้อสีข้น ระบายทับซ้อนกันได้
2. มีวิธีการใช้เช่นเดียวกันกับการใช้สีอะคริลิก
3. นิยมน้ามาระบายภาพจิตรกรรมฝาผนังเช่นเดียวกับสีฝุ่น
4. ไม่สามารถน้ามาใช้ระบายภาพที่ต้องการความละเอียดมาก

~ 16 ~
10. ข้อใดแสดงถึงการใช้เทคนิคการวาดภาพด้วยเทคนิคผสม
1. ไก่ วาดภาพทิวทัศน์ด้วยการใช้สีน้าระบายลงบนกระดาษ และระบายทับซ้อนกันในหลายๆ แห่ง
2. แก่ น วาดภาพหุ่นนิ่ง เป็ นรูป ผลไม้นานาชนิด ด้วยสีโปสเตอร์ พร้อมทั้งเลือกใช้สีที่ส ดใสท้าให้
ภาพสวยงามขึ้น
3. แก้ว วาดภาพประกอบนิทานใช้เทคนิคการวาดภาพที่หลากหลาย ทั้งใช้ลายเส้นของปากกา สีน้าและ
สีโปสเตอร์
4. กิ่ง วาดภาพสิ่งก่อสร้างที่มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา โดยใช้วิธีการร่างภาพด้วยปากกา แล้ว
ใช้สีน้าระบาย
11. สิ่งใดคือปัญหาที่พบได้จากนักวิจารณ์งานทัศนศิลป์สมัครเล่น
1. ความคิดที่ทันสมัย 2. เวทีส้าหรับวิจารณ์
3. ผู้ให้การสนับสนุน 4. ความรู้เกี่ยวกับทัศนศิลป์
12. การวิจารณ์จะมีคุณค่าหรือไม่นั้นจะขึ้นอยู่กับบุคคลใดเป็นสาคัญ
1. ศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน
2. นักสะสมผลงานทัศนศิลป์
3. เจ้าของแกลเลอรี่ที่ใช้แสดงผลงาน
4. บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์
13. การจัดทาแฟ้มสะสมผลงานมีประโยชน์ต่อตัวนักเรียนยกเว้นในข้อใด
1. น้าไปใช้ในการพิจารณาเพิ่มผลคะแนนในการเรียน
2. ใช้เป็นเครื่องมือครูในการประเมินผลตามสภาพจริง
3. เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลที่ใช้เก็บผลงานที่มีความโดดเด่น
4. แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าและความส้าเร็จในการเรียน
14. ถ้านักเรียนต้องการวาดภาพการ์ตูนที่ดีควรคานึงถึงเรื่องใดเป็นหลัก
1. ภาพลายเส้นที่เรียบง่าย สื่อวิถีชีวิตในสังคมได้ดี
2. ภาพที่มีเส้นคมชัด ใช้สีที่เกินจริงไปจากธรรมชาติ
3. ภาพที่เรียบง่าย สื่อสารอารมณ์ ความรู้สึกได้ดี มีบุคลิกที่จ้าง่าย
4. ภาพสื่อให้เห็นถึงรูปแบบที่เรียบง่าย มีความสมจริงตามธรรมชาติ
15. การชี้แจงเกี่ยวกับแผนงาน หรือนโยบายของหน่วยงานทางราชการเป็นการโฆษณาเพื่อจุดประสงค์ใด
เป็นสาคัญ
1. เพื่อความเข้าใจร่วมกันในสังคม
2. เพื่อรณรงค์ หรือต่อต้าน
3. เพื่อสืบสานวัฒนธรรม
4. เพื่อผลทางธุรกิจ

~ 17 ~
16. ข้อใดอธิบายความหมายของคาว่าวัฒนธรรมได้ถูกต้องมากที่สุด
1. สิ่งที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา ไม่สามารถบอกได้ว่าสิ่งเหล่านั้นมีความเหมาะสมกับยุคสมัยหรือไม่
2. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีแห่งชีวิตของส่วนรวม สามารถถ่ายทอดได้
3. สิ่งที่ได้รับมาจากอารยธรรมตะวันตก มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้มีรูปแบบเป็นของไทย
4. สิ่งที่กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งพึงประพฤติ ปฏิบัติ และช่วยกันด้ารงรักษาไว้อย่างเหนียวแน่น
17. เพราะเหตุใดพระพุทธรูปในสมัยสุโขทัยจึงเป็นต้นแบบในการสร้างพระพุทธรูปในสมัยอื่นๆ
1. แต่งกายเครื่องทรงแบบกษัตริย์ 2. ใช้วัสดุที่มีความแข็งแรง ทนทาน
3. ได้รับรูปแบบมาจากศิลปะอินเดีย 4. เป็นพุทธศิลป์ที่มีความสวยงามลงตัว
18. สิ่งใดคือความแตกต่างระหว่างพระพุทธรูปแบบทรงเครื่องใหญ่และพระพุทธรูปแบบทรงเครื่องน้อย
1. สี 2. ขนาด
3. พุทธลักษณะ 4. วัสดุที่น้ามาใช้
19. เพราะเหตุใดภาพจิตรกรรมในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นจึงมีลักษณะแบบจีนผสมผสานอยู่มาก
1. ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจากประเทศจีน
2. ต้องการสร้างงานศิลปะที่มีความแตกต่างจากศิลปะแบบเดิมๆ
3. แสดงให้เห็นฝีมือของศิลปินในสมัยรัตนโกสินทร์ที่สามารถสร้างงานได้อย่างหลากหลาย
4. ไทยเคยตกเป็ นเมื องขึ้นของจีน จึงได้น้าความรู้ด้านศิลปะของจีนมาปรับใช้ให้มีแบบอย่างเป็น
ของไทย
20. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากลช่วงระยะแรก
1. เสนอแนวคิดที่สะท้อนสังคม หรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการด้ารงชีวิต
2. ผลงานมีความทันสมัย และตอบสนองความต้องการทางเทคโนโลยี
3. มีการพัฒนาโดยจะเน้นเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาคริสต์
4. ได้รับอิทธิพลเกี่ยวกับความเชื่อ และจิตวิญญาณ
21. ข้อใดไม่จัดเป็นองค์ประกอบของดนตรี
1. เสียง
2. จังหวะ
3. ท้านองเพลง
4. อารมณ์เพลง
22. เพราะเหตุใดจึงมีคากล่าวว่า “ ดนตรีไทยเป็นสมบัติทางศิลปวัฒนธรรมร่วมกันของคนทั้งชาติ ”
1. ดนตรีสามารถน้าไปพัฒนาควบคู่กับเทคโนโลยีได้อย่างมากมาย
2. ดนตรีได้เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับการด้าเนินชีวิตของมนุษย์
3. ดนตรีจะถ่ายทอดให้เห็นถึงพลังที่เข้มแข็งผ่านทางบทเพลง
4. ดนตรีเป็นสื่อเชื่อมโยงความสามัคคีระหว่างคนในชาติ

~ 18 ~
23. อัตราจังหวะถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่ใด
1. สร้างสีสันของเสียงให้ไพเราะ 2. จัดแบ่งจังหวะเคาะออกเป็นกลุ่ม
3. ก้าหนดตัวโน้ตบนบรรทัด 5 เส้น 4. จ้าแนกเสียงสูง และเสียงต่้าออกจากกัน
24. ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ
ดด ด ด รรรร มมมม ฟฟฟฟ
ข้อใดมีความสัมพันธ์กับข้อความด้านบนมากที่สุด
1. อัตราจังหวะผสมที่มีทั้งความสั้น ปานกลาง ไปจนถึงยาวที่สุด
2. อัตราที่มีจังหวะยาวมากที่สุด มีความยาวเท่ากับอัตราจังหวะ 2 ชั้น
3. อัตราจังหวะที่มีความยาวปานกลาง สั้นกว่าอัตราจังหวะ 3 ชั้น 1 เท่า
4. อัตราจังหวะที่สั้นที่สุด มีความยาวเท่ากับครึ่งหนึ่งของอัตราจังหวะ 2 ชั้น

25.
จากภาพมีความหมายตรงกับข้อใด
1. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตที่มีระดับสูงขึ้น หรือต่้าลง ½ เสียง ให้กลับมาเป็นเสียงปกติ
2. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงสูงขึ้นสองครึ่งเสียง หรือ 1 เสียงเต็ม
3. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงต่้า หรือลดลง ½ เสียง
4. มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงสูงขึ้น ½ เสียง
26. ข้อใดจัดเป็นบทเพลงที่ได้รับอิทธิพลมาจากการประกอบอาชีพ
1. เพลงลาวกระทบไม้ 2. เพลงลาวดวงเดือน
3. เพลงนางครวญ 4. เพลงทยอย
27. บุค คลใดเลือ กใช้เทคนิคและการแสดงออกในการจินตนาการในการสร้า งสรรค์ บทเพลงได้ถูกต้อง
มาก ที่สุด
1. มะเฟือง น้าผลงานของผู้อื่นมาดัดแปลงเป็นผลงานของตนเอง
2. มะยม ยึดรูปแบบเพลงเก่า เพราะกลัวไม่ได้รับความนิยม
3. มะนาว เลือกแต่งเพลงเศร้าด้วยจังหวะที่กระชับ เร้าใจ
4. มะขาม ใช้เสียงในระดับปานกลางในการแต่งเพลง
28. การหายใจที่ถูกต้องมีความสาคัญต่อการขับร้องเพลงหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ส้าคัญ เพราะช่วยลดความตื่นเต้นขณะขับร้อง
2. ส้าคัญ เพราะการหายใจที่ดีจะมีส่วนช่วยท้าให้ร้องเพลงได้ดีขึ้น
3. ไม่ส้าคัญ เพราะในการขับร้องเพลงสามารถหายใจในรูปแบบใดก็ได้
4. ไม่ส้าคัญ เพราะไม่มีกฎข้อบังคับใช้ว่าในการขับร้องจะต้องหายใจอย่างไร

~ 19 ~
29. การวางท่าทางในการขับร้องที่ดีควรมีลักษณะยกเว้นข้อใด
1. นั่งพับเพียบให้เรียบร้อย 2. นั่งตัวตรง ไม่กระดุกกระดิก
3. นั่งขัดสมาธิ คอหลัง ห่อไหล่ 4. นั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรี
30. ข้อใดต่างจากพวก
1. เพลงสาธุการ เพลงมหาฤกษ์
2. เพลงแขกครวญ เพลงดาวทอง
3. เพลงพม่าแทงกบ เพลงค้างคาวกินกล้วย
4. เพลงแขกบรเทศสองชั้น เพลงขับไม้บัณเฑาะว์
31. ข้อใดไม่จัดเป็นประโยชน์ของการประเมินผลงานทางดนตรี
1. ตัดสินดนตรีว่ามีความไพเราะอย่างไร
2. ใช้เป็นแนวทางในการฝึกทักษะทางการฟัง
3. ประเมินเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาตนเอง
4. ท้าให้ผลงานมีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับของผู้คนในสังคม
32. บุคคลใดทาหน้าที่ในการประเมินด้านเสียงของเครื่องดนตรีได้เหมาะสมมากที่สุด
1. เตย ประเมินจากการบรรเลงเสียงเพลงด้วยเสียงหนัก-เบา ยาว-สั้น
2. เอย ประเมินจากความกลมกลืนของเสียงเครื่องดนตรี
3. เกย ประเมินประเภทของเครื่องดนตรีที่น้ามาใช้
4. เนย ประเมินจากราคาของเครื่องดนตรี
33. เพราะเหตุใดจึงมีการนาเสียงดนตรีมาใช้ประกอบการรักษาทางการแพทย์
1. สร้างความสุนทรียะให้แก่ผู้เข้ารับบริการทางการแพทย์
2. ท้าให้เกิดสีสัน ลดความน่าเบื่อหน่ายให้แก่ผู้ป่วยขณะรอเข้ารับการรักษา
3. วางแผนในการใช้กิจกรรมทางดนตรีควบคุมผู้ป่วย เพื่อให้บรรลุในการรักษา
4. ลดความวิตกกังวลให้แก่ผู้ป่วย หากต้องเข้ารับการผ่าตัด หรือเข้ารับการรักษาอย่างเร่งด่วน
34. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพดนตรีที่ดี
1. มีความกล้าแสดงออก และมั่นใจในตัวเองสูง 2. มีมนุษยสัมพันธ์ดี คล่องแคล่ว และทันสมัย
3. มีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ 4. มีความขยันหมั่นเพียร และอดทน
35. เพราะเหตุใดดนตรีของอินเดียจึงมีลักษณะที่แตกต่างไปจากดนตรีชาติอื่นๆ
1. นิยมบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีโบราณ
2. มีการน้าเครื่องดนตรีสากลมาผสมผสาน
3. เครื่องดนตรีส่วนใหญ่จะให้เสียงที่หนักแน่น ดุดัน
4. จะมีการแบ่งประเภทของเครื่องดนตรีออกเป็น 2 ฝ่าย

~ 20 ~
36. เครื่องดนตรีในข้อใดที่ไม่จัดอยู่ในวัฒนธรรมเดียวกัน
1. ซากังรี กู่เจิง ปี่เสน 2. ผีผา โซนา หยางฉิน
3. ตานปุระ ซีตาร์ เชห์ไน 4. ปี่เนห์ มองซาย ซองเกาะ
37. เอกลักษณ์สาคัญที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของดนตรีกัมพูชาคือสิ่งใด
1. เสียงของเครื่องดนตรีจะมีความสดใส
2. นิยมน้ามาใช้ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ
3. เป็นต้นแบบของเครื่องดนตรีที่ใช้ในทุกชนชาติ
4. เครื่องดนตรีทุกชนิดถูกออกแบบมาอย่างสวยงาม
38. ประเทศอินโดนีเซียได้รับอิทธิพลเครื่องดนตรีสาริดมาจากวัฒนธรรมใด
1. อินเดีย 2. มาเลเซีย
3. กัมพูชา 4. เวียดนาม
39. ข้อใดเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงสมัย 14 ตุลาคม 2516
1. ขุนวิจิตรมาตราประพันธ์เนื้อเพลงชาติ
2. มีบทเพลงเพื่อชีวิตที่สะท้อนเรื่องราวในสังคมมากขึ้น
3. เกิดการด้าเนินงานเพื่อสร้างจิตส้านึกให้ประชาชนรักชาติ
4. มีการประพันธ์เพลงมหาชัยขึ้นเพื่อใช้ในโอกาสส้าคัญต่างๆ
40. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางดนตรีในประเทศไทย
1. ช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตยได้มีการใช้เพลงชาติ
2. ช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 สถานการณ์บ้านเมืองมีความแตกแยกทางความคิด
3. ช่วงที่สภาพทางภูมิอากาศและภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่
4. ช่วงปฏิรูปการปกครองแผ่นดินในสมัยรัชกาลที่ 5
41. ข้อใดไม่จัดเป็นความสาคัญของเครื่องแต่งกายละครไทย
1. สวมใส่เพื่อความวิจิตรงดงาม 2. บ่งบอกถึงประเภทของการแสดง
3. แสดงให้เห็นบุคลิกลักษณะของตัวละคร 4. สะท้อนเอกลักษณ์เครื่องแต่งกายแบบยุโรป
42. การแสดงในข้อใดที่สีชุดของตัวละครมีส่วนสาคัญในการสื่อความหมาย
1. ละครเวที 2. ละครนอก
3. อุปรากรจีน 4. ละครโอเปรา
43. อุปกรณ์การแสดงจัดเป็นส่วนหนึ่งขององค์ประกอบทางนาฏศิลป์หรือไม่ เพราะเหตุใด
1. ไม่เป็น เพราะจะท้าให้การแสดงขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยได้
2. ไม่เป็น เพราะอุปกรณ์การแสดงจะท้าให้ผู้ชมเสียอรรถรสขณะชมการแสดงได้
3. เป็น เพราะในการแสดงนาฏศิลป์ตั้งแต่อดีตมีกฎบังคับให้น้าอุปกรณ์การแสดงมาใช้
4. เป็น เพราะการแสดงนาฏศิลป์บางชุด ต้องมีอุปกรณ์การแสดงเพื่อสร้างความสมจริง

~ 21 ~
44. การมีประสบการณ์เกี่ยวกับงานศิลป์ทุกแขนงมีประโยชน์แก่ผู้วิจารณ์อย่างไรมากที่สุด
1. มีชื่อเสียงอยู่ในวงการ 2. ท้าให้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล
3. ได้รับเชิญเข้าร่วมการแสดงบ่อยๆ 4. สร้างสรรค์ผลงานที่มีความหลากหลาย
45. เพราะเหตุใดนักวิจารณ์ที่ดีจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับศิลปะในอดีต
1. เพื่อสร้างศักยภาพในการเข้าถึงปรัชญาทางศิลปะ
2. เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางศิลปะ
3. เพื่อเป็นการต่อยอดความรู้ให้มีความหลากหลาย
4. เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถในการวิจารณ์
46. คาวิจารณ์จะมีประโยชน์ในด้านใดมากที่สุด
1. การสร้างความเชื่อแก่ผู้ชม 2. การผลิตผลงานที่หลากหลาย
3. การพัฒนาผลงานให้มีคุณภาพ 4. การสร้างรายได้ที่มั่นคงให้นักแสดง
47. ข้อใดไม่จัดเป็นหลักเกณฑ์ในการวิจารณ์ทางนาฏศิลป์
1. การบรรยาย 2. การวิเคราะห์
3. การประเมินผล 4. การก้าหนดขอบเขต
48. บุคคลใดที่มีส่วนสาคัญในการพัฒนาการแสดงราวงให้มีความเป็นมาตรฐานมากขึ้น
1. จอมพล ป.พิบูลสงคราม 2. นายมนตรี ตราโมท
3. หลวงวิจิตรวาทการ 4. พระยานัฏกานุรักษ์
49. “ ชาวไทยเจ้าเอ๋ย ขออย่าละเลยในการทาหน้าที่
การที่เราได้เล่นสนุก เปลื้องทุกข์สบายอย่างนี้ ”
จากเนื้อเพลงข้างต้นควรใช้ท่าราในข้อใดจึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด
1. ท่าร้ายั่ว 2. ท่าชักแป้งผัดหน้า
3. ท่าผาลาเพียงไหล่ 4. ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง
50. เพราะเหตุใดสถาบันการศึกษาทุกแห่งจึงต้องมีการจัดการเรียนการสอนวิชาการละคร
1. เป็นวิชาที่มีผู้เรียนชื่นชอบเป็นจ้านวนมาก
2. เป็นวิชาที่นิยมน้าไปใช้ในการสอบแข่งขัน
3. เป็นวิชาที่สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนได้
4. เป็นวิชาที่สามารถสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียนได้
51. การสร้างฉากที่มีความสวยงามตระการตา จัดเป็นการบูรณาการวิชาความรู้กับสาระใด
1. สาระการงานอาชีพ
2. สาระวิทยาศาสตร์
3. สาระสุขศึกษา
4. สาระศิลปะ

~ 22 ~
52. ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในภาคใต้คือสิ่งใด
1. เชื่องช้า โยกย้าย 2. กระชับ รวดเร็ว
3. ดุดัน แข็งกร้าว 4. อ่อนหวาน นุ่มนวล
53. เซิ้งแหย่ไข่มดแดงไม่ได้สื่อถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นข้อใด
1. ภาษาท้องถิ่นอีสาน 2. อาชีพของชาวอีสาน
3. วิถีชีวิตของชาวอีสาน 4. ลักษณะนิสัยของชาวอีสาน
54. ลักษณะวิธีการแสดงตารีกีปัสมีความคล้ายคลึงกับการแสดงชุดใด
1. กรีดยาง 2. ร่อนแร่
3. รองเง็ง 4. ซ้าเป็ง
55. ข้อใดคือจุดประสงค์สาคัญที่สุดของการแสดงนาฏศิลป์ไทย
1. การร้องร้าท้าเพลงเพื่อสร้างความบันเทิงเริงใจ
2. การเต้นร้าประกอบบทเพลงที่มีความหลากหลายในจังหวะ
3. การแสดงสีหน้า ท่าทางที่สอดคล้องไปกับบทละครที่แต่งขึ้น
4. การใช้สรีระต่างๆ ของร่างกายเคลื่อนไหว สื่อความหมายแทนค้าพูด
56. ข้อใดต่างจากพวก
1. ระบ้าเทพบันเทิง
2. ระบ้ามยุราภิรมย์
3. ระบ้าพรหมาสตร์
4. ระบ้ากฤดาภินิหาร
57. “ ดงบงคมกลองด้ว ยเสียงพาด เสียงพิ ณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว
ใครจักมักเลื้อน เลื้อน ” จากข้อความข้างต้น สะท้อนให้เห็นถึงการแสดงละครไทยอย่างไร
1. การแสดงละครไทยต้องมีเครื่องดนตรีประกอบ
2. ประชาชนทุกคนชอบดูการแสดงละคร
3. ประชาชนทุกคนต้องแสดงละครได้
4. การแสดงละครไทยมีมาช้านาน
58. เพราะเหตุใดในสมั ยพระบาทสมเด็จ พระพุ ทธเลิศหล้ า นภาลัย (รัชกาลที่ 2) จึงถือเป็นยุคทองแห่ง
ศิลปะการแสดง
1. ได้อิทธิพลทางการแสดงมาจากชาติตะวันตก
2. พัฒนารูปแบบการแสดงละครจนเกิดละครใหม่ๆ ขึ้น มากมาย
3. มีบทละครเกิดขึ้นมากมาย เช่น อิเหนา ไกรทอง คาวี ไชยเชษฐ์ เป็นต้น
4. ได้รับการยอมรับว่ามีความสวยงามทัดเทียมละครของประเทศมหาอ้านาจ

~ 23 ~
59. การละครไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) มีจุดเด่นที่แตกต่างไปจาก
ละครในสมัยอื่นๆอย่างไร
1. มีการเข้มงวดกวดขันกันในเรื่องฝีมือการร่ายร้า
2. ต้องการแสดงความงดงามของท่าร้าแข่งกับชาติอื่นๆ
3. มีชาวต่างชาติเข้ามาเป็นครูสอนการแสดงนาฏศิลป์ในวัง
4. ท่าร้ามีเอกลักษณ์เฉพาะที่ไม่สามารถลอกเลียนแบบอย่างได้
60. เพราะเหตุใดการแสดงละครในสมัยรัตนโกสินทร์เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้น
1. พบต้าราเกี่ยวกับการแสดงละคร
2. ได้รับอิทธิพลของละครตะวันตก
3. มีผู้ให้การสนับสนุนการละครมากขึ้น
4. นักแสดงส่วนใหญ่จบการศึกษามาจากต่างประเทศ



~ 24 ~
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 1
1. 3 2. 4 3. 1 4. 2 5. 2
6. 4 7. 2 8. 4 9. 3 10. 1
11. 2 12. 4 13. 4 14. 1 15. 4
16. 2 17. 3 18. 4 19. 1 20. 3
21. 4 22. 2 23. 1 24. 3 25. 2
26. 4 27. 2 28. 1 29. 3 30. 2
31. 4 32. 2 33. 3 34. 4 35. 1
36. 4 37. 1 38. 3 39. 2 40. 4
41. 2 42. 3 43. 1 44. 2 45. 4
46. 3 47. 1 48. 2 49. 4 50. 4
51. 3 52. 2 53. 1 54. 3 55. 3
56. 4 57. 3 58. 4 59. 1 60. 2

เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 2 ชุดที่ 2


1. 2 2. 1 3. 3 4. 4 5. 1
6. 2 7. 1 8. 3 9. 1 10. 3
11. 2 12. 4 13. 1 14. 3 15. 1
16. 2 17. 4 18. 3 19. 1 20. 2
21. 4 22. 2 23. 2 24. 3 25. 3
26. 1 27. 4 28. 2 29. 3 30. 1
31. 4 32. 2 33. 3 34. 1 35. 4
36. 1 37. 2 38. 4 39. 2 40. 3
41. 4 42. 3 43. 4 44. 2 45. 1
46. 3 47. 4 48. 1 49. 2 50. 3
51. 4 52. 2 53. 1 54. 3 55. 4
56. 2 57. 4 58. 3 59. 1 60. 2


~ 25 ~
เฉลยแบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1
เฉลยอย่างละเอียด
1. ตอบ ข้อ 3. เพราะองค์ประกอบศิลป์ จะว่าด้วยการจัดรูปร่าง รูปทรง เส้น สี แสง เงา ลักษณะพื้นผิว
และบริเวณที่ว่าง ให้มีความสัมพันธ์กลมกลืนกัน หรือขัดแย้งกันในส่วนที่เหมาะสมลงตัว
สวยงาม อันเป็นที่มาของสุนทรียภาพ หรือความงามให้ผู้พบเห็นเกิดอารมณ์และความรู้สึก
คล้อยตามไปกับผลงานชิ้นนั้นๆ ดังนั้น องค์ประกอบศิลป์ก็คือ ความพอดี ลงตัว อันเป็น
รากฐานเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ อีกทั้งองค์ประกอบศิลป์ยังเป็นเสมือนเครื่องมือที่ส้าคัญ
ทางทั ศ นศิ ล ป์ ใ ห้ผู้ส ร้า งสรรค์ไ ด้สื่อสารความคิดของตนไปสู่บุคคลอื่นๆ ซึ่งไม่เฉพาะ
ทัศนศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และภาพพิมพ์เท่านั้น แต่ยังสามารถ
น้าไปใช้ในงานศิลปะประยุกต์ต่างๆ อีกมากมายหลายแขนง
2. ตอบ ข้อ 4. เพราะผลงานทางทัศนศิลป์ที่สามารถท้าให้ผู้สัมผัสเกิดอารมณ์ประทับใจได้นั้น แสดงถึง
การสร้างสรรค์อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ของการจัด อั นเป็นพื้นฐานของความงามทางด้าน
ทั ศ นศิ ล ป์ ซึ่ ง จะเกิ ด ขึ้ น ได้ ต้ อ งประกอบด้ ว ยองค์ ป ระกอบย่ อ ยๆ หรื อ ที่ นิ ย มเรี ย กว่ า
“ ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ ” ทัศนธาตุที่เป็นพื้นฐานในการน้าไปใช้ เพื่อการสร้างสรรค์
ผลงานทั ศ นศิ ล ป์ จ ะประกอบไปด้ วยจุด เส้ น รูป ร่า ง รูป ทรง ลัก ษณะพื้ นผิ ว พื้ น ที่ว่ า ง
น้้าหนักอ่อน-แก่ แสงเงา และสี ส่วนค้าตอบในข้อ 4. เอกภาพ ความสมดุล จัดเป็นการจัด
องค์ประกอบทางทัศนศิลป์
3. ตอบ ข้อ 1. ภาพบ่ายวันอาทิตย์บนเกาะลากร็องด์ฌัต (A Sunday Afternoon on the Island of La Grande
Jatte) ภาพเขียนสีน้ามันที่มีชื่อเสียงผลงานของฌอร์ฌ ปีแยร์ เซอรา (Georges Pierre Seurat)
จิตรกรชาวฝรั่งเศสผู้มีชื่อเสียงในด้านการวาดภาพ โดยใช้เทคนิคการผสานจุดสี
4. ตอบ ข้อ 2. เพราะเส้ น เป็ น ทั ศ นธาตุ ที่ ส้ า คั ญ ในทางศิ ล ปะ กล่ า วได้ ว่ า เส้ น เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ข อง
การออกแบบทางทัศนศิลป์ทุกชนิด
5. ตอบ ข้อ 2. เพราะเส้นประ หรือเส้นขาด (Jagged Lines) เป็นเส้นที่ให้ความรู้สึก ถึงความไม่เป็น
ระเบี ย บ สั บ สน วุ่ น วาย ไม่ มั่น คง เสื่ อ มโทรม อั นตราย เช่ น สิ่ง ที่ ป รั ก หั ก พั ง ก้ า ลั ง จะ
แตกสลาย รอยร้าวของวัตถุ ลายเส้นที่แสดงความไม่แน่นอน เป็นต้น
6. ตอบ ข้อ 4. เพราะรูปร่าง เกิดจากเส้น และทิศทางของรูปวัตถุที่ถ่ายทอดเป็น 2 มิติ คือ มีความกว้าง
และความยาว อันจะท้าให้ภาพที่ปรากฏนั้นมีลักษณะแบน ส่วนรูปทรง จะเป็นการถ่ายทอด
ออกมาให้เห็นเป็น 3 มิ ติ คือ มีความกว้าง ความยาว และความหนา อันจะท้าให้ภาพที่
ปรากฏนั้ นมี ลักษณะเป็ นรูปทรงที่มีความลึก หรือความหนา เพราะฉะนั้น รูปร่าง และ
รูปทรงจึงมีความแตกต่างกันที่มิติของผลงาน

~ 26 ~
7. ตอบ ข้อ 2. เพราะอาจารย์สวัสดิ์ ตันติสุข นิยมสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ประเภทจิตรกรรม โดยจะใช้
สีน้า และสีน้ามันเป็นหลัก ภาพวาดส่วนใหญ่เป็นภาพเกี่ยวกับทิวทัศน์ มีรายละเอียดของ
ภาพไม่มาก หลายภาพใช้เส้นน้อย ใช้สีไม่มาก โดยสื่อให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวเหมือน
จริงตามธรรมชาติ
8. ตอบ ข้อ 4. เพราะอาจารย์กมล ทัศนาญชลี เป็นศิลปินที่มีทักษะความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการสร้างสรรค์
ผลงานทัศนศิลป์ในรูปแบบใหม่ ที่โดดเด่นมากที่สุดจะเป็นผลงานศิลปะสื่อผสม มีทั้งงาน
จิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ประกอบอยู่ในชิ้นงานเดียวกัน ผลงานของอาจารย์
กมล ทัศนาญชลี จะมีลักษณะเฉพาะตัวสูง ท้าให้ผู้ชมที่สัมผัสกับผลงานของท่านไม่กี่ครั้ง
ก็จะสามารถระบุชื่อศิลปินที่สร้างสรรค์ผลงานได้
9. ตอบ ข้อ 3. เพราะการก้าหนดกรอบแนวคิดในการท้างานอย่างคร่าวๆ จะช่วยให้การท้างานกระชับ
ขอบเขตของการท้างานไม่กว้างมากจนเกินไป ไม่ต้องเสียเวลาพิจารณาในหลายๆ เรื่อง
ซึ่งประเด็นที่ควรจะอยู่ในกรอบแนวคิด คือ วาดภาพอะไร เพื่อสื่อความหมาย และเรื่องราว
ใด น่าจะใช้เทคนิคการวาดภาพแบบใด เมื่อได้ก้าหนดกรอบแนวคิดของตนเองแล้ว โดย
ต้องพยายามจินตนาการภาพที่สื่อออกมาให้อยู่ในความคิดของตน การสร้างสรรค์ผลงาน
จะได้แล้วเสร็จออกมาอย่างมีคุณภาพ
10. ตอบ ข้อ 1. เพราะลัก ษณะเฉพาะที่ เด่ น ของสี น้ า คื อ ความโปร่ง ใส เนื้ อ สีเ บาบาง มีสี สั นสวยงาม
ในขณะที่ระบาย ควรใช้พู่กันแตะสีละลายกับน้้า โดยพยายามระบายเพียงครั้งเดียว ไม่ควร
ระบายสีต่างๆ ซ้้า หรือทับกันหลายๆ ครั้ง เพราะจะท้าให้สีหม่น ขาดคุณสมบัติที่โปร่งใส
11. ตอบ ข้อ 2. เพราะการวิจารณ์ และการตัดสินผลงานทางทัศนศิลป์ เนื่องจากไม่มีเครื่องมือในการวัด
และประเมินอย่างทางวิทยาศาสตร์ จ้าเป็นต้องใช้คน (นักวิจารณ์) เป็นผู้วัด หรือตัดสินโดย
อาศั ย ประสบการณ์ ความสามารถของผู้ นั้ น เป็ น หลั ก การตั ด สิ น บางครั้ ง ย่ อ มมี ค วาม
ผิดพลาด หรือขาดความยุติธรรมได้ ดังนั้น นักวิจารณ์จะต้องมีจรรยาบรรณในการวิจารณ์
มีความเป็นกลาง และเที่ยงธรรมต่อผลงานทัศนศิลป์ทุกรูปแบบ และทุกคน เพื่อสร้างความ
เชื่อมั่นให้กับศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงาน
12. ตอบ ข้อ 4. เพราะนักวิจารณ์จะต้องไม่สนใจเฉพาะทัศนศิลป์ในสาขาที่ตนถนัดเท่านั้น จะต้องสนใจใน
วิทยาการแขนงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทัศนศิลป์ด้วย เช่น ประวัติศาสตร์ศิลป์ สุน ทรียศาสตร์
องค์ประกอบศิลป์ เป็นต้น เพื่อให้รับรู้ถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างศาสตร์สาขาต่างๆ
กับทัศนศิลป์ ท้าให้สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ได้อย่างลุ่มลึกขึ้น ทั้งนี้ เพราะการวิจารณ์โดย
กล่าวอ้างถึงความรู้สึกส่วนตัวแต่เพียงอย่างเดียวจะมีความเลื่อนลอย และไร้เหตุผล ไม่ช่วย
ให้ผลงานทัศนศิลป์มีความน่าสนใจ หรือมีความหมายในแง่มุมที่แตกต่างกันออกไป

~ 27 ~
13. ตอบ ข้อ 4. เพราะการพัฒนาผลงานทัศนศิลป์จะมีประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. มี ค วามส้ า คั ญ ที่ จ ะช่ ว ยให้ เ กิ ด ความคิ ด สร้ า งสรรค์ สิ่ ง แปลกใหม่ ท าง
ด้านทัศนศิลป์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
2. มี ค วามส้า คั ญในการพั ฒนาตนเองให้เกิ ดการศึก ษาเรีย นรู้เกี่ ย วกั บสิ่งใหม่ๆ
โดยเน้นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านรูปแบบ เนื้อหา และเทคนิควิธีในการ
สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์
3. มีความส้าคัญต่อการสร้างนิสัยในการท้างานที่ดี โดยไม่ยึดติดกับแบบอย่างที่
ซ้้าซาก หรือตายตัวมากจนเกินไป
4. มีความส้าคัญในการรู้จักประเมินตนเอง เพื่อให้เห็นถึงศักยภาพในการท้างาน
อย่างรอบด้าน จนน้าไปสู่การพัฒนาสร้างสรรค์ผลงานให้เกิดความก้าวหน้า
และสมบูรณ์มากยิ่งๆ ขึ้น
14. ตอบ ข้อ 1. เพราะบุคลิกลักษณะ เป็นลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล ซึ่งแต่ละบุคคลก็จะมีลักษณะ
ประจ้าตัวแบบใดแบบหนึ่งที่มีความแตกต่างจากบุคคลอื่นๆ ทั้งนี้ บุคลิกลักษณะไม่ไ ด้
หมายความแค่ลักษณะทางด้านรูปร่าง หน้าตาเพียงประการเดียวเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึง
พฤติกรรม อุปนิสัย กิริยาท่าทาง ตลอดจนอารมณ์ของตัวละครนั้นๆ ด้วย
15. ตอบ ข้อ 4. เพราะการโฆษณา เป็ น วิธี ก ารสื่ อสารที่มุ่ งหวัง ให้ เกิ ดความต้ องการของผู้โ ฆษณา ซึ่ ง
รูปแบบของการโฆษณาจะมีอยู่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบ แต่ละรูปแบบก็จะมีเป้าหมาย
และหลักการที่แตกต่างกัน เช่น การโฆษณาเชิญชวนเพื่อผลทางธุรกิจ จะเน้นเป็นพิเศษใน
เรื่องการสร้างความน่าสนใจ และโน้มน้าวใจลูกค้าให้ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า หรือเลือกใช้
บริการของผู้โฆษณา เป็นต้น ซึ่งหลักส้าคัญของงานออกแบบโฆษณาจะอยู่ที่การสื่อความ
เข้าใจให้ตรงกันระหว่างผู้ออกแบบ และผู้พบเห็น
16. ตอบ ข้อ 2. เพราะวัฒนธรรมกับการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ จัดเป็นการเชื่อมโยงระหว่างวิธีการ
ด้าเนินชีวิตกับการสร้างสรรค์ผลงานที่มองเห็นได้ ซึ่งการที่จะท้าความเข้าใจเรื่องดังกล่าว
ได้มากน้อยเพียงใดนั้น ผู้ชมจะต้องอ่านภาษาภาพให้ออก และแปลความหมาย เรื่องราวที่
สะท้อนผ่านภาพในงานทัศนศิลป์ ว่ามีรูปแบบ เนื้อเรื่อง หรือรายละเอียดต่างๆ อย่างไรบ้าง
วัฒนธรรมไทยในงานทั ศ นศิล ป์ปัจจุ บัน มีความเกี่ ย วพั นในลัก ษณะพึ่ ง พาต่ อกั น โดย
งานทัศนศิลป์จะช่วยส่งเสริมให้วัฒนธรรมยังด้ารงอยู่ และพัฒนาต่อไปได้ ท้าให้ผู้ชมเห็น
ความงาม และเกิดความประทับใจ
17. ตอบ ข้อ 3. เพราะผลงานทัศนศิลป์ประเภทสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นในสมัยทวารวดีนั้น มักใช้การก่ออิฐ
ถือปูน ไม่นิยมก่อด้วยศิลาแลง รูปสัณฐานของเจดีย์จะท้าเป็นรูปสี่เหลี่ยม องค์สถูปท้าเป็น
รูป ระฆัง คว่้า มี ย อดเตี้ ย เช่น พระปฐมเจดี ย์ อ งค์เ ดิม หรื อเจดี ย์ วัด จุล ประโทน จั งหวั ด
นครปฐม เป็นต้น

~ 28 ~
18. ตอบ ข้อ 4. เพราะปฏิ ม ากรรมในสมั ย ลพบุรี จะแสดงให้ เห็ นถึ ง ความรู้สึก หนั ก แน่ นด้ วยเส้น และ
ปริมาตรที่แน่นอนโดยเฉพาะพระพุทธรูป เทวรูป บุรุษ หรือสตรี จะมีลักษณะที่ผึ่งผาย
บ่าใหญ่ เอวคอด ศีรษะใหญ่ คางเหลี่ยม นุ่งผ้าโจงกระเบน มีชายพก ผมเกล้าเป็นเส้นถั ก
แนวตั้ง
19. ตอบ ข้อ 1. เพราะจากภาพจั ด เป็ น ปฏิ ม ากรรมสมั ย เชี ย งแสนยุ ค แรก พระพุ ท ธรู ป ส่ ว นใหญ่ จ ะมี
พุทธลัก ษณะคล้ายกั บพระพุทธรูปอินเดียสมัยราชวงศ์ปาละ คือ มีพ ระวรกายอวบอ้วน
พระพักตร์กลมคล้ายผลมะตูม พระขนงโก่ง พระนาสิกโค้งงุ้ม พระโอษฐ์แคบเล็ก พระหนุ
เป็นปม พระรัศมีเหนือเกตุมาลาเป็นต่อมกลม ไม่นิยมท้าไรพระศก เส้นพระศกขมวดเกศา
ใหญ่ พระอุระนูน ชายสังฆาฏิสั้น ตรงปลายจะมีลักษณะเป็นชายธงม้วนเข้าหากัน ซึ่งจะ
เรียกว่า “เขี้ยวตะขาบ” นั่งขัดสมาธิเพชรในท่าปางมารวิชัย ฐานที่รององค์พระท้าเป็น
กลีบบัว มีทั้งบัวคว่้า บัวหงาย และท้าเป็นฐานเป็นเขียงไม่มีบัวรองรับ
20. ตอบ ข้อ 3. เพราะการออกแบบงานทัศนศิล ป์ใ นวัฒนธรรมไทย ไม่ได้มีความแตกต่างไปจากงาน
ทัศนศิ ลป์ข องวัฒนธรรมอื่น กล่าวคือ เป็นงานทัศนศิลป์ที่มีพั ฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง
โดยมีการผสมผสานรูปแบบของงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่กับงานทัศนศิลป์ที่มีอยู่
เดิม และส่วนใหญ่มีลักษณะทางอุดมคติ คือ เป็นเรื่องทางจิตวิญญาณ หรือเกี่ยวข้องกับลัทธิ
ความเชื่ อและศาสนา ที่มี อิทธิพ ลต่อการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์เป็นอย่ างมาก คือ
พระพุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
21. ตอบ ข้อ 4. เพราะองค์ประกอบของดนตรี เป็นส่วนหนึ่งของบทเพลง ซึ่งถ้ามีองค์ประกอบที่สมบูรณ์
และมีคุณภาพแล้ว จะท้าให้บทเพลงมีความไพเราะ และเป็นการสร้างสรรค์ผลงานทาง
ดนตรีที่ดีชิ้นหนึ่ง ซึ่งบทเพลงที่ถ่ายทอดออกมาจะแสดงให้เห็นถึง อิทธิพลทางวัฒนธรรม
และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ของประเทศนั้นๆ ได้อย่างชัดเจน
22. ตอบ ข้อ 2. เพราะดนตรีจัดเป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมการด้าเนินชีวิตของมนุษย์ เพราะเสียงของดนตรี
ท้าให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลินใจ รวมทั้งมีส่วนส้าคัญในการพั ฒนาบุคลิกภาพ
อารมณ์ และจิตใจของมนุษย์ด้วย
23. ตอบ ข้อ1. เพราะจั ง หวะเป็ น สิ่ ง ที่ ท าให้ ด นตรี ส ามารถขั บ เค ลื่ อ นได้ อ ย่ า งเป็ น ระบบ และ
ทาหนาที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของทานอง และแนวประสานเสียงต่างๆ เพื่อให้ การบรรเลง
ดนตรีมีความสัมพันธ์กัน
24. ตอบ ข้อ 3. เพราะจัง หวะหน้า ทั บ คื อ การถือหน้าทับเป็นเกณฑ์ นับ ซึ่งจังหวะหน้าทับจะหมายถึง
ท้านองของเครื่องหนัง หรือวิธีตีเครื่องหนังประเภทเลียนเสียงจากทับ ซึ่งใช้เป็นเครื่อง
ก้ากับจังหวะเป็นระยะๆ ไป ทับเป็นชื่อเครื่องดนตรีที่ขึงด้วยหนังหน้าเดียวใช้ตีประกอบ
จังหวะ และท้านองดนตรีมาตั้งแต่สมัยโบราณ ปัจจุบันจะเรียกว่า “ โทน ” หน้าที่ส้าคัญของ
ทับ คือ ตีประกอบจัง หวะให้ถูกต้องกับประโยคเพลง และกลมกลืนกับท้านองเพลงร้อง

~ 29 ~
หรือ ดนตรี ทั บ จะเป็ นเหมือนผู้ก้ า กั บส้ าคั ญ เปรีย บเสมือนเป็น หัวหน้าอย่ างหนึ่ง ของ
บทเพลง วิธีตี หรือเล่นเพลงของทับนี้ จึงเรียกว่า “ หน้าทับ ”
25. ตอบ ข้อ 2. เพราะเครื่องหมายแปลงเสียง เป็นสัญลักษณ์ทางดนตรีที่ใช้ในการเขียนก้ากับหน้าตัวโน้ต
หรือหลังกุญแจประจ้าหลัก เมื่อต้องการแปลงเสียงให้สูงขึ้น ต่้าลง หรือกลับมาเป็นเสียง
ปกติ ซึ่งเครื่องหมายที่มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ตให้มีระดับเสียงสูงขึ้น ½ เสียง
(Semitone) คือ เครื่องหมายชาร์ป (Sharp)
26. ตอบ ข้อ 4. เพราะการสร้างสรรค์บ ทเพลง หรือบทประพั นธ์เพลงไทยแต่ล ะประเภท เปรีย บได้กั บ
การประพันธ์บทร้อยกรองในลักษณะต่างๆ เนื่องจากการสร้างสรรค์บทเพลงไทย หรือบท
ประพันธ์เพลงไทยแต่ละเพลง ผู้ประพันธ์จะต้องพิจารณาน้าเสียงแต่ละเสียงมาเรียบเรียงให้
สอดประสานกลมกลืนกันอย่างเหมาะสม สามารถสื่ออารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ ตามที่ตน
ต้องการถ่ายทอดให้แก่ผู้ฟัง ขณะเดียวกันก็ต้องค้านึงถึงรูปแบบของเพลงแต่ละประเภทให้
เป็นไปตามแบบแผนที่ก้าหนดไว้ด้วย
27. ตอบ ข้อ 2. เพราะธรรมชาติเป็ นสิ่ง หนึ่งที่มีอิทธิพลอย่ างยิ่ งต่อจินตนาการของผู้ประพันธ์บทเพลง
เนื่องจากการได้เห็นธรรมชาติที่มีความสวยงามย่อมท้าให้ศิลปิน หรือผู้ที่ได้สัมผัสสิ่งต่างๆ
เหล่า นั้น เกิดจินตนาการขึ้น และสามารถถ่ายทอดออกมาเป็นท่วงท้านองของบทเพลง
เพื่ อ ให้ผู้ ฟั ง ได้ สัม ผัส ถึ ง ธรรมชาติ นั้นๆ เช่ นเดีย วกั บตน ดั งนั้น จึ งสามารถกล่ าวได้ว่ า
ความงามของสิ่ ง ต่ า งๆ ทางธรรมชาติ นั บ เป็ น แรงบั น ดาลใจอั น ส้ า คั ญ ที่ จ ะท้ า ให้ เ กิ ด
การประพันธ์บทเพลง
28. ตอบ ข้อ 1. เพราะการขับร้องเพลงไทยมี ความแตกต่างจากการขับร้องเพลงสากล ตรงที่การขั บร้อง
เพลงไทยลักษณะเด่นอยู่ที่มีการเอื้อนเสียง ท้านองเปล่าสอดแทรกไปกับบทร้อง ซึ่งการ
ขับร้องเพลงไทย นับเป็นศิลปะที่มีความประณีตมากแขนงหนึ่ง มีเทคนิคต่างๆ มากมายที่
ผู้ขั บ ร้องจะต้องศึ กษา เรียนรู้ และฝึก ปฏิบัติอย่ างสม่้าเสมอ เพื่ อให้เสีย งเพลงที่ออกมา
มีความไพเราะ น่าฟัง สามารถถ่ายทอดอารมณ์ และความรู้สึกได้ถูกต้อง
29. ตอบ ข้อ 3. เพราะการออกเสียงในการขับร้องเพลงไทยที่ดี จะต้องออกเสียงให้เต็มเสียงตามจังหวะและ
ท้ า นองของเพลง ซึ่ง จะต้ อ งมี ความต่ อ เนื่ อ งสม่้า เสมอ และไม่ข าดช่ ว ง เพื่ อ จะช่ วยให้
บทเพลงมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ผู้ขับร้องจะต้องออกเสียงค้าต่างๆ ให้ถูกต้อง
และชัดเจน สามารถตัดสินใจเลือกวิธีการออกเสียงได้อย่างถูกต้อง เช่น ตัดสินใจเลือกเน้น
ค้ า ให้ เ กิ ด ความสั้ น หรื อ ยาวได้ ถู ก ต้ อ ง และต้ อ งให้ เ กิ ด ความชั ด เจนของค้ า ไม่ ท้ า ให้
ความหมายของค้าผิดเพี้ยนไป เป็นต้น
30. ตอบ ข้อ 2. เพราะจากเนื้อร้องเพลงข้างต้น เป็นบทเพลงสามัคคีชุมนุม ค้าร้องโดยเจ้าพระยาพระเสด็จ-
เรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล ) ท้านองโดย Auld Lang Syne จัดอยู่ในประเภท
ของเพลงปลุกใจ ซึ่งเป็นเพลงที่มีจังหวะและท้านองเพลงคึก คัก เร้าใจ และสนุก สนาน

~ 30 ~
เนื้อร้องมักจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องความรักชาติ การเสียสละ และความสามัคคี ในการ
ขับร้องบทเพลงดังกล่าวควรมีการแสดงอารมณ์ฮึกเหิม เข้มแข็งไปกับบทเพลง เพื่อจะช่วย
ท้าให้ผู้ฟังเกิดอารมณ์คล้อยตามได้เป็นอย่างดี
31. ตอบ ข้อ 4. เพราะเสียงที่เกิดขึ้นจากแหล่งก้าเนิดเสียงที่แตกต่างกันซึ่งเป็นทั้งเสียงที่เกิดขึ้นจากมนุษย์
หรือเสีย งเครื่องดนตรีช นิดต่างๆ จะท้าให้ ผู้ฟังสามารถแยกแยะสีสันของเสียงได้อย่ าง
ชัดเจน ซึ่งแสดงให้เห็นคุณภาพของเสียงที่มีความหลากหลาย
32. ตอบ ข้อ 2. เพราะการประเมินด้านเสียงของผู้ขับร้อง จะต้องประเมินโดยใช้หลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
1. มีน้าเสียงที่สดใส ดังกังวาน น่าฟัง ไม่เพี้ยน
2. ความดังของเสียงมีความสม่้าเสมอ สามารถออกเสียงได้ถูกต้อง ชัดเจนทุกพยางค์
ไม่มีเสียงบอด
3. ความถูกต้องด้านอักขรวิธี การออกเสียงค้าควบกล้้า ร ล ว หรือค้าควบกล้้าอื่นๆ
4. ความหมายของค้าถูกต้องไม่ผิดเพี้ยน
5. การขึ้น การลงของเสียงมีความกลมกลืน ไม่โหนเสียง
33. ตอบ ข้อ 3. เพราะการที่ ท้ า ให้ ค นไทยใช้ จ่ า ยเงิ น ฟุ่ ม เฟื อ ยขึ้ น น่ า จะมาจากปั จ จั ย อื่ น ๆ เช่ น ปั จ จั ย
ทางด้า นเศรษฐกิ จ การเมื อง ค่านิยมในเรื่องการใช้เทคโนโลยี การแต่งกายด้ วยเสื้อผ้า
แบรนด์เนม เป็นต้น ซึ่งไม่ได้สะท้อนให้เห็นในเรื่องของบทบาทของดนตรีที่มีต่อสังคม
และวัฒนธรรมไทย
34. ตอบ ข้อ 4. เพราะบุ ค คลที่ จ ะสามารถประกอบอาชี พ ครู ด นตรี ไ ด้ นั้ น จะต้ อ งเป็ น ผู้ ที่ มี ค วามรู้
ความเข้าใจ และความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางดนตรี เพราะจะต้องเป็นผู้ที่
ถ่ายทอดวิชาให้แก่ศิษย์ ดังนั้น เมื่อพรรัมภา มีคุณสมบัติเหมาะสม ครบถ้วนจึงเหมาะสม
แก่การประกอบอาชีพเป็นครูดนตรี
35. ตอบ ข้อ 1. เพราะการที่ ประเทศอินเดีย มีอาณาเขตกว้างใหญ่ มีความแตกต่างทางสภาพภูมิศาสตร์
ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ และจ้านวนประชากรมากกว่าพันล้านคน วัฒนธรรมของ
อินเดียจะสัมพันธ์กับเทพเจ้าตามรากฐานแนวคิดที่เกี่ยวกับศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู ในการ
สร้างสรรค์ผลงานทางดนตรีจะเน้น ความส้าคัญของดนตรีที่ท้านอง บันไดเสียง จังหวะ
และเสี ย งหนั ก -เบา ดนตรี อิ น เดี ย มี ค วามส้ า คั ญ มากในการน้ า มาใช้ บ วงสรวงเทพเจ้ า
ซึ่งชาวอินเดียมีความเชื่อว่าสามารถใช้เสียงดนตรีสื่อสารกับเทพเจ้าได้
36. ตอบ ข้อ 4. เพราะในการบรรเลงดนตรี ข องอิน เดี ย นิ ย มน้า กลองมาใช้ใ นการบรรเลง ซึ่ งกลองที่
น้ามาใช้ในการแสดงดนตรีมีอยู่ ด้วยกัน 3 ชนิด คือ มริทังค์ ปักชวัช และตับบล้า เสียงที่
เกิ ด ขึ้ น จากจั ง หวะของกลอง จะท้ า หน้ า ที่ เ พิ่ ม สี สั น ให้ บ ทเพลงเกิ ด ความเร้ า ใจ
และสนุ ก สนาน น่ า ฟั ง มากยิ่ ง ขึ้ น และด้ว ยเหตุ นี้เ อง อิน เดีย จึง ได้รั บ การขนานนามว่ า
“ เจ้าแห่งจังหวะ ”

~ 31 ~
37. ตอบ ข้อ 1. เพราะ Tro ซอกัมพูชา เป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองประเภทเครื่องสายของกัมพูชา ตัวซอท้ามา
จากกะลามะพร้าวชนิดพิเศษ ปลายข้างหนึ่งจะถูกปิดด้วยหนังสัตว์ สายทั้งสามท้ามาจาก
เส้นไหม มีลักษณะรูปร่างคล้ายคลึงกับซอสามสายของประเทศไทย
38. ตอบ ข้อ 3. เพราะดนตรีของเวียดนามที่มีชื่อเสียงและได้รับการกล่าวถึง เป็นผลงานนับตั้งแต่ยุคส้าริด
คือ การสร้างกลองโลหะส้าริด ที่มีขนาดใหญ่ขึ้นใช้ในพิธีกรรมทางการเกษตร โดยเฉพาะ
ในพิธีขอฝน ที่เรียกว่า “มโหระทึก” ซึ่งการท้ามโหระทึกได้แพร่กระจายไปยังดินแดนต่างๆ
ของทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศจีนด้วย นอกจากนี้ดนตรีของเวียดนามยังมี
การน้าเครื่องดนตรีต่างๆ มาประสมวงบรรเลงแตกต่างไปตามวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่น
รวมทั้งเมื่อประเทศฝรั่งเศสได้เข้ามาปกครองประเทศเวียดนามในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
ก็ได้รับอิทธิพลของเครื่องดนตรีตะวันตกเข้ามาใช้อีกด้วย
39. ตอบ ข้อ 2. เพราะโทมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) ประดิษฐ์เครื่องมือส้าหรับใช้บันทึก
เสียงดนตรีขึ้น เพื่อน้ามาใช้ในการบันทึกท้านองและจังหวะของบทเพลงเพื่อสื่อไปถึงผู้ฟัง
ได้ ซึ่งจะแตกต่างจากการบันทึกโน้ตอย่างเช่นอดีตที่ผ่านมา
40. ตอบ ข้อ 4. เพราะวิ ท ยุ กั บ การเปลี่ ย นแปลงการปกครอง ในปี พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมี ก าร
เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย
อันมี พ ระมหากษั ตริ ย์ ท รงเป็ นพระประมุ ข โดยคณะราษฎร์ ซึ่ง น้า โดยพั นเอกพหลพล
พยุหเสนา ในยุคนั้น คณะราษฎร์ได้ใช้วิทยุกระจายเสียงเป็นสื่อในการเผยแพร่ความรู้ใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยให้แก่ประชาชน
41. ตอบ ข้อ 2. เพราะแสงช่วยเน้นลักษณะ เน้นจุดเด่นที่ส้าคัญ เป็นการกระตุ้นปฏิกิริย าตามธรรมชาติของ
มนุษ ย์ ที่ จะมองไปยั ง พื้ นที่ ที่มี แสงสว่ าง แสงจึง มีค วามส้ าคัญ ช่ว ยเน้น จุด เด่ นของลีล า
การแสดง จึงมี การใช้ แสงส่องไปตามตัวของนักแสดงที่มีบทบาทแสดงเป็นตัวเอก ตัว
ส้าคัญ ในแต่ละฉากแสงมีศักยภาพในการน้าความสนใจของผู้ชมละครไปยังจุดที่ต้องการ
เน้นเป็นพิเศษ การใช้แสงเน้นเฉพาะจุดที่ส้าคัญ จะท้าให้เกิดความหลากหลายบนเวที ช่วย
เปลี่ยนฉาก ลดภาพอันไม่พึงประสงค์ที่จะท้าให้ผู้ชมแลเห็นการเคลื่อนไหวของตั วละคร
การเปลี่ยนแปลงสถานที่ อุปกรณ์ต่างๆ ในขณะที่การแสดงก้าลังด้าเนินอยู่โดยไม่ท้าให้
ผู้ชมเสียสมาธิ
42. ตอบ ข้อ 3. เพราะจะท้ า ให้ก ารแสดงมีความสมจริงมากขึ้น เนื่องจากฉาก แสง สี เสีย ง เป็นศิล ปะ
ประกอบ การแสดงที่ส้าคัญในการสื่อสารเรื่องราวเป็นอย่างดี ผู้ชมสามารถเข้าใจเรื่องราว
เชิงประจักษ์ โดยไม่ต้องมีการสร้างจินตนาการ และจะได้รับความประทับใจในการแสดง
จากฉาก แสง สี เสียง ประกอบการแสดงที่สมจริง
43. ตอบ ข้อ 1. เพราะการแสดงนาฏศิลป์ จ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการแสดง
ดังนั้น นักแสดงจะต้องร้าให้สอดคล้องตามเนื้อร้อง และท้านองเพลงในขณะเดียวกันดนตรี

~ 32 ~
ก็เป็นองค์ประกอบหลักที่ส้าคัญในการช่วยเสริมให้การแสดงสมบูรณ์ และสามารถสื่อ
ความหมายได้ชัดเจนมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการแสดงให้สมจริง
ยิ่งขึ้นด้วย
44. ตอบ ข้อ 2. เพราะนาฏศิลป์ เป็นศิลปะการแสดงด้านวิจิตรศิลป์ ที่สื่อให้เห็นสุนทรียะด้วยการมองเห็น
และได้ยินเสียง นาฏศิลป์ไ ทยที่แสดงออกมานั้น ได้รวมเอาศาสตร์แขนงต่างๆ มาผสม
กลมกลืนเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งผลงานการแสดงจะมีคุณค่า มีความงาม น่าชื่นชมเพียงใดนั้น
ย่อมจะต้องมีการวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินคุ ณค่า เพื่อประเมินสิ่งที่ดี และสิ่งที่ควรน้ามา
ปรับปรุงแก้ไข ส้าหรับน้าไปใช้ในการพัฒนาผลงานการแสดงให้ดียิ่งๆ ขึ้น
45. ตอบ ข้อ 4. เพราะนาฏศิลป์ไทยสะท้อนให้เห็นสภาพบ้านเมืองที่มีความงดงาม ประณีต เพียบพร้อมไป
ด้วยขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี ตลอดจนวัฒนธรรมที่ยึ ด ถือ ปฏิ บัติ กั นมาแต่ล ะยุ ค สมั ย
นาฏศิลป์ไทยให้ทั้งความสนุกสนานเบิกบานใจ ให้ทั้งความรู้ ทั้งในมิติของประวัติศาสตร์
และสุนทรียศาสตร์ นอกจากนี้ นาฏศิลป์ไทย ยังเป็นศาสตร์ที่แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาของ
ปรมาจารย์ทางด้านนาฏศิลป์ และดนตรีไทย นับว่าเป็นศิลปะคู่บ้านคู่เมือง เป็นเครื่ องหมาย
แสดงความเป็นชาติที่มีมรดกทางวัฒนธรรม จารีตประเพณีที่สืบทอดต่อๆ กันมา จนถึง
ปัจจุบัน ให้เยาวชนรุ่นหลังได้ศึกษา นับว่าเป็นสิ่งที่น่าภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง
46. ตอบ ข้อ 3. เพราะศิลปะการวิจารณ์ เป็นเรื่องของการใช้ถ้อยค้า ภาษาในการสื่อถึงความคิด วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น ไม่ว่าจะโดยการพูด หรือการเขียน การวิจารณ์ผลงาน
นาฏศิลป์จะช่วยให้เกิดความรู้ในการปรับปรุง แก้ไข พัฒนาผลงานให้มีคุณค่ามากยิ่งขึ้น
47. ตอบ ข้อ 1. เพราะผู้ วิ จ ารณ์ ต้ อ งรู้ คุ ณ ค่ า ของงานนาฏศิ ล ป์ ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ร วมของศิ ล ปะหลายๆ สาขา
โดยเฉพาะวิจิตรศิลป์ ซึ่งเน้นในเรื่องของความงาม เพราะนาฏศิลป์เป็นผลงานการแสดงที่มี
องค์ประกอบร่วมหลายอย่าง กล่าวคือ ด้านวรรณกรรม อันได้แก่ บทประพันธ์ บทร้อง
ด้านนาฏกรรม ลีลาท่าร้า ท่าเต้น ด้านดุริยางคศิลป์ ได้แก่ การบรรเลงดนตรี และการขับร้อง
ด้ า นวิ จิ ต รศิ ล ป์ ได้ แ ก่ ฉาก เครื่ อ งแต่ ง กาย การแต่ ง หน้ า ด้ า นประติ ม ากรรม และ
สถาปั ตยกรรม ได้ แก่ การสร้ างงาน อั นเป็ นองค์ป ระกอบของการแสดง คือ เวที ฉาก
เป็ นต้ น ผู้ วิจ ารณ์ นอกจากจะมี ความรู้ ใ นเรื่อ งรู ปแบบและองค์ ประกอบต่ างๆ อั นเป็ น
พื้นฐานในการวิจารณ์ที่ถูกต้องและมีเหตุผลแล้ว ยังต้ องมีความสามารถในการเชื่อมโยง
ความรู้ในศาสตร์สาขาต่างๆ ที่หลอมรวมเป็นองค์ประกอบของงานนาฏศิลป์ได้เป็นอย่างดี
48. ตอบ ข้อ 2. เพราะร้าวงมาตรฐาน เป็นศิลปะแห่งการร้าวงที่ มีความงดงาม จัดเป็นการละเล่นพื้นบ้าน
อย่างหนึ่งที่บ่งบอกถึงความสนุกสนาน ซึ่งการเล่นร้าวงนั้นได้พัฒนาสืบเนื่องมาจากการ
เล่นร้าโทน เนื่องจากในสมัยก่อนเครื่องดนตรีหลักที่ใช้ประกอบจังหวะจะประกอบไปด้วย
โทน ฉิ่ง และกรับ โดยจังหวะการฟ้อนร้าจะมีเสียงโทนเป็นเสียงหลัก ซึ่งจะตีตามจังหวะ
หน้าทับ จึงนิยมเรียกกันว่า “ราโทน”

~ 33 ~
49. ตอบ ข้อ 4. เพราะในด้านของบทร้องจะเป็นบทร้องที่มีภาษาเรียบง่าย ไม่พิถีพิถันในเรื่องถ้อยค้า และ
สัมผัสวรรคตอนแต่อย่างใดตามลักษณะของเพลงพื้นบ้าน เนื้อหาของเพลงจะออกมาใน
ลักษณะกระเซ้าเย้าแหย่ การเกี้ยวพาราสีหยอกล้อของหนุ่มสาว การเชิญชวน ตลอดจนการ
ชมโฉมความงามของหญิงสาว ทั้งนี้ก็เพื่อความสนุกสนานในการเล่ น ในเรื่องของเครื่อง
แต่งกายในสมัยก่อนก็ไม่เน้นถึงความพิถีพิถันมากนัก เน้นเพียงความสะดวกสบายของ
ชาวบ้านเอง ไม่ได้ประณีตแต่อย่างใด
50. ตอบ ข้อ 4. เพราะการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ คือ การเรียนรู้ที่เชื่อมโยงเนื้อหาวิชาต่างๆ ที่มีความ
เกี่ยวข้องกันในเนื้อหาสาระ เพื่อให้เกิดความรู้ที่หลากหลาย และสามารถน้าไปประยุกต์ใช้
ในชี วิ ต ประจ้ า วั น ได้ เพราะในชี วิ ต จริ ง จ้ า เป็ น ต้ อ งใช้ ค วามรู้ และทั ก ษะหลายๆ ด้ า น
หลายสาขาวิชามารวมกัน เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ้าวัน การบูรณาการ เป็นการ
จัดการเรียนรู้ที่ช่วยเชื่อมโยงสิ่งที่เ รียนให้สัมพันธ์กับชีวิตจริง รู้เท่าทันเหตุการณ์ในสังคม
ปัจจุบัน นักเรียนจะมีความสุข สนุกสนานในการท้ากิจกรรมต่างๆ ในบทเรียน โดยไม่รู้สึก
เครี ย ดกั บ กรอบเนื้ อ หาสาระของแต่ ล ะวิ ช า นั ก เรี ย นจะได้ มี โ อกาสใช้ ค วามคิ ด
ประสบการณ์ อันเป็นการศึกษาความรู้ที่ดีกว่าการท่องจ้าเพียงอย่างเดียว
51. ตอบ ข้อ 3. เพราะสาระภาษาไทย จะปรากฏอยู่ ใ นรู ป แบบของบทละคร เนื้ อ หาบางส่ ว นของ
วิ ช าภาษาไทย และวรรณคดี ไ ด้ ตั ด ตอนมาจากบทละครไทย เช่ น อิ เ หนา รามเกี ย รติ์
สังข์ทอง ขุนช้างขุนแผน พระสุธน-นางมโนห์รา ศกุนตลา เป็นต้น การบูรณาการกั บสาระ
ภาษาไทยนั้น สามารถประยุกต์โดยการน้านิทานที่เป็นสุภาษิตมาเป็นโครงเรื่องของละคร
เช่น ชาวนากับงูเห่า กระต่ายกับเต่า เป็นต้น ฝึกการเขียนบทละคร แล้วน้าบทละครนั้นมา
ฝึกพูด ออกเสียงให้ชัดเจน ถูกต้องตามอักขรวิธี หรือน้าไปแสดง
52. ตอบ ข้อ 2. เพราะนาฏศิลป์พื้นเมื อง เป็นการฟ้อนร้าของชาวบ้านในภาคต่างๆ ที่มีการสืบทอดต่อๆ
กั น มา เพื่ อ ประกอบพิ ธี ก รรม เช่น การแห่ เที ย นเข้ าพรรษา การแห่ บั้ง ไฟ การฟ้ อ นใน
พิธีเหยา เป็นต้น หรือเป็นการฟ้อนร้า เพื่อความสนุกสนานรื่นเริงของชาวบ้าน หลังจาก
เสร็จสิ้นภารกิจในการท้างาน เช่น ร้าโทน ร้าวงชาวบ้าน ร้าเกี่ยวข้าว เป็นต้น หากการแสดง
พื้นบ้านชุดใดได้รับความนิยม และเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ก็จะเรียกการแสดงพื้นบ้านนั้น
ว่า “ การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง ”
53. ตอบ ข้อ 1. เพราะการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองในแต่ละภาค จะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันในเรื่องของ
มูลเหตุแห่งการแสดง ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประการ คือ
1. น้ามาใช้ในการบวงสรวง หรือบูชาเทพเจ้า เป็นการแสดงความเคารพต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์
หรือบวงสรวงแด่ดวงวิญญาณที่ได้ล่วงลับไปแล้ว
2. สร้างความสนุกสนานในงานเทศกาลต่างๆ เป็นการร้าเพื่อความรื่นเริงของชาวบ้านใน
โอกาสต่างๆ หรือเพื่อเกี้ยวพาราสีกันระหว่างชาย-หญิง

~ 34 ~
3. นิยมน้ามาแสดงเพื่อความเป็นสิริมงคล หรือเป็นการร้าเพื่อแสดงความยินดีในโอกาส
ต่างๆ หรือน้ามาใช้ในโอกาสต้อนรับแขกผู้มาเยือน
4. แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ที่ส้าคัญของท้องถิ่น ที่มีความเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ
วัฒนธรรม ประเพณี
54. ตอบ ข้อ 3. เพราะการฟ้อนภูไทนี้ เป็นการละเล่นพื้นเมืองอย่างหนึ่งของชาวผู้ไท ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์
ที่ใหญ่รองลงมาจากไทยและลาว อาศัยอยู่ ในแถบจังหวัดนครพนม สกลนคร เลย และ
กาฬสินธุ์ แต่เดิม การฟ้อนภูไทเป็นการร่ายร้าเพื่อถวายพระธาตุเชิงชุมแต่เพียงอย่างเดียว
ต่อมาจึงได้ใช้ในงานแสดงในงานสนุกสนานรื่นเริงต่างๆ ด้วย
55. ตอบ ข้อ 3. เพราะการที่จะจัดการแสดงหมู่ หรือระบ้าบนเวทีให้ได้ผลดีขึ้น นักแสดงจะต้องยึดหลักใน
การปฏิบัติ 7 ประการ ดังต่อไปนี้
1. มีความแม่นย้าในท่าร้า
2. มีความพร้อมเพรียงกับผู้แสดงคนอื่นๆ บนเวที
3. รักษาระเบียบแถวให้สม่้าเสมอ
4. มีหูตาไวเป็นพิเศษ
5. มีปฏิภาณไหวพริบในอันที่จะคล้อยตามกันได้โดยไม่ขัดเขิน
6. มีความสามัคคี
7. มีสมาธิมั่นคง
การแก้ ไ ขปั ญหาที่ เ กิ ด ขึ้ น เฉพาะหน้ า ในระหว่ างการแสดงบนเวทีนั้ น เป็น เรื่ องที่ ค วร
ค้านึงถึง หากมีการพลาดพลั้งเกิดขึ้น ควรน้ามาพิจารณา และแนะทางแก้ไข ให้ก้าลังใจ
ตักเตือนให้มีความระมัดระวัง หากนักแสดงได้มีประสบการณ์ และได้รับการฝึกการแสดง
บนเวที บ่ อ ยๆ ก็ จ ะท้ า ให้ เ กิ ด ผลดี แ ก่ นั ก แสดงเอง และท้ า ให้ ก ารแสดงหมู่ บ นเวที มี
ความสวยงาม ผู้ชมเกิดความประทับใจ
56. ตอบ ข้อ 4. เพราะการร้าฉุยฉายเบญกาย จัดเป็นการร้าเดี่ ยว ที่อวดลีลาท่าร้าของตัวละครที่สามารถ
แปลงกาย และชมโฉมความสวยงามด้ ว ยความพึ ง พอใจ นั บ เป็ น การร่ า ยร้ า ที่ มุ่ ง เน้ น
ความสามารถของนัก แสดงที่มีท่วงที ลีล างดงามมี ความช้านาญ ต้องการอวดฝีมือของ
นักแสดง ความประณีตในการแต่งกายที่สวยงาม และมีการร้าที่ลงจังหวะ มีท่วงท่าเป็น
มาตรฐาน และเป็นแบบแผน
57. ตอบ ข้อ 3. เพราะสมัยกรุงธนบุรี เป็นช่วงต่อเนื่องหลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า บรรดาศิลปินได้
กระจั ด กระจายไปในที่ ต่ า งๆ เพราะผลจากสงคราม บางส่ ว นก็ เ สี ย ชี วิ ต บางส่ ว นถู ก
กวาดต้อนไปอยู่พม่า รูปแบบของการแสดงละครจึงไม่ต่างไปจากเดิมมากนัก
58. ตอบ ข้อ 4. เพราะละครเป็นการแสดงอย่างหนึ่ง ซึ่งนอกเหนือจากจะให้สาระและความบันเทิงแล้ว
ยังมีความส้าคัญต่อประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมเป็นอย่างยิ่ง ทั้งยังสามารถน้ามา

~ 35 ~
บูรณาการเข้ากับ ศิลปะแขนงอื่นๆ ได้ อีกด้วย การศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับละคร เทคนิค
ต่างๆ ในการสร้างงานละคร ตลอดจนการฝึกทักษะเบื้องต้นในการแสดงละคร นับเป็น
ความรู้พื้นฐานที่มีความจ้าเป็นอย่างยิ่งในการสร้างสรรค์งานละครให้มีสุนทรียภาพ รวมทั้ง
ยังสามารถน้าแนวคิดที่ได้จากการรับชมไปประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับชีวิตประจ้าวัน ได้
อีกด้วย
59. ตอบ ข้อ 1. เพราะพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ตั้งกรมมหรสพขึ้น และทรงพระราชนิพนธ์บทโขน ละคร ฟ้อนร้าไว้เป็นจ้านวนมาก
นับได้ว่าเป็น ยุคทองแห่งศิลปะการแสดงละครยุคที่ 2 ต่อจากในสมัยของพระบาทสมเด็จ -
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2)
60. ตอบ ข้อ 2. เพราะเนื่องจากเกิ ด ภาวะสงครามโลกครั้งที่ 2 พระบาทสมเด็ จพระปกเกล้าเจ้ าอยู่ หั ว
(รั ช กาลที่ 7) จึ ง โปรดให้ มี ก ารยุ บ กรมมหรสพ และจ้ า นวนข้ า ราชการลง มี จั ด ตั้ ง
กรมศิ ล ปากรขึ้ น แทนกรมมหรสพ และได้ก่ อ ตั้ง วิทยาลัย นาฏศิ ล ป เพื่ อ สืบทอดศิ ล ปะ
ด้านนาฏศิลป์ และการละคร



~ 36 ~
เฉลยแบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 2
เฉลยอย่างละเอียด
1. ตอบ ข้อ 2. เพราะการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ โดยการน้าเอาทัศนธาตุต่างๆ มาประกอบให้เป็น
อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสมบู ร ณ์ ทั้ ง การจั ด องค์ ป ระกอบ และความงาม
ซึ่ ง จะต้ อ งอาศั ย หลั ก เกณฑ์ ใ นการจั ด องค์ ป ระกอบศิ ล ป์ ซึ่ ง ได้ แ ก่ ความเป็ น เอกภาพ
ความสมดุล และความกลมกลืน
2. ตอบ ข้อ 1. เพราะในการเรี ย นวิ ช าทั ศ นศิ ล ป์ สิ่ ง ส้ า คั ญ เป็ น อั น ดั บ แรกที่ นั ก เรี ย นจะต้ อ งมี ค วามรู้
ความเข้าใจมากที่สุดคือ “ ทัศนธาตุ ” ซึ่งในทางทัศนศิลป์ ทัศนธาตุจะหมายถึงสิ่งที่เป็น
ปัจจัยของการเห็น หรือสิ่งที่เป็นส่วนประกอบส้าคัญที่เห็นได้เป็นเบื้องต้นในงานทัศนศิลป์
อันประกอบด้วยจุด เส้น รูปร่าง รูปทรง ลักษณะพื้นผิว พื้นที่ว่า งน้้าหนักอ่อน - แก่ แสงเงา
และสี
3. ตอบ ข้อ 3. เพราะรูปทรงอิสระ หรือดัดแปลง ตัดทอน คือ รูปทรงที่มีความเป็นอิสระ ไม่มีกฎเกณฑ์
ตายตัว ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน สามารถเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม และความ
เหมาะสม เช่น สิ่งอ้านวยความสะดวกในชีวิตประจ้าวัน ปากกา รองเท้ า เครื่องโทรศัพท์
โซฟา เป็นต้น
4. ตอบ ข้อ 4. เพราะบริเวณว่า ง หรืออาจเรีย กอีก อย่ างหนึ่งว่า “ ช่องไฟ ” คือ ส่วนพื้ นที่ที่ไ ม่ต้องมี
องค์ ประกอบใดๆ ตั้ง อยู่ ในงานทัศนศิล ป์ ถ้ารูปกิ นเนื้อที่มาก มีที่ว่างน้ อย จะท้าให้เกิ ด
ความรู้สึกอึดอัด แน่น สับสน ฯลฯ แต่ถ้ามีที่ว่างมากเกิ นไป การรับรู้จะมีความรู้สึกโล่ง
อ้างว้าง หดหู่ ฯลฯ ดังนั้น การแบ่งที่ว่างจึงต้องให้มีความสมดุล คือ พื้นที่ของบริเวณที่ว่าง
กับรูปจะต้องได้สัดส่วนกัน เพื่อให้เมื่อมองแล้วเกิดความรู้สึกสบายตา
5. ตอบ ข้อ 1. เพราะภาพดอกไม้ ข าว ผลงานของบุ ญ ยิ่ ง เอมเจริ ญ ภาพนี้ ไ ด้ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง การใช้
ทัศนธาตุ คือ น้้าหนักอ่อน-แก่ของแสงเงา ซึ่งน้้าหนักอ่อน-แก่เป็นลักษณะของน้้าหนักของ
สีต่างๆ ที่ มีความอ่อน-แก่ซึ่งเป็นคุณค่าของแสงเงาเมื่อเทียบกับน้้าหนัก ขาว-ด้า ถ้าวัตถุ
ลักษณะที่ถูกแสงสว่างจะเป็นสีอ่อน หรือใส ส่วนที่เป็นเงาจะมีสี เข้ม หรือมืด คุณค่าของ
แสงเงา หรือน้้าหนักอ่อน-แก่ จะช่วยให้งานทัศนศิลป์ และการออกแบบมีลักษณะเป็นแท่ง
ท้าให้เกิดภาพ 3 มิติ มีความเหมือนจริง และงดงามสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
6. ตอบ ข้อ 2. เพราะลักษณะพื้นผิว คือ ผิวของวัตถุต่างๆ ที่เกิดจากธรรมชาติ และมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้ น
พื้นผิวของวัตถุที่ มี ค วามแตกต่างกั น ย่ อมให้ความรู้สึกที่แตกต่างกั นด้วย เช่น พื้ นผิวที่
อ่อนนุ่มของโซฟาย่อมกระตุ้นให้เกิดความรู้สึกอยากสัมผัส เกิดความรู้สึกสบาย ผ่อนคลาย
อารมณ์ ส่วนผิวที่ ข รุข ระ หยาบ แข็งกระด้าง จะให้ความรู้สึก ที่ไ ม่ชวนสัมผัส เป็นต้ น
จากลักษณะพื้นผิวที่ให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน จึงได้น้าเอาพื้นผิวมาสร้างสรรค์ผลงาน

~ 37 ~
ทั ศ นศิ ล ป์ ซึ่ ง เป็ น องค์ ป ระกอบที่ ส้ า คั ญ อย่ า งหนึ่ ง เพราะสามารถท้ า ให้ ผู้ สั ม ผั ส เกิ ด
ความรู้สึกที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริง
7. ตอบ ข้อ 1. เพราะอาจารย์ถวัลย์ ดัชนี เป็นศิลปินด้านจิตรกรรม ที่มีความถนัดและเชี่ยวชาญในด้านการ
วาดภาพลายเส้น (Drawing) และการใช้สีอย่างหาตัวจับได้ยาก จ้านวนของภาพลายเส้นที่
อาจารย์ถวัลย์ ดัชนีเขียนไว้ก็มีอยู่เป็นจ้านวนมากเช่นเดียวกับภาพเขียนสี ในการเขียนภาพสี
อาจารย์ถวัลย์ ดัชนีจะวาดบนผ้าใบ ซึ่งจะเป็นภาพที่มีขนาดใหญ่ นิยมใช้สีขาวกับสีด้า หรือ
เป็นสีด้าทับสีแดง หรือสีทอง ปาด และป้ายด้วยแปรงจุ่มสี ซึ่งอาจารย์ ถวัลย์ ดัชนี จะใช้
แปรงอยู่ 2 ขนาด คือ ขนาด 4 นิ้ว ใช้วาดภาพ และขนาด 1 นิ้ว ไว้ตกแต่งเก็บรายละเอียด
ซึ่งภาพของอาจารย์ ถวัลย์ ดัชนีทุกภาพผู้ชมจะมองเห็นถึงความช้านาญในการใช้อุปกรณ์
ซึ่งปรากฏให้เห็นถึงการวาดภาพอย่างฉับพลัน แม่นย้า และแฝงไปด้วยพลัง
8. ตอบ ข้อ 3. เพราะอาจารย์ น นทิ ว รรธน์ จั น ทนะผะลิ น เป็ น ศิ ล ปิ น ที่ มี ผ ลงานโดดเด่ น ทางด้ า น
ประติม ากรรมเป็ นอย่ า งมาก มีความถนั ดในการสร้างสรรค์ ผลงานทัศ นศิล ป์ป ระเภท
ประติม ากรรม วัสดุ อุป กรณ์ที่น้ามาใช้ก็ จะมีปูนปลาสเตอร์ รวมทั้งวัสดุส มัย ใหม่ เช่น
โลหะอะลู มิ เ นี ย ม ทองเหลื อ งชุ บ โครเมี ย ม เป็ น ต้ น ซึ่ ง ผลงานส่ ว นมากของอาจารย์
นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน จะเป็นผลงานเชิงนามธรรมที่แฝงไว้ด้วยแง่คิดและปรัชญาทาง
พระพุทธศาสนา
9. ตอบ ข้อ 1. เพราะสีโปสเตอร์ เป็นสีชนิดสีฝุ่นที่ผสมกาวน้้าบรรจุเป็นขวด การใช้งานจะมีลักษณะ
เหมือนกันกับสีน้า คือ จะใช้น้าเป็นตัวผสมให้สีเกิดความเจือจาง เป็นสีทึบแสง เนื้อสีข้น
สามารถระบายให้มีเนื้อเรียบ และระบายสีทับซ้อนกันได้
10. ตอบ ข้อ 3. เพราะการวาดภาพด้วยเทคนิคผสม เป็นการวาดภาพด้วยเทคนิคที่มากกว่า 1 เทคนิค ขึ้นไป
มีความหลากหลายของวิธีการ และมีเทคนิคที่มีความเปิดกว้างในการแสดงออกทางด้าน
ความคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน เพื่อสื่อความหมาย หรือเรื่องต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ของ
ผู้สร้างสรรค์ผลงานได้ม ากกว่า ซึ่งในการปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์จ้าเป็นต้องมี
แนวคิด การใช้เทคนิควิธีต่างๆ ตามความสนใจ ประสบการณ์ ทักษะของผู้ปฏิบัติประกอบ
กัน การใช้เทคนิคผสมจะช่วยให้ลดข้อจ้ากัดของเทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานแบบใดแบบ
หนึ่ ง ให้ ล ดลง จะช่ ว ยให้ ภาพสามารถสื่ อ ความหมายและเรื่ องราวได้ ก ระจ่า งชั ด หรื อ
เร้าความสนใจของผู้ชมได้มากขึ้น
11. ตอบ ข้อ 2. เพราะการวิจารณ์จะก้าวหน้ามากน้อยเพียงใดนั้น จ้าเป็นต้องมีเวทีให้นักวิจารณ์ได้แสดง
ความคิดเห็น มีการเรียนการสอนศิลปะวิจารณ์อย่างจริงจัง ท้าให้การวิจารณ์ไม่ใช่สิ่งแปลก
ใหม่ ปัญหาที่ผ่ านมาก็คือขาดเวทีที่จะใช้เป็นที่แสดงความคิดเห็นทั้งในวงแคบ และใน
ระดับกว้างที่เกี่ยวข้องกับสาธารณะ จึงท้าให้นักวิจารณ์สมัครเล่นไม่มีโอกาสจะใช้เวทีใน
การแสดงความคิดเห็นได้

~ 38 ~
12. ตอบ ข้อ 4. เพราะการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ ถึงแม้จะเป็นวัฒนธรรมใหม่ส้าหรับสังคมไทย และอาจ
มีบางส่วนที่ขั ดแย้งกั บประเพณีบางอย่างของไทยไปบ้าง แต่ก็ ไม่ถึงกับท้าให้เกิดความ
เสียหายแต่ป ระการใด กลับท้าให้ก ระบวนวิธีคิด วิเคราะห์ ประเมิน คุณค่าทางศิลปะมี
ความเข้มแข็ง สามารถตรวจสอบ และอธิบายให้เกิดความเข้าใจร่วมกันได้ ทั้งนี้ องค์ความรู้
ในเรื่องนี้จะมี ค วามก้ าวหน้ามากน้อยเพีย งใดนั้น ขึ้นอยู่ กับบุคลากรที่เกี่ ย วข้องกับงาน
ทัศนศิลป์ จะมุ่งช่วยกันพัฒนาและสร้างสรรค์เวทีให้นักวิจารณ์รุ่นใหม่ได้มีโอกาสแสดง
ทั ศ นะของตนมากขึ้ น ขณะเดี ย วกั น ผู้ วิ จ ารณ์ ก็ จ ะต้ อ งมี ห ลั ก เกณฑ์ ก ารวิ จ ารณ์ ต าม
หลักสากล จึงจะท้าให้การวิจารณ์เป็นที่ยอมรับในวงกว้าง
13. ตอบ ข้อ 1. เพราะแฟ้มสะสมผลงาน เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลที่ใช้เก็บผลงานโดดเด่นของนักเรียน
ทั้ ง ในเชิ ง ปริ ม าณ และเชิ ง คุ ณ ภาพ ภายในระยะเวลาที่ ก้ า หนด แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง
ความก้าวหน้า และความส้าเร็จของการเรียนในเรื่องนั้น ๆ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการ
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน และใช้เป็นเครื่องมือครูในการประเมินผลตามสภาพจริง ซึ่งจะ
ประกอบด้วยส่วนส้าคัญ 3 ประการ คือ การสะสม การจัดระบบข้อมูล และการสะท้อน
ผลงาน
14. ตอบ ข้อ 3. เพราะการเป็ น นั ก วาดการ์ ตู น ที่ ดี ควรเริ่ ม ต้ น จากการศึ ก ษา เรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ การจั ด
องค์ประกอบของภาพ และสิ่งที่ควรจดจ้าอยู่เสมอ คือ ในการวาดภาพการ์ตูนใดๆ ก็ตาม
จะต้อ งมี ก ารสร้า งจิ น ตนาการ หรือ มีค วามคิด เกิ ด ขึ้น เสีย ก่ อน โดยให้คิ ด ไว้ ว่า การ์ ตู น
เปรีย บเสมื อนรูป ที่ ม าจากของจริ ง แล้วน้ ามาออกแบบ ดัดแปลง ตัดทอนให้มีข นาดที่
แตกต่างกันออกไป ภาพการ์ตูนที่จะประสบความส้าเร็จได้นั้นจะต้องเป็นภาพที่มีความ
เรียบง่าย สามารถสื่อสาร แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึกได้เป็นอย่างดี และภาพการ์ตูนที่
เป็นบุคคลจะต้องมีบุคลิกที่สามารถจดจ้าได้ง่าย
15. ตอบ ข้อ 1. เพราะการโฆษณาเพื่อความเข้าใจร่วมกันในสังคม เป็นลักษณะการโฆษณาที่ไม่ได้หวังผล
ทางการค้ า หรื อ ธุ ร กิ จ แต่ เ ป็ น การชี้ แ จงท้ า ความเข้ า ใจกั บ แผนงาน หรื อ นโยบาย
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นของหน่วยงาน เช่น โครงการเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพของรัฐบาล
การโฆษณาประชาสัมพันธ์งาน หรือกิจกรรมของหน่วยงานราชการ โฆษณางานสัปดาห์
หนังสือแห่งชาติ โฆษณาโครงงานลดอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลต่างๆ เป็นต้น
16. ตอบ ข้อ 2. เพราะวัฒนธรรม เป็นสิ่งที่มนุษย์เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง ผลิต หรือสร้างขึ้น เพื่อความเจริญ
งอกงามในวิถีแห่งชีวิตของส่วนรวม สามารถถ่ายทอดกันได้ และเอาอย่างกันได้ จนเป็น
มรดกแห่ ง สั ง คมซึ่ ง สั ง คมยอมรั บ และดู แ ลรัก ษาไว้ ใ ห้ เ จริ ญ งอกงาม เป็ น ผลผลิ ต ของ
ส่วนรวมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนแต่ก่อนสืบต่อเป็นประเพณีกันมา

~ 39 ~
17. ตอบ ข้อ 4. เพราะพระพุทธรูปในสมัยสุโขทัย แม้ว่าจะมีการผสมผสานจากศิลปะหลายแหล่ง แต่ก็
สามารถน้ามาประยุกต์ให้เป็นศิลปะแบบสุโขทัยที่มีความสวยงาม อ่อนช้อย มีเอกลักษณ์
เฉพาะตัว ดังนั้น จึงท้าให้พระพุทธรูปในสมัยนี้เป็นแม่แบบของการสร้างพระพุทธรูปใน
สมัยต่อๆ มา พระพุทธรูปในสมัยสุโขทัย จะมีลักษณะดังต่อไปนี้ คือ มีพระพักตร์รูปไข่
พระเกตุมาลาเป็นเปลวรัศมี ขมวดพระเกศาเล็กเป็นวงก้นหอย พระกรรณยาว พระขนงโก่ง
พระหนุเป็ นปม พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็กและบาง พระโอษฐ์อมยิ้ ม พระอังสาใหญ่
ชายจีว รยาวลงมาถึง พระนาภี ปลายเป็น เขี้ ย วตะขาบ เปลือกพระเนตรอวบอูม ไม่ มีไ ร
พระศก
18. ตอบ ข้อ 3. เพราะพระพุ ท ธรูป ทรงเครื่ องจะนิ ย มสร้า งกั น อย่ า งมากในช่ว งสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย
สามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ พระพุทธรูปแบบทรงเครื่องใหญ่ และพระพุทธรูปแบบ
ทรงเครื่องน้อย ซึ่งพระพุทธรูปแบบทรงเครื่องน้อย จะมีความแตกต่างจากพระพุทธรูป
แบบทรงเครื่ อ งใหญ่ ตรงที่จ ะมีก รรเจี ย กผืน เป็น ครี บออกมาเหนื อ พระกรรณด้ วย ซึ่ ง
แบบอย่างในข้อนี้จัดว่าเป็นลักษณะเฉพาะของปฏิมากรรมสมัยอยุธยา
19. ตอบ ข้อ 1. เพราะเมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช (รั ช กาลที่ 1) เสด็ จ ขึ้ น
ครองราชย์ แ ละสถาปนากรุ งเทพมหานครขึ้ นเป็ น เมื อ งหลวง พระองค์ ท รงมี พ ระราช
ประสงค์ที่จะท้าให้กรุงเทพ ฯ เป็นเหมือนกรุงศรีอยุธยาแห่งที่ 2 เป็นมหานครศูนย์กลาง
แห่งหนึ่งที่รวบรวมเอาผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ วัฒนธรรมเข้ามารวมอยู่ด้วยกันไม่ว่าจะ
เป็นแขก ฝรั่ง และจีน มีการปลูกสร้างที่ พักอาศัยซึ่ง เป็นตึกปูนแบบจีนอยู่ค่อนข้างมาก
อั น เนื่ อ งมาจากได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลทางวั ฒ นธรรมมาจากประเทศจี น พอครั้ น ถึ ง สมั ย
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ 3 ) จัดว่าเป็นยุคทองแห่งศิลปะจีน มีการ
ใช้การก่ออิฐถือปูน และใช้ลวดลายดินเผาเคลือบประดับหน้าบันแทนแบบอย่างของเดิม
20. ตอบ ข้อ 2. เพราะผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากลช่วงระยะแรก การสร้างสรรค์ผลงานจะได้รับ
อิทธิพลเกี่ยวกับความเชื่อและจิตวิญญาณ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ โลกภายหน้า และเทพเจ้า
ต่อมาจึง ได้มี การพัฒนาไปเน้นเรื่องราวเกี่ ย วกั บศาสนาคริส ต์ ชีวิตมนุษย์ และลัก ษณะ
สภาพแวดล้อมรอบตัว จนท้ายที่สุดผลงานทัศนศิลป์ก็พัฒนาไปสู่การน้าเสนอแนวคิดที่
สะท้อนสังคม สิ่งแวดล้อม หรือเรื่องราวต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการด้ารงชีวิตของ
มนุษ ยชาติม ากขึ้ น ไม่ ว่า จะเป็ นการต่อ ต้านสงคราม ความทารุณ โหดร้าย การปกป้อ ง
รักษาโรค สิ่งแวดล้อม ความดีงาม สันติภาพ และอื่นๆ ในลักษณะที่มีความเป็นสากล โดยมี
รูปแบบ เทคนิควิธีการ และประเภทผลงาน
21. ตอบ ข้อ 4. เพราะอารมณ์ข องเพลงเป็นสิ่ งที่ส ามารถรับ รู้ไ ด้ จากการถ่า ยทอดเนื้อ หาของบทเพลง
โดยผู้ถ่ายทอดอารมณ์เพลงจะเรียกว่า “ ศิลปิน หรือนักร้อง ” เพราะเป็นบุคคลที่ถ่ายทอด
เจตนารมณ์ และถ่ายทอดความรู้สึกของนั กแต่งเพลงออกมาในขณะที่ตัวเองก็ต้องท้าให้

~ 40 ~
คนฟัง และสามารถรับรู้อารมณ์ของนักแต่งเพลงได้ด้ว ย ดังนั้น จึงไม่ได้น้าอารมณ์เพลง
มาจัดเป็นองค์ประกอบของดนตรี
22. ตอบ ข้อ 2. เพราะดนตรีไทย เป็นดนตรีประจ้าชาติของไทยที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ในวิถีชีวิต
ของคนไทยได้มีการน้าดนตรีเข้ามาปรุงแต่งกิจกรรมประเพณีต่างๆ ตามความต้องการของ
แต่ละกลุ่มสังคม ทั้งงานพระราชพิธี และงานของประชาชนทั่วไป ดนตรีไทยจึงเป็นสมบัติ
ทางศิลปวัฒนธรรมร่วมกันของคนทั้งชาติ ลักษณะเฉพาะของดนตรีไทยปรากฏให้เห็น
เด่นชัดในหลายรูปแบบ ทั้งด้านลักษณะของเครื่องดนตรีที่ มีความงามของรูปทรง ระบบ
เสียง วงดนตรี บทเพลงที่มีแนวด้าเนินท้านองเพลงไพเราะ และมีระเบียบวิธีการน้าไปใช้
ในกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจ้าวันได้อย่างเหมาะสม
23. ตอบ ข้อ 2. เพราะอัตราจังหวะถูกสร้างขึ้นมาเพื่อท้าหน้าที่ในการจัดแบ่งจังหวะเคาะออกเป็นกลุ่ม เพื่อ
ท้าให้เกิดการเคาะจังหวะ และการเน้นที่มีความสม่้าเสมอ ซึ่งการจัดกลุ่มจังหวะเคาะที่พบ
ในบทเพลงทั่วๆ ไป คือ 2, 3 และ 4 จังหวะเคาะ เช่น
อัตรา 2 จังหวะ 1-2-1-2-1-2-1-2-1-2
อัตรา 3 จังหวะ 1-2-3-1-2-3-1-2-3-1-2-3-1-2-3
อัตรา 4 จังหวะ 1-2-3-4-1-2-3-4-1-2-3-4-1-2-3-4-1-2-3-4 เป็นต้น
24. ตอบข้อ 3. เพราะจากข้อความด้านบนแสดงให้เห็นถึงอัตราจังหวะของเพลงไทย คือ อัตราจังหวะ
2 ชั้น ซึ่งหมายถึงอัตราจังหวะที่มีความยาวปานกลาง สั้นกว่าอัตราจังหวะ 3 ชั้น 1 เท่า และ
ยาวกว่าอัตราจังหวะชั้นเดียว 1 เท่า ดังนั้น ถ้าเคาะตามจังหวะฉิ่ง จะเคาะตรงโน้ตตัวที่
4 ของแต่ละห้อง
25. ตอบ ข้อ 3. เพราะจากภาพแสดงให้เห็นถึงเครื่องหมายแฟลต (Flat) มีไว้ส้าหรับแปลงเสียงของตัวโน้ต
ให้มีระดับเสียงต่้า หรือลดลง ½ เสียง (Semitone)
26. ตอบ ข้อ 1. เพราะเพลงลาวกระทบไม้ เป็นเพลงที่ใ ช้ในการประกอบการละเล่น “ รากระทบไม้ ”
ที่จัดเป็นบทเพลงที่ได้รับอิทธิพลมาจากการประกอบอาชีพ เนื่องจากในวิถีชีวิตของคนไทย
ส่ ว นใหญ่ จ ะประกอบอาชี พ ทางกสิ ก รรม มี ก ารท้ า นา ปลู ก ข้ า วไว้ เ ป็ น อาหารใน
ชีวิตประจ้าวันส่วนใหญ่จึงคลุกคลีอยู่กับการท้านา เริ่มตั้งแต่การหว่าน ไถ ด้า และเก็บเกี่ยว
และด้วยนิสัยที่รักสนุก หลังจากเลิกท้างาน จึงมีการน้าสากต้าข้าวมากระทบกันเป็นเครื่อง
ประกอบจั ง หวะ พร้ อ มกั บ คิ ด ลั ก ษณะการละเล่ น ให้ มี ค วามสอดคล้ อ งเข้ า กั บ จั ง หวะ
อีกด้วย
27. ตอบ ข้อ 4. เพราะเสียงที่น้ามาใช้ในการแต่งเพลงให้เกิดอารมณ์ต่างๆ จะต้องใช้เสียงในระดับเดียวกัน
เช่น เพลงที่ต้องการเน้นความสนุกสนาน จะใช้เสียงที่อยู่ในระดับปานกลาง ไม่สูง หรือไม่
ต่้าจนเกินไป มีการสลับเสียงสูง-ต่้า เพื่อเป็นการสร้างสีสันให้แก่บทเพลง เป็นต้น

~ 41 ~
28. ตอบ ข้อ 2. เนื่อ งจากการร้อ งเพลง ต้องอาศัย ลมในการเปล่ งเสี ย ง ดัง นั้น การหายใจเข้าออก จึง มี
ความส้าคัญในการร้องเพลง เพราะเกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนของลมในร่างกาย การหายใจ
เข้า-ออกให้สอดคล้องกับการร้องเพลง จึงมีส่วนช่วยท้าให้ร้องเพลงได้ดีขึ้น
29. ตอบ ข้อ 3. เพราะในการขับร้องเพลงไทย ควรเริ่มต้นจากท่าทางในการขับร้อง เนื่องจากเพลงไทยมี
ลั ก ษณะเฉพาะ ผู้ ขั บ ร้ อ งจะนั่ ง ขั บ ร้ อ งเป็ น ส่ ว นใหญ่ และอาจมี ยื น ขั บ ร้ อ งบางครั้ ง
ตามโอกาส ซึ่งผู้ขับร้องควรแสดงท่าทางให้เหมาะสม ดังต่อไปนี้
1. ท่านั่ง ผู้ขับร้องส่วนใหญ่จะนั่งราบกับพื้นเวทีเช่นเดียวกับนักดนตรี ซึ่งจะต้องนั่งพับ
เพียบให้เรียบร้อย ส้ารวมกิริยา นั่งตัวตรง ไม่กระดุกกระดิก หรือเคลื่อนไหวมาก
เกินไป ขณะร้องให้หันหน้าไปทางผู้ชมเสมอ
2. ท่ายืน ในบางโอกาสผู้ขับร้องอาจจะได้ยืนร้อง ซึ่งผู้ขับร้องควรยืนร้อง ผู้ขับร้อง
ควรยืนอย่างส้ารวมกิริยาท่าทาง และระวังการเคลื่อนไหวมือ เท้า และล้าตัว
30. ตอบ ข้อ 1. เพราะเพลงสาธุ ก าร เป็ นบทเพลงไทยที่ก่ อ ให้ เ กิ ด ความรู้ สึก ขลัง ศัก ดิ์ สิท ธิ์ น่ า เคารพ
ส่วนเพลงมหาฤกษ์ เป็นบทเพลงไทยที่ก่อให้เกิดความรู้สึกชื่นชม ยินดี เกิดก้าลังใจ
31. ตอบ ข้อ 4. เพราะการประเมินผลงานทางดนตรีมีประโยชน์ ดังต่อไปนี้
1. เพื่ อ ให้ ค้ า ตั ด สิ น ดนตรี และการแสดงดนตรี ว่ า มี ค วามงาม ความไพเราะ หรื อ
สุนทรียะอย่างไร มีข้อบกพร่องใดบ้าง
2. เพื่อให้ผู้อ่านค้าประเมินใช้เป็นแนวทางในการฝึกทักษะทางการฟัง และการแสดง
ดนตรีอันจะเข้าถึงความงาม ความไพเราะของศิลปะดนตรี
3. เพื่ อ ให้ นั ก ดนตรี ใ ช้ ค้ า ประเมิ น เป็ น แนวทางในการปรั บ ปรุ ง ตนเอง ปรั บ ปรุ ง
การบรรเลง การขับร้องให้ดียิ่งขึ้น
4. เพื่ อ ให้ นั ก วิ จั ย นั ก วิ เ คราะห์ นั ก วิ จ ารณ์ และนั ก ประเมิ น คนอื่ น ๆ ใช้ เ อกสาร
การประเมินเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษา เปรียบเทียบ และอ้างอิง
32. ตอบ ข้อ 2. เพราะในการประเมิ น ด้ า นเสี ย งของเครื่ อ งดนตรี จะต้ อ งประเมิ น โดยใช้ ห ลั ก เกณฑ์
ดังต่อไปนี้
1. เสียงของเครื่องดนตรีทุกชิ้นจะต้องดัง มีระดับเสียงที่ถูกต้อง
2. เสียงของเครื่องดนตรีทุกชิ้นในวงมีความกลมกลืนกัน
33. ตอบ ข้อ 3. เพราะการน้าเสียงดนตรีมาใช้ประกอบการรักษาทางการแพทย์ จะท้าให้สามารถวางแผน
ในการใช้ กิ จ กรรมทางดนตรี ค วบคุ ม ในกลุ่ ม ของคนทุ ก วั ย ไม่ ว่ า จะเป็ น วั ย เด็ ก จนถึ ง
วัย สู ง อายุ เพื่ อ ให้เ กิ ดผลบรรลุ ใ นการรั ก ษาโรคที่เ กิ ดมาจากความบกพร่อ งต่า งๆ เช่ น
ความผิดปกติท างด้านอารมณ์ ทางร่างกาย สติปัญญา เป็นต้น นอกจากนี้เสียงดนตรียั ง
สามารถช่ วยปรับเปลี่ยนนิสัย ก้าวร้าวของมนุษย์ รักษาโรคสมาธิสั้น โดยเฉพาะในเด็ก
ซึ่งจะท้าให้มีสมาธิยาวขึ้น อ่อนโยนขึ้น โดยใช้หลักทฤษฎีอีธอสของดนตรี ซึ่งเชื่อว่าดนตรี

~ 42 ~
มีอ้านาจในการที่จะเปลี่ยนแปลงนิสัยของมนุษย์ จนกระทั่งในบางกรณีสามารถรักษาโรค
ให้หายได้ หรือที่เราเรียกว่า “ ดนตรีบาบัด ”
34. ตอบ ข้อ 1. เพราะผู้ที่จะประกอบอาชีพดนตรีที่ดีได้นั้น จะต้องเป็นบุคคลที่ยอมรับความคิดเห็นของ
ผู้อื่นในการน้า มาใช้ เพื่ อปรับปรุงผลงานให้มีคุณภาพที่ดี ที่ สุด ไม่ควรมีความมั่นใจใน
ตนเองมากเกินไป เพราะอาจท้าให้เกิดความผิดพลาดจากการท้างานได้
35. ตอบ ข้อ 4. เพราะดนตรีของอินเดีย จะแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ดนตรีประจ้าชาติฝ่ายฮินดู และดนตรี
ประจ้าชาติฝ่ายมุสลิม ซึ่งอิทธิพลของดนตรีมุสลิมจะอยู่ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย
ส่วนอิทธิพลของดนตรีฮินดูจะอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย วัฒนธรรมทางดนตรี
ของอินเดียจะแบ่งแยกกันอย่างชัดเจน ไม่ว่าจะเป็น ในเรื่องของการเรียกชื่อเครื่องดนตรี
ประเภทของเครื่องดนตรี แต่จะมีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกันก็คือ ชาวอินเดียจะใช้เสียงดนตรีเป็น
สื่อในการติดต่อกับพระเจ้าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามที่ตนเองเคารพนับถืออยู่
36. ตอบ ข้อ 1. เพราะซากังรี เป็นเครื่องดนตรีในวัฒนธรรมอินเดีย กู่เจิง เป็นเครื่องดนตรีในวัฒนธรรมจีน
และปี่เสน เป็นเครื่องดนตรีในวัฒนธรรมเวียดนาม จึงจัดเป็นเครื่องดนตรีที่ไม่จัดอยู่ใน
วัฒนธรรมเดียวกั น ส่วนค้าตอบในข้อ 2. ผีผา โซนา หยางฉิน เป็นเครื่องดนตรีใ น
วัฒนธรรมจีน ข้อ 3. ตานปุระ ซีตาร์ เชห์ไน เป็นเครื่องดนตรีในวัฒนธรรมอินเดีย และ
ข้อ 4. ปี่เนห์ มองซาย ซองเกาะ เป็นเครื่องดนตรีในวัฒนธรรมพม่า
37. ตอบ ข้อ 2. เพราะเอกลักษณ์ส้าคัญที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะของดนตรีกัมพูชา คือ มีบทบาทใน
ฐานะที่น้ามาใช้ประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ พิธีกรรมทางศาสนา สร้างความบันเทิง
และใช้บ รรเลงขั บร้องประกอบการแสดงโขน หนังใหญ่ ละคร และการฟ้ อนร้า โดยมี
อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู เป็นปัจจัยที่เป็นฐานรากส้าคัญของวัฒนธรรมดนตรี
กัมพูชา
38. ตอบ ข้อ 4. เพราะประเทศอินโดนีเซีย ได้รับอิทธิพ ลเครื่องดนตรีส้าริด มาจากวัฒนธรรมดองซอน
ของประเทศเวียดนาม ซึ่ง นอกจากกลองมโหระทึกแล้ว ยั งมีการสร้างฆ้อง แผ่นตีส้าริด
ขนาดต่า งๆ ส้า หรับ ใช้ เป็ นเครื่องตี รวมทั้งมีก ารสร้างเครื่องดนตรีอื่นๆ อีก หลายชนิด
และสามารถน้ามาประสมวงเป็นวงดนตรีขนาดใหญ่ได้ ที่เรียกว่า “ วงกัมเมลัน ”
39. ตอบ ข้อ 2. เพราะช่วงเวลาดังกล่าวนี้ ดนตรีจะเน้นเนื้อหาสาระในเชิงปลุกใจให้ประชาชนเกิดความรัก
ชาติบ้านเมือง จึงเกิดบทเพลงเพื่อชีวิตขึ้น โดยเนื้อหาของเพลงจะมีสาระบอกเล่าเรื่องราว
ความเป็นไปในสังคมมากขึ้น ถูกถ่ายทอดโดยศิลปินวงคาราวาน และวงแฮมเมอร์
40. ตอบ ข้อ 3. เพราะสภาพทางภูมิอากาศและภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การเปลี่ยนแปลงทางดนตรีในประเทศไทย ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางดนตรีในประเทศไทย
ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ส้าคัญทางการเมือง เช่น การปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน

~ 43 ~
เหตุการณ์ 14 ตุ ลาคม 2516 การเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย
เป็นต้น
41. ตอบ ข้อ 4. เพราะศิลปะด้านเครื่องแต่งกาย เป็นองค์ประกอบที่มีความส้าคัญเป็นอย่างมากต่อการแสดง
นาฏศิลป์ไทย เพราะนอกจากจะใช้สวมใส่เพื่อความวิจิตรงดงามแล้ว เครื่องแต่งกายยัง
สามารถบ่งบอกถึงประเภทของการแสดง ประวัติที่มา บุคลิกลักษณะ เชื้อชาติ และฐานะ
ของตัวละครได้ด้วย เช่น หนุมานเป็นลิง ก็จะแต่งกายยืนเครื่องลิงสีขาว ปากอ้า มีดาวเดือน
ในปาก เนื่องจากหนุมานสามารถหาวเป็นดาวเป็นเดือนได้ เป็นต้น
42. ตอบ ข้อ 3. เพราะการแสดงอุปรากรจีน (งิ้ว) จัดเป็นการแสดงที่มีความสวยงามเป็นอย่างยิ่ง ผู้แสดง จะ
สวมเครื่องแต่งกายสีต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงบุคลิกลักษณะของตัวละครที่มีความแตกต่าง
กัน เช่น สีขาวบ่งบอกถึงความคดโกง และความโหดเหี้ยมของตัวละครเป็นต้น
43. ตอบ ข้อ 4. เพราะการแสดงนาฏศิลป์บางชุด ต้องมีอุปกรณ์ประกอบการแสดงละครด้วย เช่น ระบ้าพัด
ระบ้านกเขา ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ฟ้อนร่ม เป็นต้น อุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้ประกอบการ
แสดงจะต้ องมี ค วามสมบู รณ์ สวยงาม และสวมใส่ไ ด้ พ อดี หากเป็ น อุป กรณ์ ที่ต้ องใช้
ประกอบการแสดง เช่น ร่ม นักแสดงจะต้องมีทักษะในการใช้อุปกรณ์ได้อย่างคล่องแคล่ว
วางอยู่ในระดับที่ถูกต้องสวยงาม เป็นต้น
44. ตอบ ข้อ 2. เพราะผู้วิจารณ์ที่ดีจะต้องมีความสนใจ กระตือรือร้นติดตามกระแสความเคลื่อนไหวของ
งานศิ ล ปะทุ ก แขนง ไม่ ใ ช่ ส นใจเฉพาะแขนงที่ ต นเองมี ค วามรู้ เ ท่ า นั้ น วิ สั ย ทั ศ น์ ต้ อ ง
กว้างไกล มีประสบการณ์ในการรับรู้ทางทัศนศิลป์ เป็นนักดู นักชม สั่งสมประสบการณ์มา
พอสมควร และถ้ า สามารถเพิ่ ม พู น ประสบการณ์ โดยเข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มต่ อ การแสดง
นาฏศิลป์ด้วย ก็จะช่วยท้าให้การวิจารณ์นาฏศิลป์มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
45. ตอบ ข้อ 1. เพราะผู้วิจารณ์ควรรู้เรื่องราวของศิลปะการแสดงในอดีต โดยน้าความรู้ ประสบการณ์
ทางด้านนาฏศิลป์มาบูรณาการกับศิลปวิจารณ์ และประวัติศาสตร์ศิลป์ เพื่อสร้างศักยภาพ
ในการเข้าถึงปรัชญาทางศิลปะ เพราะการเรียนรู้ศิลปะในอดีตจะช่วยให้ทราบถึงภูมิปัญญา
ของปรมาจารย์ เทคนิค กลวิธี แบบอย่างของศิลปะ สามารถที่จะช่วยสร้างทักษะในการคิด
วิเคราะห์ วิจารณ์ ฝึกให้เป็นผู้ที่มีประสาทสัมผัสในเชิงวิเคราะห์ มีความฉับไว มีสติปัญญา
ในการตัดสิน ประเมินคุณค่าทางด้านสุนทรียะของผลงานการแสดง ซึ่งบุคคลที่มีความรอบ
รู้ทางนาฏศิลป์ดี ก็ย่อมจะสื่อสาร ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด แยกแยะข้อดี ข้อเสีย อธิบาย
เหตุผลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจนได้ดีกว่าผู้ที่มีความรอบรู้น้อย
46. ตอบ ข้อ 3. เพราะค้าวิจารณ์จะมีประโยชน์อย่างยิ่ง ที่จะให้แนวคิดกับผู้สร้างสรรค์ผลงานด้านนาฏศิลป์
น้าไปพัฒนาผลงานให้เป็นที่นิยมของผู้ชม ให้สมกับที่งานนาฏศิลป์เป็นเอกลักษณ์แสดงถึง
ความเป็นอารยประเทศ

~ 44 ~
47. ตอบ ข้อ 4. เพราะหลักเกณฑ์ในการวิจารณ์จะต้องผ่านขั้นตอนในการบรรยาย วิเคราะห์องค์ประกอบ
ของสุนทรียภาพ และองค์ประกอบอื่นๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นงานนาฏศิลป์ จนถึงขั้นตอนใน
การตีความ และประเมินผล
48. ตอบ ข้อ 1. เพราะในปีพ.ศ. 2487 จอมพล ป.พิบูลสงคราม (นายกรัฐมนตรี) ได้ตระหนักถึงความส้าคัญ
ของการละเล่นรื่นเริงประจ้าชาติ เล็งเห็นว่าคนไทยนิยมเล่นร้าโทนกันอย่างแพร่หลาย ถ้า มี
การปรับปรุงการเล่นให้เป็นระเบียบทั้ง ในเรื่องของเพลงร้อง ลีลาท่าร้า และการแต่งกาย ก็
จะท้ า ให้ ก ารเล่ น ร้า โทนเป็ นที่ นิ ย มมากขึ้ น จึ งได้ มอบหมายให้ ก รมศิ ล ปากรปรับ ปรุ ง
พัฒนาการร้าโทนขึ้นใหม่ให้เป็นแบบมาตรฐาน มีการแต่งเนื้อร้อง ท้านองเพลง และน้าท่า
ร้าจากเพลงแม่บทมาก้าหนดเป็นท่าร้าเฉพาะในแต่ละเพลงอย่างมีแบบแผน
49. ตอบ ข้อ 2. เพราะจากเนื้อเพลงข้ า งต้น คือ เพลงชาวไทย ค้าร้องโดยจมื่นมานิตย์ นเรศ (นายเฉลิม
เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ในนามกรมศิลปากร) ท้านอง
โดยนายมนตรี ตราโมท ในการร้าวงมาตรฐานเพลงชาวไทยนี้จะใช้ท่าชักแป้งผัดหน้าทั้ง
ชายและหญิง ซึ่งประดิษฐ์ท่าร้าโดยคุณครูศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก คุณครูมัลลี คงประภัศร์
และคุณครูลมุล ยมะคุปต์
50. ตอบ ข้อ 3. เพราะความสัมพันธ์ของละครกับการศึกษา มีความใกล้ ชิดกันจนไม่สามารถแยกออกจาก
กันได้ อันเนื่องมาจากหลักสูตรการศึกษาในประเทศไทย ได้มีการบรรจุวิชาการละครไว้ใน
ทุกระดับโดยคณะกรรมการจัดท้าหลักสูตรได้มองเห็นคุณค่า และความส้าคัญของวิชาการ
ละคร ที่ มุ่ ง ก่ อให้เ กิ ดประสบการณ์ก ารเรีย นรู้แบบยึ ดนั ก เรีย นเป็นศู นย์ ก ลาง โดยผ่า น
กระบวนการของศิลปะการละครในรูปแบบต่างๆ เช่น ละครสร้างสรรค์ ละครสด ละครใบ้
ละครที่เป็นภูมิปัญญาไทย เป็นต้น ซึ่งกระบวนการเรียนรู้จะเกิดขึ้นในขณะที่นักเรียนลงมือ
ปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนจะสามารถบูรณาการตนเองในการใช้สติปัญญา อารมณ์ มีความ
เข้าใจต่อกฎเกณฑ์ต่างๆ สามารถแยกแยะความดี ความชั่ว เกิดภูมิคุ้มกันที่เหมาะสม รู้จัก
เลือกวิถีทางในการด้าเนินชีวิต คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และเป็นผู้บริโภคที่ฉลาด วิชาการ
ละครจึงจัดเป็นวิชาที่สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนได้เป็นอย่างดีอีกวิชาหนึ่ง
51. ตอบ ข้อ 4. เพราะละครทุ ก ชาติ ทุ ก ภาษา จะสอดแทรกศิล ปวัฒนธรรม ประจ้าชาตินั้นๆ และจะมี
ภาพปรากฏให้เห็นในเรื่องของขนบธรรมเนียม ประเพณี การแต่งกาย ที่อยู่อาศัย ขนบนิยม
อั น เป็ น องค์ ป ระกอบของการแสดงละครทุ ก ชนิ ด เช่ น พิ ธี ไ หว้ ค รู ที่ สื บ ทอดมาจาก
ยุคโบราณจนถึงปัจจุบัน เป็นต้น การละครยังเป็นที่ รวบรวมของศิลปะหลายแขนง เช่น
ทั ศ นศิ ล ป์ จิ ต รกรรม ประติ ม ากรรม การสร้ า งฉาก การออกแบบเครื่ อ งแต่ ง กาย
การแต่ ง หน้า การท้ า เครื่ องประดับ ต่ างๆ ดนตรีป ระกอบการบรรเลง และการขั บร้ อ ง
นาฏศิลป์เป็นลีลาการฟ้อนร้า การตีบทในการแสดงละครร้า เป็นต้น

~ 45 ~
52. ตอบ ข้อ 2. เพราะนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้ จะสะท้อนบุคลิกลักษณะของผู้คนด้วย คือ มีลีลากระชับ
รวดเร็ว มีการยักย้ายส่ายสะโพก และเล่นเท้า การแสดงพื้นเมืองภาคใต้เป็นศิลปะการร้า
และการละเล่ นอาจแบ่ ง ออกเป็น 2 รูป แบบ คือ การแสดงพื้ นบ้ าน และระบ้ าพื้ นบ้ า น
เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคใต้ที่ส้าคัญ เช่น กลอง
โนรา กลองโพน กลองปืด โทน ทับ ร้ามะนา เป็นต้น
53. ตอบ ข้อ 1. เพราะในการแสดงเซิ้ง แหย่ไ ข่มดแดงนั้น จะใช้เครื่องดนตรีพื้ นบ้านสร้างท้านองเพลง
ประกอบการแสดง คือ ลายสุดสะแนน และลายเซิ้งบั้งไฟ ไม่มีเนื้ อร้อง จึงไม่ไ ด้สื่อถึง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในเรื่องภาษาท้องถิ่นอีสาน
54. ตอบ ข้อ 3. เพราะตารีกีปัสมีลีลาท่าร้าที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ คือ การเล่นเท้า แตะเท้า ซึ่งมีความเข้าใจ
กันว่าน่าจะเป็นชุดการแสดงที่สร้างสรรค์ขึ้นโดยใช้ท่าร้าของรองเง็งเป็นพื้นฐาน เนื่องจาก
มีการเล่นเท้า ยักย้ายส่ายสะโพกเช่นเดียวกัน
55. ตอบ ข้อ 4. เพราะนาฏศิลป์ไทย เป็นวิชาที่ว่าด้วยการฟ้อนร้า และการละคร มีจุดประสงค์ตรงที่เน้น
การเคลื่ อนไหวของร่ า งกาย การใช้ภ าษาท่า การตีบท โดยใช้ ส รีร ะต่า งๆ ของร่างกาย
เคลื่อนไหว สื่อความหมายแทนค้าพูดในรูปแบบของการแสดงเป็นชุดระบ้า ร้า ฟ้อน หรือ
การแสดงโขน ละคร ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์ไทยในรูปแบบต่างๆ นั้น มีหลักวิชานาฏศิลป์
ไทยที่ปรมาจารย์ได้ก้าหนดไว้ชัดเจน โดยเน้นความเป็นเอกภาพในลีลาท่าร้า การแต่งกาย
ลักษณะรูปแบบการแสดง แม้แต่การบรรจุเพลงก็คัดสรรด้วยความประณีต ซึ่งการแสดง
ระบ้า ร้า ฟ้อน ก็จะมีเอกลักษณ์เฉพาะอย่างไป
56. ตอบ ข้อ 2. เพราะระบ้ามยุราภิรมย์ จัดอยู่ในประเภทของระบ้าเบ็ดเตล็ด ซึ่งเป็นระบ้าที่ปรมาจารย์
ทางด้ า นนาฏศิ ล ป์ ไ ทยได้ ป ระดิ ษ ฐ์ ท่ า ร้ า ขึ้ น เป็ น แบบแผน โดยประดิ ษ ฐ์ ท่ า ร้ า จาก
ภาพจ้าหลัก หรือภาพประติมากรรมของนางอัปสร หรือพระพุทธรูปปางต่างๆ ส่วนค้าตอบ
ในข้อ 1. ข้อ 3. และข้อ 4. จัดอยู่ในประเภทของระบ้ามาตรฐาน เป็นการแสดงระบ้าที่มี
ลักษณะเฉพาะ กล่าวคือ มีการแต่งกายยืนเครื่องพระ-นางเช่นเดียวกันกับการแต่งกายของ
ละครหลวง และเป็นชุดระบ้าที่ปรมาจารย์ด้านนาฏศิลป์ไทยได้ประดิษฐ์ขึ้นเป็น แบบแผน
มีการถ่ายทอดและสืบสานเป็นรูปแบบมาจนถึงปัจจุบัน คือ มีการอนุรักษ์ท่าร้าสืบทอด
ต่อมาจนถึงกรมมหรสพ และมีการจัดหลัก สูตรการเรีย นการสอนในวิทยาลัยนาฏศิล ป
ในปัจจุบัน
57. ตอบ ข้อ 4. เพราะการละครไทยนั้นมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ จัดเป็นศิลปะ และเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้
เห็นถึงความเป็น ไทย ถึงแม้ว่าการแสดงนั้นๆ จะได้รับอิทธิพลมาจากต่างชาติ แต่ก็ได้มี
การเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงให้มีลักษณะเป็นของไทย
58. ตอบ ข้อ 3. เพราะในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) เป็นยุคที่มี นักปราชญ์
ราชกวีคนส้าคัญด้วยกัน 3 ท่าน คือ พระเจ้าลูกเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ สมเด็จพระสัม-

~ 46 ~
พันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี และพระสุนทรโวหาร (สุนทรภู่) ทั้งนี้ยังปรากฏ
บทละครใน และบทละครนอกขึ้นอีกมากมายหลายเรื่อง เช่น บทละครใน เรื่องอิเหนาและ
รามเกียรติ์ บทละครนอก เรื่องไกรทอง เรื่องคาวี เรื่องไชยเชษฐ์ เรื่องสังข์ทอง และเรื่อง
มณีพิชัย เป็นต้น
59. ตอบ ข้อ 1. เพราะในสมั ย นี้ ได้ มี ก ารเข้ ม งวดกวดขั น กั น ในเรื่ อ งของฝี มื อ การร่ า ยร้ า มี ก ารฝึ ก ทั้ ง
ละครนอก ละครใน และโขน ในการฝึ ก นาฏศิ ล ป์ ไ ทยจึ ง ฝึ ก หั ด กั น ได้ อ ย่ า งครบถ้ ว น
สมบูรณ์ ทั้งตัวพระ ตัวนาง ตัวยักษ์ และตัวลิง โดยได้มีการยึดถือเป็นแบบฉบับตราบมาจน
ถึ ง ปั จ จุ บั น นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารรั บ อิ ท ธิ พ ลของนาฏศิ ล ป์ เ อเชี ย ได้ แ ก่ การแสดงชุ ด
“ ฝรั่งราเท้า ” ซึ่งเป็นการผสมผสานท่ าร้าของแขก ฝรั่ง และจีน น้ามาแสดงประกอบใน
การแสดงละครในเรื่ อ งอิ เ หนา ตอนอุ ณ ากรรณลงสวน และการแสดงระบ้ า ดาวดึ ง ส์
อีกด้วย
60. ตอบ ข้อ 2. เพราะในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) การละครของ
ไทยเริ่มมีการพัฒนา และเปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้น อันเนื่องมาจากได้รับอิทธิพลของละคร
ตะวันตกที่ได้เริ่มเข้ามาแพร่หลายในประเทศไทย จึงท้าให้ในสมัยรัตนโกสินทร์เกิดละคร
ประเภทต่างๆ ขึ้นอย่างมากมาย เช่น ละครพันทาง ละครดึกด้าบรรพ์ ละครร้อง ละครพูด
ลิเก เป็นต้น



~ 47 ~

You might also like