You are on page 1of 41

อุตสหกรรมการบิน ธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU)

วิวฒ
ั นาการด้ านการบินของโลก
มนุษย์มีความต้องการที่จะบินได้มาตั้งแต่อดีตกาล ได้มีการค้นคว้าทดลองตลอดมาและเริ่ มเป็ นรู ปเป็ นร่ าง
เมื่อ เลโอนาโด ดา วินชี ได้สังเกตพฤติกรรมการบินของนก และได้สร้างแบบและอุปกรณ์ดา้ นการบินขึ้น

ต่อมาพี่นอ้ งตระกูลมงต์โกลฟิ เย ได้คิดทาบอลลูนที่เบากว่าอากาศขึ้นและใช้ในการขนส่ งได้จริ ง

หลังจากนั้นก็ได้มีการพัฒนาต่อยอดด้านการบินอย่างต่อเนื่ อง บวกกับเทคโนโลยีที่กา้ วหน้ามากขึ้น

ในที่สุด ในปี ค.ศ. 1900 สองพี่นอ้ งตระกูลไรต์ (Orville และ Wilbur Wright) ประสบความสาเร็ จในการ
สร้างเครื่ องร่ อนที่สามารถควบคุมการบินได้ทุกทิศทาง

จากนั้นในปี ค.ศ.1903 ทั้งสองได้ออกแบบเครื่ องบินสองเครื่ องยนต์ ปี กสองชั้นชื่ อ "The Kitty Hawk


Flyer" และได้ทดลองบินและประสบความสาเร็ จ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ.1903 ณ มลรัฐแคโรไลนา
สหรัฐอเมริ กา ถือเป็ นประวัติศาสตร์ การบินครั้งสาคัญที่อากาศยานประเภทหนักกว่าอากาศบินได้สาเร็ จ

ตั้งแต่ยคุ โบราณมนุษย์ให้ความสาคัญกับปี ก และมีความต้องการที่จะบินได้อย่างนก อารยธรรมต่างๆมี


ความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการบิน เช่น เทพเจ้าต่างๆจะมีความสามารถพิเศษหลากหลาย นัน่ รวมถึง
ความสามารถในการบิน และปี กยังเป็ นสัญลักษณ์ของสิ่ งวิเศษและความดีงาม ด้วยข้อจากัดทางสรี ระ
ร่ างกายทาให้มนุษย์ไม่สามารถบินได้ แต่ดว้ ยความสามารถของสมองที่เป็ นเลิศมนุษย์เราได้พยายามค้นหา
วิธีการที่จะบิน ดังปรากฎในประวัติศาสตร์ การบินต่อไปนี้

ค.ศ. 1452-1519 เลโอนาโด ดา วินซี (Leonardo da Vinci) ศึกษารายละเอียดการบินของนกและวาดรู ป


จาลองต่างๆไว้มากมาย และได้ถูกใช้เป็ นพื้นฐานแนวคิดด้านการบินจนถึงปั จจุบนั อาทิเช่น เฮลิคอปเตอร์ ที่
ใช้ในยุคปัจจุบนั มีตน้ แบบมาจากแนวคิดของเลโอนาโด ดา วินซี

ค.ศ. 1783 พี่นอ้ งตระกูลมงต์โกลฟิ เย (Joseph and Jacques Montgolfier) ได้ประดิษฐ์บอลลูนที่เบากว่า


อากาศ โดยเติม ไอน้ า และก๊าซไฮโดรเจน ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่เบากว่าอากาศเพื่อให้เกิดแรงยก ต่อจากนั้นได้มีการ
คิดค้นเครื่ องกลที่เบากว่าอากาศ และผูท้ ี่ประสบความสาเร็ จในการสร้างยานที่เบากว่าอากาศ คือ เคาน์ แฟร์ ดิ
นานด์ ฟอน เชปปลิน (Count Ferdinand von Zeppelin)
ค.ศ. 1804 จอร์จ เคลีย ์ (George Cayley) ได้ออกแบบเครื่ องร่ อนโดยใช้หลักการจากว่าวกระดาษ และ
การศึกษาการบินของนก โดยเครื่ องร่ อนของเคลียส์ ามารถร่ อนไปได้ไกลถึง 60 ฟุต ต่อมาในปี ค.ศ. 1809
เคลียป์ ระสบความสาเร็ จในการสร้างเครื่ องร่ อนที่ร่อนจากเนินโดยไม่มีคนบังคับ และได้อธิ บายการหลักการ
ในการใช้กาลังต้านกับแรงต้านของอากาศ เพื่อทาให้พ้นื ผิวรับน้ าหนักที่กาหนดได้

ต่ อมาในปี ค.ศ. 1891 ออตโต ลิเลียนธัล (Otto Lilienthal) ได้พฒั นารู ปแบบเครื่ องร่ อนจากผลงานของเค
ลีย ์ โดยใช้ไม้ที่มีลกั ษณะพิเศษเป็ นโครงในการยึดผืนผ้าใบ และทาการร่ อนจากเนิ นดินสู ง เครื่ องร่ อนของออ
ตโตจะมีคนบังคับ โดยผูบ้ งั คับเครื่ องร่ อนจะแขวนตนเองไว้ที่ก่ ึงกลางของเครื่ องร่ อน และใช้วธิ ี ขยับตัวไป
มาเพื่อทาให้เครื่ องร่ อนไปในทิศทางที่ตอ้ งการ ซึ่ งถือได้วา่ ออตโต ลิเลียนธัล เป็ นผูส้ ร้างเครื่ องร่ อนที่มีคน
บังคับเป็ นคนแรกของโลก แต่ในที่สุดเขาเสี ยชีวติ เนื่ องจากเครื่ องร่ อนตกกระทบพื้น แต่ผลงานของเขาถูกใช้
เป็ นต้นแบบในการสร้างเครื่ องบินรุ่ นต่อๆ มา

ความสาเร็ จที่สาคัญของวงการการบินนั้น อยูใ่ นช่วงปี ค.ศ. 1903 โดยพี่นอ้ งตระกูลไรต์ (Wright) ออ


วิลล์ ไรต์ และ วิลเบอร์ ไรต์ (Orville - Wilbur Wright) ชาวสหรัฐอเมริ กาได้ออกแบบเครื่ องบินสอง
เครื่ องยนต์ ปี กสองชั้นชื่ อ “The Kitty Hawk Flyer” และได้ทาการทดลองบินและประสบความสาเร็ จ เมื่อ
วันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1903 ที่เมือง Kitty Hawk มลรัฐแคโรไลน่าเหนื อ สหรัฐอเมริ กา

นอกจากประโยชน์ทางด้านการคมนาคมแล้ว เครื่ องบินยังมีบทบาทสาคัญทางการทหารเป็ นอย่างมาก


โดยประเทศใดสามารถยึดครองน่านฟ้ าได้ จะทาให้ได้เปรี ยบเป็ นอย่างมากในการสงคราม โดยเครื่ องบิน
สาหรับการทหารนั้นมีหลากหลายรู ปแบบ แต่ละแบบก็มีวตั ถุประสงค์ทางการทหารต่างกัน เช่น เครื่ องบิน
ลาดตระเวน เครื่ องบินรบ เครื่ องบินลาเลียง เป็ นต้น
ความเป็ นมา ของการบินของไทย
การบินในประเทศไทยเริ่ มมีบทบาทขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั โดยมีนกั บินชาว
เบลเยีย่ มคือ นายวัลเดน เบอร์ น (Vanden Born) ได้นาเครื่ องบินแบบออร์วลิ ล์ ไรท์ (Orwille Wright) มา
สาธิตการบินถวายให้ทอดพระเนตร และให้ประชาชนในกรุ งเทพฯ ชม เมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2454 ณ
สนามราชกรี ฑาสโมสร ปทุมวัน นับเป็ นเครื่ องบินลาแรกที่บินเข้ามาในราชอาณาจักร โดย นายพลตรี พระ
เจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นกาแพงเพชรอัครโยธิ น (พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระกาแพงเพชรอัคร
โยธิน) ผูบ้ ญั ชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และจเรทหารช่างแห่งกองทัพบก ได้ทรงเป็ นผูโ้ ดยสารที่ข้ ึน
บินทดลองชุดแรก เมื่อเสร็ จการแสดงแล้วได้ทรงซื้ อเครื องบินนั้นไว้เพื่อประโยชน์แก่การศึกษา และในปี
พ.ศ. 2454 นั้นเอง กระทรวงกลาโหม ได้ส่งนายทหารไทย 3 นาย ไปศึกษาวิชาการบิน ณ ประเทศฝรั่งเศส
เมืองวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2454

เมื่อนายทหารทั้ง 3 นาย จบการศึกษา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 6) ทรงให้


จัดซื้ อเครื่ องบินบรรทุกเรื อกลับมาประเทศไทย จานวน 8 ลา หลังจากนั้นได้มีการก่อตั้งแผนกการบินทหาร
โดยใช้สนามราชกรี ฑาสโมสรเป็ นสนามบิน และสร้างโรงเก็บเครื่ องบินขึ้นในบริ เวณนั้น และในปี พ.ศ.
2457 กระทรวงกลาโหมได้ดาเนินการก่อสร้างสนามบินดอนเมืองแล้วเสร็ จ เพื่อเป็ นสนามบินที่ใช้ในกิจการ
ทหาร และได้เลื่อนฐานะแผนกการบินทหารยกขึ้นเป็ นกรม และได้เคลื่อนย้ายจากสนามราชกรี ฑาสโมสร
ไปสู่ ที่ต้ งั ใหม่ที่ดอนเมืองจนถึงปี พ.ศ. 2491 ท่าอากาศยานดอนเมืองได้เข้ามาอยูใ่ นการควบคุมดูแลของ
กรมการบินพลเรื อน กองทัพอากาศ (และในปี พ.ศ. 2499 ได้เปลี่ยนชื่อท่าอากาศยานดอนเมืองเป็ นท่าอากาศ
ยานกรุ งเทพ แต่ยงั คงสังกัดกองทัพอากาศอยู)่ ท่าอากาศยานดอนเมืองให้เป็ นสนามบินหลักของประเทศ
และได้รับการพัฒนาสร้างเสริ มต่อเติมมาจนกระทัง่ ปั จจุบนั

เมื่อ พ.ศ. 2462 ได้มีการทดลองทาการบินรับส่ งไปรษณี ยร์ ะหว่างกรุ งเทพฯ กับจันทบุรีดว้ ยเครื่ องบินเบร
เกต์ (Breguet XIV) ซึ่ งเป็ นเครื่ องบินทหารที่ได้ดดั แปลงมาใช้งานขนส่ งทางอากาศ การทดลองทาการบิน
ได้ผลเป็ นที่น่าพอใจ ต่อมาจึงได้มีการขนส่ งผูโ้ ดยสารในเส้นทางนี้ดว้ ย จนกระทัง่ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน
2463 กรมอากาศยานทหารบกได้เปิ ดการบินรับส่ งไปรษณี ยร์ ะหว่างจังหวัดนครราชสี มากับจังหวัด
อุบลราชธานีข้ ึน เส้นทางบินได้ขยายออกไปยังจังหวัดอุดรธานี และหนองคาย มีเส้นทางบินอีกสายหนึ่งไป
ยังจังหวัดพิษณุ โลก และเพชรบูรณ์ แม้จะมีการขนส่ งผูโ้ ดยสารบ้าง แต่บริ การหลักก็ยงั คงเป็ นไปรษณี ยแ์ ละ
เป็ นการขนส่ งไปยังจังหวัดที่ยงั ไม่มีรถไฟเชื่อมถึง

ในปี พ.ศ. 2468 ประเทศไทยได้จดั ตั้งกองบินพลเรื อน กรมบัญชาการกระทรวงพาณิ ชย์และคมนาคม


และจากนั้นการบินพลเรื อนของประเทศได้มีหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบมาโดยตลอด
บุคคลสาคัญด้ านการบินของไทย
1. กิจการบินของไทยเริ่ มต้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั

2. นายชาร์ลส์ แวน เด็น บอร์น (Charles Van Den Born) ชาวเบลเยียมได้นาเครื่ องบินแบบอังรี
ฟาร์มงั 4 (Henry Farman 4) ปี ก2ชั้น มาแสดงการบินเป็ นครั้งแรกในประเทศไทย ที่สนามม้า
สระปทุม (ราชกรี ฑาสโมสร)

3. พันตรี หลวงศักดิ์ศลั ยาวุธ (สุ ณี สุ วรรณประทีป) เป็ นคนสามัญชนคนไทยคนแรกขึ้นบิน

4. นายพลเอก พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ าจักรพงษ์ภูวนารถ กรมหลวงพิษณุ โลกประชานาถ เสนาธิ


การทหารบก และ นายพลโท พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นกาแพงเพชรอัครโยธิน ตาแหน่งจเร
ทหารช่าง ได้เสด็จขึ้นทาการบินกับนักบินเบลเยีย่ มด้วย

5. พลเอก พระบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรี สุรเดช เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสด็จไป


ยุโรป ได้ทรงทราบข่าวว่าประเทศฝรั่งเศสกาลังปรับปรุ งกิจการการทหารอย่างกว้างขวางกว่า
ประเทศอื่นๆ เมื่อเสด็จกลับมาแล้วได้ทรงปรึ กษากับ พลเอก สมเด็จเจ้าฟ้ าจักรพงษ์ภูวนารถ กรม
หลวงพิษณุโลกประชานารถ ถึงความจาเป็ นต้องมีเครื่ องบินไว้ใช้ป้องกันประเทศเหมือนอารยะ
ประเทศ ที่เขากาลังเร่ งดาเนินการอยู่ ด้วยเหตุเหล่านี้ กระทรวงกลาโหมจึงได้ดาริ จะจัดตั้งกิจการ
บินขึ้นเป็ นแผนกหนึ่งของกองทัพบก

6. นายทหารสามคนที่ได้ไปศึกษาวิชาการบินยังประเทศฝรั่งเศส และถือเป็ น “บุพการี ทหาร


อากาศ” คือ

6.1. นายพันตรี หลวงศักดิ์ศลั ยาวุธ ( สุ ณี สุ วรรณประทีป) ไปเรี ยนที่โรงเรี ยนการบินของเบร


เกต์ เมืองวิลลาคูเบลย์

6.2. นายร้อยเอก หลวงอาวุธสิ ขิกร (หลง สิ นศุข) ไปเรี ยนที่โรงเรี ยนการบินนิเออปอรต์


เมืองมูร์เมอ ลอง กรองด์

6.3. นายร้อยโท ทิพย์ เกตุทตั ไปเรี ยนที่โรงเรี ยนการบินนิเออปอรต์ เมืองมูร์เมอ ลอง กรองด์
7. เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ (ชุ่ม อภัยวงศ์) ได้บริ จาคเงินส่ วนตัว ซื้อเครื่ องบินแบบแบรเก๊ตให้แก่
กระทรวงกลาโหม 1เครื่ อง

8. จอมพลสมเด็จเจ้าฟ้ าจักรพงษ์ภูวนาถ ทรงย้ายที่ต้ งั แผนกการบิน มาที่ตาบลดอนเมืองตั้งแต่


วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2457 และทรงยกฐานะแผนกการบินเป็ น"กองบินทหารบก" ในวันที่ 27
มีนาคม พ.ศ. 2457 กระทรวงกลาโหมได้ยดึ ถือวันนี้เป็ น "วันที่ระลึกกองทัพอากาศ"

9. จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุ โลกประชานาถ


เป็ น "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย"

10. คณะรัฐมนตรี จึงได้มีมติเห็นชอบกาหนดให้วนั ที่ 13 มกราคมของทุกปี เป็ นวันการบิน


แห่งชาติ โดยเริ่ มตั้งแต่ พ.ศ. 2538 เป็ นต้นมา เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยูห่ วั

11. นาวาอากาศเอกเลื่อน พงษ์โสภณ เป็ นเจ้าของเครื่ องบินพลเรื อนลาแรกของไทย มีชื่อว่า


นางสาวสยาม
5As
องค์ ประกอบของอุตสาหกรรมการบินมี 5 องค์ ประกอบที่สาคัญ ดังนี้

1. อากาศยาน (Aircraft) ซึ่งในปัจจุบนั มีผผู้ ลิตอากาศยาน หรื อเครื่ องบินที่อุตสาหกรรมการบินพาณิ ชย์ให้


ความนิยมนามาทาการบิน ได้แก่ Boeing และ Airbus แต่ในปั จจุบนั มีบริ ษทั ผูผ้ ลิตเครื่ องบินสัญชาติจีน ได้
พัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตเครื่ องบินได้อย่างน่าสนใจ ได้แก่ บริ ษทั เครื่ องบินพาณิ ชย์แห่งจีน (โคแม็ก) ซึ่ ง
เป็ นรัฐวิสาหกิจด้านการผลิตอากาศยานของรัฐบาลปั กกิ่ง โดยได้ทาการเปิ ดตัวเครื่ องบินโดยสารรุ่ น ซี 919
ซึ่ งเป็ นอากาศยานรุ่ นแรกที่บริ ษทั ผลิตขึ้นเอง โดยมีสมรรถนะ และความจุใกล้เคียงกับ Boeing 737 และ
Airbus 320

2. หน่ วยงานด้ านการบิน (Authorities) คือ หน่วยงานที่ดูแล กากับ ควบคุม ต้องกฎระเบียบ ข้อบังคับด้าน
การบินให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล เช่น

● องค์การการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization: ICAO)

● สมาคมขนส่ งทางอากาศระหว่างประเทศ (International Air Transport Association: IATA)

● สานักงานบริ หารการบินแห่งชาติ (Federal Aviation Administration: FAA)

● องค์การความปลอดภัยด้านการบินแห่งสหภาพยุโรป (European Aviation Safety Agency: EASA)

● สานักงานการบินพลเรื อนแห่งประเทศไทย (Civil Aviation Authority of Thailand: CAAT / กพท.)

● กรมท่าอากาศยาน (Department of Airports: DOA)

3. สายการบิน (Airlines) ในการจัดตั้งสายการบินนั้น ผูป้ ระกอบการต้องขออนุญาต และมีใบอนุญาตต่างๆ


เพื่อทาการบิน เช่น

● การขออนุ ญาตรับขนผูโ้ ดยสารไม่เสี ยค่าโดยสารในเที่ยวบินประจาฯ

● ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการค้าขายในการเดินอากาศ

● ใบรับรองผูด้ าเนินการเดินอากาศ

สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ สานักงานการบินพลเรื อนแห่งประเทศไทย https://www.caat.or.th


4. ท่าอากาศยาน (Airport) ในประเทศไทยนั้น แบ่งตามผูด้ ูแลรับผิดชอบ ได้ 3 ประเภท ดังนี้ (ข้อมูล ณ วันที่
8 เมษายน 2560: https://www.caat.or.th)

1) ท่าอากาศยานในสังกัดบริ ษทั ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) ได้แก่ ท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ ท่า


อากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย และ ท่า
อากาศยานหาดใหญ่

2) ท่าอากาศยานในสังกัดบริ ษทั การบินกรุ งเทพ จากัด (มหาชน) ได้แก่ ท่าอากาศยานสมุย ท่าอากาศยาน


สุ โขทัย และ ท่าอากาศยานตราด

3) ท่าอากาศยานในสังกัดกรมท่าอากาศยาน ได้แก่ ท่าอากาศยานนอกเหนื อจากข้อ 1) และ 2)

5. การควบคุมจราจรทางอากาศ (Air Traffic Control) ในประเทศไทยนั้น การควบคุมจราจรทางอากาศ จะ


ดูแลโดย บริ ษทั วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด (Aeronautical Radio of Thailand Co., Ltd. :
AEROTHAI) ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลไทย ให้เป็ นหน่วยงานผูใ้ ห้บริ การการเดินอากาศของประเทศ มี
หน้าที่และความรับผิดชอบในการบริ หารจราจรทางอากาศ (Air Traffic Management) การบริ หาร
ระบบสื่ อสาร ระบบช่วยการเดินอากาศ และระบบติดตามอากาศยาน (Aeronautical Communications,
Navigation and Surveillance System/Services) การบริ การข่าวสารการเดินอากาศและงานแผนที่เดินอากาศ
(Aeronautical Information Services and Aeronautical Charts) รวมทั้งบริ การเกี่ยวเนื่อง และงานตาม
นโยบายรัฐบาล
3S (Safety, Security, Service)
นิยามศัพท์ (อ้างอิง: สานักงานการบินพลเรื อนแห่งประเทศไทย)

1. อากาศยานในระหว่างทาการบิน (Aircraft in Flight) อากาศยานอยูใ่ นระหว่างทาการบิน ณ จุดของเวลา


ใดๆเริ่ มจากขณะที่ประตูดา้ นนอกทั้งหมดของอากาศยานได้ถูกปิ ดลงหลังจากที่ผโู ้ ดยสารได้ข้ ึนบนอากาศ
ยานแล้ว จนถึงเวลาที่ประตูดงั กล่าวได้ถูกเปิ ดออกสาหรับให้ผโู ้ ดยสารลงจากอากาศยาน

2. อากาศยานไม่อยูใ่ นระหว่างให้บริ การ (Aircraft not in Service) อากาศยานที่จอดอยูเ่ ป็ นเวลามากกว่า 12


ชัว่ โมง หรื อไม่มีการตรวจตราอย่างเพียงพอเพื่อป้ องกันการเข้าถึงของผูไ้ ม่ได้รับอนุ ญาต

3. การกระทาอันเป็ นการแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (Acts of unlawful interference) การกระทาหรื อ


พยายามกระทาการที่เป็ นอันตรายต่อความปลอดภัยของการบินพลเรื อน ซึ่ งรวมถึงแต่ไม่จากัดอยูเ่ พียงการ
กระทา ดังต่อไปนี้

1) การยึดอากาศยานโดยมิชอบด้วยกฎหมาย

2) การทาลายอากาศยานในระหว่างบริ การ

3) การจับบุคคลในอากาศยานหรื อในสนามบินเป็ นตัวประกัน

4) การบุกรุ กโดยใช้กาลังเข้าไปในอากาศยานหรื อที่สนามบินหรื อบริ เวณที่ต้ งั สิ่ งอานวยความสะดวก


ในการเดินอากาศ

5) การนาอาวุธ อุปกรณ์หรื อวัตถุที่เป็ นอันตรายซึ่ งมีเจตนาเพื่อใช้ในการประกอบอาชญากรรมขึ้นไป


ในอากาศยานหรื อเข้าไปที่สนามบิน

6) การใช้อากาศยานในระหว่างบริ การเพื่อก่อให้เกิดความตาย การบาดเจ็บสาหัสหรื อความเสี ยหาย


อย่างร้ายแรงต่อทรัพย์สินหรื อสิ่ งแวดล้อม

7) การแจ้งข้อมูลอันเป็ นเท็จซึ่ งเป็ นอันตรายต่อความปลอดภัยของอากาศยานระหว่างการบิน หรื อ


ขณะอยูท่ ี่ภาคพื้น หรื อต่อความปลอดภัยของผูโ้ ดยสาร ผูป้ ระจาหน้าที่อากาศยาน เจ้าหน้าที่ภาคพื้นหรื อ
สาธารณชน ที่สนามบินหรื อในบริ เวณที่ต้ งั สิ่ งอานวยความสะดวกด้านการบินพลเรื อน
4. การก่อวินาศกรรม (Sabotage) การจงใจกระทาโดยมีเจตนาที่จะทาลายหรื อทาให้เกิดความเสี ยหายแก่
ทรัพย์สิน เป็ นผลให้เกิดอันตรายหรื อเป็ นผลให้เกิดการกระทาอันเป็ นการแทรกแซงโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
ต่อการบินพลเรื อนระหว่างประเทศและสิ่ งอานวยความสะดวกของการบินพลเรื อน

5. การขู่วางระเบิด (Bomb Threat) การข่มขู่ผา่ นช่องทางการสื่ อสาร ซึ่ งอาจจะทราบตัวผูก้ ระทาหรื อไม่
ทราบ โดยอาจจะเป็ นการแนะนาหรื อบอกเป็ นนัย ไม่วา่ จะเป็ นความจริ งหรื อเป็ นความเท็จ ว่าความปลอดภัย
ของอากาศยานขณะทาการบินหรื อระหว่างอยูท่ ี่พ้นื หรื อความปลอดภัยของสิ่ งอานวยความสะดวกทางการ
บินพลเรื อน หรื อความปลอดภัยของบุคคลได้ถูกคุกคามและอยูใ่ นสถานการณ์อนั ตรายจากระเบิดหรื อ
อุปกรณ์อื่นๆ

6. การรักษาความปลอดภัย (Security) การป้ องกันการบินพลเรื อนมิให้เกิดการกระทาอันเป็ นการแทรกแซง


โดยมิชอบด้วยกฎหมาย วัตถุประสงค์น้ ีจะสาเร็ จได้โดยการใช้มาตรการ บุคลากร และทรัพยากรอื่นที่
เกี่ยวข้องผสมผสานกัน

7. การควบคุมการรักษาความปลอดภัย (Security Control) วิธีการใดๆ ที่ใช้ในการป้ องกันไม่ให้มีการนา


อาวุธ วัตถุระเบิด กลอุปกรณ์ วัตถุหรื อสารอันตรายอย่างอื่นมาใช้ในการกระทาอันเป็ นการแทรกแซงโดยมิ
ชอบด้วยกฎหมาย

8. วัตถุอนั ตราย (Dangerous Goods) วัตถุหรื อสารใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดความเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ ความ
ปลอดภัย ทรัพย์สิน หรื อสิ่ งแวดล้อม และหมายถึงวัตถุหรื อสารใดๆที่อยูใ่ นรายการสิ นค้าอันตราย ใน
ข้อกาหนดทางเทคนิคสาหรับการขนส่ งวัตถุอนั ตรายทางอากาศโดยปลอดภัย

9. วัตถุตอ้ งสงสัย (Suspect Items) วัตถุใดๆ ที่อยูใ่ นที่ซ่ ึ งไม่ควรจะอยู่ วัตถุที่ถูกทิ้งไว้โดยไม่มีเจ้าของ หรื อ
วัตถุที่ผดิ ปกติโดยไม่สามารถให้คาอธิ บายได้ (ว่าทาไมถึงผิดปกติเช่นนั้น) และวัตถุที่พิจารณาแล้วว่าเป็ นภัย
คุกคาม

10. บุคคลต้องห้าม (Inadmissible Person) บุคคลที่ถูกหรื อจะถูกปฏิเสธการเข้ารัฐใดๆ โดยผูม้ ีอานาจของรัฐ


นั้นๆ

เอกสารอ้างอิง : แผนรักษาความปลอดภัยในการบินพลเรื อนแห่งชาติ สานักงานการบินพลเรื อนแห่ง


ประเทศไทย (http://bit.ly/2UOYPnP)
ตารางการอ่านออกเสี ยง ICAO Alphabets
เนื่องจากสาเนียงในการพูด และการออกเสี ยงของคนในแต่ละประเทศนั้นมีความแตกต่างกัน เพื่อเป็ นการหลีกเลี่ยงการเข้าใจที่อาจไม่ตรงกัน
หรื อความคลาดเคลื่อนในการติดต่อสื่ อสาร จึงได้มีการกาหนดการออกเสี ยงตัวอักษรของการสื่ อสารวิทยุและด้านการบินขึ้น การออกเสี ยง
ตัวอักษรและตัวเลขทางการบินนั้น มี 2 แบบ ได้แก่ ICAO และ IATA โดยทั้งสองรู ปแบบ มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน สาหรับ
ทางการบิน นิยมใช้หลักการออกเสี ยงของ NATO phonetic alphabet หรื อ ICAO phonetic alphabets โดยมีการ
ออกเสี ยงตัวอักษร และตัวเลข ดังนี้
รหัสสนามบิน
หลักเกณฑ์ ในการกาหนดรหัสท่ าอากาศยานนั้นมีอยู่ 2 รูปแบบ

1. รหัสท่ าอากาศยาน IATA (IATA location identifier หรื อ airport code) เป็ นรหัสของสนามบินทัว่ โลก มีรูปแบบ
เป็ นรหัสสนามบินแบบ 3 ตัว โดยทัว่ ไปจะเป็ นชื่อเมืองที่สนามบินแห่ งนั้นตั้งอยู่ ซึ่ งมีท้ งั แบบตัวย่อ 3 ตัวแรกของชื่ อเมือง เช่น SIN =
Singapore เป็ นต้นหรื ออาจจะกาหนดโดยการเลือกตัวอักษรใดก็ได้จากในชื่ อเมืองมา 3 ตัว เช่น HKG = Hong Kong, ฺ
BKK = Bangkok หรื อบางเมืองในสหรัฐที่ใช้ชื่อย่อเมืองแบบ 2 ตัวมาก่อนก็จะเติม X ไว้หลังสุดเพื่อให้ครบเป็ นรหัส 3 ตัวเช่น
LAX = Los Angeles แต่ในกรณี ที่เมืองใดที่มีสนามบินมากกว่า 1 แห่ ง เพื่อป้ องกันความสับสนที่อาจเกิดขึ้นจะไม่ใช้ตวั อักษรจาก
ชื่อเมืองมาตั้งเป็ นรหัสสนามบิน รหัสสนามบินในเมืองนั้นจึงมาจากตัวอักษรในชื่ อของสนามบินแห่ งนั้นเอง เช่น

 เมือง Chicago (CHI) มีสนามบินใหญ่ 2 แห่งคือ O'Hare หรื อชื่อเดิม Orchard Field (ORD) และ Midway
(MDW)
 Paris (PAR) มีสนามบินใหญ่ 2 แห่งคือ Orly (ORY) และ Charles de Gaulle (CDG)

 Tokyo (TYO) มีสนามบินใหญ่ 2 แห่งคือ Haneda (HND) และ Narita (NRT)

โดยรหัสสนามบินรู ปแบบนี้ จะถูกใช้งานโดยทัว่ ไป รวมถึงปรากฏในตัว๋ เครื่ องบิน และป้ ายติดประเป๋ าเดินทาง

2. รหัสท่ าอากาศยาน ICAO เป็ นรหัสของสนามบินทัว่ โลก เขียนแทนด้วยตัวอักษรละติน 4 ตัวอักษร กาหนดโดย International
Civil Aviation Organization (ICAO) รหัสสนามบิน 4 ตัวของ ICAO นี้ ไม่ค่อยนิ ยมใช้ในการติดต่อสื่ อสารของคน
ทัว่ ไป เนื่องจากเป็ นรหัสที่ใช้ในการควบคุมการจราจรทางอากาศ การวางแผนการบิน และการวางแผนเที่ยวบิน รหัสในรู ปแบบนี้ช่วยให้วาง
แผนการบินมีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น โดยเฉพาะในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นไม่สามารถลงจอดที่สนามบินปลายทางที่กาหนดได้ นักบิน และ
เจ้าหน้าที่จราจรทางอากาศ และผูเ้ กี่ยวข้องก็จะสามารถระบุสนามบินใกล้เคียงอื่นๆ ได้โดยใช้รหัส 2-3 ตัวแรกได้ โดยรู ปแบบรหัส 4 ตัวของ
ICAO นี้สามารถระบุที่ต้ งั ของสนามบินแต่ละแห่ งได้ โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้

 อักษรตัวสองตัวแรก จะระบุถึงภูมิภาค หรื อทวีป และประเทศ เช่น สนามบินสุวรรณภูมิ ใช้รหัส VTBS โดย VT หมายถึงตั้งอยูใ่ นประเทศ
ไทย
ภาพแสดงการกาหนดตัวอักษรสาหรับ ICAO Airport Code

Ref: https://en.wikipedia.org/wiki/ICAO_airport_code

รหัสท่ าอากาศยานของไทยที่ควรรู้

- ท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ จะมีรหัสท่าอากาศยาน BKK (IATA) และ VTBS (ICAO)

- ท่าอากาศยานดอนเมือง จะมีรหัสท่าอากาศยาน DMK (IATA) และ VTBD (ICAO)

- ท่าอากาศยานเชียงใหม่ จะมีรหัสท่าอากาศยาน CNX (IATA) และ VTCC (ICAO)

- ท่าอากาศยานภูเก็ต จะมีรหัสท่าอากาศยาน HKT (IATA) และ VTSP (ICAO)

- ท่าอากาศยานหาดใหญ่ จะมีรหัสท่าอากาศยาน HDY (IATA) และ VTSS (ICAO)


ความหมายของอากาศยาน
อากาศยาน (Aircraft) มีความหมายที่บญั ญัติไว้โดยสานักงานการบินพลเรื อนแห่ งประเทศไทย คือ เครื่ องจักรที่สามารถสร้างแรงพยุงใน
ชั้นบรรยากาศ จากปฏิกิริยาของอากาศที่มีต่อพื้นผิวของโลก นอกเหนื อไปจากเครื่ องจักรที่ใช้ในทางทหาร ศุลกากร และตารวจ หมายรวมถึง
เครื่ องทั้งสิ้ นซึ่ งทรงตัวในชั้นบรรยากาศ โดยปฏิกิริยาแห่ งอากาศ เว้นแต่วตั ถุซ่ ึ งระบุยกเว้นไว้ในกฎกระทรวง

นอกจากนี้พระราชบัญญัติการเดิ นอากาศ พ.ศ. 2497 ได้ให้ความหมายของอากาศยานขนส่ ง อากาศยานส่ วนบุคคล และอากาศยาน


ต่างประเทศ ดังนี้

1. อากาศยานขนส่ ง หมายถึง อากาศยานซึ่งใช้หรื อมุ่งหมายสาหรับใช้ขนส่ งของหรื อคนโดยสารเพื่อบาเหน็จเป็ นการค้า

2. อากาศยานส่ วนบุคคล หมายถึง อากาศยานซึ่ งใช้หรื อมุ่งหมายสาหรับใช้เพื่อประโยชน์ในกิจการอันมิใช่เพื่อบาเหน็จเป็ นการค้า

3. อากาศยานต่างประเทศ หมายถึง อากาศยานซึ่ งจดทะเบียนและมีสญ


ั ชาติตามกฎหมายต่างประเทศ

ในการแบ่ งประเภทของอากาศยานตามลักษณะของปี กนั้น สามารถแบ่ งได้ 2 ประเภท คือ

1. เครื่ องบิน คือ อากาศยานที่มีปีกยึดติดกับลาตัว (Fixed Wings)

2. เฮลิคอปเตอร์ หรื อ อากาศยานปี กหมุน คืออากาศยานที่มีปีกหมุนรอบแกนแนวตั้งฉากกับลาตัว

วัตถุทไี่ ม่ ใช่ อากาศยาน


วัตถุทไี่ ม่ ถือว่ าเป็ นอากาศยานตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2548 ได้ แก่ ว่ าวทุกชนิด บอลลูน หรือ
ลูกโป่ ง ทีม่ ปี ริมาตรไม่ เกิน 1 ลบ.ม. เครื่องบินเล็กทีใ่ ช้ เป็ นเครื่องเล่น เครื่องซึ่งทรงตัวใน
บรรยากาศโดยปฏิกริ ิยาแห่ งอากาศต่ อพืน้ โลก เช่ น Hover Craft
ส่ วนประกอบของอากาศยาน
ส่ วนประกอบหลักของเครื่องบิน มีดงั นี้

1. ลาตัว (Fuselage) 2. ปี ก (Wings) 3. ส่วนหางทั้งหมด (Empennage) 4. เครื่ องยนต์ (Engine)

5. ฐานล้อ (Landing gears หรื อ Main gears)

1. ลาตัว หรือ Fuselage เป็ นส่ วนที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ในส่ วนลาตัวนี้ ประกอบด้วย ห้องผูโ้ ดยสาร (Cabin) ห้องสาหรับจัดเก็บ
สิ นค้า (Belly) ห้องนักบิน (Cockpit) วัสดุที่ใช้ในการสร้างลาตัวเครื่ องบิน อาจจะเป็ น

 ไม้ (Wood) นิ ยมใช้ในการสร้างเครื่ องบินในสมัยเริ่ มต้น สาหรับในปั จจุบนั ไม้เป็ นที่นิยมในกลุ่มคนทัว่ ไปที่ตอ้ งการสร้างเครื่ องบินขึ้นมา
เอง (Homebuilt)

 โลหะ เช่น อลูมินมั (Aluminum) ในการใช้อลูมินมั ต้องมีการผสมกับโลหะอื่นเพื่อความแข็งแรง อลูมินมั มีคุณสมบัติที่โดดเด่นคือ


น้ าหนักเบาและแข็งแรง และเป็ นโลหะที่ไม่ผกุ ร่ อน แต่ไม่นิยมใช้ประกอบเป็ นผิวด้านนอกของเครื่ องบิน เนื่ องจากอลูมินมั จะแข็งแรงลดลงถ้า
อยูใ่ นสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง

 เหล็กกล้า (Steel) แข็งแรงมากกว่าอลูมินมั แต่น้ าหนักก็มากกว่าเช่นกัน นิยมใช้ทาฐานล้อ หรื อส่ วนของผิวด้านนอกของเครื่ องบินที่ตอ้ งบิน
ด้วยความเร็ วสูง

 กราไฟต์-อิพอกซี (Graphite-Expoxty) โดยการนาแผ่น Graphite-Epoxy ที่เป็ นแผ่นบางๆมาวางซ้อนทับกันเพื่อให้เกิด


ความแข็งแรง ข้อดีคือน้ าหนักเบากว่าอลูมินมั

 วัสดุผสม (Composite Materials) เป็ นการนาวัสดุต้ งั แต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน เพื่อให้เกิดความแข็งแกร่ ง ทนต่ออุณหภูมิสูง


และต้านการกัดกร่ อน
2. ปี ก (Wings) คือ ส่วนประกอบที่ยดึ ติดกับเครื่ องบินที่ลาตัว มีสองส่ วน คือ ปี กซ้ายและปี กขวา ในส่ วนของปี กทั้งข้างเป็ นที่บรรจุ
น้ ามัน และที่สาคัญคือปี กทั้งสองข้างนี้ ให้แรงยก (Lift force) ที่ทาให้เครื่ องบินลอยสู่ ในอากาศได้ พื้นที่บงั คับการบินที่สาคัญบริ เวณปี ก
ได้แก่

 Flap ติดตั้งอยูท่ ี่ชายปี กหลัง (Trailing Edge) ทั้งสองข้างใกล้กบั ลาตัวเครื่ องบิน ลักษณะคล้ายบานพับ มีหน้าที่ในการเพิ่ม หรื อลด
แรงยกของปี ก จากการเพิ่มหรื อลดพื้นที่และความโค้งของปี ก โดยทัว่ ไปจะใช้งานขณะที่เครื่ องบินกาลังบินขึ้นหรื อลง

 ปี กเล็กแก้เอียง (Aileron) ติดตั้งอยูท่ ี่ชายปี กหลัง (Trailing Edge) ทั้งสองข้างบริ เวณปลายปี ก มีหน้าที่ควบคุมอาการเอียงของ
เครื่ องบิน หรื อการเคลื่อนที่รอบแกน Roll

 Slats หรื อ Leading-edge Slats ติดตั้งอยูบ่ ริ เวณด้านหน้าของปี กทั้งสองข้าง ทาหน้าที่ตดั ลมวนเมื่อเครื่ องบินบินด้วยความเร็ วต่า

 Spoilers หรื อ Air break ติดตั้งอยูบ่ ริ เวณพื้นที่ดา้ นบนของปี ก ทาหน้าที่ตดั แรงยก หรื อลดความเร็ วของเครื่ องบิน

 Winglets ติดตั้งอยูบ่ ริ เวณปลายสุ ดของปี กทั้ง 2 ข้าง ทาหน้าที่ช่วยลดแรงฉุด (Drag) ทาให้ประหยัดเชื้อเพลิงในการบิน

3. ส่ วนหาง (Empennage) หรื อเรี ยกว่าชุดพวงหาง ประกอบไปด้วย

 ส่วนหางแนวตั้ง (Vertical stabilizer) หรื อ หางสื อ (Fin)

 ส่วนหางแนวนอน (Horizontal stabilizer)

พวงหางทั้งสองชุดนี้ จะทาหน้าที่ในการบังคับเครื่ องบินให้บินในระดับ และทิศทางที่ตอ้ งการ

4. ส่ วนเครื่องยนต์ (Engines) คือ เครื่ องกลที่ทาให้เครื่ องบินเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ทาให้เกิดแรงขับ (Thrust) ต่อเครื่ องบิน สาหรับ
เครื่ องบินขนาดเล็ก ชุดเครื่ องยนต์จะประกอบไปด้วย เครื่ องยนต์ (Engine) และใบพัด (Propeller)

5. ส่ วนฐานล้อ (Landing gears) ทาหน้าที่ช่วยรับแรงกระแทกในขณะร่ อนลง และช่วยรองรับเครื่ องบินในขณะที่อยูบ่ นพื้นดิน


หลักการบินเบือ้ งต้ น
ส่ วนประกอบของแรงที่ทาให้ เครื่องบินเคลือ่ นที่ ประกอบด้วย 4 แรง (4 Forces of flight) ดังนี้

1) แรงยก (Lift)

2) น้ าหนัก (Weight) หรื อ แรงโน้มถ่วงโลก (Gravity)

3) แรงขับเคลื่อน (Thrust)

4) แรงต้าน (Drag)

สามารถสรุ ปได้วา่ แรงที่เกิดขึ้น จากการกระทาของมนุษย์ (Man-made) ได้แก่ แรงยก (Lift) และแรงขับ (Thrust) และแรงที่
เป็ นธรรมชาติ ได้แก่ แรงต้าน (Drag) และแรงโน้มถ่วงของโลก หรื อน้ าหนัก (Weight) นัน่ เอง โดยแต่ละแรง มีผลทาให้เครื่ องบินเกิด
การลอยตัวและเคลื่อนที่ได้ดงั รายละเอียดต่อไปนี้

แรงยก (Lift) เกิดจากการที่อากาศ ไหลผ่านปี กทั้งสองข้าง อากาศไหลผ่านปี กด้านบนและล่าง ด้านบนไหลเร็ วกว่าเพราะมีส่วนโค้ง เกิด
ความกดอากาศตาฺ่ (Low pressure) ส่ วนด้านล่างของปี กอากาศจะไหลช้ากว่า จึงเกิดความกดอากาศสู ง (High Pressure)
แล้วเมื่ออากาศที่ไหลผ่านปี กด้านล่าง และด้านบนมาบรรจบกันที่ส่วนหลังของปี ก จึงเกิดความแตกต่างระหว่างด้านบนและด้านล่างของปี ก ทา
ให้เกิดแรงยกนาเครื่ องบินลอยไปในอากาศได้

น้ าหนัก (Weight) หรื อ แรงโน้มถ่วงโลก (Gravity) เกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก แรงนี้ กดหรื อดึงเครื่ องบินลงมายังโลก

แรงขับเคลื่อน (Thrust) แรงที่ทาให้เครื่ องบินขับเคลื่อนไปข้างหน้า อาจเรี ยกว่า แรงผลักหรื อแรงฉุ ด เกิดจากเครื่ องยนต์ของเครื่ องบิน

แรงต้าน (Drag) เป็ นแรงที่กระทาตรงข้ามกับแรงขับเคลื่อน คือ แรงที่ต่อต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุในอากาศ มีทิศทางขนานกับวัตถุที่


เคลื่อนที่ ซึ่งเป็ นแรงเสี ยดทานของอากาศที่ผา่ นส่ วนต่างๆของเครื่ องบิน

เทคนิคในการควบคุม Flaps และ Slat ในขณะทาการบิน

ในขณะที่เครื่ องบินบินขึ้น (Take off) จะทาการเปิ ด Flaps และ Slat เพียงเล็กน้อย เพื่อเพิม่ พื้นที่ปีก และแรงยกในขณะที่บินขึ้น

ในขณะที่เครื่ องบินบินลง (Landing) จะทาการเปิ ด Flaps และ Slat เพิ่มมากขึ้นตามความเหมาะสมกับความเร็ วของเครื่ องบิน
เพื่อให้เกิดแรงยกที่มากขึ้นขณะที่บินด้วยความเร็ วต่า

สื่ อเพิ่มเติม: การทางานของส่ วนต่างๆของปี กเครื่ องบินขณะเครื่ องบินกาลังบินขึ้นและลง >>>


https://youtu.be/Rtl5WUA5ATE
ประเภทของท่ าอากาศยาน
ท่ าอากาศยาน ในสั งกัดกรมท่ าอากาศยาน กรมท่ าอากาศยาน (ทอย.) ดูแลท่ าอากาศยานในสั งกัด จานวน 28+1 แห่ ง ได้แก่

1. ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่ KBV

2. ท่าอากาศยานขอนแก่น KKC

3. ท่าอากาศยานชุมพร CJM

4. ท่าอากาศยานตรัง TST

5. ท่าอากาศยานแม่สอด MAQ

6. ท่าอากาศยานนครพนม KOP

7. ท่าอากาศยานนครศรี ธรรมราช NST

8. ท่าอากาศยานนราธิวาส NAW

9. ท่าอากาศยานน่ านนคร NNT

10. ท่าอากาศยานบุรีรัมย์ BFV

11. ท่าอากาศยานหัวหิ น HHQ

12. ท่าอากาศยานพิษณุโลก PHS

13. ท่าอากาศยานแพร่ PRH

14. ท่าอากาศยานปาย PYY

15. ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน HGN

16. ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด ROI

17. ท่าอากาศยานระนอง UNN

18. ท่าอากาศยานเลย LOE

19. ท่าอากาศยานลาปาง LPT


20. ท่าอากาศยานสกลนคร SNO

21. ท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ ธานี URT

22. ท่าอากาศยานนานาชาติอุดรธานี UTH

23. ท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานี UBP

24. ท่าอากาศยานนครราชสี มา NAK

25. ท่าอากาศยานตาก TKT

26. ท่าอากาศยานปั ตตานี PAN

27. ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ PHY

28. สนามบินแม่สะเรี ยง

29. ท่าอากาศยานเบตง BTY ***กาลังก่อสร้าง

ท่ าอากาศยาน ในสังกัด บริษทั ท่ าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) ดูแลท่ าอากาศยานในสั งกัด จานวน 6 แห่ ง) คือ

1. ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (BKK)

2. ท่าอากาศยานดอนเมือง (DMK)

3. ท่าอากาศยานเชี ยงใหม่ (CNX)

4. ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย (CEI)

5. ท่าอากาศยานภูเก็ต (HKT)

6. ท่าอากาศยานหาดใหญ่ (HDY)

ท่ าอากาศยาน ในสั งกัด บริษทั การบินกรุ งเทพ จากัด (มหาชน) ดูแลท่ าอากาศยานในสั งกัด จานวน 3 แห่ ง คือ

1. ท่าอากาศยานตราด (TDX)

2. ท่าอากาศยานนานาชาติสมุย (USM)

3. ท่าอากาศยานสุโขทัย (THS)
กองทัพอากาศไทย ดูแลท่ าอากาศยานในสั งกัด 6 แห่ งหลักและฝูงบินย่ อยกระจายทั่วภูมิภาค ได้ แก่

1. กองบิน 1 นครราชสี มา

2. กองบิน 2 สนามบินโคกกระเทียม ลพบุรี KKM

3. กองบิน 4 ท่าอากาศยานตาคลี TKH

4. กองบิน 5 สนามบินประจวบคีรีขนั ธ์

5. กองบิน 6 ดอนเมือง

6. กองบิน 7 สุราษฎ์ธานี

7. สนามบินกาแพงแสน KDT โรงเรี ยนการบิน

8. กองบิน 21 อุบลราชธานี

9. กองบิน 23 อุดรธานี

10. กองบิน 41 เชี ยงใหม่

11. กองบิน 46 พิษณุโลก

12. กองบิน 56 หาดใหญ่ สงขลา

13. ฝูงบิน 206 สนามบินวัฒนานคร

14. ฝูงบิน 237 สนามบินน้ าพอง KKC

15. ฝูงบิน 416 สนามบินเชียงราย

16. สนามบินเกาะตะเคียน

17. สนามบินควนขัน

กองทัพเรือไทย ดูแลท่ าอากาศยานในสั งกัด 3 แห่ ง ได้แก่

1. ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง-พัทยา) (UTP)

2. ท่าอากาศยานจันทบุรี (VTBC)
3. ท่าอากาศยานสงขลา (HDY)

กองทัพบก ดูแลท่ าอากาศยานในสังกัด 7 แห่ ง ได้แก่

1. สนามบินชะเอียน (Cha Eian Airport)

2. สนามบินปราจีนบุรี (Prachin Buri Airport)

3. สนามบินขุนยวม (Khun Yuam Airport)

4. ท่าอากาศยานสุรินทร์ ภกั ดี PXR (Surin Airport)

5. ท่าอากาศยานเชียงคา (Chiang Kham Airport)

6. สนามบินปากเพรี ยว (Pak Phreaw Airport)

7. สนามบินรอบเมือง (Rob Mueang Airport)

เครือสหพัฒน์ ดูแลท่ าอากาศยานในสังกัด 3 แห่ ง ได้แก่

1. สนามบินศรี ราชา (Sriracha Airport)

2. สนามบินกบินทร์ บุรี (Kabinburi Airport)

3. สนามบินลาพูน (Lamphun Airport)

การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย ดูแลท่ าอากาศยานในสั งกัด 1 แห่ ง ได้แก่

1. สนามบินเขื่อนภูมิพล (Bhumipol Dam Airport)

กรมฝนหลวงและการบินเกษตร ดูแลท่ าอากาศยานในสั งกัด 1 แห่ ง ได้แก่

1. สนามบินนครสวรรค์ (Nakhon Sawan Airport)

สนามบินอืน่ ๆ
1. สนามบินสัตหี บ (Satthahip Airport)

2. สนามบินบางพระ (Bang Phra Airport)

3. สนามบินชุมชนอุม้ ผาง (Umphang Airport)

4. สนามบินโพธาราม (Photharam Ratchaburi Airport)

5. สนามบินบ้านธิ (Ban Thi Airport)/ลานนาฟลายอิงคลับ (Lanna Flying Club)

6. สนามบินนก (Nok Airfield) /สมาคมนักบินนก (Nok Aviation)

7. สนามบินเกาะไม้ซ้ ี (Koh Mai Si Airport)/บริ ษทั โซเนวาคีรี รี สอร์ ท จากัด

8. สนามบินเลิงนกทา (Loeng Nok Tha Airport)

9. สนามบินหล่มสัก (Lom Sak (Sak Long) Airport)


ส่ วนประกอบของท่ าอากาศยาน Airside
พืน้ ที่ของท่ าอากาศยานประกอบด้วย พืน้ ที่เขตการบิน (Airside) และ พืน้ ที่เขตนอกการบิน (Landside)

พื้นที่เขตการบิน (Airside) คือพื้นที่เคลื่อนไหว (Movement Area) ของสนามบิน และพื้นที่ภูมิประเทศ อาคาร หรื อส่ วนของ
อาคารที่ติดต่อกับพื้นที่เคลื่อนไหวที่มีการควบคุมการเข้าออก เช่น

● พื้นที่คดั แยกสัมภาระที่ลาเลียงขึ้นบนอากาศยาน (Baggage Sorting Area หรื อ Make-up Area) คือพื้นที่สาหรับคัด


แยกสัมภาระสาหรับนาขึ้นอากาศยานขาออก

● พื้นที่ควบคุม (Controlled Area) คือพื้นที่ที่มีการควบคุมการเข้าออก

● พื้นที่เคลื่อนไหวอากาศยาน (Movement Area) คือ ส่ วนของสนามบินที่ใช้เพื่อการขึ้นลงและขับเคลื่อนอากาศยาน ประกอบไป


ด้วยพื้นที่ขบั เคลื่อน (Maneuvering Area) และลานจอดอากาศยาน

● ลานจอดอากาศยาน (Apron หรื อ Ramp) คือพื้นที่ของสนามบินที่ถูกกาหนดให้เป็ นพื้นที่รองรับอากาศยานสาหรับการนาผูโ้ ดยสาร


ไปรษณี ยภัณฑ์ และสิ นค้าขึ้นลงอากาศยาน ตลอดจนเป็ นพื้นที่สาหรับเติมน้ ามันอากาศยาน และซ่อมบารุ งอากาศยาน
ส่ วนประกอบของท่ าอากาศยาน Landside
พื้นที่นอกเขตการบิน (Landside) คือพื้นที่ที่อยูน่ อกพื้นที่เคลื่อนไหวของสนามบิน โดยปกติสามารถเข้าออกได้โดยไม่ตอ้ งมีใบอนุญาต
เช่น

● ลานจอดรถ

● อาคารคลังสิ นค้า

● ทางเข้าออกท่าอากาศยาน

● อาคารผูโ้ ดยสาร (Passenger Terminal)


หน้ าทีข่ องท่ าอากาศยาน
บทบาทและหน้าที่ของท่าอากาศยาน สามารถแบ่งได้ 3 รู ปแบบ คือ การให้บริ การแก่อากาศยาน การให้บริ การแก่ผโู ้ ดยสาร และการให้บริ การ
แก่สินค้า

1. การให้บริ การของท่าอากาศยานแก่เครื่ องบินที่มาใช้บริ การ ท่าอากาศยานมีบทบาทช่วยให้การดาเนิ นการให้เครื่ องบินที่มาใช้บริ การ


นั้นสามารถรับส่ งผูโ้ ดยสาร สิ นค้า ไปรษณี ยภัณฑ์ได้อย่างรวดเร็ ว ปลอดภัย รวมถึงมีส่วนช่วยในการซ่อมแซมบารุ งรักษาและเติมเชื้ อเพลิง และ
มีบทบาทในการเชื่ อมโยงระหว่างเครื่ องบินกับเครื่ องบิน รวมถึงระหว่างเครื่ องบินกับการขนส่ งประเภทอื่นๆ เช่น รถไฟ รถยนต์ หรื อ เรื อ เป็ น
ต้น

2. การให้บริ การของท่าอากาศยานแก่ผฺ้ ู โดยสารที่มาใช้บริ การ ท่าอากาศยานมีบทบาทช่วยให้ผโู ้ ดยสาร ได้รับความสะดวกสบายใน


การเดินทาง รวมถึงการบริ การยานพาหนะของผูโ้ ดยสาร เช่น การบริ การลานจอดรถ และจุดรับส่ ง เป็ นต้น

3. การให้บริ การของท่าอากาศยานแก่สินค้าที่มาใช้บริ การ ท่าอากาศยานมีบทบาทช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการขนถ่ายสิ นค้า และพัสดุ


ไปรษณี ยท์ างอากาศ รวมถึงมีบทบาทในการช่วยพัฒนาระบบการขนส่ งสิ นค้า และการกระจายสิ นค้า

นอกจากนี้ ท่าอากาศยานจะต้องมีบทบาทและหน้าที่ในการจัดเตรี ยมสิ่ งอานวยความสะดวกต่างๆ ที่เป็ นไปตามมาตรฐานสากล เช่น


อุปกรณ์อานวยการบิน อุปกรณ์ต่างๆบริ เวณลานจอด รวมถึงจัดเตรี ยมพื้นที่สาหรับผูโ้ ดยสาร และบุคคลทัว่ ไป ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความสะดวกและ
ความปลอดภัยในการใช้บริ การสนามบิน นอกจากนี้ สนามบินหรื อท่าอากาศยานต้องจัดให้มีการบริ การที่ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายสาหรับผูโ้ ดยสาร
ด้วย เช่น การบริ การตรวจหนังสื อเดินทาง การตรวจสัมภาระที่เป็ นไปตามกฎหมายศุลกากร การตรวจคนเข้าเมือง เป็ นต้น และอีกประการคือการ
จัดให้มีการบริ การที่สร้างความเพลิดเพลิน ความสุขให้แก่ผทู ้ ี่มาใช้บริ การ ท่าอากาศยานต้องมีการจัดให้มีร้านค้า ร้ านอาหาร ห้องพักแรม ห้องน้ า
และการอานวยความสะดวกต่างๆที่จาเป็ น อาจจะมีแบบทั้งต้องเสี ยค่าบริ การเพิ่มเติม หรื อไม่ตอ้ งเสี ยก็ได้

ในการจัดอันดับท่าอากาศยานนั้น ในทุกๆปี จะมีการจัดอันดับสนามบินที่ดีที่สุดในโลก หรื อ World Airport Awards โดย


สกายแทร็ กซ์ (Skytrax) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ให้คาปรึ กษาทางธุรกิจเกี่ยวกับการบิน ซึ่ งการจัดอันดับนั้นเป็ นการนาผลสารวจความเห็นจากการ
สอบถามผูใ้ ช้บริ การจานวนกว่า 13 ล้านคน จากกว่า 550 สนามบินทัว่ โลก ตั้งแต่ช่วง มี.ค. 2017 - ก.พ. 2018 โดยหัวข้อในการ
ประเมินให้คะแนนนั้นครอบคลุมตั้งแต่การให้บริ การ การเช็คอิน ไปจนถึงการเปลี่ยนเครื่ อง การช็อปปิ้ ง และ ระบบตรวจคนเข้าเมือง ของแต่ละ
สนามบิน

สาหรับประเภทของรางวัลนั้นมีหลากหลาย อาทิเช่น รางวัลสนามบินที่ดีที่สุดในโลก รางวัลเจ้าหน้าที่ให้บริ การยอดเยีย่ ม รางวัลสนามบิน


ที่ดีที่สุดในด้านการช็อปปิ้ ง รางวัลสนามบินที่สะอาดที่สุดในโลก และรางวัลสนามบินที่ผโู ้ ดยสารประทับใจด้านการรับประทานอาหารที่สุด
เป็ นต้น โดยในปี 2018 ที่ผา่ นมา สนามบินสิ งคโปร์ ชางงี (สิ งคโปร์ ) ได้รับรางวัลสนามบินที่ดีที่สุดในโลก โดยได้รับรางวัลดังกล่าวเป็ นปี ที่
6 ติดต่อกัน

(สามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.worldairportawards.com)
ผู้ผลิตอากาศยาน
ปัจจุบนั มีบริ ษทั ผูผ้ ลิตอากาศยานอยูม่ ากมาย แต่ที่เป็ นที่นิยมและมียอดขายสู งสุ ดมี 2 บริ ษทั คือ แอร์บสั (Airbus) และ โบอิง
(Boeing) โดย แอร์บสั (Airbus) โรงงานผลิตและประกอบเครื่ องบินของแอร์ บสั กรุ๊ ป ซึ่ งเป็ นบริ ษทั สัญชาติยโุ รป มีสานักงานใหญ่อยูท่ ี่
เมืองตูลูส (Toulouse) ประเทศฝรั่งเศส ในขณะที่ Boeing เป็ นบริ ษทั ผูผ้ ลิตเครื่ องยนต์อากาศยานและยุทโธปกรณ์สญ ั ชาติอเมริ กา มี
สานักงานใหญ่อยูท่ ี่เมืองชิคาโก้ รัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริ กา สาหรับบริ ษทั ผูผ้ ลิตเครื่ องบินรายใหม่ที่น่าสนใจ ได้แก่เครื่ องบินสัญชาติ
จีน Commercial Aircraft Corporation of China (COMAC)

(ข้อมูลจาก wikipedia: http://bit.ly/2SyJewd)

แอร์บสั กรุ๊ ป เป็ นบริ ษทั ผลิตอากาศยานและระบบป้ องกันประเทศของยุโรป เดิมก่อตั้งในชื่ อ อีเอดีเอส (อังกฤษ: European
Aeronautic Defence and Space Company N.V. - EADS ) เมื่อปี ค.ศ. 2000 จากการควบรวมกิจการ
ของ เดมเลอร์ไครสเลอร์แอโรสเปซ เอจี (DaimlerChrysler Aerospace AG - DASA) จากเยอรมนี กับ แอโรสปาติ
อาล-มาทรา (Aérospatiale-Matra ) จากฝรั่งเศส และ กอนสตรุ กเซี ยวเนสอาเอโรเนาตีกสั เอเซอา (Construcciones
Aeronáuticas SA - CASA) จากสเปน ซึ่ งการก่อตั้งอีเอดีเอส (EADS) เกิดจากแรงกดดันเนื่ องจากการรวมตัวของ
บริ ษทั ผูผ้ ลิตอากาศยานทางการทหารของสหรัฐ ล็อกฮีด และมาร์ตินมาริ เอตตา เป็ นล็อกฮีดมาร์ติน ในปี 1995 ตามด้วยการควบรวมกิจการ
ของโบอิง กับแมคดอนเนลล์ดกั ลาส ในปี 1997

จากรายงานยอดการสัง่ ซื้อของแอร์บสั (https://www.airbus.com/aircraft/market/orders-


deliveries.html) สามารถสรุ ปได้ ดังนี้

● เครื่ องบินรุ่ นที่มียอดสัง่ ซื้ อสูงที่สุด คือ A220 / A330 มียอดสั่งรวมที่ระบุในเว็บไซต์จานวน 15,193 ลา

● เครื่ องบินพาณิ ชย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในปั จจุบนั A380 มียอดสัง่ ซื้ อรวมที่ระบุในเว็บไซต์จานวน 313 ลา

ในขณะที่ยอดการสัง่ ซื้อของโบอิง (https://www.boeing.com/commercial/#/orders-deliveries) สามารถ


สรุ ปได้ ดังนี้

● เครื่ องบินรุ่ นที่มียอดสัง่ ซื้ อสูงที่สุด คือ B737 มียอดสัง่ ซื้ อรวมที่ระบุในเว็บไซต์จานวน 4,757 ลา

● เครื่ องบินรุ่ นใหม่ B787 มียอดสัง่ ซื้ อรวมที่ระบุในเว็บไซต์จานวน 632 ลา

สาเหตุหนึ่งที่ทาให้ยอดเครื่ องบินรุ่ น A320 และ B737 มียอดขายที่สูง คือเป็ นรุ่ นเครื่ องบินที่สายการบินต้นทุนต่า (Low Cost
Carrier) นิยมใช้งานนัน่ เอง

แต่อย่างไรก็ตาม เนื่ องด้วยสายการบินทัว่ โลกมีแนวโน้มที่จะใช้เครื่ องบินขนาดเล็กมากกว่าเครื่ องบินขนาดใหญ่ โดย A380 นั้นเป็ น


เครื่ องบินขนาดใหญ่ที่มีความจุได้ถึง 800 ที่นงั่ ทาให้ไม่สามารถลงจอดในบางสนามบินได้ รวมถึงปั จจัยด้านอื่นๆ เช่น ค่าใช้จ่ายของเชื้ อเพลิง
การดูแลรักษา และราคาที่สูงเกือบ 13,600 ล้านบาท ส่งผลให้ทาง Airbus ได้ประกาศผ่านทางเว็บไซต์เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2562 ว่า
จะยกเลิกการผลิตเครื่ องบินรุ่ นดังกล่าวในปี พ.ศ. 2564 นี้

(อ้างอิง: http://bit.ly/2TN3SFb)
ประเภทการบริการของสายการบิน
โดยทั่วไป สายการบินสามารถแบ่ งเป็ น 3 ประเภท คือ

1. สายการบินระดับพรี เมี่ยม (Premium Airlines หรื อ Full-Service Airlines) คือ สายการบินที่ให้บริ การเต็ม
รู ปแบบ มีราคาบัตรโดยสารที่ค่อนข้างสูง ซึ่ งจะมีการแบ่งชั้นบริ การเป็ น 3 ชั้นหลักๆ ได้แก่ ชั้นหนึ่ ง (First Class) ชั้นธุรกิจ
(Business Class) และ ชั้นประหยัด (Economy Class) ตัวอย่างสายการบินที่ให้บริ การเต็มรู ปแบบ เช่น การบินไทย
(TG) Qatar Airways (QR) Lufthansa (LH) Korean Air (KE) และ Emirates (EK) เป็ นต้น

2. สายการบินต้นทุนต่า (Low Cost Airlines หรื อ Low Cost Carrier) เป็ นสายการบินที่มีราคาค่าบัตรโดยสารถูก
กว่าสสายการบินระดับพรี เมี่ยม ด้วยวิธีการลดต้นทุนการบินในด้านต่างๆ เช่น ไม่มีหรื อจากัดรู ปแบบอาหารและเครื่ องดื่มบริ การฟรี บน
เครื่ องบิน ไม่มีหรื อจากัดน้ าหนักสัมภาระสาหรับบรรทุกใต้เครื่ องบิน เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั เน้นการขายบัตรโดยสารล่วงหน้าผ่านระบบ
อินเตอร์เน็ต เพื่อเป็ นการลดต้นทุน และสะดวกต่อการวางแผนจัดการเที่ยวบิน และลดความเสี่ ยงด้านผูโ้ ดยสารไม่เต็มลา ตัวอย่างสายการบิน
ต้นทุนต่า เช่น สายการบินนกสกู๊ต (XW) สายการบินนกแอร์ (DD) และสายการบิน Thai AirAsia (FD) เป็ นต้น

3. สายการบินเช่าเหมาลา คือ สายการบินที่ให้บริ การเช่าเหมาลาโดยเฉพาะ ไม่มีการบินแบบประจา ซึ่งบางสายการบินมีเครื่ องบินเช่า


เหมาลาที่จดั ที่นงั่ แต่ช้ นั ประหยัด หรื ออาจจะมีช้ นั ธุรกิจเพิ่มมาด้วย ซึ่ งรวมไปถึ ง เครื่ องบินส่ วนตัว (Private Jet) เช่น สายการบิน M-
Jets เป็ นต้น
กลุ่มพันธมิตรสายการบิน
1. กลุ่มพันธมิตรสตาร์ อลั ไลแอนซ์ (Star Alliance) ถูกก่อตั้งเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 โดยเป็ นการรวมกลุ่มของ 5
สายการบิน ได้แก่ สายการบินแอร์แคนนาดา (Air Canada) สายการบินลุฟฮันซา (Lufthansa) สายการบินสแกนดิเนเวียนแอร์
ไลนส์ (Scandinavian Airlnes) สายการบินไทย (THAI) และ สายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลนส์ (United Airlines) มี
วัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมโยงเส้นทางบินให้มีความครอบคลุมและไร้รอยต่อสาหรับผูโ้ ดยสารทัว่ โลก ปั จจุบนั มีสายการบินสมาชิ ก 28 สายการ
บิน เช่น สายการบินไทย (THAI) สิ งคโปร์แอร์ไลนส์ (Singapore Airlines) สายการบินเอเซี ยน่ า (Asiana Airlines)
และ สายการบินแอร์ ไชน่า (Air China) เป็ นต้น ให้บริ การประมาณ 18,400 เที่ยวบินต่อวัน ไปยังสนามบินกว่า 1,300 แห่ ง ใน
191 ประเทศ

(อ้างอิง: https://www.staralliance.com)

2. กลุ่มพันธมิตรสกายทีม (SkyTeam) ถูกก่อตั้งในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2543 โดยเป็ นการรวมกลุ่มของ 4 สายการบิน ได้แก่


แอร์โรแมกซิโก (Aeroméxico) สายการบินแอร์ ฟรานส์ (Air France) สายการบินเดลต้าแอร์ไลนส์ (Delta Air Lines)
และสายการบินโคเรี ยนแอร์ (Korean Air) ปัจจุบนั มีสายการบินสมาชิกจานวน 20 สายการบิน เช่น สายการบินไชน่า แอร์ไลนส์
(China Airlines) สายการบินแอร์ฟรานส์ (AirFrance) สายการบินเคแอลเอ็ม (KLM) และสายการบินโคเรี ยนแอร์
(Korean Air) เป็ นต้น ให้บริ การประมาณ 17,000 เที่ยวบินต่อวัน ไปยังกว่า 1,080 จุดหมาย ในกว่า 170 ประเทศทัว่ โลก

(อ้างอิง: https://www.skyteam.com)

3. กลุ่มพันธมิตรวันเวิลด์ (OneWorld) ถูกก่อตั้งในปี พ.ศ. 2542 โดยเป็ นการรวมตัวของ 5 สายการบิน ปัจจุบนั มีสายการ
บินสมาชิกจานวน 13 สายการบิน เช่น สายการบินอเมริ กนั แอร์ ไลนส์ (American Airlines) สายการบินบริ ติช แอร์เวยส์
(British Airways) สายการบินการ์ตา้ แอร์เวยส์ (Qatar Airways) สายการบินคาเธ่ย ์ แปซิฟิก (Cathay Pacific) และ
สายการบินเจแปน แอร์ไลนส์ (Japan Airlines) เป็ นต้น ให้บริ การประมาณ 14,000 เที่ยวบินต่อวัน ไปยังกว่า 1,000 จุดหมาย
ในกว่า 170 ประเทศทัว่ โลก

(อ้างอิง: https://www.oneworld.com)
ICAO
องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (International Civil Aviation Organization - ICAO) เป็ น
หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ มีสมาชิ ก 192 ประเทศ สานักงานใหญ่ต้ งั อยูท่ ี่เมืองมอนทรี ออล ประเทศแคนาดา มีสานักงานประจา
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยูท่ ี่แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร ประเทศไทย

วิสัยทัศน์ (อ้างอิง: https://www.icao.int)

ทาให้ระบบการบินพลเรื อนของโลกเติบโตอย่างยัง่ ยืน

พันธกิจ (อ้างอิง: https://www.icao.int)

● ทาหน้าที่เป็ นที่ประชุมระดับโลกของรัฐสาหรับการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ

● สร้างและพัฒนานโยบาย มาตรฐาน รวมถึงดาเนิ นการตรวจสอบการปฏิบตั ิตามนโยบายและมาตรฐานที่กาหนด ศึกษาและวิเคราะห์ ให้ความ


ช่วยเหลือ และสร้างขีดความสามารถด้านการบินผ่านกิ จกรรมอื่น ๆ ผ่านความร่ วมมือของประเทศสมาชิ ก และผูม้ ีส่วนได้เสี ย

วัตถุประสงค์ (อ้างอิง: https://www.icao.int)

1. ด้านความปลอดภัย: เพิ่มความปลอดภัยการบินพลเรื อน โดยวัตถุประสงค์เชิ งกลยุทธ์น้ ี มุ่งเน้นไปที่ความสามารถในการกากับดูแลของ


รัฐเป็ นหลัก

2. ด้านประสิ ทธิ ภาพและความสามารถในการรองรับปริ มาณการจราจรทางอากาศของเครื่ องช่วยการเดินอากาศ: เพิ่มความสามารถในก


การรองรับปริ มาณการจราจรทางอากาศ และปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพของระบบการบินพลเรื อน วัตถุประสงค์เชิ งกลยุทธ์น้ ีมุ่งเน้นไปที่การพัฒนา
ระบบการช่วยการเดินอากาศ และโครงสร้างพื้นฐานสนามบิน และพัฒนาวิธีการใหม่ๆ เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของระบบการบิน

3. ด้านความปลอดภัยและการอานวยความสะดวก: เพิ่มความปลอดภัย และการอานวยความสะดวกการบินพลเรื อน วัตถุประสงค์เชิงกล


ยุทธ์น้ ีสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการให้ ICAO เป็ นผูน้ าในด้านความปลอดภัยการบินของโลก

4. ด้านการพัฒนาทางเศรษฐกิจการขนส่ งทางอากาศ: ส่ งเสริ มการพัฒนาระบบการบินพลเรื อนที่มีประสิ ทธิ ภาพ และประหยัด


วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์น้ ี สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการให้ ICAO เป็ นผูน้ าในการประสานกรอบการขนส่ งทางอากาศที่มุ่งเน้นนโยบาย
เศรษฐกิจและกิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาด้านต่างๆ

5. ด้านการคุม้ ครองสิ่ งแวดล้อม: ลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมจากกิจกรรมการบินพลเรื อนให้นอ้ ยที่สุด วัตถุประสงค์เชิ งกลยุทธ์น้ ี


สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการให้ ICAO เป็ นผูน้ าในกิจกรรมด้านสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการบินทั้งหมด และสอดคล้องกับนโยบายและ
แนวทางปฏิบตั ิดา้ นสิ่ งแวดล้อมของ ICAO และสหประชาชาติ

ความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศไทยกับองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ

(อ้างอิง: สานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม)
1. ประเทศไทยเข้าเป็ นสมาชิ กองค์การการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ (ICAO) โดยเข้าร่ วมเป็ นภาคีอนุสญ
ั ญาว่าด้วยการบินพล
เรื อนระหว่างประเทศ (Convention on International Civil Aviation) หรื อ อนุสญ ั ญาชิคาโก เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ.
2490 (ค.ศ. 1947)

2. ประเทศไทยได้รับเลือกจากองค์การการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ (ICAO) ให้เป็ นสถานที่ต้ งั สานักงานภูมิภาคเอเชียและ


แปซิฟิก นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) เป็ นต้นมา โดยกระทรวงคมนาคมได้จดั สร้ างอาคารให้สานักงานฯ ตั้งอยูท่ ี่บริ เวณห้าแยก
ลาดพร้าวบนที่ดินซึ่งได้เช่าจากการรถไฟแห่ งประเทศไทย และล่าสุ ดได้จดั สร้างอาคารหอประชุมแห่ งใหม่ให้สานักงานโดยทาพิธีเปิ ดใช้อย่าง
เป็ นทางการ ในปี พ.ศ. 2547 และจากการเป็ นสถานที่ต้งั สานักงานภูมิภาคฯ ทาให้หน่วยงานด้านการบินได้รับประโยชน์อย่างมากโดย
สามารถขอรับบริ การต่างๆ จาก ICAO ได้อย่างรวดเร็ ว อีกทั้งสามารถเข้าร่ วมกิจกรรมการประชุม สัมมนา ฝึ กอบรมต่างๆ ที่สานักงานฯ โดย
ไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายเดินทางไปต่างประเทศซึ่ งเป็ นผลดีต่อการพัฒนาการขนส่ งทางอากาศของไทยโดยรวม

3. กระทรวงคมนาคมและหน่วยงานด้านการบินได้ให้ความร่ วมมือและสนับสนุนการดาเนิ นงานต่างๆ ของ ICAO เป็ นประจา เช่น


การเข้าร่ วมประชุมสาคัญต่างๆ การจัดให้ขอ้ มูลสถิติและความเห็นในประเด็นที่ ICAO ได้ร้องขอ การบริ จาคเงินสนับสนุนแผนปฏิบตั ิการ
รักษาความปลอดภัยการบิน (Aviation Security Plan of Action) รวมทั้ง การแต่งตั้งผูเ้ ชี่ ยวชาญไปปฏิบตั ิงานให้กบั
สานักงานภูมิภาคฯ และการบริ จาคเงินโดยสมัครใจสนับสนุนแผนปฏิบตั ิการรักษาความปลอดภัยการบิน (Aviation Security Plan
of Action) ของ ICAO เป็ นต้น

4. ประเทศไทยได้รับความช่วยเหลือทางวิชาการ (Technical Co-operation) จากองค์การการบินพลเรื อนระหว่าง


ประเทศ (ICAO) ในรู ปของโครงการ การประชุม การสัมมนาและฝึ กอบรมด้านต่างๆ โครงการที่สาคัญ เช่น TRAINAIR เพื่อยกระดับ
ศูนย์ฝึกการบินพลเรื อนให้มีมาตรฐาน ซึ่ง ICAO ได้คดั เลือกประเทศไทยเป็ นที่ต้ งั โครงการในภูมิภาคเอเชี ยและแปซิ ฟิก รวมทั้งโครงการ
พัฒนาความร่ วมมือเพื่อความปลอดภัยในการบินและความสมควรเดินอากาศต่อเนื่ อง (COSCAP) เพื่อยกระดับความปลอดภัยในการ
เดินอากาศในภูมิภาคอาเซี ยน ฮ่องกงและมาเก๊า
IATA
สมาคมขนส่ งทางอากาศระหว่างประเทศ (International Air Transport Association - IATA) เป็ นสมาคม
การค้าสาหรับสายการบินของโลกคิด เป็ นตัวแทนของ 290 สายการบิน หรื อคิดเป็ นจานวน 82% ของปริ มาณการจราจรทางอากาศทั้งหมด
IATA สนับสนุนกิจกรรมการบินหลายด้านและช่วยกาหนดนโยบายอุตสาหกรรมเกี่ยวกับปั ญหาการบินที่สาคัญ

พันธกิจ (อ้างอิง: https://www.iata.org)

เป็ นตัวแทน เป็ นผูน้ า และให้บริ การแก่อุตสาหกรรมสายการบิน

● ในด้านการเป็ นตัวแทนของอุตสาหกรรมสายการบิน IATA ปรับปรุ งความเข้าใจในอุตสาหกรรมการขนส่ งทางอากาศระหว่างผูม้ ี


อานาจตัดสิ นใจ และเพิ่มความตระหนักถึงประโยชน์ที่การบินนามาสู่ เศรษฐกิจของประเทศและของโลก IATA ท้าทายกฎและค่าใช้จ่ายที่ไม่
สมเหตุสมผล ให้ความสาคัญกับหน่วยงานกากับดูแลและรัฐบาล

● ในด้านการเป็ นผูน้ าของอุตสาหกรรมสายการบิน กว่า 70 ปี ที่ IATA ได้พฒั นามาตรฐานการค้าในอุตสาหกรรมการขนส่ งทาง


อากาศระดับโลก เป้ าหมายของ IATA คือการช่วยเหลือสายการบินโดยลดความซับซ้อนของกระบวนการ และเพิ่มความสะดวกสบายของ
ผูโ้ ดยสาร ในขณะเดี่ยวกันยังช่วยลดต้นทุนและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการดาเนิ นการของสายการบิน

● ในด้านการให้บริ การแก่อุตสาหกรรมสายการบิน IATA ช่วยให้สายการบินดาเนิ นการอย่างปลอดภัยปลอดภัย มีประสิ ทธิ ภาพ และ


ประหยัดภายใต้กฎเกณฑ์ที่กาหนดไว้อย่างชัดเจน

ตัวอย่างกฎและข้ อกาหนดที่ IATA ประกาศ

● ข้อกาหนดเกี่ยวกับขนาดของกระเป๋ าสัมภาระที่ผโู ้ ดยสารถือขึ้นเครื่ อง (Carry-on baggages) ให้มีขนาดเล็กลงจากเดิม


เพื่อให้ผโู้ ดยสารทุกคนมีพ้นื ที่เพียงพอในการจัดเก็บสัมภาระของตนเองในที่เก็บกระเป๋ าเหนือศีรษะ (Overhead Compartment)

● กฎความปลอดภัยในการนา Power Bank ขึ้นเครื่ องบิน

● ห้ามนา Power Bank ใส่กระเป๋ าสัมภาระโหลดใต้ทอ้ งเครื่ องโดยเด็ดขาด ต้องใส่ กระเป๋ าสัมภาระที่ถือขึ้นเครื่ องเท่านั้น โดยถ้า
Power Bank มีความจุไฟฟ้ าไม่เกิน 20,000 mAh สามารถเอาขึ้นเครื่ องบินได้ไม่จากัดจานวน แต่ถา้ มีความจุไฟฟ้ าระหว่าง
20,000-32,000 mAh สามารถนาขึ้นเครื่ องได้ไม่เกิน 2 ก้อน สาหรับในกรณี ที่ Power Bank มีความจุไฟฟ้ าเกิน
32,000 mAh ห้ามนาขึ้นเครื่ องโดยเด็ดขาด
FAA
พันธกิจ (อ้างอิง https://www.faa.gov)

จัดหาระบบการบินและอวกาศที่มีความปลอดภัย และมีประสิ ทธิภาพมากที่สุดในโลก

วิสัยทัศน์

เรามุ่งมัน่ พัฒนาในการไปสู่ อีกระดับของความปลอดภัย ความมีประสิ ทธิ ภาพ ความรับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม และความเป็ นผูน้ าระดับโลก
เรารับผิดชอบต่อประชาชนชาวอเมริ กนั และผูม้ ีส่วนได้เสี ย

หน้าที่ส่วนหนึ่ งขององค์การบริ หารการบินแห่ งสหรัฐอเมริ กา (FAA) ที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย คือโครงการการประเมินความ


ปลอดภัยการบินระหว่างประเทศ (IASA) โดยมีเป้ าหมายในการทาการประเมินหน่วยงานกากับดูแลด้านการบินของทุกประเทศที่มีสายการ
บินยืน่ เรื่ องขอดาเนินเที่ยวบินเข้าสหรัฐอเมริ กา หรื อดาเนิ นเที่ยวบินเข้าสหรัฐอเมริ กาอยูใ่ นปั จจุบนั หรื อร่ วมจัดเที่ยวบินรหัสร่ วม (code
sharing) กับสายการบินของสหรัฐอเมริ กาที่เป็ นพันธมิตร และเปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณะ การประเมินหน่วยงานกากับดูแลด้าน
การบินพลเรื อนของประเทศต่างๆ นี้พิจารณาตามมาตรฐานความปลอดภัยขององค์การการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ (ICAO) ไม่ใช่ตาม
ระเบียบข้อบังคับของ FAA (อ้างอิง: https://th.usembassy.gov) และ FAA ได้เคยประกาศลดระดับมาตรฐานด้านการบิน
ของไทยจากประเภท 1 (Category 1) เป็ นประเภท 2 (Category 2) ส่ งผลให้ ณ เวลานั้นสายการบินสัญชาติไทยไม่สามารถ
เพิ่มความถี่ของสายการบินเดิม หรื อเพิ่มเที่ยวบินสู่ จุดหมายปลายทางในสหรัฐฯ ได้

(อ้างอิง: https://www.scbeic.com/th/detail/product/1801)

EASA
สานักงานบริ หารการบินแห่งชาติของสหภาพยุโรป (European Aviation Safety Agency - EASA) เป็ นองค์การที่
European Union (EU) ตั้งขึ้นมาเพื่อดูแลเรื่ องความปลอดภัยของน่านฟ้ าในประเทศสหพันธ์ยโุ รป เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม
2002 โดยสานักงานตั้งอยูท่ ี่เมืองโคโลญ ประเทศเยอรมันนี ปั จจุบนั มีสมาชิ กทั้งหมด 32 ประเทศในสหพันธ์ยโุ รป ได้แก่

1. ประเทศเบลเยีย่ ม 2. ประเทศออสเตรี ย 3. ประเทศบัลแกเรี ย

4. ประเทศโคเอเชีย 5. ประเทศไซปรัส 6. สาธารณเช็ก

7. ประเทศเดนมาร์ค 8. ประเทศเอสโตเนีย 9. ประเทศฟิ นแลนด์

10. ประเทศฝรั่งเศส 11. ประเทศเยอรมันนี 12. ประเทศกรี ซ

13. ประเทศกรี ซ 14. ประเทศไอซ์แลนด์ 15. ประเทศไอร์แลนด์

16. ประเทศอิตาลี 17. ประเทศลัตเวีย 18. ประเทศลิกเทนสไตน์

19. ประเทศลิทวั เนีย 20. ประเทศลักเซมเบิร์ก 21. ประเทศมอลต้า


22. ประเทศเนเธอร์แลนด์ 23. ประเทศนอร์เวย์ 24. ประเทศโปแลนด์

25. ประเทศโปรตุเกส 26. ประเทศโรมาเนีย 27. ประเทศสโลวาเกีย

28. ประเทศสโลวีเนีย 29. ประเทศสเปน 30. ประเทศสวีเดน

31. ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 32. สหราชอาณาจักร

และตัวแทนในทวีปเอเชียและอเมริ กาเหนืออีก 4 ประเทศ ได้แก่ แคนาดา สหรัฐอเมริ กา จีน และสิ งคโปร์

พันธกิจ (อ้างอิง: https://www.easa.europa.eu)

1. ทาให้มนั่ ใจว่ามีระดับการป้ องกันความปลอดภัยสู งสุ ดสาหรับพลเมืองสหภาพยุโรป

2. ทาให้มนั่ ใจว่ามีระดับการป้ องกันสภาพแวดล้อมสูงสุดสาหรับพลเมืองสหภาพยุโรป

3. มีกระบวนการกากับดูแลและการรับรองแบบเดียวระหว่างประเทศสมาชิ ก

4. ทางานร่ วมกับองค์กรการบินระหว่างประเทศและหน่วยงานกากับดูแลอื่น ๆ

หน้ าที่ของ EASA

ทาการตรวจสอบตามโครงการที่เรี ยกว่า SAFA ย่อมาจากคาว่า Safety Assessment of Foreign Aircraft โดย


ทาการตรวจสอบเฉพาะตามภาคผนวก หรื อ Annex 1, 6 & 8 ของ ICAO โดย

Annex 1 : Personnel Licensing คือ ใบอนุญาตผูป้ ระจาหน้าที่

Annex 6 : Operation of Aircraft คือ การปฏิบตั ิการบินของอากาศยาน

Annex 8 : Airworthiness of Aircraft คือ ความสมควรเดินอากาศของอากาศยาน

● ออกกฎ ระเบียบความปลอดภัยด้านการบิน และให้คาแนะนาแก่ประเทศสมาชิ ก

● ตรวจสอบ จัดฝึ กอบรม และสร้างระบบให้มีมาตรฐาน เพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิของกลุ่มประเทศสมาชิ ก สนับสนุนการ


ปฏิบตั ิงานด้านการบินให้มีมาตรฐาน

● เก็บรวบรวมข้อมูล นามาวิเคราะห์และทาการวิจยั เพื่อพัฒนาระบบความปลอดภัยด้านการบิน

หน้าที่ส่วนหนึ่ งของสานักงานบริ หารการบินแห่ งชาติของสหภาพยุโรป (EASA) ที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย คือ การตรวจสอบ


มาตรฐานการบินของไทยช่วงเดือนพฤศจิกายน 2558 แต่ไม่มีการห้ามสายการบินที่จดทะเบียนในประเทศไทยทาการบินเข้าประเทศสมาชิ ก
สหภาพยุโรป แต่ยงั คงติดตามพัฒนาการต่างๆ อย่างใกล้ชิด
CAAT
ความเป็ นมาโดยย่ อ (อ้างอิง: https://www.caat.or.th)

เริ่ มแรกนั้นหน่วยงานที่ทาหน้าที่กากับดูแลด้านการบินพลเรื อนของประเทศไทย คือ กรมการบินพลเรื อน ซึ่ งเป็ นหน่วยงานภาครัฐอยู่


ภายใต้สงั กัดกระทรวงคมนาคม (ตั้งแต่ พ.ศ. 2462) ต่อมาเพื่อให้การทางานคล่องตัวมากขึ้น ตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 สานักงาน
การบินพลเรื อนแห่ งประเทศไทย (The Civil Aviation Authority of Thailand : CAAT : กพท ) ได้ถูกก่อตั้งขึ้นตาม
พระราชกาหนดการบินพลเรื อนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 เป็ นหน่วยงานของรัฐขึ้นตรงกับรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงคมนาคม มีสานักงาน
ตั้งอยูท่ ี่อาคารหลักสี่ พลาซ่า เขตหลักสี่ กรุ งเทพมหานคร

วิสัยทัศน์ (Vision)

“มาตรฐานสู่ความยัง่ ยืน”

พันธกิจ (Mission)

1. ส่งเสริ มและพัฒนากิจการการบินพลเรื อนให้มีประสิ ทธิ ภาพและยัง่ ยืน

2. รักษาและพัฒนาระบบกากับดูแลที่เป็ นธรรมและเป็ นมาตรฐานสากล

3. ติดตามและปฏิบตั ิตามมาตรฐานและข้อแนะนาที่พึงปฏิบตั ิขององค์กรระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่ อง

4. พัฒนาองค์กร บุคลากร ระบบงานสนับสนุนอย่างต่อเนื่ อง

หน้ าที่ของสานักงานการบินพลเรือนแห่ งประเทศไทย โดยละเอียด

(อ้างอิง: https://www.caat.or.th)

1. ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนา กิจการการบินพลเรื อน ทั้งในด้านนิ รภัย การรักษาสิ่ งแวดล้อมการรักษาความปลอดภัย การอานวยความ


สะดวกในการขนส่งทางอากาศ เศรษฐกิจการขนส่ งทางอากาศตลอดจนระบบโครงสร้างพื้นฐานการบินพลเรื อนของประเทศ

2. เสนอแนะนโยบายต่อคณะกรรมการการบินพลเรื อนเกี่ยวกับกิจการการบินพลเรื อนและการขนส่ งทางอากาศ

3. เสนอแนะต่อรัฐมนตรี ในการออกกฎกระทรวงตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ

4. ทาหน้าที่เป็ นหน่วยงานธุรการให้กบั คณะกรรมการการบินพลเรื อนตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ และปฏิบตั ิงานอื่นตามที่


คณะกรรมการการบินพลเรื อนมอบหมาย

5. ดาเนินการจัดทาแผนอานวยความสะดวก แผนรักษาความปลอดภัย และแผนนิ รภัยในการบินพลเรื อนแห่ งชาติ รวมทั้งแผนแม่บทการ


จัดตั้งสนามบินพาณิ ชย์ของประเทศ เพื่อเสนอให้คณะกรรมการการบินพลเรื อนพิจารณาอนุมตั ิ รวมทั้งกากับดูแลและควบคุมการดาเนิ นการให้
เป็ นไปตามแผนดังกล่าว
6. ดาเนินการจัดระเบียบการบินพลเรื อน รวมทั้งกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้น่านฟ้ าให้เกิดความปลอดภัยและมี
ประสิ ทธิภาพสู งสุด

7. ตรวจสอบ ติดตาม ควบคุม รวมทั้งส่งเสริ มให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการบินและกิจการการบินพลเรื อนปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎ


ระเบียบ และมาตรฐานสากล

8. กากับดูแลกิจการสนามบินและสนามบินอนุญาตที่จดั ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศหรื อตามกฎหมายอื่นให้เกิดความปลอดภัย


และได้มาตรฐานสากล

9. ให้ความร่ วมมือและสนับสนุนคณะกรรมการการบินพลเรื อนและส่ วนราชการในการประสานงานหรื อเจรจากับองค์การระหว่างประเทศ


หรื อต่างประเทศเกี่ยวกับสิ ทธิในการบิน หรื อการทาความตกลงใด ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรื อนอันอยูใ่ นอานาจหน้าที่ของส่ วนราชการอื่น

10. ร่ วมมือและประสานงานกับองค์การหรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศในด้านการบินพลเรื อนตามพันธกรณี ที่


ประเทศไทยมีอยูต่ ามอนุสญ
ั ญาหรื อความตกลงระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็ นภาคี

11. ส่งเสริ มและสนับสนุนให้มีการวิจยั และพัฒนากิจการการบินพลเรื อน

12. ให้การรับรองหลักสู ตรและสถาบันฝึ กอบรมผูป้ ระจาหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศและกาหนดคุณสมบัติและความรู ้ของ


บุคลากรด้านการบินอื่นที่พึงต้องมี

13. กาหนดมาตรฐานการทางานของผูป้ ระจาหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการเดินอากาศ

14. จัดทาทะเบียนอากาศยาน รวมทั้งทะเบียนผูป้ ระจาหน้าที่และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับการบินพลเรื อน

15. จัดทาและเผยแพร่ ความรู้และข่าวสารเกี่ยวกับการบินพลเรื อน

16. ดาเนินการอื่นใดที่จาเป็ นหรื อต่อเนื่องให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของสานักงาน หรื อตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็ นอานาจหน้าที่ของสานักงาน


หรื อตามที่รัฐมนตรี หรื อคณะรัฐมนตรี มอบหมาย

ตัวอย่างหน้ าที่ของ CAAT

1. กากับดูแลกิจการสนามบิน ด้านความปลอดภัย เช่น กากับดูแลกรมท่าอากาศยาน (DOA) และ บริ ษทั ท่าอากาศยานไทย จากัด
(มหาชน) (AOT)

2. ตรวจสอบการทางานของเจ้าหน้าที่ภาคพื้น (Ground Staff) ให้เป็ นไปตามกฎระเบียบ

3. ตรวจสอบและรับจดทะเบียนเครื่ องบิน ก่อนที่สายการบินจะทาการบินได้ตอ้ งได้รับใบรับรองผูด้ าเนิ นการเดินอากาศ (AOC) จาก


CAAT ก่อน

4. ออกใบอนุญาตให้แก่นกั บิน
โดยสรุ ปแล้ว กพท. มีหน้าที่ กากับ ดูแล ควบคุมหน่วยงานด้านการบินพลเรื อน ทั้งในด้านนิรภัย การรักษาสิ่ งแวดล้อม การรักษาความ
ปลอดภัยให้ปฏิบตั ิตามกฏหมาย ระเบียบ และมาตรฐานสากล รวมถึงการดาเนิ นการที่เกี่ยวข้องกับการบินพลเรื อน อุตสาหกรรมการบิน และการ
ขนส่งทางอากาศ เช่นการออกใบอนุญาตให้นกั บิน การกากับดูแลกิจกรรมสนามบิน เป็ นต้น

MET
ความเป็ นมา (อ้างอิง: https://www.tmd.go.th)

จากอดีตที่หน่วยงานเริ่ มดาเนินงานในกรมทดน้ า กระทรวงเกษตราธิ การ เมื่อ พ.ศ. 2466 และต่อมามีการเปลี่ยนแปลงหน่วยงานกากับ


ดูแลอยูเ่ สมอ จากกรมชลประทาน เป็ นกองทัพเรื อ สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงคมนาคม กระทรวงเทคโนโลยีและการสื่ อสาร และปัจจุบนั
สังกัดกระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตั้งแต่วนั ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2559

ผูใ้ ห้กาเนิดอุตุนิยมวิทยาไทย คือ นายพลเรื อเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ในปี พ.ศ.2449

วิสัยทัศน์ (Vision)

"บริ การที่เป็ นเลิศด้านอุตุนิยมวิทยาและแผ่นดินไหวอย่างทัว่ ถึง และเตือนภัย ถูกต้อง ทันเวลา ตรงตามความต้องการ"

ค่านิยมองค์ กร (Core Values)

“E S I E S”

E - Expertise on Meteorolgy เชี่ยวชาญด้านอุตุนิยมวิทยา

S - Standardization มาตรฐานสากล

I - Integration บูรณาการ

E - Early Warning เตือนภัย ทันเหตุการณ์

S - Service Mind พึงพอใจด้วยจิตบริ การ


AOT
ความเป็ นมา (อ้างอิง: https://airportthai.co.th)

บริ ษทั ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) เดิมใช้ชื่อว่า การท่าอากาศยานแห่ งประเทศไทย หรื อ ทอท. และให้ใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า
Airports Authority of Thailand ย่อว่า AAT เป็ นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม เริ่ มดาเนิ นกิจการตั้งแต่วนั ที่ 1
กรกฎาคม 2522 ต่อมาได้แปรสภาพเป็ นบริ ษทั ภายใต้นโยบายการแปรรู ปรัฐวิสาหกิจไทย โดยจดทะเบียนเป็ นนิ ติบุคคล

ชื่อ บริ ษทั ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) และปรับตราสัญลักษณ์ใหม่ โดยชื่ อย่อของบริ ษทั ยังใช้ชื่อ ทอท. เช่นเดิม ส่ วนชื่ อ
ภาษาอังกฤษคือ Airports of Thailand Public Company Limited และ ใช้ชื่อย่อว่า AOT ตั้งแต่วนั ที่ 30
กันยายน 2545 เป็ นต้นมา

นับตั้งแต่เริ่ มดาเนินกิจการท่าอากาศยานกรุ งเทพ (ท่าอากาศยานดอนเมือง) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 ทอท. ได้ปรับเปลี่ยนแนว
การบริ หารงานเป็ นเชิ งธุรกิจมากยิ่งขึ้น ซึ่ งต่อมา ทอท. ได้รับโอนท่าอากาศยานสากลในส่ วนภูมิภาคอีก 4 แห่ งจากกรมการบินพาณิ ชย์มา
ดาเนินการตามลาดับ ได้แก่ ท่าอากาศยานเชี ยงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ต และท่าอากาศยานเชี ยงราย (พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ วั พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ ท่าอากาศยานเชี ยงราย ใช้ชื่อใหม่วา่ "ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชี ยงราย”) และเข้าบริ หารท่า
อากาศยานสุวรรณภูมิ เมื่อวันที่ 4 สิ งหาคม 2546 โดย ทอท. ได้ปรับปรุ งอาคารสถานที่และสิ่ งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ของท่าอากาศยาน
เหล่านั้นเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการให้บริ การทุก ๆ ด้าน และได้จดั ทาแผนพัฒนาท่าอากาศยานให้สอดคล้องกับการเจริ ญเติบโตของการขนส่ ง
ทาง อากาศที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว

วิสัยทัศน์ (Vision) (อ้างอิง: https://airportthai.co.th)

ทอท. วางวิสยั ทัศน์ในการผลักดันองค์กรสู่ การเป็ น "ผูด้ าเนิ นการและจัดการท่าอากาศยานที่ดีระดับโลก : การมุ่งเน้นคุณภาพการให้บริ การ


โดยคานึงถึงความปลอดภัยและสร้างรายได้อย่างสมดุล"

พันธกิจ (Mission) (อ้างอิง: https://airportthai.co.th)

ประกอบและส่งเสริ มกิจการท่าอากาศยาน รวมทั้งดาเนิ นการกิจการอื่นที่เกี่ยวข้องหรื อต่อเนื่ องกับการประกอบกิจการท่าอากาศยาน โดย


คานึ งถึงการพัฒนาที่ยงั่ ยืน

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ทอท. มีรายได้ จาก (อ้างอิง: https://airportthai.co.th)

1. รายได้จากกิจการการบิน (Aeronautical Revenue) ซึ่งประกอบด้วย

1.1. ค่าธรรมเนี ยมในการขึ้น ลงของอากาศยาน (Landing Charge)

1.2. ค่าธรรมเนี ยมที่เก็บอากาศยาน (Parking Charge)

1.3. ค่าธรรมเนี ยมการใช้สนามบิน (Passenger Service Charge)

1.4. ค่าเครื่ องอานวยความสะดวก (Aircraft Service Charge)


2. รายได้ที่ไม่เกี่ยวกับกิจการการบิน (Non Aeronautical Revenue) ซึ่งประกอบด้วย

2.1. รายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ (Concession Revenue)

2.2. ค่าเช่าสานักงานและค่าเช่าอสังหาริ มทรัพย์ (Office and Real Property Rents)

2.3. รายได้จากการให้บริ การ (Service Revenue)

DOA
ความเป็ นมา (อ้างอิง: https://www.airports.go.th)

กรมท่ าอากาศยาน (Department of Airports : DOA) เป็ นหน่วยงานระดับกรมในสังกัดของกระทรวงคมนาคม มี


อานาจหน้าที่พฒั นาโครงข่ายส่ งเสริ มกิจการท่าอากาศยานและบริ หารท่าอากาศยานทั้ง 28 แห่ งทัว่ ประเทศไทย (ข้อมูลเพิ่มเติม:
https://www.airports.go.th/th/content/349/2945.html) ซึ่งเคยอยูภ่ ายใต้การบริ หารดูแลของกรมการบินพล
เรื อน

กรมท่ าอากาศยาน มีประวัติความเป็ นมา ดังนี้

● พ.ศ. 2456 กระทรวงกลาโหม ได้เริ่ มงานกิจการการบินอย่างจริ งจัง โดยตั้ง “แผนกการบิน” เพื่อทาหน้าที่

● พ.ศ. 2476 ได้มีการปรับปรุ งระเบียบราชการบริ หารขึ้นใหม่ ตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งกระทรวงและกรมขึ้นไว้ โดยกรมการขนส่ ง


แบ่งส่ วนราชการเป็ นสานักงานเลขานุ การกรม และกองการบินพลเรื อน

● พ.ศ. 2485 ได้มีการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการในกรมการขนส่ง โดยมีกองขนส่ งทางอากาศ ทาหน้าที่


ควบคุมการขนส่งทางอากาศทั้งในและนอกประเทศ

● พ.ศ. 2506 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2506 ขึ้นในส่วนของกระทรวง
คมนาคม ได้ยกฐานะสานักงานการบินพลเรื อนขึ้นเป็ นกรมการบินพาณิ ชย์ ทาหน้าที่ส่งเสริ ม และพัฒนาด้านการบินพลเรื อนรวมทั้งพัฒนาท่า
อากาศยานต่างๆ เพื่อใช้ในกิจการบินพลเรื อนเกือบ 30 แห่ ง

● พ.ศ. 2545 ได้มีการเปลี่ยนชื่อจาก “กรมการบินพาณิ ชย์” เป็ น “กรมขนส่งทางอากาศ” ตาม พระราชบัญญัติปรับปรุ งกระทรวง
ทบวง กรม พ.ศ. 2545

● พ.ศ. 2552 มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่อ “กรมการขนส่ งทางอากาศ” เป็ น “กรมการบินพลเรื อน” เพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องกับ


ภารกิจด้านการบิน ซึ่ งครอบคลุมทั้งการขนส่ งทางอากาศ และการเดินอากาศ

● พ.ศ. 2558 ได้มีพระราชกาหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2558 ให้โอน
บรรดากิจการ อานาจหน้าที่ ทรัพย์สิน งบประมาณ หนี้ สิ ทธิ และภาระผูกพัน ในส่ วนที่เป็ นงานเกี่ยวกับท่าอากาศยานและสานักพัฒนาท่าอากาศ
ยาน กรมการบินพลเรื อนไปเป็ นของ “กรมท่าอากาศยาน” กระทรวงคมนาคม
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกาหนดฉบับนี้ คือ โดยที่องค์การการบินพลเรื อนระหว่างประเทศได้ตรวจพบข้อบกพร่ องในด้าน
โครงสร้างและอานาจหน้าที่ของกรมการบินพลเรื อน โดยเฉพาะการแบ่งแยกอานาจหน้าที่ระหว่างหน่วยงานที่ทาหน้าที่กากับดูแลและ
หน่วยงานผูใ้ ห้บริ การ โดยได้ปรับปรุ งโครงสร้างใหม่ดงั นี้

1. แยกงานกากับดูแลออกเป็ น “สานักงานการบินพลเรื อนแห่ งประเทศไทย”

2. แยกงานเกี่ยวกับการค้นหาและช่วยเหลือกรณี อากาศยานประสบภัย งานนิ รภัยการบิน และงานสอบสวนหาสาเหตุของอุบตั ิเหตุ


อากาศยานให้อยูใ่ นอานาจหน้าที่ของสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงคมนาคม

3. รวมถึงเปลี่ยนชื่อกรมการบินพลเรื อน เป็ น “กรมท่าอากาศยาน” เพื่อให้สอดคล้องกับงานในหน้าที่หลักที่ปรับปรุ งใหม่คือ การ


ให้บริ การท่าอากาศยาน

วิสัยทัศน์ (Vision)

“ท่าอากาศยาน มาตรฐานสากลส่งเสริ มโครงข่ายคมนาคมของประเทศ”

พันธกิจ (Mission)

● พัฒนาท่าอากาศยานให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ และสามารถรองรับการเติบโตด้านคมนาคมทางอากาศ

● ดาเนินงานท่านอากาศยานให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล

● บริ หารจัดการองค์กรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

ค่านิยมองค์ กร (Core Values)

i-DOA

i - Intelligence การมุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ

D - Development การพัฒนาขีดความสามารถท่าอากาศยาน บุคลากร ระบบ และการบริ หารจัดการองค์กร

O - Operation ปฏิบตั ิการได้มาตรฐานสากล

A - Accountability ความรับผิดชอบในงาน

หน้ าที่และความรับผิดชอบ

(อ้างอิง: กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมท่าอากาศยาน กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2558)

กรมท่าอากาศยานนมีภารกิจเกี่ยวกับการส่ งเสริ มพัฒนาโครงข่าย และส่ งเสริ มกิจการท่าอากาศยาน และท่าอากาศยาน ให้มีความปลอดภัย


และมีประสิ ทธิภาพ โดยมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
1. ศึกษาวิเคราะห์ความจาเป็ น และความเป็ นไปได้ในการมีท่าอากาศยานแห่ งใหม่ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ และการ
อานวยความสะดวกแก่ประชาชน เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณา

2. จัดให้มีท่าอากาศยานตามผลการศึกษาวิเคราะห์

3. ดาเนินกิจการท่าอากาศยานที่อยูใ่ นความรับผิดชอบ ให้เป็ นไปโดยถูกต้องตามกฎหมาย ถูกหลักเศรษฐกิจ และเพียงพอต่อความ


ต้องการของผูใ้ ช้บริ การ และให้ได้มาตรฐานสากล

4. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็ นอานาจหน้าที่ของกรม หรื อตามที่รัฐมนตรี หรื อคณะรัฐมนตรี มอบหมาย

วิทยุการบิน
ความเป็ นมา (อ้างอิง: https://www.aerothai.co.th)

หน่วยงานได้รับการก่อตั้งหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ ง โดยกรมไปรษณี ยโ์ ทรเลขได้รับมอบหมายจากรัฐบาลให้ทาหน้าที่ให้บริ การ


ควบคุมจราจรทางอากาศ และการสื่ อสารการบิน จนกระทัง่ สงครามโลกครั้งที่สองได้เกิดขึ้นทางทวีปเอเชี ย ส่ งผลให้อากาศยานพลเรื อนไม่อาจ
ทาการบินจึงต้องเลิกกิจการลง

เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้ นสุ ดลง การประกอบธุรกิจการบินระหว่างประเทศเริ่ มฟื้ นตัวขึ้น บริ ษทั Aeronautical Radio
Inc. (ARINC) จากสหรัฐอเมริ กา บริ ษทั International Aeradio Ltd. (IAL) จากอังกฤษ และสายการบินต่างๆ ที่ทาการ
บินมายังประเทศไทย ได้ร่วมกันขออนุมตั ิรัฐบาลไทยจัดตั้ง บริ ษทั การบินแห่ งสยาม จากัด ในปี พ.ศ. 2491 เพื่อดาเนินกิจการบริ การ
ควบคุมจราจรทางอากาศ และสื่ อสารการบินตามมาตรฐาน และข้อเสนอแนะขององค์การการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ (International
Civil Aviation Organization: ICAO) ภายใต้สญ ั ญาที่ได้รับจากรัฐบาลไทย

ต่อมารัฐบาลไทยซึ่ งได้เล็งเห็นถึง ความสาคัญของภารกิจวิทยุการบินฯ ตลอดมาว่าเกี่ยวข้องกับความมัน่ คงแห่ งชาติและการพัฒนากิจการ


บิน ประกอบกับมีความพร้อมในทุก ๆ ด้าน จึงได้ขอซื้อหุ ้นทั้งหมดคืน เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 และเปลี่ยนชื่อภาษาอังกฤษเป็ น
AERONAUTICAL RADIO OF THAILAND LTD. หรื อ AEROTHAI ในเวลาต่อมายังได้อนุญาตให้สายการ
บินที่ทาการบินมายังประเทศไทยเป็ นประจา ร่ วมเป็ นผูถ้ ือหุ ้นกับรัฐบาลด้วย วิทยุการบินฯ จึงได้มีสถานะเป็ นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวง
คมนาคม

ถึงแม้จะดาเนินการในรู ปบริ ษทั จากัด แต่เนื่องจากมีขอ้ ผูกพันในฐานะที่ปฏิบตั ิงานในนามรัฐบาล ซึ่งเป็ นภาคีสมาชิกของ ICAO และ
ตามข้อตกลงที่มีไว้กบั รัฐบาล วิทยุการบินฯ จึงดาเนิ นการแบบไม่คา้ กาไรในการให้บริ การภาคความปลอดภัย ได้แก่ บริ การควบคุมจราจรทาง
อากาศ และสื่ อสารการบิน ในอาณาเขตประเทศไทย โดยมีเครื อข่ายเชื่อมโยงกับประเทศต่างๆ นอกจากนั้นยังมีบริ การภาคธุรกิจ คือ บริ การ
เกี่ยวเนื่ องกับกิจการบินทั้งใน และต่างประเทศ

วิสัยทัศน์ (Vision) (อ้างอิง: https://www.aerothai.co.th)

มุ่งมัน่ พัฒนาคุณภาพการให้บริ การการเดินอากาศ สู่ การเป็ นหนึ่ งในองค์กรระดับดีเยีย่ มตามมาตรฐานโลกอย่างยัง่ ยืน

พันธกิจ (Mission) (อ้างอิง: https://www.aerothai.co.th)


เป็ นผูใ้ ห้บริ การการเดินอากาศของประเทศที่ตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้บริ การด้วยความปลอดภัย เป็ นมาตรฐาน และมีประสิ ทธิภาพ
โดยตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกกลุ่มและผลประโยชน์แห่ งชาติ

หน้ าที่และความรับผิดชอบ (อ้างอิง: https://www.aerothai.co.th)

บริ ษทั วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลไทย ให้เป็ นหน่วยงานผูใ้ ห้บริ การการเดินอากาศของประเทศ มี


หน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้

1. การบริ หารจราจรทางอากาศ (Air Traffic Management)

2. การบริ หารระบบสื่ อสาร ระบบช่วยการเดินอากาศ และระบบติดตามอากาศยาน (Aeronautical


Communications, Navigation and Surveillance System/Services)

3. การบริ การข่าวสารการเดินอากาศและงานแผนที่เดินอากาศ (Aeronautical Information Services and


Aeronautical Charts) รวมทั้งบริ การเกี่ยวเนื่อง และงานตามนโยบายรัฐบาล

You might also like