You are on page 1of 83

บทที่ 2 วิศวกรรมฐานราก

ศ.ดร.อมร พิมานมาศ, เลขาธิการสภาวิศวกร


ดร.ภาณุวฒั น์ จ้อยกลัด

1
วิศวกรรมฐานรากเบือ้ งต้น
• ฐานราก (Foundation) คือ ส่วนหนึ่งของโครงสร้างซึง่ รองรับ
น้าหนักทัง้ หมด P

ของโครงสร้างส่วนบน P

และถ่ายลงสูช่ นั ้ รองรับ D

ทางธรรมชาติทแ่ี ข็งแรง D

B
(ฐานรากตืน้ : D/B < 1.0)

B
โดยทัวไปฐานรากแบ่
่ งออกเป็ น (ฐานรากลึก : D/B > 4.0)

• ฐานรากตืน้ (Shallow foundation)  D/B < 1.00


• ฐานรากลึก (Deep foundation)  D/B > 4.00
2
Gross pressure VS Net Pressure
ฐานแผ่ หนา 60 ซม. วางอยูใ่ ต้ดนิ ถม 60 ซม. มี g = 1.8 ตัน/ม.3 รับน้าหนัก Pc
Pc = 0
Self weight & surcharge

ดินหนา 0.6 ม.
@ 1.8 ตัน/ม.3 1.08 ตัน/ม.2
คอนกรีตหนา 0.6 ม.
@ 2.4 ตัน/ม.3 1.44 ตัน/ม.2

2.52 ตัน/ม.2
Pc

Net pressure

แรงดันดินสุทธิ
qn = Pc/A 3
(Net soil pressure)
Pc

1.08 ตัน/ม.2
Gross pressure 1.44 ตัน/ม.2

แรงดันดินทัง้ หมด 2.52 ตัน/ม.2


(Gross soil pressure)
@ 2.52 + qn qn = Pc/A

จะได้ q structure  q surch arg e  q footing  q allowable



q
net   
q gross

นัน่ คือ qnet  qallowable  q surch arg e  q footing

P
หรือ Arequire 
q net 4
รูปแบบของฐานรากตื้น
แนวเขต

ฐานรากร่วม
(Combined footing)

Isolated spread footing

ฐานรากวางบนหิน

2
10 .
30 / . 5
Mat Footing
ฐานรากร่วม : Transfer girder
กรณีทแ่ี นวของเสาอาคารไม่ตรงจุดศูนย์ถ่วงของฐานราก อาจแก้ปัญหาโดยออกแบบ
คานถ่ายแรง (Transfer girder) รองรับเสาแล้วถ่ายน้าหนักลงสูฐ่ านรากต่อไป อาจ
เลือกใช้คานแบบ Simple support beam
หรือ overhanging beam

(ก) ระดับของอาคาร

เสาอาคาร ระยะเยื้อง
เสาอาคาร
เสาอาคาร (ค) แบบปลายยื่น
เสาอาคา

(ข) แบบวางพาดอย่างง่าย 6
รูปแบบของฐานรากลึก

Pile cap

Piles
Weak soil

Bearing stratum
กาลังรับน้าหนักของฐานรากตื้น
• Terzaghi และ Peck (1967) เสนอวิธวี เิ คราะห์กาลังรับน้าหนักบรรทุก
ประลัยของฐานรากตืน้ โดยให้ฐานรากวางอยูท่ ค่ี วามลึกจากผิวดินเท่ากับ Df
และใช้ความกว้างค่าน้อยคือ B

1
qult  cNc sc  qN q  gBNg sg
2

•เมือ่ Nc, Nq, Ng คือ Bearing capacity factor เป็ นค่าไม่มหี น่วย ขึน้ กับ f

8
Soil and foundations / Cheng Liu, Jack B. Evett (2004) 9
1
qult  cNc sc  qN q  gBNg sg Terzaghi and Peck 1967
2

c ค่าความเชื่อมแน่น (Cohesion)
q  gD f น้ าหนักกดทับจากของดิน
 tanf f
Nq  e tan ( 45 
2
)
2
N c  ( N q  1 ) cot f
N g  ( N q  1 ) tan( 1.4f )
sc  1; sg  1 ฐานมีความยาวมาก (ฐานรากรับกาแพง)
sc  1.2; sg  0.8 ฐานสีเ่ หลีย
่ มจตุรสั
10
กาลังรับน้าหนักของฐานแผ่ใน ดินเหนี ยว
• ดินประเภท Cohesive soil ได้แก่ ดินเหนียว(Clay) ดินเหนียวปน
ทราย (Sandy clay) และ Plastic Silt ซึง่ มีเม็ดเล็กและน้าซึมได้ต่า
เมือ่ รับน้าหนักจึงเกิด Excess pore water pressure ขึน้ สูงสุดและ
จะลดลงในเวลาต่อมา ดังนัน้ ค่าวิกฤติจงึ เป็ นตอนทีร่ บั น้าหนัก
ระยะแรก
• แรงแบกทานทีย่ อมให้ของดินเหนียว (allowable bearing
capacity, qa) สามารถคานวณได้จากสมการของ Peck et
al.,1974
5.14c  Df  B
qa   1  0.2  1  0.2 
SF  B  L 11
c ค่าความเชื่อมแน่น (Cohesion)
Df ความลึกของฐานจากผิวดิน
B ความกว้างของฐาน
L ความลึกของฐาน
SF อัตราส่วนความปลอดภัย Peck แนะนาให้ใช้ = 3

•หรือสามารถคานวณ qa ได้จาก รูปที่ 1 (Peck, et al, 1974) เมือ่


ทราบค่า unconfined compressive strength (qu) และ อัตราส่วน
Df/B
เมือ่ qu = su = 2c
12
กาลังรับน้าหนักของฐานแผ่ใน ดินเหนี ยว
Foundation Engineering, Ralph B. Peck and Walter E. Hanson

รูปที่ 1

1 t/ft2 = 10.76 t/m2 13


ตัวอย่าง 1 จงคานวณ qa
0.0 m.
0.3 m.

Clay
2.0 m. g = 1.92 T/m3
c = 4.5 T/m2

2.0 m. 7.0 m.
Sandy clay

8.0 m.
Sandy gravel
f = 35o
14
ตัวอย่าง 1 จงคานวณ qa
5.14c  Df  B
qa   1  0.2  1  0.2 
SF  B  L

c  4.5 ton / m2
Df  2 m

B2m
L

SF  3
5.14  4.5  2  2
qa   1  0.2  1  0.2 
3  2  
qa  9.25 ton / m 2
15
ตัวอย่าง 1 จงคานวณ qa จากกราฟ
• จาก Su = c = 4.5 ตัน/ม.2
• ่ อ qu = 2*Su = 9.00 ตัน/ม.2
นันคื
• หรือ qu = 9/10.76 = 0.84 ตัน/ฟุต2
• จากรูปที่ 1 จะได้ qa = 0.86 ตัน/ฟุต2
• ่ อ qa = 0.86*10.76 = 9.25 ตัน/ม.2
นันคื

qa = 0.86 t/sq.ft qu = 0.84 t/sq.ft


16
กาลังรับน้าหนักของฐานแผ่ใน ดินทราย
• เนื่องจากดินประเภท Cohesionless soil ซึง่ ได้แก่ Gravel,
Sand, Clayey Sand และ Nonplastic silt เป็ นดินทีน่ ้าไหลผ่าน
ได้งา่ ย
• เมือ่ รับน้าหนักบรรทุก น้าจะซึมหนีและเกิดการทรุดตัวอย่าง
รวดเร็ว
• การวิเคราะห์หาแรงแบกทานทีย่ อมให้สามารถคานวณได้จาก
สมการของ Terzaghi และ Peck 1967 ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว
ข้างต้น หรือ สมการของ Peck และคณะ 1953 ดังนี้

B  gN g Df 
qa  
SF  2

 g Nq 1
B 


17
กาลังรับน้าหนักของฐานแผ่ใน ดินทราย

• หรืออาจใช้สมการของ Meyerhof 1956 ซึง่ เป็ นการคานวณกาลัง


แบกทานของดินทรายจากค่า SPT ซึง่ ได้รวมผลของการทรุดตัว
ของฐานรากไม่เกิน 25 มม. เรียบร้อยแล้ว

qa  12 Nkd kN/m2 B  1.22 m

 B  0.305 
2

qa  8 N   kd kN/m2 B  1.22 m
 B 
D
เมือ่ k d  1  0.33   1.33
B
N คือจานวนครัง้ ของ SPT 18
หรือสามารถคานวณ qa โดยอ่านค่าจากกราฟ
เสนอโดย Peck มีขนั ้ ตอนดังนี้
คานวณค่าเฉลีย่ ของ N ทีร่ ะหว่างความลึก Df และ Df + B

หาค่า CN จาก รูปที่ 2

หาค่า Cw = 0.5 + 0.5[Dw/(Df + B)] < 1.0


เมือ่ Dw คือ ระดับน้ าใต้ดนิ ซึง่ วัดจากผิวดิน

คานวณค่า N = CN*N

เปิ ดค่า q’a จาก รูปที่ 3

ปรับแก้คา่ q’a ด้วย qa = Cw*q’a 19


กราฟเพื่อคานวณพารามิเตอร์ในดินทราย
Soil Mechanics / R.F. Craig
รูปที่ 2 = 0 ถ้าฐานรากอยูเ่ หนือ
ระดับน้าใต้ดนิ

    u

วางบนดินชัน้ เดียว = Dfgd


Effective vertical
overburden pressure
x

z
z
x x

z 20
z
กาลังรับน้ าหนักของฐานแผ่ใน ดินทราย
Soil Mechanics / R.F. Craig

รูปที่ 3

21
ตัวอย่าง 2 จงคานวณ qa
ฐานรากกว้าง 3x3 ม. วางบนดินทรายมีคา่ g = 1.71 ตัน/ม.3
ทีค่ วามลึก 1.5 ม. โดยระดับน้าใต้ดนิ อยูท่ ่ี 3.5 ม.

ความลึกจากผิวดิน (ม.) ค่า SPT-N (ครั้ง/ฟุต)


0.75 8
1.55 7
1.5 m 2.30 9
3.00 13
3.70 12

g =1.71 ton/m2 4.45 16


5.20 20

22
ตัวอย่าง 2 จงคานวณ qa
•B=3 ม. L=3 ม. Df=1.5 ม.
•คานวณ N ทีค่ วามลึกเฉลีย่ Df = 1.5 ม.
และ Df + B = 4.5 ม. นันคื ่ อ 3.0 ม.
• ดังนัน้ ค่า SPT N ทีร่ ะดับ 3.0 ม. มีคา่ เท่ากับ 13
• คานวณกาลังแบกทานตามสมการของ Meyerhof 1956 เมือ่ B > 1.22 ม.
2
 B  0.305 
qa  8 N   kd
 B 
 1.5 
k d  1  0.33   1.165  1.33
 3 
2
 3  0.305 
qa  8  13     1.165  147.05 kN / m
2

 3 

qa  147.05 / 9.81; qa  15.0 ตัน/ม.2 23


ตัวอย่าง 2 จงคานวณ qa โดยวิธีเปิดกราฟ
 คานวณ N ทีค่ วามลึกเฉลีย่ Df = 1.5 ม.
และ Df + B = 4.5 ม. นันคื
่ อ 3.0 ม.
 แรงดันรวม :  = gz = 1.71*3 = 5.13 ตัน/ม.2
 ระดับน้าใต้ดนิ ต่ากว่าจุดสนใจ ดังนัน้ u = 0 ตัน/ม.2
 แรงดันประสิทธิผล : ’ =  – u = 5.13 – 0
= 5.13 ตัน/ม.2 (50.31 kN/m2)
 เมือ่ ’ = 50.31 kN/m2 จากรูปที่ 2 จะได้ CN = 1.4
  3.5  
 ปรับแก้คา่ Cw  Min0.50  0.50 , 1.00
  1.5  3.0  
 Min{ 0.89, 1.00 }  0.89
24
ตัวอย่าง 2 จงคานวณ qa โดยวิธีเปิดกราฟ
 ค่า N ทีค่ วามลึก 3.0 ม. ตารางเท่ากับ 13 ครัง้ /ฟุต

 ปรับแก้ N = CN*N= 1.4*13 = 18.20 ครัง้ /ฟุต

 จากรูปที่ 3 เมือ่ B = 3 ม. จะได้ q’a = 180 kN/m2


 ปรับแก้ดว้ ย Cw นันคื
่ อ

 qa = CW*q’a = 0.89*180 = 160.20 kN/m2

 หรือ 16.33 ตัน/ม.2


25
กาลังรับน้าหนักของฐานลึก : เสาเข็ม
• พฤติกรรมการถ่ายแรงของดินแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดคือ
(1) แรงเสียดทานผิว (Skin friction, Qs)
(2) แรงแบกทานที่ปลายเข็ม (End point bearing, Qp)
Qu

Qs

Qe 26
สมการการรับน้าหนักของเสาเข็ม
• กาลังรับน้าหนักปลอดภัยของเสาเข็มมีค่าเท่ากับ

 Qs  Qe 
Qa    Wp  NF
 F .S . 

• เมือ่ Qs คือ แรงเสียดทานผิว


Qe คือ แรงแบกทานทีป่ ลาย
Wp คือ น้าหนักของเสาเข็ม
NF คือ แรงฉุด (Negative skin friction) ถ้ามี
F.S. คือ อัตราส่วนความปลอดภัย (Factor of Safety)

27
แรงฉุดลงของเสาเข็ม
• เมือ่ เสาเข็มเป็ นชนิดรับแรงแบกทานทีป่ ลายและมีดนิ อ่อน (Soft
clay หรือ loose sand) อยูบ่ นชัน้ ดินแข็ง (Stiff to hard clay หรือ
Dense to very dense sand) การทรุดตัวของชัน้ ดินอ่อนซึง่ มี
สาเหตุมาจากการถมดิน การสูบน้าบาดาลและเกิดการทรุดตัว
ตามธรรมชาติโดยน้าหนักตัวมันเอง
N F  bL  P

• b ส.ป.ส. แรงฉุ ด (ตารางที่ 1)


• ’ แรงดันประสิทธิผล
• Ll ความยาวเข็มส่วนทีจ่ มในชัน้ ดินอ่อน
• P เส้นรอบรูป
28
ส.ป.ส. แรงฉุด
ตารางที่ 1

ชนิดของดินหรื อวัสดุ b

หิ นถม 0.40

ทรายหรื อกรวด 0.35

ตะกอนทรายหรื อดินเหนียว 0.20 - 0.30

29
กาลังรับน้าหนักของเสาเข็มตอก
แรงเสียดทานผิว (Skin friction)
• แรงเสียดทานผิวเกิดจากผลคูณระหว่าง หน่วยแรงเสียดทานผิว
(fs) และพืน้ ทีผ่ วิ ของเสาเข็ม (Ap)

• โดยพืน้ ทีผ่ วิ ของเสาเข็ม คือ ผลคูณระหว่าง เส้นรอบรูป (P) และ


ความยาวเข็ม (L) ดังนี้

Qs = fs*Ap
30
แรงแบกทานที่ปลาย (End bearing)
• แรงแบกทานทีป่ ลายเกิดจากผลคูณระหว่าง หน่วยแรงแบกทานที่
ปลาย (qe) และพืน้ ทีห่ น้าตัดของเสาเข็ม (Ac)

Qe = qe*Ac

31
กาลังรับน้าหนักของเข็มตอกในชัน้ ดินเหนี ยว
• แรงเสียดทานผิว
• หน่วยแรงเสียดทานผิว : fsc = a*Su

• a คือ ตัวคูณแรงยึดเกาะ (adhesion factor) สาหรับดิน


เหนียวกรุงเทพฯ รูปที่ 5 และทัวไปตามรู
่ ปที่ 4

Su คือ Undrained shear strength ดูได้จากรูปที่ 6


su = 0.5qu หรือ 0.625N
32
ตัวคูณแรงยึดเกาะ - ทั่วไป

รูปที่ 4 6.84 11.5


33
ตัวคูณแรงยึดเกาะ - กรุงเทพฯ

รูปที่ 5 34
ค่า qu ในกรณีที่ทราบ N

รูปที่ 6 35
กาลังรับน้าหนักของเข็มตอกในชัน้ ดินเหนี ยว
• แรงแบกทานที่ปลาย

• หน่วยแรงแบกทานทีป่ ลาย เท่ากับ qec = Su*Nc + 


• Nc หาได้จากรูปที่ 7
•  คือ แรงดันรวมทีป่ ลายเข็ม = gh

36
พารามิเตอร์เพื่อคานวณกาลังของเสาเข็ม

Ex 7 รูปที่ 7 37
ตัวอย่าง 3 กาลังรับน้าหนักของเข็มในดินเหนี ยว
Qsafe load = ?

0.3 ม.
Clay
g = 1.67 T/m3
0.3 ม. 12 m. qu = 6.84 T/m2
F.S. = 2.0

38
ตัวอย่าง 3 กาลังรับน้าหนักของเข็มในดินเหนี ยว
ขัน้ ที่ 1 คานวณแรงเสียดทานผิว
 พืน้ ทีผ่ วิ : Ap = P*L = 4*0.3*12=14.40 ม.2
 ตัวคูณแรงยึดเกาะจากรูปที่ 4 เมือ่ qu = 6.84 ตัน/ม.2 เท่ากับ 0.90
 กาลังเฉือนแบบไม่ระบายน้า Su = 0.5qu = 0.5*6.84 = 3.42 ตัน/ม.2
 หน่วยแรงเสียดทานผิว fsc = a*Su = 0.90*3.42 = 3.08 ตัน/ม.2
 แรงเสียดทานผิว Qf = Ap*fsc = 14.40*3.08 = 44.32 ตัน

ขัน้ ที่ 2 คานวณแรงแบกทานทีป่ ลาย


 พืน้ ทีห่ น้าตัด : Ac =0.3*0.3 = 0.09 ม.2
 แรงดันรวม  = gL = 1.67*12 = 20.04 ตัน/ม.2
 ส.ป.ส. Nc เมือ่ L/D = 12/0.3 = 40 จากรูป 7 เท่ากับ 9.0
 หน่วยแรงแบกทานทีป่ ลาย qec = Su*Nc +  ตัน/ม.2
 นันคื
่ อ qec = 3.42*9 + 20.04 = 50.82 ตัน/ม.2
 แรงแบกทานทีป่ ลาย Qe = Ac*qsc = 0.09*50.82 = 4.57 ตัน 39
ตัวอย่าง 3 กาลังรับน้าหนักของเข็มในดินเหนี ยว

ขัน้ ที่ 3 น้ าหนักของเสาเข็ม


 W = gc*Ac*L = 2.4*0.09*12 = 2.59 ตัน

ขัน้ ที่ 4 กาลังรับน้าหนักบรรทุกปลอดภัย สาหรับ F.S. = 2.0


 Qa = (Qf + Qe)/F.S. – W = (44.32 + 4.57)/2 – 2.59 = 21.86 ตัน

40
ตัวอย่าง 3.1 จงออกแบบความยาวของเสาเข็มขนาด
0.30x0.30 ม. เมื่อ F.S. = 2.0 สาหรับเสาเข็มในพืน้ ที่ทวไป
ั่

QWorking load = 36 T

Clay
g = 1.81 T/m3
L=? qu = 11.5 T/m2
ตัวอย่าง 3.1 จงออกแบบความยาวของเสาเข็ม
ขนาด 0.30x0.30 ม. เมื่อ F.S. = 2.0
ขัน้ ที่ 1 คานวณแรงเสียดทีเ่ กิดจากแรงเสียดทานผิว
 พืน้ ทีผ่ วิ Ap = PxL = 4x0.3xL = 1.2L
 ตัวคูณแรงยึดเกาะจากรูป 4 เมือ่ qu = 11.5 ตัน/ม.2 ได้ a =0.76
 กาลังเฉือนแบบไม่ระบาย : Su = 0.5qu = 5.75 ตัน/ม.2
 หน่วยแรงเสียดทานของดินทีไ่ ม่มคี วามเชื่อมแน่น fsc = aSu
 ดังนัน้ 0.76x5.75 = 4.37 ตัน/ม.2
 แรงเสียดทาน : ดินเหนียว Qf = Apfsc = 1.2Lx4.37 = 5.24L ตัน

42
ตัวอย่าง 3.1 จงออกแบบความยาวของเสาเข็ม
ขนาด 0.30x0.30 ม. เมื่อ F.S. = 2.0
ขัน้ ที่ 2 คานวณแรงเสียดทีเ่ กิดจากแรงแบกทานทีป่ ลาย
 พืน้ ทีห่ น้าตัด Ac = 0.3x0.3 = 0.09 ม.2
 แรงดันรวม  = gL = 1.81L ตัน/ม.2
 สมมุติ L/D > 6 ดังนัน้ จากรูปที่ 7 ค่า Nc = 9.0
 หน่วยแรงแบกทานของดินทีม่ คี วามเชื่อมแน่น
 qec = SuNc +  = 5.75x9+1.81L = 51.75+1.81L ตัน/ม.
 แรงแบกทานทีป่ ลายเข็ม Qe = Acqes = 0.09(51.75+1.81L)
= 4.66+0.16L ตัน

43
ตัวอย่าง 3.1 จงออกแบบความยาวของเสาเข็ม
ขนาด 0.30x0.30 ม. เมื่อ F.S. = 2.0
ขัน้ ที่ 3 น้าหนักเสาเข็ม W = gcAcL = 2.4x0.09L = 0.216L ตัน
ขัน้ ที่ 4 น้าหนักบรรทุกปลอดภัย เมือ่ F.S. = 2.0
 นันคื
่ อ Qa = [(Qf + Qe)/F.S.] – W
 จะได้ 36 = [5.24L+(4.66+0.16L)]/2 – 0.216L
 แก้สมการได้ L = 13.55 ม.
เสาเข็มควรมีความยาวอย่างน้อยเท่ากับ 14.00 ม.

44
กาลังรับน้าหนักของเข็มตอกในชัน้ ดินทราย
• แรงเสียดทานผิว

Qf = AP*fss
fss คือ หน่วยแรงเสียดทานผิว /*K0*tand
• K0 คือ ส.ป.ส.แรงทางข้างทีภ่ าวะหยุดนิ่ง มีคา่ เท่ากับ 2.0
สาหรับเข็มตอกทีม่ กี ารแทนทีข่ องดินมาก
และ 1.00 สาหรับเข็มตอกทีม่ กี ารแทนทีด่ นิ น้อย
 ’ คือ แรงดันประสิทธิผลทีก่ ง่ึ กลางชัน้ ดิน
 d คือ มุมเสียดทานระหว่างดินและเข็ม = (3/4)f
เมือ่ f เป็ นมุมแห่งความเสียดทานภายในของดิน
หาได้จากรูปที่ 8 หรือการทดสอบในห้องปฏิบตั กิ าร

45
กาลังรับน้าหนักของเข็มตอกในชัน้ ดินทราย
• แรงแบกทานที่ปลาย

• หน่วยแรงแบกทานทีป่ ลาย qes = Nq /


• ส.ป.ส. Nq หาได้จาก รูปที่ 8 (เมือ่ ทราบ f )
• หรือสมการทีเ่ สนอโดย Meyerhof (1951)

 f
N q  e  tan f tan2  45   1.1
 2

• เมือ่ f  0.3N   27 1.2

รูปที่ 9 Ex 7 (a)
46
Ex 7 (b)
กาลังรับน้าหนักของเข็มตอกในชัน้ ดินทราย
From f to Nq (1) From SPT-N to f (2)

(1)
(2)

รูปที่ 8
Soil and foundations / Cheng Liu, Jack B. Evett (2004) 47
ค่า f VS N’

รูปที่ 9 48
ตัวอย่าง 4 กาลังรับน้าหนักของเข็มในดินทราย
Qsafe load = ?

0.3 ม. Medium dense to dense sand


g = 2.05 T/m3
8.0 m. f = 38o
0.3 ม.

F.S. = 2.0

49
ตัวอย่าง 4 กาลังรับน้าหนักของเข็มในดินทราย

ขัน้ ที่ 1 แรงเสียดทานผิว


 พืน้ ทีผ่ วิ AP = 4*0.3*8 = 9.60 ม.
 เมือ่ f = 38o ดังนัน้ d = (3/4)f = 28.5o
 ดังนัน้ tand = 0.54
 เนื่องจากเป็ นเข็มตัน มีการแทนทีข่ องดินมาก K0 = 2.0
 แรงดันประสิทธิผลเฉลีย่ : ’ = g(L/2) = 2.05*4 = 8.20 ตัน/ม.2
 หน่วยแรงเสียดทานผิว : fss = ’K0tand
 นันคื
่ อ fss = 8.20*2.00*0.54 = 8.86 ตัน/ม.2
 แรงเสียดทานผิว : Qf = Ap*fss = 9.60*8.86 = 85.06 ตัน

50
ตัวอย่าง 4 กาลังรับน้าหนักของเข็มในดินทราย
ขัน้ ที่ 2 แรงแบกทานทีป่ ลาย
 พืน้ ทีห่ น้าตัด Ac = 0.3*0.3 = 0.09 ม.2
 แรงดันประสิทธิผลทีป่ ลาย ’ = gL – u = 2.05*8 – 0 = 16.40
 ส.ป.ส. Nq จากรูปที่ 8 สาหรับ f = 38o มีคา่ เท่ากับ 48
 ดังนัน้ หน่วยแรงแบกทานทีป่ ลายมีคา่ เท่ากับ qes = Nq*’
 แทนค่าจะได้ qes = 48*16.40 = 787.20 ตัน/ม.2
 แรงแบกทานทีป่ ลาย Qe = Ac*qes = 0.09*787.20 = 70.85 ตัน

ขัน้ ที่ 3 น้ าหนักของเสาเข็ม


 W = gc*Ac*L = 2.4*0.09*8 = 1.73 ตัน

ขัน้ ที่ 4 กาลังรับน้าหนักบรรทุกปลอดภัย สาหรับ F.S. = 2.0


 Qa = (Qf + Qe)/F.S. – W = (85.06+70.85)/2 – 1.73 = 76.23 ตัน 51
กาลังรับน้าหนักของเสาเข็มตอก : Boring Log

• จากรายงานการเจาะสารวจดิน (Boring log) ต่อไปนี้


• จงคานวณกาลังรับน้าหนักของเสาเข็มตอกสีเ่ หลีย่ มจตุรสั ขนาด
0.3x0.3 ม. ยาว 20 ม.
• กาหนด F.S. = 2.50
• สมมุตริ ะดับน้าใต้ดนิ ที่ 3.6 ม. จากผิวดิน

52
53
54
คุณสมบัติของชัน้ ดิน
Layer Depth Thk Soil Consistency SPT Su f Unit Weight
(m) (m) Type (b/ft) T/m2 T/m3
1 0.0 5.0 5.0 Clay Medium - 3.55 - 0.73

2 5.0 13.0 8.0 Clay Soft - 1.53 - 1.52

3 13.0 15.5 2.5 Sand Very loose 1 - 29 1.63

4 15.5 19.5 4.0 Sand Medium 21 - 33 1.80

5 19.5 23.5 4.0 Sand Very Dense 60 - 41 2.10

6 23.5 28.0 4.5 Clay Hard 39 24.38 - 2.07

7 28.0 29.5 1.5 Clay Hard 42 26.25 - 2.04

8 29.5 30.45 0.95 Sand Very Dense 60 - 41 2.23


55
0.625N
หน่ วยแรงและแรงดันน้า
(ระดับน้าใต้ดินที่ 3.60 m. จากพืน้ ดิน)
ชัน้ ดิน ความลึกทีก่ ง่ึ กลาง หน่วยแรงรวม แรงดันน้ า หน่วยแรงประสิทธิผล
ชัน้ ดิน  u ’

(m.) (T/m2) (T/m2) (T/m2)


1 2.50 1.82 0 1.82
2 9.00 9.73 5.40 4.33
3 14.25 17.85 10.65 7.20
4 17.50 23.48 13.90 9.58
5 21.50 31.28 17.90 13.38
6 25.75 40.14 22.15 17.99
7 28.75 46.33 25.15 21.18
8 29.95 48.86 26.35 22.51 56
กาลังเสียดทานผิว (Qf), เส้นรอบรูป = 0.3*4 = 1.2 m.
Qf = (Sqf)*P = 76.9*1.2 = 95.28 ตัน
ชัน้ ดิน ความ ความ ดินเหนียว ดินทราย qf = Sqf
หนา หนา Su a fsc = f ’ K0 fss =
(m.) สะสม fs*L
a*Su K0*’*tan(3f/4) (T/m)
(m.) (T/m)
(T/m2) (T/m2) (T/m2) (T/m2)
1 5.0 5.0 3.55 0.84 2.98 - - - - 14.9 14.9
2 8.0 13.0 1.53 1.00 1.53 - - - - 12.2 27.1
3 2.5 15.5 - - - 29 7.2 2 5.75 14.4 41.5
4 4.0 19.5 - - - 33 9.6 2 8.85 35.4 76.9
5 4.0 23.5 - - - 41 13.4 2 15.94 63.8 140.7
6 4.5 28.0 24.38 0.42 10.24 - - - - 46.08 186.78
7 1.5 29.5 26.25 0.42 11.03 - - - - 16.55 203.33
8 0.95 30.45 - - - 40 22.5 2 25.98 23.4 226.73
57
ปลายเสาเข็มอยูบ่ นชัน้ ทราย
กาลังรับน้าหนักที่ปลายเข็ม  f
N q  e  tan f tan2  45  
 SPT = 60 Blows/ft  2

 N’ = 15 + 0.5(N - 15) = 15 + 0.5(60-15) = 37.5 b/ft


 f = 0.3N’+27 = 0.3x37.5+27 = 38.25
 คานวณ Nq จาก N’ และจากสมการ (1.1) : Nq = 50.60
 ’ = 5*0.73+8*1.52+2.5*1.63+4*1.80+0.5*2.1-16.4*1=11.7 T/m2
 qes = Nq*’ = 50.60*11.7 = 592.02 T/m2
 Qe = qes*Ac = 592.02*0.09 = 53.28 Ton
น้าหนักของเสาเข็ม : Wp = 0.09*20*2.4 = 4.32 Ton
กาลังรับน้าหนักปลอดภัย
 Qa = (Qf + Qe)/F.S. – Wp
 Qa = (95.28 + 53.28)/2.5 – 4.32 = 55.10 Ton 58
 use Q = 50 Ton
กาลังรับน้าหนักของเสาเข็มเจาะ

59
กาลังรับน้าหนักของเข็มเจาะในชัน้ ดินเหนี ยว
• แรงเสียดทานผิว
หน่วยแรงเสียดทานผิว : fsc = azSu
az คือ ตัวคูณการยึดเกาะ ตามรูปที่ 9 มีคา่ เป็ นศูนย์ทร่ี ะยะ 1.50 ม.
จากปลายบนและปลายล่างเข็มและไม่คดิ ค่าในกรณีทป่ี ลายล่างเป็ น
ปลายบาน

60
ก้าลังรับน้าหนักของเข็มเจาะในชันดินเหนียว

รูปที่ 9 61
กาลังรับน้าหนักของเข็มเจาะในชัน้ ดินเหนี ยว
• แรงแบกทานที่ปลาย
• หน่วยแรงแบกทานทีป่ ลาย : qec = NcSu

รูปที่ 10

62
ตัวอย่าง 5 จงคานวณ Qa
• กาหนด F.S. = 2.50
• เสาเข็มกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.0 ม.
Qsafe load = ?

Clay
8 m. Su = 4.08 T/m2
1 m.

Clay
4 m.
1 m. Su = 10.196 T/m2
2 m. 63
ตัวอย่าง 5 จงคานวณ Qa
ขัน้ ที่ 1.1 คานวณแรงเสียดทานผิว ช่วง 0<= z < 8 ม.
• พืน้ ทีผ่ วิ Ap1 = D(L1-1.5) = *1*(8-1.5) = 20.42 ม.2
• เมือ่ Su = 4.08 ตัน/ม.2 ค่า az จากรูปที่ 9 คือ 0.55
• หน่วยแรงเสียดทานผิว fsc1 = azSu = 0.55*4.08
เท่ากับ 2.24 ตัน/ม.2
• แรงเสียดทานผิว Qf1 = Ap1*fsc1 = 20.42*2.24
เท่ากับ 45.74 ตัน

64
ตัวอย่าง 5 จงคานวณ Qa
ขัน้ ที่ 1.2 คานวณแรงเสียดทานผิว ช่วง 8 < z <= 12 ม.
• พืน้ ทีผ่ วิ Ap2 = D(L1-D-LB) = *1*(4-1-1) = 6.28 ม.2
• เมือ่ Su = 10.20 ตัน/ม.2 ค่า az จากรูปที่ 9 คือ 0.55
• หน่วยแรงเสียดทานผิว fsc2 = azSu = 0.55*10.20
เท่ากับ 5.61 ตัน/ม.2
• แรงเสียดทานผิว Qf2 = Ap2*fsc2 = 6.28*5.61
เท่ากับ 35.23 ตัน

65
ตัวอย่าง 5 จงคานวณ Qa
ขัน้ ที่ 2 คานวณแรงแบกทานทีป่ ลาย
• พืน้ ทีห่ น้าตัด Ac = (/4)D2 = (/4)*22 = 3.142 ม.2
• เมือ่ Su = 10.20 ตัน/ม.2 ค่า Nc จากรูปที่ 10 คือ 9
• หน่วยแรงแบกทานทีป่ ลาย qec = Nc*Su = 9*10.20
่ อ 91.80 ตัน/ม.2
• นันคื
• แรงแบกทานทีป่ ลายเข็ม Qe = Ac*qec = 3.142*91.80
แทนค่าจะได้ 288.44 ตัน/ม.2

66
ตัวอย่าง 5 จงคานวณ Qa
ขัน้ ที่ 3 น้ าหนักเสาเข็ม
• นันคื
่ อ W = gc*Ac*L
• 2.4*(/4)*12*11 + 2.4(/4)*(1.5)2*1 = 24.97 ตัน
ขัน้ ที่ 4 น้ าหนักบรรทุกปลอดภัย
• รวม 2 ช่วง
• Qa = {[Qf1 + Qf2 + Qe]/F.S.} – W
• นันคื ่ อ Qa = {[45.74+35.23+288.44]/2.5} – 24.97
• เท่ากับ Qa = 122.80 ตัน
67
กาลังรับน้าหนักของเข็มเจาะในชัน้ ดินทราย
• แรงเสียดทานผิว

• หน่วยแรงเสียดทานผิว : fss = b’


 ค่า b เท่ากับ b  1.50  0.245 z เมือ่ N >= 15
N 
b (1.50  0.245 z ) เมือ
่ N < 15
 15 

 ค่า z คือ ความลึกทีก่ ง่ึ กลางชัน้ ดิน


 ค่า ’ คือ แรงดันประสิทธิผลทิก่ ง่ึ กลางชัน้ ดิน

68
กาลังรับน้าหนักของเข็มเจาะในชัน้ ดินทราย
• แรงแบกทานที่ปลาย
• หน่วยแรงแบกทานทีป่ ลาย : qes คานวณจาก

q es  5.86N
เมือ่ N < 50
q es  0.59[N  ( /10.2)]0.80 เมือ่ N > 50

หน่วยเป็ น ตัน/ม.2

69
ตัวอย่าง 6 จงคานวณ Qa
• กาหนด F.S. = 2.50
• เสาเข็มกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.0 ม.
Qsafe load = ?

Sand
7 m. g = 1.68 T/m3
N = 10 blows/ft
1 m.
Sand
3 m. g = 1.90 T/m3
N = 30 blows/ft 70
ตัวอย่าง 6 จงคานวณ Qa
ขัน้ ที่ 1.1 แรงเสียดทานผิวช่วง 0 <= z < 7 ม.
• พืน้ ทีผ่ วิ Ap1 = DL1 = *1*7 = 21.99 ม.2
• ค่า b สาหรับ N<15 ทีก่ ง่ึ กลางช่วง z = 7/2 และ N = 10 blows/ft
N 
• b (1.50  0.245 z )
 15 
= 0.69
• แรงดันประสิทธิผลทีก่ ง่ึ กลางชัน้ ’1 = 1 – u1
เมือ่ u1= 0 ตัน/ม.2 ดังนัน้ 1 = g1(L1/2)
แทนค่า 1 = 1.68*(7/2) = 5.88 ตัน/ม.2
จะได้ ’1 = 5.88 ตัน/ม.2 เมือ่ fss1 = b’1
่ อ fss1 = 0.69*5.88 = 4.06 ตัน/ม.2
• นันคื
• แรงเสียดทานผิว Qf1 = Ap1*fss1 = 21.99*4.06 = 89.28 ตัน

71
ตัวอย่าง 6 จงคานวณ Qa
ขัน้ ที่ 1.2 แรงเสียดทานผิวช่วง 7 < z <= 10 ม.
• พืน้ ทีผ่ วิ Ap2 = DL2 = *1*3 = 9.43 ม.2
• ค่า b สาหรับ N > 15 ทีก่ ง่ึ กลางช่วง z = 8.5 m
• b  1.50  0.245 z = 0.79
• แรงดันประสิทธิผลทีก่ ง่ึ กลางชัน้ ’2 = 2 – u2
เมือ่ u2= 0 ตัน/ม.2 ดังนัน้ 2 = g1L1 + g2(L2/2)
แทนค่า 1 = 1.68*7 + 1.90*1.5 = 14.61 ตัน/ม.2
จะได้ ’2 = 14.61 ตัน/ม.2 เมือ่ fss2 = b’2
• นันคื ่ อ fss2 = 0.79*14.61 = 11.53 ตัน/ม.2
• แรงเสียดทานผิว Qf2 = Ap2*fss2 = 9.43*11.53 = 108.73 ตัน
72
ตัวอย่าง 6 จงคานวณ Qa
ขัน้ ที่ 2 แรงแบกทานทีป่ ลาย
• พืน้ ทีห่ น้าตัด Ac = (/4)D2 = (/4)*12 = 0.785 ม.2
• สาหรับ N = 30 ครัง้ /ฟุต (น้อยกว่า 50 ครัง้ /ฟุต) จะได้
• หน่วยแรงแบกทานทีป่ ลาย qes = 5.86N
แทนค่า qes = 5.86*30 = 175.80 ตัน/ม.2
• แรงแบกทานทีป่ ลายเข็ม Qe = Ac*qes
แทนค่า Qe = 0.785*175.80 = 138.00 ตัน

73
ตัวอย่าง 6 จงคานวณ Qa
ขัน้ ที่ 3 น้ าหนักเสาเข็ม
• นันคื
่ อ W = gc*Ac*L = 2.4*0.785*10 = 18.84 ตัน

ขัน้ ที่ 4 น้ าหนักบรรทุกปลอดภัย


• รวม 2 ช่วง
• Qa = {[Qf1 + Qf2 + Qe]/F.S.} – W
• นันคื
่ อ Qa = {[89.28+108.73+138.00]/2.5} – 18.84
• เท่ากับ Qa = 115.56 ตัน

74
ตัวอย่าง 7 จงสร้าง Pile capacity Curve
สาหรับชัน้ ดินที่มีคณ
ุ สมบัติดงั นี้
ตาราง T1
Layer Depth (m.) Thickness Soil Consistency SPT-N Su Unit weight
No. (m.) type (Blows/ft) (T/m2)
From To

1 0.00 2.50 2.50 Sand Loose 9 - 1.59


2 2.50 5.50 3.00 Clay Stiff 13 8.67 1.87
3 5.50 7.00 1.50 Sand Loose 9 - 1.58
4 7.00 8.50 1.50 Sand Medium Dense 30 - 1.7
5 8.50 11.50 3.00 Clay Medium Stiff 5 3.33 1.65
6 11.50 13.00 1.50 Sand Very Dense 67 - 2.11
7 13.00 16.95 3.95 Sand Very Dense 90 - 2.2575
ตัวอย่าง 7 จงสร้าง Pile capacity Curve สาหรับชัน้ ดิน
ุ สมบัติดงั นี้ (เข็มตอก)
ที่มีคณ
ขัน้ ที่ 1 คานวณแรงดันรวมทีก่ ง่ึ กลางชัน้ เช่น (หลักที่ 2 : T2)
o ทีค่ วามลึก z1 = 1.25 ม.
o แรงดันเท่ากับ 1 = g1z1 = 1.59x1.25 = 1.99 ตัน/ม.2
o และทีค่ วามลึก z2 = 4.00 ม.
o แรงดันเท่ากับ 2 = g1L1 + g2(z2-L) = 1.59x2.5+1.87(4-2.5)
่ อ 2 = 6.79 ตัน/ม.2
o นันคื

o ทีค่ วามลึก z3 = 6.25 ม.


o แรงดันเท่ากับ 3 = g1L1 + g2L2 + g3(z2-(L1+L2))
่ อ 3 = 1.59x2.5+1.87x3+1.58(6.25-5.5) = 10.77 ตัน/ม.2
o นันคื
76
ตัวอย่าง 7 จงสร้าง Pile capacity Curve
สาหรับชัน้ ดินที่มีคณ
ุ สมบัติดงั นี้
ตาราง T2
Depth at Mid-layer  u ’=-u
(m.) (T/m2) (T/m2) (T/m2)
1.25 1.99 0 1.99
4.00 6.78 0 6.78
6.25 10.77 0 10.77
7.75 13.23 0 13.23
10.00 16.98 0 16.98
12.25 21.04 0 21.04
14.98 27.06 0 27.06

77
ไม่มีผลกระทบจากระดับน้าใต้ดิน
ตัวอย่าง 7 จงสร้าง Pile capacity Curve
ตาราง T3 (แรงเสียดทานผิว) f  0.3N   27 EQ1.2
Layer Pile Clay Sand
(Thk.) tip Depth a fsc N’ f / K0 fss qf Sqf
(m.) (Blows/ft) (Degree) (T/m2) (T/m) (T/m)
(T/m2) (T/m2)
1(2.5) 1.25 - - 9.00 29.7 1.99 2.00 1.63 4.08 4.08
2(3.0) 4.00 0.61 5.29 13.00 - 6.78 - - 15.87 19.95
3(1.5) 6.25 - - 9.00 29.7 10.77 2.00 8.82 13.23 33.18
4(1.5) 7.75 - - 22.50 33.8 13.23 2.00 12.54 18.81 51.99
5(3.0) 10.00 0.92 3.06 5.00 - 16.98 - - 9.18 61.17
6(1.5) 12.25 - - 41.00 39.3 21.04 2.00 23.78 35.67 96.84
7(3.95) 14.98 - - 52.50 42.8 27.06 2.00 33.95 134.10 230.94

รูปที่ 4 ปรับแก้ มีการแทนที่ qf = fsLi


N’ = 15 +0.5(N-15) ดินสูง สะสม
fsc = aSu เมือ่ N > 15 78
1.2 fss = ’K0tan(3f/4)
ตาราง T4 (แรงแบกทาน)
Pile tip Clay Sand qe
Depth (T/m2)
(m.) Nc Su qec Nq / =  qes
Layer
(T/m2) (T/m2) (T/m2)
1 1.25 - - - 17.8 1.99 35.42 35.42
2 4.00 9 8.67 84.81 - 6.78 - 84.81
3 6.25 - - - 17.8 10.77 191.71 191.71
4 7.75 - - - 28.6 13.23 378.38 378.38
5 10.00 9 3.33 46.95 - 16.98 - 46.95
6 12.25 - - - 58.3 21.04 1,226.63 1,226.63
7 14.98 - - - 95.4 27.06 2,581.52 2,581.52
รูปที่ 7
เมือ่ L/D > 6 qec = NcSu+ qes = Nq’ qes หรือ q79ec
1.1
ตัวอย่าง 7 จงสร้าง Pile capacity Curve
แรงเสียดทานผิวประลัย/เส้นรอบรูป (ตัน/ม.)

0 50 100 150 200 250


0
2
4
6
ความลึก (ม.)

8
10
12
14
16 80
ตัวอย่าง 7 จงสร้าง Pile capacity Curve
แรงแบกทานที่ ปลายประลัย/พื้นที่ หน้ าตัด (ตัน/ม^2)
0 500 1000 1500 2000 2500 3000
0
2
4
ความลึก (ม.)

6
8
10
12
14
16
18
81
ตัวอย่าง 8 จาก Ex7 จงคานวณ Qa สาหรับเสาเข็ม
0.22x0.22 ม. ลึก 12 .
จาก pile capacity curve ใน Ex7 ค่า qf และ qe ทีค่ วามลึก 12 ม.
มีคา่ เท่ากับ 95 ตัน/ม. และ 1,226 ตัน/ม.2
 สาหรับ Ap = 4x0.22 = 0.88 ม. และ Ac =0.222 = 0.048 ม.2
 กาลังเสียดทานผิวประลัย : Qf = Apxqf = 0.88x95 = 83.60 ตัน
 กาลังแบกทานทีป่ ลาย : Qe = Acxqe = 0.048x1,226 = 58.85 ตัน
 น้าหนักของเข็ม W = gcAcL = 2.4x0.048x12 = 1.382 ตัน
 กาลังทีย่ อมให้ Qa = (Qf + Qe)/F.S. – W
 นันคื
่ อ Qa = (83.6+58.85)/2.5 – 1.382 = 55.60 ตัน
82
ขอบคุณครับ

83

You might also like