You are on page 1of 18

บทความพิเศษ

การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study

การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
UNDERSTANDING AND INTERPRETATION OF META-ANALYSIS STUDY
สุรศักดิ์ เสาแก้ว, ภ.บ., ภ.บ.(บริบาลเภสัชกรรม), Ph.D.*

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้อ่านบทความนี้สามารถ ขั้นตอนการวิเคราะห์อภิมาน


1. อธิบายวิธีและขั้นตอนการด�ำเนินงานวิจัย การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและ
การวิเคราะห์อภิมานได้ การวิเคราะห์เชิงอภิมาน มีขั้นตอนหลัก 6 ขั้นตอน
2. แปลผลและน�ำผลการวิเคราะห์อภิมานไป (รูปที่ 1) ดังนี้
ประยุกต์ใช้ในเวชปฏิบัติได้
กำ�หนดคำ�ถามงานวิจัย
บทน�ำ
องค์ความรู้และข้อมูลทางการแพทย์มีการ สืบค้นงานวิจัย
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังจะเห็นได้จากมีผลงาน
คัดเลือกงานวิจัยตามที่กำ�หนด
วิจัยตีพิมพ์ในวารสารต่างๆ อย่างมากมาย1,2 งานวิจัย ไว้ในโครงร่าง
แต่ละชิ้นนั้นมีคุณภาพที่แตกต่างกันไป ตามระเบียบ
วิธีวิจัยและกระบวนการด�ำเนินการวิจัย สกัดข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์และ
ประเมินคุณภาพ
ดังนั้น บุคลากรทางการแพทย์ ซึ่งจะต้องใช้
ข้อมูลดังกล่าวในการดูแลรักษาผู้ป่วย จ�ำเป็นต้องมี การวิเคราะห์ทางสถิติและแปลผล
ทักษะในการสืบค้นข้อมูล มีสามารถในการอ่านงาน
รายงานผลการศึกษา
วิจัยอย่างมีวิจารณญาณ สามารถเลือกใช้ผลงานวิจัย
ประกอบการตัดสินใจ สามารถแปลผลและน�ำข้อมูลไป รูปที่ 1 ขัน้ ตอนการทบทวนงานวิจยั อย่างเป็นระบบและ
การวิเคราะห์อภิมาน
ประยุกต์ใช้ในเวชปฏิบตั ไิ ด้ เพือ่ ให้การดูแลรักษาผูป้ ว่ ย
เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลบนพื้นฐานของหลัก ขั้นตอนการก�ำหนดค�ำถามงานวิจัย
ฐานเวชศาสตร์ เ ชิ ง ประจั ก ษ์ (evidence-based ขั้นตอนการก�ำหนดค�ำถามงานวิจัยเป็นส่วน
medicine: EBM) ได้ ที่ส�ำคัญมาก โดยเฉพาะการวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
บทความนี้เน้นให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับขั้น ที่มคี ณ
ุ ภาพดีนนั้ จ�ำเป็นต้องตัง้ ค�ำถามงานวิจยั ทีม่ คี วาม
ตอนการท�ำงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน ผู้นิพนธ์หวัง เฉพาะเจาะจง ตรงกับปัญหาทีต่ อ้ งการหาค�ำตอบมีการ
ว่าหากบุคลากรทางการแพทย์เข้าใจกระบวนการแล้ว ระบุที่ชัดเจนว่าเป็นการศึกษาในกลุ่มประชากรกลุ่มใด
จะสามารถอ่ า นงานวิ จั ย การวิ เ คราะห์ อ ภิ ม านและ (Population: P) ท�ำการศึกษาผลิตภัณฑ์ ยา มาตรการ
สามารถน�ำ ผลการศึกษาไปใช้ในเวชปฏิบัติอย่างมี หรือโครงการอะไร (Intervention: I) ต้องการเปรียบ
วิจารณญาณได้ เทียบกับสิ่งใด (Comparator: C) และผลลัพธ์หลักที่
ผู้วิจัยต้องการศึกษาคือผลลัพธ์ใด (Outcome: O)
กระบวนการก�ำหนดส่วนประกอบทั้งสี่ส่วนนี้เป็นเรื่อง
ส�ำคัญมาก เพราะเป็นกระบวนการที่ช่วยให้มีความ
*ศูนย์วิจัยผลลัพธ์ทางสุขภาพและโอสถกรรนานุบาล
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิยาลัยพะเยา
ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๙ 1
บทความพิเศษ
สุรศักดิ์ เสาแก้ว

ชัดเจนในค�ำถามงานวิจัย สามารถช่วยในการก�ำหนด ประจั ก ษ์ ที่ ส มบู ร ณ์ สามารถน�ำไปประยุ ก ต์ ไ ด้ ใ น


ค�ำส�ำคัญในการสืบค้นข้อมูล การก�ำหนดเกณฑ์คัดเข้า ประชากรส่วนใหญ่ และมีข้อมูลเชิงความปลอดภัย
เกณฑ์คัดออก การสกัดข้อมูล และส่งผลให้ได้งานวิจัย (safety)4, 5 ซึ่งมักไม่ค่อยมีการรายงานในงานวิจัยเชิง
ที่มีคุณภาพ ทดลองแบบสุ่ม ทั้งนี้ผู้วิจัยจะต้องพิจาณาถึงข้อดีข้อ
ขั้นตอนการสืบค้น เสียในประเด็นดังกล่าวด้วย หรืออาจวิเคราะห์กลุ่ม
มีเป้าหมายคือสืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ ย่อยแยกกันระหว่างงานวิจัยทั้ง 2 รูปแบบ6
เรื่องที่สนใจให้ได้มากที่สุด โดยไม่มีงานวิจัยที่ส�ำคัญ ขั้นตอนการสกัดข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์และ
หายไป ดังนั้นการสืบค้นต้องครอบคลุมและเป็นระบบ ประเมินคุณภาพ
โดยการระบุค�ำส�ำคัญที่ใช้ในการสืบค้น การเลือกใช้ การสกัดข้อมูลจากการศึกษาแต่ละฉบับเป็น
ค�ำเชื่อมที่เหมาะสมและสืบค้นในแหล่งข้อมูลที่เพียง ขั้นตอนที่ต้องท�ำด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจมี
พอ อาทิ การสืบค้นฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิคส์ควร ปัญหาอคติจากการสกัดข้อมูลได้ ซึ่งท�ำให้ได้ข้อมูลที่
ครอบคลุมถึงการสืบค้นในฐานข้อมูลของ PubMed, อาจมีความผิดพลาดและไม่ตรงกับความเป็นจริง ดัง
EMBASE และ The Cochrane Controlled Trial นั้นเกณฑ์มาตรฐานในปัจจุบัน ได้แนะน�ำว่าควรท�ำโดย
Register เป็นอย่างน้อย บุคคลสองคนที่แยกกันท�ำอย่างมีอิสระ กรณีที่มีข้อมูล
นอกจากนี้ อาจต้องสืบค้นจากฐานข้อมูล ขัดแย้งกันระหว่างคนทั้งสอง ควรมีประชุมพิจารณา
เฉพาะด้านด้วย เช่น หากวิจัยเรื่องเกี่ยวกับสมุนไพร สาเหตุและหาข้อสรุป หรือให้บุคคลที่สามเป็นผู้สกัด
ควรสืบค้นฐานข้อมูล AMED (Allied and Comple- ข้ อ มู ล อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ทั้ ง นี้ ก ระบวนการนี้ ต ้ อ งใช้ แ บบ
mentary Medicine Database) เป็นต้น รวมถึงการ ฟอร์มที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
สืบค้นจากฐานข้อมูลที่ไม่ได้ตีพิมพ์ เช่น วิทยานิพนธ์ ในขั้นตอนนี้ อาจจะมีการประเมินคุณภาพ
รายงานสืบเนือ่ งจากงานประชุมวิชาการ หรือสอบถาม ทางด้านระเบียบวิธีวิจัยของการศึกษาไปด้วย เพราะ
จากผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ เป็นต้น3 หากการศึกษามีคุณภาพไม่ดี ย่อมส่งผลให้ผลสรุปของ
ขั้นตอนการคัดเลือกงานวิจัย การวิเคราะห์เชิงอภิมานมีข้อผิดพลาดได้
การวิเคราะห์อภิมานที่มีคุณภาพดีจะต้องมี การประเมินคุณภาพการศึกษาครอบคลุมใน
การก�ำหนดเกณฑ์คัดการศึกษาเข้าที่ชัดเจน มีการ หลายส่วนตั้งแต่ ด้านการออกแบบการศึกษา ขั้นตอน
ก�ำหนดลักษณะประชากรที่เข้าศึกษา สิ่งแทรกแซง การด�ำเนินการวิจัย และการวิเคราะห์ผล การศึกษา
หรื อ สิ่ ง ที่ ส นใจศึ ก ษา ตั ว เปรี ย บเที ย บในการศึ ก ษา แต่ละฉบับควรได้รับการประเมินทั้งในแง่ ความถูก
และผลลัพธ์ที่ใช้ในการศึกษา การก�ำหนดรูปแบบการ ต้ อ งภายในการศึ ก ษา (internal validity) เช่ น
วิจัยในเกณฑ์คัดเข้านั้น ถือเป็นวิธีหนึ่งในการช่วยเพิ่ม กระบวนการสุ ่ ม (randomization) การปกปิ ด
คุณภาพงานวิจัย โดยรูปแบบงานวิจัยที่มักถูกก�ำหนด (blinding) การท�ำวิจัยว่ามีการท�ำตามแผนมากน้อย
เป็ น เกณฑ์ ใ นการคั ด งานวิ จั ย เข้ า ในการวิ เ คราะห์ เพียงใด (protocol adherence) และความถูกต้อง
อภิ ม านคื อ รู ป แบบการวิ จั ย เชิ ง ทดลองที่ มี ก ารสุ ่ ม ของการน�ำผลการศึ ก ษาไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ภ ายนอก
(randomized controlled trial) เพราะได้รับการ (external validity)
ยอมรับว่าเป็นรูปแบบงานวิจัยที่เป็นมาตรฐานหลักใน ส�ำหรับการประเมินคุณภาพภายในของงาน
การประเมินประสิทธิผลทางคลินิก อย่างไรก็ตาม การ วิ จั ย นั้ น มี ก ารพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ น
รวมงานวิจัยเชิงสังเกตเข้ามาเพื่อวิเคราะห์อภิมาน คุณภาพอยู่หลายชนิด เช่น JADAD scale7 ซึ่งคะแนน
ด้วยนั้น อาจมีประโยชน์ในแง่ของการมีหลักฐานเชิง ที่ได้จากเครื่องมือชนิดนี้จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 5 โดยค่า

2 >>เชียงรายเวชสาร :: CHIANGRAI MEDICAL JOURNAL


บทความพิเศษ
การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study

คะแนนตั้งแต่ 3 คะแนนขึ้นไปแสดงว่างานวิจัยนั้นมี ขั้นตอนการวิเคราะห์ทางสถิติและการแปลผล


คุณภาพสูง นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือการประเมินความ ขั้นตอนนี้ประกอบไปด้วย การรวมผลเข้า
เสี่ยงต่อการมีอคติ (risk of bias)8 โดยมีการประเมิน ด้วยกัน การประเมินความต่างแบบกัน การตรวจสอบ
ทัง้ สิน้ 7 ส่วน ได้แก่ กระบวนสุม่ (random sequence อคติจากการตีพิมพ์ และการวิเคราะห์ความไว
generation) กระบวนการปกปิดผลการสุม่ (allocation โดยขั้นตอนนี้เป็นการประเมินว่าการศึกษาที่
concealment) การปกปิดการได้รับสิ่งทดลองต่อ คัดเลือกเข้ามานั้นสามารถรวมกันได้หรือไม่ หากการ
ผู้เข้าร่วมการทดลอง (blinding of participants ศึกษาสามารถรวมกันได้ก็จะเป็นขั้นตอนการรวมผล
or personnel) การปกปิดการได้รับสิ่งทดลองในการ การศึกษาด้วยวิธีทางสถิติเพื่อให้ได้ผลรวมของขนาด
วัดผลลัพธ์ (blinding of outcome assessment) อิทธิพลของการศึกษา (pooled effect size) รวมถึง
ความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล (incomplete outcome ประเมิ น ว่ า ข้ อ มู ล งานวิ จั ย ทั้ ง หมดที่ มี อ ยู ่ ส�ำหรั บ
data) การเลือกรายงานผลลัพธ์ (selective outcome วิเคราะห์ผลในขณะนี้ เพียงพอต่อการตอบค�ำถาม
reporting) และอคติ อื่ น ๆ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น (other หรือไม่ มีงานวิจัยที่ขาดหายไปหรือไม่ โดยเฉพาะการ
sources of bias) ซึ่งผลการประเมินในแต่ละส่วน ศึ ก ษาที่ ข นาดตั ว อย่ า งน้ อ ย และผลรวมของขนาด
จะแบ่งออกเป็น 3 ระดับได้แก่ มีความเสี่ยงในการเกิด อิทธิพลยังจะสามารถตอบค�ำถามได้อยู่หรือไม่หากมี
อคติ ม าก (high risk of bias) ไม่ มี ค วามชั ด เจน การเปลี่ยนแปลงปัจจัยหรือข้อก�ำหนด
(unclear) และมีความเสี่ยงในการเกิดอคติน้อย (low
risk of bias)8

รูปที่ 2 ตัวอย่างการรายงาน Flow diagram จำ�นวนงานวิจัยที่สืบค้นพบทั้งหมด และจำ�นวน


ที่คัดเข้าและคัดออก พร้อมระบุเหตุผล

ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๙ 3


บทความพิเศษ
สุรศักดิ์ เสาแก้ว

ขั้นตอนการรายงานผลการศึกษา แต่ ล ะการศึ ก ษาที่ น�ำเข้ า มาวิ เ คราะห์ น้ั น ต้ อ งการ


การรายงานผลการศึ ก ษาเป็ น สิ่ ง ส�ำคั ญ ประมาณค่าประสิทธิภาพของการดูแลรักษาเดียวกัน
เพราะท�ำให้ผู้อ่านสามารถพินิจพิเคราะห์ผลการศึกษา ในขณะที่โมเดลแบบสุ่ม (random effect model)
ก่อนการตัดสินใจน�ำไปใช้ในเวชปฏิบัติ ดังนั้นเพื่อให้ เชื่อว่าการศึกษาแต่ละการศึกษาที่น�ำเข้ามาวิเคราะห์
เกิดความสมบูรณ์และความสอดคล้องในการรายงาน นั้ น ต้ อ งการประมาณค่ า ประสิ ท ธิ ภ าพของการดู แ ล
ผลการศึกษาของการวิเคราะห์เชิงอภิมาน จึงมีการ รักษาที่อาจมีค่าแตกต่างกัน ซึ่งการวิเคราะห์เพื่อรวม
ก�ำหนดแนวทางการรายงานผลของการวิเคราะห์เชิง ผลการศึกษานั้น ผู้วิจัยจะต้องเลือกว่าจะวิเคราะห์โดย
อภิมานขึ้น9,10 ซึ่งมีแนวทางการรายงานผลการศึกษา ใช้โมเดลใด
ที่ครอบคลุมถึงการน�ำเสนอบทคัดย่อ บทน�ำ ระเบียบ การค�ำนวณด้ ว ยโมเดลแบบคงที่ ผู ้ วิ จั ย
วิธีวิจัย ผลการศึกษา และอภิปรายผล ทั้งนี้ผู้วิจัย สามารถค�ำนวณได้ด้วยวิธีต่างๆ15 เช่น the Mantel-
สามารถน�ำแนวทางดังกล่าว ไปใช้ในกระบวนการท�ำ Haenszel method, the Peto method ส่วนการ
วิจัยตั้งแต่ขั้นตอนแรกๆ ได้ เช่น กระบวนการสืบค้น ค�ำนวณวิธีโมเดลแบบสุ่มนั้นสามารถค�ำนวณได้โดยใช้
การคัดเลือกงานวิจัย การคัดย่องานวิจัย การประเมิน วิธี DerSimonian and Laird method16 ในปัจจุบัน
คุณภาพงานวิจัย การวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อรวมผล ยังไม่มีบทสรุปว่าโมเดลแบบคงที่หรือโมเดลแบบสุ่มดี
การศึกษา เป็นต้น กว่ า กั น เนื่ อ งจากทั้ ง สองวิ ธี ต ่ า งมี จุ ด ด้ อ ยในแง่ ข ้ อ
ส�ำหรั บ กระบวนการสื บ ค้ น และผลการคั ด ก�ำหนดทางสถิติ (assumptions) ที่แตกต่างกัน การ
เลื อ กงานวิ จั ย นั้ น ผู ้ วิ จั ย ควรจะต้ อ งน�ำเสนอ ใน วิเคราะห์ด้วยวิธีที่ต่างกันจะให้ผลการศึกษาที่ต่างกัน
ลักษณะที่เป็น flow diagram ซึ่งจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ก็ต่อเมื่อการศึกษาที่มารวมกันนั้นมีความต่างแบบกัน
จ�ำนวนงานวิจัยที่สืบค้นพบทั้งหมด และจ�ำนวนที่คัด (heterogeneity) ดังนั้นหากผู้วิจัยท�ำการรวมการ
เข้าคัดออก พร้อมระบุเหตุผล (รูปที่ 2) ศึกษาที่ไม่มีความต่างแบบกัน การเลือกใช้โมเดลแบบ
การรวมผลเข้าด้วยกันและการอ่านผลการ คงที่หรือโมเดลแบบสุ่ม ก็ไม่ส่งผลกระทบต่อผลรวม
วิเคราะห์ ของการศึกษามากนัก
การรวมการศึกษาเพื่ออธิบายประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม มีผู้เสนอแนวทางในการเลือก
หรือขนาดอิทธิพล (effect size)11 มีหลักการทั่วไป ใช้ โ ดยให้ พิ จ ารณาเลื อ กใช้ โ มเดลแบบคงที่ เ มื่ อ ไม่ มี
คือ การหาค่าผลรวมที่ให้น�้ำหนักงานวิจัยแต่ละชิ้น ความต่างแบบระหว่างงานวิจัยหรือความต่างแบบนั้น
แตกต่างกันหรือเรียกว่าการถ่วงน�้ำหนัก12 การถ่วงน�้ำ ไม่มีนัยส�ำคัญ ส่วนโมเดลแบบสุ่มนั้นให้พิจารณาเลือก
หนักที่นิยมในการวิเคราะห์อภิมานคือความแตกต่าง ใช้เมื่อมีความต่างแบบระหว่างงานวิจัยแต่ไม่สามารถ
ของขนาดอิทธิพลและขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ตาม หาสาเหตุของความต่างแบบนั้นได้17 แต่มีผู้เสนออีก
หลักการนี้ การศึกษาที่มีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่จะ กลุ่มหนึ่ง เสนอว่าให้ใช้โมเดลแบบสุ่มวิเคราะห์เป็น
ท�ำให้มีค่าอิทธิพลสูง และความแตกต่างของข้อมูล หลัก หากพบว่ามีความต่างแบบกันก็ให้ค้นหาสาเหตุ
น้อยจะได้รับการถ่วงน�้ำหนักมาก ซึ่งก็คือการค�ำนวณ และจั ด การกั บ ความต่ า งแบบนั้ น และให้ มี ก าร
จากส่ ว นกลั บ ของค่ า ความแปรปรวน (inverse วิ เ คราะห์ โ มเดลแบบคงที่ ส�ำหรั บ ทดสอบความไว
variance)13, 14 นั่นเอง (sensitivity analysis) ของการเลือกโมเดลต่อค่าผล
การค�ำนวณค่าผลรวมของการวิเคราะห์อภิ รวม (pooled effect size) ซึ่งผู้นิพนธ์เห็นด้วยและ
มานนั้น มีวิธีการค�ำนวณ 2 แบบ คือโมเดลแบบคงที่ แนะน�ำให้ใช้แนวคิดแบบหลังนี้
(fixed effect model) ซึ่งโมเดลนี้เชื่อว่าการศึกษา

4 >>เชียงรายเวชสาร :: CHIANGRAI MEDICAL JOURNAL


บทความพิเศษ
การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study

รูปที่ 3 Forest plot แสดงผลของเภสัชกรในการให้บริการผู้ป่วยในคลินิกวาร์ฟารินต่อการเกิดภาวะเลือดออก (วัดผล


ลัพธ์เป็นตัวแปรกลุ่มคือ เกิดหรือไม่เกิดภาวะเลือดออก) จากการศึกษาการทดลองแบบสุ่มจ�ำนวน 4 การศึกษา6

หมายเลข  แสดง ชื่อผู้แต่งและปีที่ตีพิมพ์ ข้าวหลามตัดและเส้นประแนวตั้ง พร้อม


หมายเลข  แสดง ขนาดอิทธิพลและช่วงความเชื่อ แสดงค่ า ผลรวมและช่ ว งความเชื่ อ มั่ น ใน
มั่ น ของแต่ ล ะการศึ ก ษา โดยขนาดของ สดมภ์ หมายเลข 
กล่องสี่เหลี่ยมใหญ่แสดงถึงมีความแม่นย�ำ หมายเลข  แสดง การประเมิ น ความต่ า งแบบ
สู ง ซึ่ ง อาจเกิ ด จากมี จ�ำนวนกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง (heterogeneity) ซึ่งแสดงค่า I2 และ Q-
มากหรือมีค่าอิทธิพลมาก และหากค่าช่วง test (p-value)
ความเชื่อมั่นพาดผ่านเส้นทึบ (ค่า 1) แสดง หมายเลข  แสดง โมเดลในการรวมผลขนาด
ว่าผลของการศึกษานั้น ไม่มีนัยส�ำคัญทาง อิทธิพล ในที่รวมกันโดยโมเดลแบบสุ่ม
สถิติ หมายเลข  แสดง สเกลของค่าขนาดตัวอย่างใน
หมายเลข  แสดง ค่าอิทธิพลและช่วงความเชื่อมั่น แกน x และแสดงสิ่งแทรกแซง
เป็นตัวเลข ในที่นี้คือค่า RR การน�ำเสนอผลการรวมการศึกษาจากการ
หมายเลข  แสดง จ�ำนวนเหตุการณ์และจ�ำนวน วิเคราะห์อภิมาน นิยมน�ำเสนอในรูป “forest plot”
กลุ่มตัวอย่าง ในกลุ่มศึกษา ซึ่งมีองค์ประกอบและความหมายดังแสดงในรูปที่ 3
หมายเลข  แสดง จ�ำนวนเหตุการณ์และจ�ำนวน (กรณีที่ผลลัพธ์เป็นตัวแปรกลุ่ม) และรูปที่ 4 (กรณีที่
กลุ่มตัวอย่าง ในกลุ่มเปรียบเทียบ ผลลัพธ์เป็นตัวแปรเชิงปริมาณ)
หมายเลข  แสดง ค่าถ่วงน�้ำหนักในการรวมผล
อิทธิพลจากแต่ละการศึกษา
หมายเลข  แสดง ค่าผลรวมขนาดอิทธิพล (pooled
effect size) ซึ่ ง แสดงในรู ป สี่ เ หลี่ ย ม

ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๙ 5


บทความพิเศษ
สุรศักดิ์ เสาแก้ว

รูปที่ 4 Forest plot แสดงผลของการศึกษาผลของการได้รับ Folic acid ในผู้ป่วยเบาหวานต่อระดับ homocysteine ใน


เลือด (วัดผลลัพธ์เป็นตัวแปรเชิงปริมาณคือ ระดับ homocysteine ในเลือด)
จากการศึกษาการทดลองแบบสุ่มจ�ำนวน 4 การศึกษา18

หมายเลข  แสดง ชื่อผู้แต่งและปีที่ตีพิมพ์ หมายเลข  แสดง ค่าถ่วงน�้ำหนักในการรวมผล


หมายเลข  แสดง ขนาดอิทธิพลและช่วงความเชื่อ อิทธิพลจากแต่ละการศึกษา
มั่ น ของแต่ ล ะการศึ ก ษา โดยขนาดของ หมายเลข  แสดง ค่าผลรวมขนาดอิทธิพล (pooled
กล่องสี่เหลี่ยมใหญ่แสดงถึงมีความแม่นย�ำ effect size) ซึ่ ง แสดงในรู ป สี่ เ หลี่ ย ม
สู ง ซึ่ ง อาจเกิ ด จากมี จ�ำนวนกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ข้าวหลามตัดและเส้นประแนวตั้ง พร้อม
มากหรือมีค่าอิทธิพลมาก และหากค่าช่วง แสดงค่าผลรวมและช่ว งความเชื่อมั่นใน
ความเชื่อมั่นพาดผ่านเส้นทึบ (ค่า 0) แสดง สดมภ์ หมายเลข 
ว่าผลของการศึกษานั้น ไม่มีนัยส�ำคัญทาง หมายเลข  แสดง การประเมิ น ความต่ า งแบบ
สถิติ (heterogeneity) ซึ่งแสดงค่า I2 และ Q-
หมายเลข  แสดง ค่าอิทธิพลและช่วงความเชื่อมั่น test (p-value)
เป็นตัวเลข ในที่นี้คือค่า weighted mean หมายเลข  แสดง โมเดลในการรวมผลขนาด
difference อิทธิพล ในที่รวมกันโดยโมเดลแบบสุ่ม

6 >>เชียงรายเวชสาร :: CHIANGRAI MEDICAL JOURNAL


บทความพิเศษ
การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study

การประเมินความต่างแบบกัน หรื อ ไม่ ด้ ว ยการประเมิ น ว่ า มี ค วามต่ า งแบบกั น


การค�ำนวณค่าผลรวมของการวิเคราะห์อภิ (heterogeneity) ระหว่างการศึกษาหรือไม่ เครื่องมือ
มานนั้นได้กล่าวไปแล้วว่ามีวิธีการค�ำนวณ 2 แบบ คือ ทางสถิติที่นิยมใช้มากที่สุดในการทดสอบความต่าง
โมเดลแบบคงที่ (fixed effect model) และโมเดล แบบกันคือ Cochrane chi-square หรือที่เรียกว่า
แบบสุ่ม (random effect model) ซึ่งแนวทางในการ Q-test 21,22 การทดสอบความต่ า งแบบกั น นี้ มี ก าร
เลื อ กโมเดลเพื่ อ รวมผลการศึ ก ษานั้ น ได้ ก ล่ า วถึ ง ก�ำหนดสมมติ ฐ านไว้ ว ่ า การศึ ก ษาทุ ก ฉบั บ เป็ น การ
ไปแล้ว17 ศึกษาที่ตอบค�ำถามวิจัยเดียวกันและพยายามวัดขนาด
การประเมินว่าการศึกษาที่คัดเลือกเข้ามานั้น อิ ท ธิ พ ลอั น เดี ย วกั น โดยก�ำหนดว่ า ค่ า p-value
สามารถรวมกันได้หรือไม่นั้นเป็นการตรวจสอบว่าผล ที่ น ้ อ ยกว่ า 0.05 จะเป็ น การบ่ ง ชี้ ว ่ า ระดั บ ความ
ของการศึ ก ษา (treatment effect) หรื อ ขนาด แปรปรวนหรื อ ความแตกต่ า งระหว่ า งการศึ ก ษา
อิทธิพล (effect size) ของแต่ละการศึกษามีความ มีมากจนมีนัยส�ำคัญทางสถิติ แต่การทดสอบโดยใช้
เหมือนหรือต่างกันอย่างไร โดยปกติแล้วการศึกษาทั้ง Q-test นี้ มี จ�ำกั ด คื อ การมี ก�ำลั ง ทางสถิ ติ ที่ ต�่ ำ
หลายไม่ ไ ด้ ใ ช้ แ นวทางการด�ำเนิ น การวิ จั ย ฉบั บ (poor statistical power)23 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เดียวกัน ดังนั้นการศึกษาต่างๆ จึงอาจมีความแตกต่าง ในภาวะที่จ�ำนวนการศึกษาน้อย ดังนั้นจึงนิยมก�ำหนด
กันได้ ทั้งในแง่ของประชากรที่ศึกษา สถานที่ศึกษา ยา เกณฑ์นัยส�ำคัญทางสถิติไว้ที่ 0.1017
ที่ได้รับร่วม และสิ่งแทรกแซง (intervention) ดังนั้น นอกจากนี้ ยังมีการประเมินขนาดของความ
การศึกษาที่ตอบค�ำถามงานวิจัยที่เหมือนกันเท่านั้น ต่างแบบกันโดยการใช้เครื่องมือที่เรียกว่า ไอ-สแควร์
ที่ควรได้รับการรวมเข้าในการวิเคราะห์เชิงอภิมาน (I2)24, 25 เครื่องมือนี้ใช้วัดขนาดของความไม่สอดคล้อง
ทั้งนี้การรวมงานวิจัยที่ตอบค�ำถามต่างกันจะส่งผลให้ หรื อ ความต่ า งแบบของผลการศึ ก ษา ผลของ I 2
ผลรวมของการศึกษามีอคติได้ จะออกมาในรูปแบบของร้อยละของความแปรปรวน
ขนาดอิทธิพลที่มาจากแต่ละการศึกษานั้น ระหว่างผลการศึกษาที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยความ
อาจมีความแตกต่างกันได้ หากขนาดอิทธิพลแตกต่าง บั ง เอิ ญ การค�ำนวณค่ า I 2 นี้ สามารถค�ำนวณได้
กันเพราะขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เท่ากัน จะเรียก โดยตรงจากค่า Q-test โดยมีสูตรดังนี้
ว่าเป็นความแตกต่างโดยบังเอิญที่ยอมรับได้ทางสถิติ I2= 100% x (Q-df)/Q
แต่ ห ากไม่ ส ามารถอธิบ ายความแตกต่างของขนาด โดยค่า Q แทนค่า Cochran’s heterogeneity
อิทธิพลด้วยความบังเอิญได้ จะเรียกว่าความต่างแบบ statistic และค่า df แทนค่าองศาของความอิสระ
ทางสถิ ติ (statistical heterogeneity) ซึ่ ง อาจ (degrees of freedom) หากค่า I2 มีค่าเป็นลบ
มีสาเหตุมาจาก 2 สาเหตุหลักๆ19, 20 คือ ความต่าง สามารถเทียบได้ว่ามีค่าเท่ากับศูนย์ ค่า I2 โดยปกติจะ
แบบทางคลินิก (clinical heterogeneity) และความ ตกอยู่ในช่วง 0% ถึง 100% ค่า 0% หมายความว่า
ต่ า งแบบทางระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย (methodological ไม่พบความต่างแบบกัน ในขณะที่ค่า I2 ที่มีค่าสูงแสดง
heterogeneity) ว่ามีขนาดของความต่างแบบกันมาก
การรวมผลการศึกษาที่มีความแตกต่างกัน Cochrane ได้เสนอค�ำแนะน�ำในการแปลผล
2
อันจะท�ำให้ผลการศึกษามีความแปรปรวนเพิ่มมากขึ้น ค่า I ไว้ และผู้เชี่ยวชาญได้ดัดแปลงการแปลผลช่วง
และส่งผลให้ผลรวมของการศึกษาไม่ถูกต้อง ดังนั้นจึง ค่า I2 เพื่อความชัดเจนและง่ายต่อการแปลผลไว้17
จ�ำเป็นต้องมีการประเมินว่ามีความแปรปรวนของผล ดังตารางที่ 1
การศึกษามากเกินกว่าที่จะเกิดขึ้นได้จากความบังเอิญ

ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๙ 7


บทความพิเศษ
สุรศักดิ์ เสาแก้ว

ตารางที่ 1 การแปลผลช่วงค่า I2 สาเหตุของการเกิดอคติจากการตีพิมพ์ อาจ


ร้อยละของค่า I2 การแปลผล เกิดได้จากงานวิจัยมีความต่างแบบกันระหว่างขนาด
0 - 30 ความต่างแบบกันที่พบนั้น อาจจะ อิทธิพลจากงานวิจัยต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในงาน
ไม่สำ�คัญ วิจัยที่มีจ�ำนวนตัวอย่างน้อย มักจะมีค่าขนาดอิทธิพล
31 - 60 ความต่างแบบกันที่พบนั้น อาจจะ ในงานวิจัยมากกว่าค่าปกติ โดยลักษณะเช่นนี้อาจเกิด
อยู่ในระดับปานกลาง
ขึ้นเนื่องจากในการศึกษาวิจัยที่มีจ�ำนวนตัวอย่างน้อย
60 - 75 ความต่างแบบกันที่พบนั้น อาจจะ
ค่อนข้างชัดเจน นั้ น มั ก จะท�ำวิ จั ย ในกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ มี ค วามเสี่ ย งสู ง
> 75 ความต่างแบบกันที่พบนั้น ปรากฏ
(high risk patients) นอกจากนี้ ง านวิ จั ย อาจมี
อย่างชัดเจน (มีนัยสำ�คัญ) คุณภาพในการท�ำวิจัยต�่ำ (poor methodological
การตรวจสอบอคติจากการตีพิมพ์ quality) เนื่องจากงานวิจัยที่มีขนาดตัวอย่างน้อย
ในการสืบค้นข้อมูลนั้น ผู้วิจัยจะต้องสืบค้น มี ต ้ น ทุ น การวิ จั ย ที่ ต�่ ำ และมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะมี ก ารท�ำ
ให้ครอบคลุมและเป็นระบบเพราะเป้าหมายของการ วิจัยที่ไม่เข้มงวดในแง่ระเบียบวิธีวิจัยเท่ากับงานวิจัย
ที่มีขนาดตัวอย่างมากกว่า ทั้งนี้สถานการณ์ท่ีงานวิจัย
สื บ ค้ น คื อ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ง านวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งครบถ้ ว น
อย่างไรก็ตามการสืบค้นข้อมูลในฐานข้อมูลอิเล็กทรอ ที่มีขนาดตัวอย่างน้อยมักจะมีขนาดอิทธิพลที่มากกว่า
เรียกว่า “small-study effects”27, 32 โดยในภาวะ
นิ ค ส์ จ ะพบเฉพาะส่ ว นงานวิ จั ย ที่ ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์
ที่ มี small-study effects ค่ า ขนาดอิ ท ธิ พ ลมี
เท่ า นั้ น ส�ำหรั บ งานวิ จั ย ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ การตี พิ ม พ์ น้ั น
ต้องท�ำการสืบค้นจากแหล่งอื่นๆ ด้วย เช่น ฐานข้อมูล ความสั ม พั น ธ์ กั บ ค่ า ความคลาดเคลื่ อ นมาตรฐาน
วิ ท ยานิ พ นธ์ ฐานข้ อ มู ล เฉพาะพื้ น ที่ หรื อ ติ ด ต่ อ ซึ่งจะส่งผลให้ funnel plot เกิดความไม่สมมาตร
ผู ้ เ ชี่ ย วชาญในสาขานั้ น ๆ เป็ น ต้ น เนื่ อ งจากการ ดังนั้นนักวิจัยจึงจ�ำเป็นต้องค้นหาสาเหตุของความ
วิเคราะห์เชิงอภิมานที่เลือกรวมเฉพาะงานวิจัยที่ได้รับ ไม่ ส มมาตรซึ่ ง อาจเกิ ด จากการสื บ ค้ น ที่ ไ ม่ ส มบู ร ณ์
การตีพิมพ์ อาจส่งผลให้ผลการวิเคราะห์มีอคติได้26 ครอบคลุมเพียงพอ งานวิจัยที่คัดเข้ามีคุณภาพต�่ำ หรือ
อคติจากการตีพิมพ์ (publication bias) สาเหตุอื่นๆ28, 33
เป็นค�ำที่ใช้เรียกกรณีงานวิจัยที่ขนาดอิทธิพลที่มีนัย
ส�ำคัญ (significant) มีแนวโน้มที่จะได้รับส่งตีพิมพ์
และได้รับการตีพิมพ์มากกว่างานวิจัยอื่นๆ ที่ไม่มีนัย
ส�ำคัญทางสถิติ ดังนั้นการวิเคราะห์เชิงอภิมานที่รวม
งานวิจัยที่มีอคติจากการตีพิมพ์อาจส่งผลให้ผลการ
ศึกษามีอคติได้ ซึ่งวิธีการส�ำคัญในการจัดการอคติจาก
การตีพิมพ์นี้คือ การท�ำการสืบค้นอย่างสมบูรณ์และ
ครอบคลุมมากที่สุด
วิธกี ารตรวจสอบอคติจากการตีพมิ พ์นมี้ หี ลายวิธี
โดยแต่ละวิธีก็มีข้อด้อยแตกต่างกันออกไป27 โดยทั่วไป
รูปที่ 5 Funnel plot แสดงผลของเภสัชกรในการให้
มี 2 วิธีการหลักๆ คือการตรวจสอบโดยใช้กราฟ เช่น บริการผู้ป่วยในคลินิกวาร์ฟารินต่อการเกิดภาวะเลือด
funnel plot28, contour-enhances funnel plot29และ ออก จากการศึกษาจำ�นวน 23 การศึกษา6
การทดสอบทางสถิติ เช่น Begg’s test30, 31, Egger’s
test30, 31, Harbord’s modified test31, Peters’ test31

8 >>เชียงรายเวชสาร :: CHIANGRAI MEDICAL JOURNAL


บทความพิเศษ
การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study

วิธีทดสอบโดยใช้ funnel plot ถือเป็นวิธีที่ เหล่านั้นได้แก่ Begg’s test30, 31, Egger’s test30, 31,
นิ ย มส�ำหรั บ การตรวจสอบอคติ จ ากการตี พิ ม พ์ 33 Harbord’s modified test 31, Peters’ test 31
หลักการทดสอบคือ การสร้าง scatter plot ระหว่าง วิธีการเหล่านี้สร้างขึ้นมาตามแนวคิดการศึกษาความ
ค่าที่แสดงถึง ขนาดอิทธิพล บนแกน x และค่าที่แสดง สั ม พั น ธ์ ท างสถิ ติ ข องขนาดอิ ท ธิ พ ล (effect size)
ถึงขนาดของตัวอย่างบนแกน y การตรวจสอบอคติ และค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (SE) อย่างไร
จากการตีพิมพ์ด้วยวิธีการนี้มีหลักการคือ การพิจาณา ก็ตามวิธีการทดสอบทางสถิติดังกล่าวก็มีข้อด้อยในแง่
ความสมมาตรของ funnel plot โดยในภาวะที่ ของก�ำลังในการตรวจสอบผลทางสถิติ (statistical
ไม่มีอคติจากการตีพิมพ์ ค่าที่แสดงถึงขนาดอิทธิพล power) ในปัจจุบันการตรวจสอบการมีอคติจากการ
ในงานวิ จั ย ที่ มี ข นาดเล็ ก จะมี ก ารกระจายมากและ ตีพิมพ์ด้วยวิธี funnel plot จึงยังคงเป็นที่นิยมและ
เป็นการกระจายตัวที่เท่ากัน (equally distributed) ได้รับการยอมรับมากที่สุด ดังนั้นการตรวจสอบด้วย
รอบค่ า เฉลี่ ย ของขนาดอิ ท ธิ พ ล ในขณะที่ ง านวิ จั ย ผลการทดสอบทางสถิติต่อไปนี้ จึงใช้เป็นเพียงข้อมูล
ที่ มี ข นาดใหญ่ จ ะมี ก ารกระจายแบบแคบๆ รอบๆ ประกอบในการตัดสินใจร่วมกับ funnel plot
ค่าเฉลี่ย ท�ำให้เกิดความสมมาตรของ funnel plot การวิเคราะห์ความไว
ซึ่งในกรณีที่ไม่มีความสมมาตรของ funnel plot นั่น การประเมินความมั่นคง (robustness) ของ
ย่อมแสดงถึงภาวะที่อาจจะมีอคติจากการตีพิมพ์ ทั้งนี้ ผลการศึกษา สามารถพิจารณาได้จากค่าผลรวมของ
วิ ธี funnel plot ไม่ ใ ช่ วิ ธี ที่ ส มบู ร ณ์ แ บบในการ ค่าอิทธิพล ซึ่งหากมีหลักฐานยืนยันความมั่นคงหรือ
ประเมินการมีอคติจากการตีพิมพ์ เนื่องจากภาวะไม่ ความคงที่ ห รื อ มี ค ่ า ใกล้ เ คี ย งกั น ผลลั พ ธ์ ข องการ
สมมาตรของกราฟอาจเกิดจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่อคติ วิเคราะห์อภิมานนั้นก็สามารถน�ำไปใช้ได้อย่างมั่นใจ
จากการตีพิมพ์ การประเมิ น ความมั่ น คงนี้ ท�ำได้ โ ดยการ
การสร้าง funnel plot นั้น สามารถก�ำหนด วิเคราะห์อภิมานในหลายๆ สถานการณ์ตามปัจจัย
แกน x และแกน y ด้วยค่าต่างๆ เช่น บนแกน x ซึ่ง หรื อ ข้ อ ก�ำหนด (assumptions) 35 ซึ่ ง เรี ย กว่ า
แสดงค่าขนาดอิทธิพล อาจก�ำหนดเป็นค่า log odds “การวิเคราะห์ความไว (sensitivity analysis)”อาทิ
ratio, log risk ratio กรณีผลลัพธ์เป็นตัวแปรกลุ่ม การเลือกแบบจ�ำลองในการวิเคราะห์ ผู้วิจัยสามารถ
หรือ mean difference กรณีผลลัพธ์เป็นตัวแปรต่อ ก�ำหนดว่าจะใช้โมเดลแบบคงที่ในการวิเคราะห์หลัก
เนื่อง ในขณะที่แกน y แสดงถึงขนาดของตัวอย่าง อาจ และใช้โมเดลแบบสุ่มในการวิเคราะห์รอง หากผลรวม
ก�ำหนดเป็นค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (SE) ค่า ของการศึกษาและค่าช่วงความเชื่อมั่นไม่แตกต่างกัน
ความแม่นย�ำ (1/SE) ค่าความแปรปรวน (SE2) ส่วน จะท�ำให้ผู้วิจัยสามารถมั่นใจได้ว่า ผลการศึกษามีความ
กลับของความแปรปรวน (1/SE2) หรือขนาดตัวอย่าง มั่นคงและไม่ขึ้นกับว่าเลือกใช้แบบจ�ำลองชนิดใด การ
(sample size) ได้ซึ่งจะส่งผลให้รูป funnel มีลักษณะ วิเคราะห์ความไวนี้ อาจท�ำเพื่อประเมินความไวของ
แตกต่างกัน ทั้งนี้ Sterene และคณะ แนะน�ำให้สร้าง ผลการศึ ก ษาต่ อ ข้ อ ก�ำหนดอื่ น ๆ หรื อ ปั จ จั ย อื่ น ๆ
funnel plot ในแกน y โดยใช้ค่าความคลาดเคลื่อน ได้ เช่ น การวิ เ คราะห์ ค วามไว เมื่ อ ตั ด งานวิ จั ย ที่
มาตรฐาน (SE)34 (รูปที่ 5) คุณภาพต�่ำกว่าเกณฑ์ออก เป็นต้น ดังนั้นการวิเคราะห์
การประเมิ น funnel plot ว่ า มี ค วาม ความไวจึงเป็นวิธีหนึ่งที่ส�ำคัญในการประเมินความ
สมมาตรหรือไม่นั้น เป็นเรื่องที่ไม่สามารถวัดได้ชัดเจน มั่นคงของผลการศึกษาจากการวิเคราะห์อภิมานต่อ
ดั ง นั้ น จึ ง ได้ มี ก ารเสนอวิ ธี ก ารทดสอบทางสถิ ติ ที่ ปัจจัยหรือข้อก�ำหนดต่างๆ
สามารถใช้ ต รวจสอบอคติที่เ กิดจากการตีพิมพ์ วิธี

ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๙ 9


บทความพิเศษ
สุรศักดิ์ เสาแก้ว

แนวทางในการก�ำหนดปัจจัยหรือข้อก�ำหนด ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์อภิมานไปใช้ ทั้งนี้การเลือก


นั้น อาจพิจารณาได้จากหลักการของ PICOS คือ ประเด็นหรือข้อก�ำหนดในการวิเคราะห์ความไวนั้น
1) ลักษณะกลุม่ ตัวอย่าง (Population) เช่น วิเคราะห์ ขึ้นอยู่กับบริบทของเรื่องที่ท�ำวิจัยและจ�ำนวนงานวิจัย
ตามข้อมูลอายุ เพศ หรือโรคร่วม ที่น�ำมาวิเคราะห์อภิมาน
2) ลักษณะของสิ่งแทรกแซง (Intervention) เช่น บทสรุป
ขนาดยา ความถี่ของการได้รับยา การน�ำข้อมูลการวิจัยไปใช้ทางเวชปฏิบัติ
3) ลักษณะของตัวเปรียบเทียบ (Comparator) เช่น นั้ น จ�ำเป็ น อย่ า งมากที่ จ ะต้ อ งพิ จ ารณาอย่ า งรอบ
การใช้ยาหลอก การใช้การรักษามาตรฐาน ครอบบนหลักฐานเชิงประจักษ์ การสืบค้นข้อมูลอย่าง
4) ลักษณะของผลลัพธ์ (Outcomes) เช่น ระยะเวลา เป็นระบบให้รอบด้านและการอ่านงานวิจัยอย่างมี
ในการวัดผลลัพธ์ (อาจเป็น 1 ปี หรือน้อยกว่า) วิจารณญาณนั้น จะท�ำให้ผู้อ่านเข้าใจจุดแข็งจุดอ่อนข
เครื่องมือในการวัด (เช่นคุณภาพชีวิตอาจวัดด้วย องงานวิจยั สามารถพิจารณาและน�ำข้อมูลมาประกอบ
SF-36, EQ-5D) กับการดูแลคนไข้บนพื้นฐานของหลักฐานเวชศาสตร์
5) สถานที่ด�ำเนินการศึกษา (Setting) เช่น ศึกษาใน เชิงประจักษ์ที่มีได้ ทั้งนี้ต้องอาศัยการฝึกฝน ติดตาม
ประชากรทั่วไป ศึกษาในผู้ป่วยใน ศึกษาในโรง องค์ความรู้ทางคลินิกอย่างใกล้ชิด มีกระบวนการอ่าน
พยาบาลขนาดใหญ่หรือโรงพยาบาลชุมชน งานวิจัยอย่างมีวิจารณญาณ และประมวลองค์ความรู้
6) รูปแบบการศึกษา (Study design) เช่น การ จากงานวิจัยต่างๆ ออกมาเป็นบทสรุปได้ อันจะช่วย
ทดลองแบบสุ่ม การศึกษาเชิงสังเกต ให้บุคลากรทางการแพทย์ตัดสินใจเลือกใช้แนวทางใน
นอกจากประเด็นหลักที่กล่าวมาแล้ว ควรมี การดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
การวิเคราะห์ความไวตามคุณภาพของการศึกษาเชิง เอกสารอ้างอิง
ระเบียบวิธีวิจัยด้วย ส�ำหรับการประเมินคุณของงาน 1. Druss BG, Marcus SC. Growth and
วิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มใช้แบบประเมินของ “JADAD decentralization of the medical literature:
scale”7 นอกจากนี้ยังมีการประเมินคุณภาพที่ได้รับ implications for evidence-based medi-
การเสนอโดยทีม Cochrane collaboration และได้ cine. J Med Libr Assoc. 2005;93(4):
รับการยอมรับค่อนข้างสูงคือ การประเมินความเสี่ยง 499-501.
ต่อการมีอคติ (risk of bias)8 ในกรณีที่เป็นรูปแบบ 2. Young JM, Solomon MJ. How to critically
การศึกษาเชิงสังเกต ซึ่งมีความเสี่ยงสูงในแง่ความถูก appraise an article. Nat Clin Pract
ต้อง (internal validity) การประเมินคุณภาพการ Gastroenterol Hepatol. 2009;6(2):82-91.
ศึ ก ษาเชิ ง สั ง เกตจึ ง มี ค วามจ�ำเป็ น อย่ า งมาก การ 3. The Francis A. Countway Library of
ประเมินคุณภาพของการศึกษาเชิงสังเกตนั้นมีเครื่อง Medicine. Systematic Reviews and Meta
มือ 2 ชนิดที่ได้รับความนิยมและได้รับการแนะน�ำจาก Analysis: a resource for finding data
คณะ Cochrane Collaboration Working Group sources, filters, and standards to support
คือ Newcastle Ottawa Scale36 และ Downs and systematic searches of the biomedical
Black37 literature 2015 [cited 2015 December 2].
การวิเคราะห์ความไวนั้น มีความส�ำคัญและ Available from: http://guides.library.
ความจ�ำเป็นในการวิเคราะห์อภิมาน เพราะจะช่วยให้ harvard.edu/meta-analysis.
ผู ้ วิ จั ย และผู ้ อ ่ า นงานวิ จั ย มี ค วามมั่ น ใจในการน�ำ

10 >>เชียงรายเวชสาร :: CHIANGRAI MEDICAL JOURNAL


บทความพิเศษ
การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study

4. Verde PE, Ohmann C. Combining 10. Liberati A, Altman DG, Tetzlaff J, Mulrow
randomized and non-randomized C, Gotzsche PC, Ioannidis JP, et al. The
evidence in clinical research: a review of PRISMA statement for reporting
methods and applications. Res Synth systematic reviews and meta-analyses
Methods. 2015;6(1):45-62. of studies that evaluate healthcare
5. Cameron C, Fireman B, Hutton B, Clifford interventions: explanation and
T, Coyle D, Wells G, et al. Network elaboration. BMJ. 2009;339:b2700.
meta-analysis incorporating randomized 11. Kazrin A, Durac J, Agteros T. Meta-meta
controlled trials and non-randomized analysis: a new method for evaluating
comparative cohort studies for assessing therapy outcome. Behav Res Ther.
the safety and effectiveness of medical 1979;17(4):397-9.
treatments: challenges and 12. Moher D, Liberati A, Tetzlaff J, Altman
opportunities. Syst Rev. 2015;4(1):147. DG. Preferred reporting items for
6. Saokaew S, Permsuwan U, Chaiyakunapruk systematic reviews and meta-analyses:
N, Nathisuwan S, Sukonthasarn A. the PRISMA statement. Ann Intern Med.
Effectiveness of pharmacist-participated 2009;151(4):264-9, w64.
warfarin therapy management: a 13. Pai M, McCulloch M, Gorman JD, Pai N,
systematic review and meta-analysis. J Enanoria W, Kennedy G, et al. Systematic
Thromb Haemost. 2010;8(11):2418-27. reviews and meta-analyses: an illustrated,
7. Jadad AR, Moore RA, Carroll D, Jenkinson step-by-step guide. Natl Med J India.
C, Reynolds DJ, Gavaghan DJ, et al. Assessing 2004;17(2):86-95.
the quality of reports of randomized 14. Sutton AJ, Abrams KR, Jones DR. An
clinical trials: is blinding necessary? Control illustrated guide to the methods of meta-
Clin Trials. 1996;17(1):1-12. analysis. J Eval Clin Pract. 2001;7(2):135-
8. Higgins J, Altman D, Sterne J. Assessing 48.
risk of bias in included studies. In: Higgins 15. Petitti D. Meta-analysis, decision analysis,
J, Green S, editors. Cochrane Handbook and cost-effectiveness analysis. 2 ed.
for Systematic Reviews of Interventions: New York: Oxford University Press; 2000.
The Cochrane Collaboration; 2009. 16. DerSimonian R, Laird N. Meta-analysis in
9. Moher D, Cook DJ, Eastwood S, Olkin I, clinical trials. Control Clin Trials.
Rennie D, Stroup DF. Improving the 1986;7(3):177-88.
quality of reports of meta-analyses of 17. Laopaiboon M, Lumbiganon P. Research
randomised controlled trials: the synthesis in healthcare. Khon Khaen:
QUOROM statement. Quality of Report- Klungnanawittaya; 2009.
ing of Meta-analyses. Lancet. 18. Sudchada P, Saokaew S, Sridetch S,
1999;354(9193): 1896-900. Incampa S, Jaiyen S, Khaithong W. Effect

ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๙ 11


บทความพิเศษ
สุรศักดิ์ เสาแก้ว

of folic acid supplementation on plasma 207-16.


total homocysteine levels and glycemic 28. Sterne JA, Harbord R. Funnel plots in
control in patients with type 2 diabetes: meta-analysis. The Stata Journal.
a systematic review and meta-analysis. 2004;4(2):127-41.
Diabetes Res Clin Pract. 2012;98(1):151-8. 29. Palmer T, Peters J, Sutton AJ, Moreno S.
19. Thompson SG. Why sources of Contour-enhanced funnel plots for
heterogeneity in meta-analysis should meta-analysis. The Stata Journal.
be investigated. BMJ. 1994;309(6965): 2008;8(2):242-54.
1351-5. 30. Steichen T. Tests for publication bias in
20. Thompson SG, Sharp SJ. Explaining meta-analysis. The Stata Technical
heterogeneity in meta-analysis: a Bulletin. 1998;STB-41(sbe19):9-15.
comparison of methods. Stat Med. 31. Harbord R, Harris R, Sterne JA. Updates
1999;18(20):2693-708. test for small-study effects in
21. Whitehead A, Whitehead J. A general meta-analysis. The Stata Journal.
parametric approach to the meta- 2009;9(2):197-210.
analysis of randomized clinical trials. 32. Sterne JA, Gavaghan D, Egger M.
Stat Med. 1991;10(11):1665-77. Publication and related bias in meta-
22. Fleiss JL. The statistical basis of analysis: power of statistical tests and
meta-analysis. Stat Methods Med Res. prevalence in the literature. J Clin
1993;2(2):121-45. Epidemiol. 2000;53(11):1119-29.
23. Glasziou PP, Sanders SL. Investigating 33. Egger M, Davey Smith G, Schneider M,
causes of heterogeneity in systematic Minder C. Bias in meta-analysis detected
reviews. Stat Med. 2002;21(11):1503-11. by a simple, graphical test. BMJ.
24. Higgins JP, Thompson SG, Deeks JJ, 1997;315(7109):629-34.
Altman DG. Measuring inconsistency in 34. Sterne JA, Egger M. Funnel plots for
meta-analyses. BMJ. 2003;327(7414):557- detecting bias in meta-analysis:
60. guidelines on choice of axis. J Clin
25. Higgins JP, Thompson SG. Quantifying Epidemiol. 2001;54(10):1046-55.
heterogeneity in a meta-analysis. Stat 35. Egger M, Smith G, Altman D. Systematic
Med. 2002;21(11):1539-58. review in health care: meta-analysis in
26. Easterbrook PJ, Berlin JA, Gopalan R, context. 2 ed. London: BMJ Publishing
Matthews DR. Publication bias in clinical group; 2001.
research. Lancet. 1991;337(8746):867-72. 36. Wells G, Shea B, O’Connell D, Peterson
27. Thornton A, Lee P. Publication bias in J, Welch V, Losos M, et al. The Newcastle-
meta-analysis: its causes and Ottawa Scale (NOS) for assessing the
consequences. J Clin Epidemiol. 2000;53(2): quality of nonrandomised studies in

12 >>เชียงรายเวชสาร :: CHIANGRAI MEDICAL JOURNAL


บทความพิเศษ
การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study

meta-analyses 2015 [cited 2015


December 1]. Available from: http://
www.ohri.ca/programs/clinical_epidemi-
ology/oxford.asp.
37. Downs SH, Black N. The feasibility of
creating a checklist for the assessment
of the methodological quality both of
randomised and non-randomised studies
of health care interventions. J Epidemiol
Community Health. 1998;52(6):377-84.

ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๙ 13


บทความพิเศษ
สุรศักดิ์ เสาแก้ว

แบบทดสอบการศึกษาต่อเนื่อง
สำ�หรับผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
จำ�นวนหน่วยกิตที่ได้รับ หน่วยกิต
1. ข้อใดไม่ใช่กระบวนด�ำเนินการวิจัยแบบการสืบค้น ง. งานวิจัยนี้ไม่มี publication bias เนื่องจาก
ข้อมูลอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมาน ผลการศึกษาไปทางเดียวกัน
ก. Analysis จ. งานวิ จั ย นี้ มี heterogeneity การใช้
ข. Selection random effects model จึงเหมาะสมแล้ว
ค. Randomization 4. จากรูป ข้อใดต่อไปนี้กล่าว ไม่ถูกต้อง
ง. Abstraction
จ. Identification
2. การวิเคราะห์ข้อมูลอภิมานแบบ fixed-effect
model เหมาะสมกับงานวิจัยที่มีลักษณะเช่นใด
ก. No publication bias
ข. Homogenous
ค. Heterogenous
ง. Either homogenous or heterogenous
จ. N e i t h e r h o m o g e n o u s n o r ก. งานวิจัยของ Mangoni AA (2005) มีผลต่อ
heterogenous ผลสรุปของงานวิจัยนี้มากที่สุด
ข. งานวิจัยนี้สามารถสรุปได้ว่าการรับประทาน
folic acid สามารถลด HbA1c ได้
ค. จากรูปไม่สามารถบอกได้ว่ามี publication
bias หรือไม่
ง. งานวิ จั ย นี้ มี heterogeneity การใช้
random effects model จึงเหมาะสมแล้ว
จ. โดยสรุปแล้ว การรับประทาน folic acid มี
แนวโน้มลด HbA1c 0.37 หน่วย
3. จากรูป ข้อใดต่อไปนี้กล่าว ไม่ถูกต้อง
ก. รูปนี้เรียกว่า forest plot
ข. งานวิจัยของ Mangoni AA (2005) มีผลต่อ
ผลสรุปของงานวิจัยนี้มากที่สุด
ค. งานวิจัยนี้สามารถสรุปได้ว่าการรับประทาน
folic acid สามารถลด serum homicysteine
ได้

14 >>เชียงรายเวชสาร :: CHIANGRAI MEDICAL JOURNAL


บทความพิเศษ
การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study

5. การวิเคราะห์อภิมานโดยรวบรวมการศึกษาเชิง ข. กราฟนี้ ใ ช้ แ สดงผลรวมของการวิ เ คราะห์


ทดลองแบบสุ ่ ม เพื่ อ ศึ ก ษาประสิ ท ธิ ผ ลของ อภิมาน เรียกว่า Funnel plot
azathioprine (AZA) and mercaptopurine ค. เนื่องจากการศึกษานี้ไม่มีหลักฐานว่ามีความ
(MP) เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้ยา (control) ต่างแบบกัน (heterogeneity) จึงรวมกัน
ในการป้ อ งการกลั บ มาเป็ น ซ�้ ำ ในผู ้ ป ่ ว ย แบบ fixed-effect model
ulcerative colitis ได้ผลดังตาราง ข้อใด้กล่าว ง. การศึกษาที่ผลต่อผลรวม (pooled effect
ถูกต้องที่สุด size) มากที่สุดคือ Sood 2003 เนื่องจากมี
ก. ในการศึกษานี้รวบรวมการศึกษามาทั้งหมด ทิศทางตรงกันข้ามกับการศึกษาอื่นๆ
6 การศึกษา โดยมี 1 การศึกษาที่แสดงว่า จ. การศึ ก ษาที่ ผ ลต่ อ ความต่ า งแบบกั น
AZA/MP มีประสิทธิผลดีกว่า control (heterogeneity) มากที่สุดคือ Sood 2003
เนื่องจากมีทิศทางตรงกันข้ามกับการศึกษา
อื่นๆ

ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๙ 15


บทความพิเศษ
สุรศักดิ์ เสาแก้ว

6. การวิเคราะห์อภิมานโดยรวบรวมการศึกษา ศึกษาบางการศึกษาถูกตัดออกไป
เชิงทดลองแบบสุ่ม เพื่อศึกษาประสิทธิผล ค. เพื่ อ ทดสอบผลของค่ า อิ ท ธิ พ ลหากมี ก าร
ของ azathioprine (AZA) and mercap- ศึกษาบางการศึกษาเติมเข้ามา
topurine (MP) เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้ ง. เพื่อทดสอบผลของค่าอิทธิพลกรณีที่มีการ
ยา (control) ในการป้องการกลับมาเป็นซ�้ำ วิเคราะห์แยกกลุ่มย่อย
ในผู้ป่วย ulcerative colitis ได้ผลดังตาราง จ. เพื่อทดสอบผลของค่าอิทธิพลหากมีการแยก
ข้อใด้กล่าวถูกต้องที่สุด วิเคราะห์การศึกษาตามรูปแบบงานวิจัย
ก. การศึกษานี้พบว่า AZA/MP มีประสิทธิผล 8. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ Funnel plot
ด้อยกว่า control เนื่องจาก odds ratio มี ก. สามารถบอกอิทธิพลของการศึกษาที่มีขนาด
ค่าเป็นบวก แสดงว่าเพิ่มความเสี่ยงมากกว่า ใหญ่ได้
กลุ่ม control ข. สามารถใช้ทดสอบความต่างแบบกันของการ
ข. การศึกษานี้พบว่า AZA/MP มีประสิทธิผล ศึกษาได้
เทียบเท่า control อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ค. การวิเคราะห์อภิมานที่ไม่มี publication
เนื่องจากมีค่า p-Value = 0.22 bias คือต้องมีการกระจายของการศึกษา
ค. การศึกษานี้พบว่า AZA/MP มีประสิทธิผลดี รอบๆ ค่าผลรวมอิทธิพลเท่าๆ กันทั้ง 2 ฝั่ง
กว่ า control อย่ า งมี นั ย ส�ำคั ญ ทางสถิ ติ ง. การวิเคราะห์อภิมานทีม่ ีการกระจายของการ
เนื่องจากมีช่วงความเชื่อมั่นที่ 95% เท่ากับ ศึกษารอบค่าผลรวมอิทธิพลไม่เท่ากันทั้ง 2
1.51 – 4.34 ฝั่งนั้น จะมี publication bias เสมอ
ง. ยังไม่สามารถสรุปได้ เนื่องจากการศึกษาที่ จ. ไม่มีข้อใดถูก
น�ำมาวิเคราะห์ความต่างแบบกัน 9. ข้อใด้กล่าวถูกต้อง
(heterogeneity) สูง ก. การศึกษาที่ที่ผลลัพธ์รายงานผลเป็นค่าตัว
จ. ยังไม่สามารถสรุปได้ เนื่องจากการศึกษานี้มี แปรกลุ่ม จะรวมค่าผลรวมอิทธิพลด้วยค่า
ขนาดตั ว อย่ า งน้ อ ย (n=236) ไม่ มี ก�ำลั ง risk ratio เสมอ
(power) ในการทดสอบความแตกต่าง ข. การศึกษาที่ที่ผลลัพธ์รายงานผลเป็นค่าตัว
7. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ความไว แปรกลุ่ม จะรวมค่าผลรวมอิทธิพลด้วยค่า
ในการวิเคราะห์อภิมาน odds ratio เสมอ
ก. เพื่ อ ประเมิ น ผลของการศึ ก ษากรณี ที่ มี ค. การศึกษาที่ที่ผลลัพธ์รายงานผลเป็นค่าตัว
ตัวอย่างน้อย แปรกลุ่ม จะรวมค่าผลรวมอิทธิพลด้วยค่า
ข. เพื่ อ ทดสอบผลของค่ า อิ ท ธิ พ ลหากมี ก าร hazard ratio เสมอ

16 >>เชียงรายเวชสาร :: CHIANGRAI MEDICAL JOURNAL


บทความพิเศษ
การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน
Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study

ค. การศึกษาที่ท่ีผลลัพธ์รายงานผลเป็นค่าตัว
แปรต่อเนื่อง จะรวมค่าผลรวมอิทธิพลด้วย
ค่า weighted mean difference (WMD)
หากวัดด้วยเครื่องมีที่สเกลการวัดเดียวกัน
ง. การศึกษาที่ท่ีผลลัพธ์รายงานผลเป็นค่าตัว
แปรต่อเนื่อง จะรวมค่าผลรวมอิทธิพลด้วย
ค่า standard mean difference (SMD)
หากวัดด้วยเครื่องมีที่สเกลการวัดเดียวกัน
10. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. การศึกษาที่มีค่า I2 เกินกว่า 75% ห้ามน�ำมา
รวมกัน
ข. การศึกษาที่มีค่า I2 เกินกว่า 75% สามารถ
น�ำมารวมกัน โดยใช้ fixed-effect model
หรือ random-effect model ก็ได้
ค. การศึกษาที่มีค่า I2 ระหว่าง 50% - 75%
หากจะน�ำมารวมกัน ควรใช้ fixed-effect
model
ง. การศึกษาที่มีค่า I2 ระหว่าง 50% - 75%
หากจะน�ำมารวมกั น ควรใช้ random-
effect model
จ. ไม่มีข้อใดถูก
* หมายเหตุ ผ้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สามารถส่งค�ำตอบมาที่
crm-jounal@hotmail.com หรื อ www.crhospital.org/cmj
โดยระบุ ชื่อ นามสกุล และหมายเลขใบประกอบวิชาชีพ

ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑/๒๕๕๙ 17


เชี ย งรายเวชสาร
ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡Òà âç¾ÂÒºÒÅàªÕ§ÃÒ»ÃЪҹØà¤ÃÒÐˏ
ปท่ี 8 ฉบับที่ 1/2559

Chiangrai Medical Journal

You might also like