You are on page 1of 17

1

สรุ ปย่ อหลักกฎหมาย ป. วิ. แพ่ ง เล่ม 2

คำฟ้ อง ( มาตรา 172)


ฟ้ องที่ไม่แสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหา และคำขอบังคับ ทั้งข้ออ้างที่อาศัยเป็ นหนักแห่งข้อหา
เช่นว่านั้น มาตรา 172 วรรคสอง เป็ นฟ้ องที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรื อเป็ นฟ้ องเคลือบคลุม ฟ้ องเคลือบคลุมใน
คดีแพ่งไม่เป็ นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน (ฎ. 101/31) ศาลจะยกขึ้นเองไม่ได้ จำเลยจะต้อง
สูเ้ ป็ นประเด็นไว้ในคำให้การ ทั้งจะต้องให้การโดยแจ้งชัดด้วยว่าเคลือบคลุมอย่างไร มิฉะนั้นไม่เป็ นประเด็นที่
ศาลจะต้องวินิจฉัย (ฎ. 9594/44)
แต่ถา้ ฟ้ องของโจทก์ถึงขนาดขาดสาระสำคัญแห่งความรับผิดของจำเลย ทำให้ศาลไม่อาจพิพากษาให้
จำเลยรับผิดตามฟ้ องได้ ถือเป็ นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน ศาลยกขึ้นวินิจฉัยได้ เช่น
โจทก์ฟ้องให้จำเลยที่ 2 รับผิดในฐานะผูร้ ับประกันภัยค้ำจุน แต่มิได้บรรยายฟ้ องว่าใครเป็ นผูเ้ อาประกันภัยรถคัน
ที่จำเลยที่ 2 เป็ นผูร้ ับประกันภัย และมิได้บรรยายฟ้ องว่า ผูข้ บั รถนี้ มีนิติสมั พันธ์อย่างไรกับผูเ้ อาประกันภัย ซึ่งผู้
เอาประกันภัยต้องร่ วมรับผิดในผลแห่งละเมิดด้วย (ฎ. 361/2539, 7064/47)
ข้อสังเกต แสดงว่าในปัญหาว่าฟ้ องโจทก์เคลือบคลุมหรื อไม่ ไม่เป็ นปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบ
เรี ยบร้อยของประชาชน แต่ถา้ ฟ้ องของโจทก์ถึงกับขาดสาระสำคัญในความรับผิดของจำเลย เป็ นปัญหาเกี่ยวด้วย
ความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน ศาลฎีกายกขึ้นวินิจฉัยเองได้ ( แต่ถา้ เป็ นฟ้ องเคลือบคลุมในคดีอาญา ถือเป็ น
ปัญหาเกี่ยวด้วยความสงบฯ ศาลยกขึ้นเองได้)
คำฟ้ องที่ขดั กันถือว่าเป็ นฟ้ องเคลือบคลุม เช่น ฟ้ องขอให้เพิกถอนพินยั กรรมอ้างว่าผูต้ ายมิได้พิมพ์นิ้ว
มือ แม้จะเป็ นลายนิ้วมือของผูต้ ายก็พิมพ์ในขณะถูกฉ้อฉล ข่มขู่ เมาสุ รา หรื อวิกลจริ ต หรื อพิมพ์เมื่อตายแล้ว (ฎ.
221/01,493/95)
กรณี มาตรา 172 วรรคสาม และมาตรา 18 นั้น จะเห็นระบบการดังนี้ คือ ในชั้นตรวจคำฟ้ องหรื อคำคู่
ความนั้นศาลกระทำได้เพียง 3 ประการ คือ สัง่ คืนไป สัง่ ไม่รับ สัง่ รับ เท่านั้น เมือสัง่ ไม่รับฟ้ องไว้พิจารณา
แล้ว ก็จะพิพากษายกฟ้ องไม่ได้ และคำว่า “ให้ยกเสี ย” ตามมาตรา 172 กับคำว่า “มีคำสัง่ ไม่รับ” มาตรา 18
กฎหมายประสงค์ให้มีผลเป็ นอย่างเดียวกัน คือ “คำสัง่ ไม่รับคำคูค่ วาม” ตามมาตรา 18 เพราะ “ ให้ยกเสี ย” ตาม
มาตรา 172 จะถือว่าเป็ นการวินิจฉัยชี้ขาดประเด็นแห่งคดี ตามมาตรา 131 ไม่ได้ กล่าวคือยังไม่ใช่การพิพากษา
คดี เมื่อมีการฟ้ องเป็ นคดีใหม่จึงไม่เป็ นฟ้ องซ้ำ
อย่างไรก็ตามในชั้นตรวจคำฟ้ องนี้ ศาลมีอำนาจพิจารณาเนื้ อหาแห่งคดีหรื อประเด็นแห่งคดีแล้ว
พิพากษายกฟ้ องได้ ( ซึ่งอยูน่ อกเขตมาตรา 18) เช่น ศาลตรวจคำฟ้ องแล้วเห็นว่าโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้ อง ก็พิพากษา
ยกฟ้ อง ตามมาตรา 172 วรรคท้ายได้ (ฎ.5630/48, 996/08 ป.)
แต่ถา้ เป็ นกรณี เกี่ยวกับเรื่ องรู ปแบบของคำคู่ความ ตามมาตรา 18 เช่น คำฟ้ องอ่านไม่ออก อ่านไม่เข้าใจ
หรื อเขียนฟุ่ มเฟื อย ไม่ชำระหรื อวางค่าธรรมเนียมศาลโดยไม่ถูกต้องครบถ้วนฯ เมื่อโจทก์ไม่ปฎิบตั ิตามคำสัง่ ศาล
ศาลก็มีอำนาจสัง่ ไม่รับฟ้ อง จึงไม่เป็ นการวินิจฉัยประเด็นแห่งคดี และไม่ใช่เป็ นการพิพากษาคดี
การที่ศาลชั้นต้นพิเคราะห์คำฟ้ องแล้วนำข้อเท็จจริ งในคำฟ้ องมาวินิจฉัยเกี่ยวกับคำฟ้ องโจทก์ และ
พิพากษายกฟ้ องเป็ นการวินิจฉัยประเด็นแห่งคดี เป็ นการวินิจฉัยประเด็นแห่งคดี ตามมาตรา 131(2) ซึ่งมีผล
เป็ นการพิพากษาคดี ถ้ามิใช่เรื่ องที่ศาลชั้นต้นสัง่ ไม่รับหรื อคืนคำฟ้ องตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา 18 จึงไม่มีเหตุที่
จะคืนค่าธรรมเนียมศาลแก่โจทก์ ตามมาตรา 151

คำฟ้ องอุทธรณ์และคำฟ้ องฎีกา เป็ นคำฟ้ องอย่างหนึ่ง จึงต้องอยูใ่ นบังคับมาตรา 172 วรรคสอง โดย
ต้องแสดงสภาพแห่งข้อหา และคำขอบังคับ ให้ชดั แจ้ง โดยต้องแสดงเหตุผลในการคัดค้านคำพิพากษาของศาล
ชั้นต้นหรื อศาลอุทธรณ์ และคำขอท้ายอุทธรณ์ หรื อฎีกา ให้ชดั เจน แต่ไม่ตอ้ งระบุคำฟ้ องเดิม คำให้การและคำ
พิพากษาของศาลชั้นต้น เพราะมีอยูใ่ นสำนวนศาลแล้ว (ฎ.887/42 ป.)
คำร้องสอดตามมาตรา 51(1) ที่เข้ามาเป็ นคู่ความฝ่ ายที่สาม ผูร้ ้องสอดมีฐานะเป็ นโจทก์ ส่วนโจทก์เดิม
และจำเลยเดิมอยูใ่ นฐานะจำเลยใหม่ คำร้องสอดจึงต้องแสดงโดยแจ้งชัดซึ่งสภาพแห่งข้อหา และคำขอบังคับ ทั้ง
ข้ออ้างที่อาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหานั้น หากไม่มี เป็ นคำร้องสอดที่ไม่ชอบ (ฎ. 1443/48)
2

คำให้ การ (มาตรา 177)


จำเลยต้องแสดงโดยชัดแจ้งในคำให้การว่าจำเลยยอมรับ หรื อปฎิเสธข้ออ้างของโจทก์ท้ งั สิ้ นหรื อแต่บาง
ส่วน รวมทั้งเหตุแห่งการนั้น ( ถ้าไม่มีเหตุแห่งการปฎิเสธ ก็จะไม่เกิดประเด็น)
จำเลยให้การต่อสู้เรื่ องอายุความ ต้องให้การว่าคดีโจทก์ขาดอายุความเมื่อใด นับแต่วนั ใด ถึงวันฟ้ องคดี
ขาดอายุความไปแล้ว (ฎ. 748/47 ) ถ้าไม่บรรยาย
ในคดีมโนสาเร่ ถ้าจำเลยยืน่ คำให้การเป็ นหนังสื อ จำเลยจะต่อเรื่ องอายุความ จำเลยก็ตอ้ งให้การชัดแจ้ง
(ฎ. 678/50)
ตอนแรกจำเลยให้การว่าที่ดินพิพาทเป็ นของจำเลย ตอนหลังกลับให้การว่าจำเลยแย่งการครอบครอบ
แล้ว หรื อครอบครองปรปักษ์จนได้กรรมสิ ทธิ์ ที่ดินพิพาทแล้ว (หมายถึงไม่ใช่ที่ดินของจำเลยแต่ต่อมาได้แย้งการ
ครอบครองแล้ว) ดังนี้เป็ นคำให้การขัดแย้งกัน คดีไม่มีประเด็นเรื่ องการแย่งการครอบครอง หรื อครอบครอง
ปรปักษ์ (ฎ. 5332/44 ล 5473/48 ป.)
คำให้การตอนแรกปฎิเสธว่าไม่ได้ทำสัญญา ตอนหลังกลับให้การรับว่าทำสัญญาเพราะถูกบังคับขู่เข็ญ
เป็ นคำให้การที่ขดั แย้งกัน ไม่ชอบด้วย ป.วิ.พ.มาตรา 177 วรรคสอง ไม่เป็ นประเด็นนำสื บตามข้อต่อสู้ของจำเลย
แต่ถือได้วา่ เป็ นคำให้การปฎิเสธฟ้ องโจทก์ คดีมีประเด็นข้อพิพาทแล้ว โจทก์จึงมีหน้าที่นำสื บให้ได้ความตาม
ฟ้ องจึงจะชนะคดี (ฎ. 7714/47)

ฟ้องซ้ อน (มาตรา 173 วรรคสอง(1))


คดีที่อยูใ่ นระหว่างการพิจารณา ห้ามมิให้โจทก์ยนื่ คำฟ้ องเรื่ องเดียวกันนั้น ต่อศาลเดียวกันหรื อศาลอื่น
คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณา
คำว่า “คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณา” อาจจะอยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ หรื อศาล
ฎีกาก็ได้ และคดีที่อยูใ่ นระหว่างพิจารณานั้นแม้ไม่ใช่การพิจารณาในเนื้ อหาในประเด็นแห่งคดี โจทก์กจ็ ะนำ
เรื่ องเดียวกันมาฟ้ องใหม่ไม่ได้ เช่น คดีอยูร่ ะหว่างพิจารณาคำร้องอุทธรณ์คำสัง่ ไม่รับอุทธรณ์ หรื อกรณี ที่ศาลมี
คำสัง่ อนุญาตให้โจทก์ถอนฟ้ องในคดีก่อนแล้วจำเลยอุทธรณ์ฎีกาคำสัง่ ดังกล่าว ก็ถือว่าเป็ นคดีที่อยูใ่ นระหว่าง
พิจารณา โจทก์กจ็ ะฟ้ องจำเลยในเรื่ องเดียวกันอีกไม่ได้ เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 7265/44,1429/36,3346/35) แม้ต่อมา
คดีก่อนจะถึงที่สุดก็หาทำให้ฟ้องที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายมาแต่ตน้ กลายเป็ นฟ้ องที่ชอบด้วยกฎหมายขึ้นมาใหม่ (
ฎ.3132/49, 1429/36)
ข้อสังเกต การพิจารณาว่าเป็ นฟ้ องซ้อนหรื อไม่ คงพิจารณาในขณะที่ยนื่ ฟ้ องคดีหลังเท่านั้นว่า มีคดีเรื่ อง
เดียวกันอยูร่ ะหว่างพิจารณาหรื อไม่ เช่นในขณะที่ยนื่ ฟ้ องคดีก่อนยังไม่ถึงที่สุดจึงเป็ นฟ้ องซ้อน แม้ต่อมาคดีก่อน
ถึงที่สุดก็ไม่ทำให้การฟ้ องคดีหลังชอบด้วยกฎหมายขึ้นมาได้
คู่ความยืน่ คำร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ หรื อฎีกา ศาลชั้นต้นยกคำร้อง คูค่ วามนั้นอุทธรณ์คำสัง่ ดัง
กล่าว เมื่อศาลชั้นต้นรับอุทธรณ์ ถือว่าคดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์ ฟ้ องใหม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ.
7603/48)
ฎ. 7603/48 คำร้องขอพิจารณาใหม่ถือเป็ นคำฟ้ อง ตามมาตรา 1(3) เมื่อปรากฎว่าหลังจากศาลอุทธรณ์
พิพากษายืนตามคำสัง่ ศาลชั้นต้น ที่ให้ยกคำร้องขอพิจารณาใหม่ของจำเลย ฉบับลงวันที่ 13 ธันวาคม 2542 แล้ว
จำเลยยืน่ คำร้องขอขยายระยะเวลายืน่ ฎีกา แต่ศาลชั้นต้นมีคำสัง่ ยกคำร้อง จำเลยอุทธรณ์ คำสัง่ และศาลชั้นต้นมีคำ
สัง่ รับอุทธรณ์ ถือว่าคดีเกี่ยวกับคำร้องขอพิจารณาใหม่ของจำเลยฉบับลงวันที่ 13 ธันวาคม 2542 อยูใ่ นระหว่าง
พิจารณาของศาลอุทธรณ์ การที่จำเลยยืน่ คำร้องขอให้พิจารณาใหม่ฉบับลงวันที่ 22 ตุลาคม 2542 โดยอ้างเหตุ
เดิมอีกในระหว่างนั้น จึงเป็ นการยืน่ คำฟ้ องเรื่ องเดียวกัน คำร้องขอพิจารณาใหม่ของจำเลยฉบับดังกล่าวจึงไม่
ชอบด้วยกฎหมายเพราะเป็ นฟ้ องซ้อน ต้องห้ามตามมาตรา 173(1)
คดีก่อนโจทก์ถอนฟ้ องแล้ว ไม่อุทธรณ์ จึงไม่มีคดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณา ฟ้ องใหม่ได้ ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน
(ฎ. 2658/45, 5364/38)
หรื อถ้ามีการอุทธรณ์คำสัง่ ศาลชั้นต้น แต่เป็ นการอุทธรณ์หลังจากคดีถึงที่สุดแล้ว ( พ้นระยะเวลา
อุทธรณ์) ไม่ถือว่าคดีน้ นั อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาต่อไป ฟ้ องโจทก์คดีหลังจึงไม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 2597/41)
3
คดีอยูใ่ นระหว่างการไต่สวนคำร้องขอดำเนินคดีอย่างคนอนาถา ถือว่าคดีอยูใ่ นระหว่างการพิจารณาเช่น
กัน โจทก์นำเรื่ องเดียวกันมาฟ้ องอีกเป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ.8995/42)
นอกจากนี้ คำว่า คดีอยูร่ ะหว่างพิจารณา ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า หมายความถึง ภายในกำหนดระยะเวลายืน่
อุทธรณ์ หรื อยืน่ ฎีกาด้วย หากต่อมามีการยืน่ อุทธรณ์หรื อฎีกา (ฎ. 2555/38) แต่ถา้ ต่อมาไม่มีการยืน่ อุทธรณ์หรื อ
ฎีกาในกำหนดเวลาอุทธรณ์หรื อฎีกา ไม่ถือว่าคดีน้ นั อยูใ่ นระหว่างพิจารณา (ฎ. 684/48)
ข้อสังเกต การพิจารณาว่าเป็ นฟ้ องซ้อนหรื อไม่ ต้องดูขณะยืน่ ฟ้ องเป็ นสำคัญ แต่ตามคำวินิจฉัยฎีกาสอง
เรื่ องนี้ ดูเหมือนว่าในกรณี ที่ยนื่ ฟ้ องในระหว่างระยะเวลายืน่ อุทธรณ์หรื อฎีกานั้น ต้องพิจารณาว่าฝ่ ายใดได้ยนื่
อุทธรณ์ หรื อฎีกาในภายหลังหรื อไม่ มาเป็ นข้อพิจารณาประกอบด้วย
ในคดีที่มีการฟ้ องแย้ง โจทก์ไม่มาศาล ศาลชั้นต้นจำหน่ายคดีเสี ยทั้งหมด จำเลยอุทธรณ์เฉพาะคำสัง่
จำหน่ายคดีในส่ วนฟ้ องแย้ง ข้อที่จำเลยอุทธรณ์จึงไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิมของโจทก์ จึงไม่ถือว่าคดีตามฟ้ องเดิมอยูใ่ น
ระหว่างพิจารณาของศาล โจทก์จึงยืน่ ฟ้ องในเรื่ องเดียวกันนั้นใหม่ได้ ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน ส่ วนจำเลยฟ้ องเข้ามาใน
คดีใหม่อีกเป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 3291/37)
ข้อสังเกต คดีที่มีการฟ้ องแย้ง การพิจารณาว่าคดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาหรื อไม่ ต้องแยกพิจารณาฟ้ อง
เดิมและฟ้ องแย้งออกจากกัน เรื่ องนี้ คดีก่อนศาลสัง่ จำหน่ายคดีท้ งั ตามฟ้ องเดิมและฟ้ องแย้ง โจทก์ไม่อุทธรณ์
จำเลยอุทธรณ์คำสัง่ เฉพาะที่ให้จำหน่ายคดีตามฟ้ องแย้ง ดังนั้นถือว่าเฉพาะคดีตามฟ้ องแย้งเท่านั้นที่อยูร่ ะหว่าง
การพิจารณาของศาล ส่ วนคดีตามฟ้ องเดิมไม่อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลอีกต่อไป โจทก์จึงฟ้ องเรื่ องเดียวกัน
นั้นใหม่ได้ ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน ปรากฏว่าในคดีหลังนี้ จำเลยได้ฟ้องแย้งเรื่ องเดียวกันกับฟ้ องแย้งคดีก่อนเข้ามาอีก
จึงต้องถือว่าฟ้ องแย้งในคดีหลังนี้ เป็ นฟ้ องซ้อนกับคดีก่อน
ห้ ามโจทก์ฟ้อง
ถ้าในคดีก่อนจำเลยฟ้ องโจทก์ และในคดีน้ ีโจทก์ฟ้องจำเลยในเรื่ องเดียวกัน ดังนี้ ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน
เพราะตามมาตรา 173(1) บัญญัติหา้ มเฉพาะโจทก์ฟ้องเรื่ องเดียวกันเท่านั้น มิได้หา้ มจำเลยฟ้ องในเรื่ องเดียวกัน
ด้วย (ฎ. 2579/25, 288/2535,3847/35)
ฎ. 2206/48 คดีก่อนมีเพียงผูอ้ งที่ 5 เท่านั้น ที่เป็ นคู่ความกับผูค้ ดั ค้าน โดยผูค้ ดั ค้านเป็ นผูร้ ้องขอเป็ นผู้
จัดการมรดก ส่ วนผูร้ ้องที่ 5 เป็ นผูค้ ดั ค้านและเป็ นผูจ้ ดั การมรดกเช่นกัน ปรากฎว่าคดีดงั กล่าวศาลชั้นต้นยก
คำร้องและคำคัดค้าน มีเพียงผูค้ ดั ค้านซึ่งเป็ นผูร้ ้องในคดีก่อน ได้อุทธรณ์ คำสัง่ ศาลชั้นต้นในคดีก่อนจึงถึงที่สุด
สำหรับผูร้ ้องที่ 5 แล้ว การที่ผรู้ ้องที่ 5 ยืน่ คำร้องขอร่ วมกับผูร้ ้องที่ 1 ถึงที่ 4 และที่ 6 ในคดีน้ ี จึงไม่เป็ นคำร้อง
ซ้อน ตาม ป.วิ.พ.มาตรา 173 วรรคสอง
คดีก่อนผูค้ ดั ค้านยืน่ คำร้องขอจัดการมรดกของผูต้ าย อ้างว่าผูต้ ายไม่ได้ทำพินยั กรรมไว้ ศาลชั้นต้นยก
คำร้องและคำคัดค้านให้เหตุผลว่าผูต้ ายได้ต้ งั ผูจ้ ดั การมรดกไว้ ไม่มีเหตุจะตั้งผูจ้ ดั การมรดกอีก คดีน้ ีผรู้ ้องที่ 5
ยืน่ คำร้องขอร่ วมกับจำเลยที่ 1 ถึงที่ 4 และที่ 6 ว่า ผูต้ ายทำพินยั กรรมตั้งผูจ้ ดั การมรดกไว้ 2 คน แต่การจัดการ
มรดกมีขอ้ ขัดข้องเพราะผูจ้ ดั การมรดกคนหนึ่งถึงแก่กรรมและอีกคนหนึ่งไม่ประสงค์จะจัดการมรดก เหตุที่อา้ งใน
คดีน้ ีจึงเป็ นคนละเหตุกบั คดีก่อน อันเป็ นคนละประเด็นกัน ไม่เป็ นการรื้ อร้องฟ้ องกันอีกในประเด็นที่ได้วินิจฉัย
โดยอาศัยเหตุอย่างเดียวกัน จึงไม่เป็ นคำร้องซ้ำตาม ป.วิ.พ.มาตรา 148 วรรคหนึ่ง ผูร้ ้องที่ 1 ถึงที่ 4 และ ที่ 6
มิได้เป็ นคู่ความกับผูค้ ดั ค้านในคดีก่อน จึงไม่ใช่คู่ความรายเดียวกัน คำร้องขอของผูร้ ้องที่ 1 ถึงที่ 4 และที่ 6 ที่
ยืน่ เข้ามาร่ วมกับผูร้ ้องที่ 5 จึงไม่เป็ นคำร้องซ้อน และคำร้องซ้ำกับคดีก่อน
อย่างไรก็ดี บุคคลที่อยูใ่ นฐานะอย่างเดียวกัน ต่างเป็ นโจทก์ฟ้องคดีเรื่ องเดียวกันก็เป็ นฟ้ องซ้อนได้ เช่น
เจ้าของรวมด้วยกันต่างคนต่างฟ้ องเรี ยกทรัพย์คืนจากบุคคลภายนอก ( ฎ. 966/18) หรื อ ผูจ้ ดั การมรดกกับทายาท
ต่างฟ้ องขับไล่จำเลย เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 2588/23,702/24)
ค่าขาดไร้อุปการะ เป็ นสิ ทธิเฉพาะตัวของทายาทแต่ละคนของผูต้ ายที่จะได้รับ เมื่อทายาทคนหนึ่งฟ้ อง
เรี ยกค่าขาดไร้อุปการะจากผูทำ ้ ละเมิด คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณา ทายาทคนอื่นก็ฟ้องเรี ยกค่าขาดไร้อุปการะเป็ น
คดีใหม่ได้อีก (ฎ. 6641/48)
ในคดีอาญาที่พนักงานอัยการเป็ นโจทก์ โดยมีคำขอส่ วนแพ่งให้จำเลยคืนหรื อใช้เงินแก่ผเู้ สี ยหายตาม
ป.วิ.อ.มาตรา 43 ถือว่าพนักงานอัยการฟ้ องคดีส่วนแพ่งแทนผูเ้ สี ยหายด้วย ผูเ้ สี ยหายจะนำเอาคดีส่วนแพ่งมาฟ้ อง
อีกไม่ได้ เป็ นฟ้ องซ้อน ทั้งนี้ไม่วา่ ในคดีอาญาผูเ้ สี ยหายจะเข้าเป็ นโจทก์ร่วมด้วยหรื อไม่กต็ าม (ฎ.3080/44)
4
คดีก่อนพนักงานอัยการยื่นคำร้องขอจัดตั้งผูจ้ ดั การมรดกแทนทายาท มีผูค้ ดั ค้านจึงต้องดำเนินคดีอย่างมี
ข้อพิพาท และถือว่าพนักงานอัยการฟ้ องคดีแทนทายาท ดังนี้ ทายาทจะนำเรื่ องเดียวกันมาฟ้ องผูค้ ดั ค้านเป็ นจำเลย
ในคดีน้ ีอีกไม่ได้ เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 6066/46)
คดีก่อนพนักงานอัยการในฐานะเจ้าหน้าที่คุม้ ครองผูบ้ ริ โภค เป็ นโจทก์ฟ้องคดีแทนโจทก์คดีน้ ีแล้ว
โจทก์คดีน้ ีจะนำเรื่ องเดียวกันนี้มาฟ้ องจำเลยเป็ นคดีใหม่ไม่ได้ แม้โจทก์คดีก่อนจะขอแก้ไขฟ้ องตัดชื่อโจทก์ออก
ก็ตาม
ร้องสอดเข้าเป็ นคู่ความฝ่ ายที่สามตาม มาตรา 57(1) อาจร้องสอดเข้ามาในฐานะโจทก์ หรื อฐานะจำเลย
ก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่เนื้อหาของคำร้องสอด ถ้าเนื้ อหาคำร้องสอดนั้นมีสภาพเป็ นคำฟ้ อง ผูร้ ้องสอดย่อมมีฐานะเป็ น
โจทก์ หากมีการร้องสอดเข้ามาอีกในขณะที่คดีก่อนอยูร่ ะหว่างพิจารณา เป็ นฟ้ องซ้อนได้ (ฎ. 5716/39) และผูร้ ้อง
สอดดังกล่าวก็ไม่สามารถฟ้ องคู่ความเดิมในเรื่ องเดียวกันนั้นได้อีก เพราะเป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 1935/40) หรื อกรณี
กลับกันผูร้ ้องสอดตามมาตรา 57(1) จะร้องสอดเข้ามาในคดีในเรื่ องเดียวกับที่ผรู้ ้องสอดได้ฟ้องไว้แล้วไม่ได้
คำร้องสอดเป็ นฟ้ องซ้อนได้ (ฎ. 8995/42, 3129/24)
แต่ถา้ ร้องสอดเข้ามาในคดีตามมาตรา 57(3) ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน เพราะเป็ นการร้องเข้ามาตามหมายเรี ยก
ของศาล(ฎ.1337/19)
โจทก์( ซึ่งเป็ นจำเลยในคดีก่อน) ได้ฟ้องแย้งเรื่ องเดียวกันไว้ แต่ศาลไม่รับฟ้ องแย้งอ้างว่าไม่เกี่ยวกับ
ฟ้ องเดิม โจทก์อุทธรณ์ คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์ การที่โจทก์นำคดีมาฟ้ องใหม่ เป็ นฟ้ องซ้อน
(ฎ. 5773/39) มีขอ้ สังเกตว่า ตามคำพิพากษาคดีน้ ีได้หลักกฎหมายอีกว่าแม้คดีก่อนศาลยังไม่รับฟ้ องก็เป็ นฟ้ อง
ซ้อนได้ ( คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณานับตั้งแต่มีการยืน่ คำฟ้ องแล้ว)
เคยยืน่ ขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดกและศาลชั้นต้นตั้งเป็ นผูจ้ ดั การมรดกแล้ว ต่อมามีผรู้ ้องขอเป็ นผูจ้ ดั การ
มรดกอีก ผูร้ ้องคดีแรกได้มาร้องคัดค้านกับขอให้ต้ งั ตนเป็ นผูจ้ ดั การมรดกอีก เป็ นร้องซ้ำ (ฎ.2214/49) แสดงว่าถ้า
คดีแรกยังอยูร่ ะหว่างพิจารณา ก็จะเป็ นร้องซ้อนได้

ห้ ามฟ้องเรื่องเดียวกัน
เรื่ องเดียวกัน หมายถึง ข้ออ้างที่อาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหาเป็ นอย่างเดียวกัน ( ถ้าเป็ นคดี
อาญาให้พิจารณาว่า เป็ นการกระทำอันเดียวกัน หรื อไม่ )
ถ้าข้ออ้างที่อาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหาแตกต่างกัน แม้คำขอจะเป็ นอย่างเดียวกัน ก็ถือไม่ได้วา่ เป็ นการฟ้ อง
เรื่ องเดียวกัน ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 1091-2/37, 5441/45)
ในคดีฟ้องขับไล่โจทก์ขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีแก่บริ วาร ภายหลังมาฟ้ องบริ วารคนดังกล่าวเป็ นคดี
ต่างหาก ดังนี้ การออกหมายบังคับคดีไม่ใช่เป็ นการฟ้ องคดีต่อศาล ฟ้ องคดีหลังไม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 819/33)
ค่าเสี ยหายหรื อคำขอใดที่โจทก์สามารถเรี ยกร้องได้อยูแ่ ล้วในคดีก่อน ซึ่งอยูใ่ นระหว่างพิจารณา โจทก์
จะมาฟ้ องเรี ยกร้องเพิ่มเติมเป็ นคดีใหม่ไม่ได้ เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 471/41,4517/42)
แม้ในคดีก่อนโจทก์จะได้กล่าวสงวนสิ ทธิวา่ จะฟ้ องเรี ยกค่าเสี ยหายเพิ่มเติมได้กต็ าม ก็ไม่ก่อให้เกิดสิ ทธิ
พิเศษแต่อย่างใด (ฎ. 2427-8/20)
โจทก์ฟ้องขอให้ขบั ไล่และเรี ยกค่าเสี ยหายทั้งสองคดี แม้จะอาศัยสัญญาเช่าคนละฉบับมาเป็ นมูลฟ้ อง ถ้า
ปรากฎว่าสัญญาเช่าที่โจทก์นำมาฟ้ องในคดีหลังมีอยูแ่ ล้วในขณะที่โจทก์ฟ้องคดีก่อน โจทก์จึงสามารถอ้างเป็ น
เหตุในคดีก่อนได้อยูแ่ ล้ว ฟ้ องโจทก์คดีหลังจึงเป็ นฟ้ องเรื่ องเดียวกัน เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 7265/44)
ข้อสังเกต หลักที่วา่ ค่าเสี ยหายที่โจทก์อาจเรี ยกร้องในคดีก่อนที่อยูใ่ นระหว่างพิจารณาได้อยูแ่ ล้ว มาฟ้ อง
ใหม่เป็ นฟ้ องซ้อน ดังนี้ แม้ความเสี ยหายดังกล่าวเพิ่มปรากฏภายหลังฟ้ องก็ตาม โจทก์กช็ อบที่จะขอแก้ไขเพิ่ม
เติมค่าเสี ยหายในภายหลังได้ ฟ้ องใหม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 1803/12) เรื่ องนี้ มูลเหตุเรี ยกค่าเสี ยหายเกิดขึ้นก่อน
ฟ้ องแล้ว เพียงแต่ความเสี ยหายปรากฏขึ้นในภายหลังฟ้ องแล้ว โจทก์นำมาฟ้ องใหม่เป็ นฟ้ องซ้อน แต่ถา้ มูลเหตุ
เรี ยกร้องค่าเสี ยหายเกิดขึ้นภายหลังฟ้ องคดีเดิมแล้ว ดังนี้ ฟ้องใหม่ได้ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน เช่นคดีก่อนฟ้ องอ้างเหตุวา่
ผิดสัญญา ระหว่างพิจารณาสัญญาหมดอายุ จึงฟ้ องอีกได้โดยอ้างเหตุสญ ั ญาระงับ (ฎ. 316/11)
ถ้าคดีแรกโจทก์ฟ้องขับไล่จำเลย ส่ วนคดีหลัง ฟ้ องเรี ยกให้จำเลยรับผิดตามข้อตกลงต่างหากจากสัญญา
เช่า ไม่เป็ นเรื่ องเดียวกัน ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 2578/35)
5
การฟ้ องขอแบ่งทรัพย์มรดกจากทายาทคนเดียวกัน ไม่วา่ จะเป็ นทรัพย์มรดกอย่างเดียวกันหรื อต่างชนิด
กัน ถือว่าเป็ นทรัพย์มรดกรายเดียวกัน ต้องฟ้ องให้เสร็ จสิ้ นไปในคราวเดียวกัน มิฉะนั้นถือว่าเป็ นฟ้ องซ้อนได้ ซึ่ง
ถือว่าเป็ นการฟ้ องในเรื่ องเดียวกันกับคดีฟ้องขอแบ่งมรดกคดีก่อนที่อยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาล (ฎ. 121/06)
แต่ถา้ เป็ นคดีที่ทายาทฟ้ องทายาทอื่นหรื อผูจ้ ดั การมรดก ซึ่งนำที่ดินไปโอนขายโดยไม่ชอบโดยนำที่ดิน
ไปโอนขายโดยไม่ชอบโดยนำที่ดินไปโอนขายคนละคราวกัน จึงฟ้ องขอให้เพิกถอน มูลเหตุในการฟ้ องจึงเกิด
ขึ้นคนละคราวกัน แม้จะมีคำขอให้แบ่งมรดกแก่ทายาทด้วย ก็ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 6344/40, 175/41)
ทายาทฟ้ องเรี ยกทรัพย์มรดกต่างชนิดกันจากบุคคลภายนอกคนเดียวกันหลายครั้งได้เพราะเป็ นการใช้
สิ ทธิเอาคืนทรัพย์มรดกจากผูไ้ ม่มีสิทธิยดึ ไม่ใช่การฟ้ องแบ่งมรดก จึงไม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 11/05)
ฟ้ องขอแบ่งสิ นสมรสเป็ นคดีหนึ่งแล้ว ฟ้ องแบ่งสิ นสมรสอีกไม่ได้ เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 5210/40)

คดีก่อนจำเลยฟ้ องหย่าโจทก์ คดีหลังจำเลยเป็ นโจทก์ฟ้องจำเลยขอแบ่งสิ นสมรส จำเลยฟ้ องแย้งขอแบ่ง


สิ นสมรสอื่นอีกไม่ได้ ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 3786/46)
ในคดีอาญาที่พนักงานอัยการฟ้ อง และมีคำขอส่วนแพ่งให้จำเลยคืนหรื อใช้เงินแก่ผเู้ สี ยหายตาม
ป.วิ.อ.มาตรา 43 ถือว่าพนักงานอัยการฟ้ องคดีแทนผูเ้ สี ยหายด้วย ถ้าคดีอาญาอยูใ่ นระหว่างพิจารณา ผูเ้ สี ยหายจะ
ฟ้ องให้จำเลยคืนหรื อใช้ราคาเป็ นคดีแพ่งอีกไม่ได้ เป็ นการฟ้ องเรื่ องเดียวกัน เป็ นฟ้ องซ้อน ทั้งนี้ไม่วา่ ในคดีอาญา
ผูเ้ สี ยหายจะเข้าเป็ นโจทก์ร่วมด้วย หรื อไม่กต็ าม (ฎ. 1330/33, 1984/36)
ข้อสังเกต ในคดีอาญา พนักงานอัยการขอให้จำเลยคืนเงินที่ยกั ยอกแต่ไม่มีสิทธิเรี ยกดอกเบี้ยด้วย ผูเ้ สี ย
หายจึงฟ้ องคดีแพ่งเรี ยกเงินที่ยกั ยอกและดอกเบี้ยด้วย ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าเป็ นฟ้ องซ้อนทั้งต้นเงินและดอกเบี้ย แต่
ต่อมามีคำพิพากษาฎีกาที่ 12414/47 ป. วินิจฉัยว่ากรณีเช่นนี้ เป็ นฟ้ องซ้อนเฉพาะต้นเงินเท่านั้น ส่ วนดอกเบี้ยไม่
เป็ นฟ้ องซ้อน
คำขอที่ให้คืนหรื อใช้ราคาทรัพย์ในคดีอาญา ถือเป็ นคำขอในส่วนแพ่งที่มีมูลหนี้ หนี้ละเมิดเนื่องจาก
การกระทำผิดอาญานั้นเอง ดังนั้น การที่ผเู้ สี ยหายมาฟ้ องเป็ นคดีแพ่งให้บงั คับให้จำเลยคืนหรื อใช้ราคาทรัพย์แก่ผู้
เสี ยหายอีก โดยอ้างเหตุการณ์กระทำผิดในทางอาญา( มูลหนี้ละเมิด ) จึงเป็ นฟ้ องในเรื่ องเดียวกันอีก เป็ นฟ้ อง
ซ้อน (ฎ. 7283/41, 72/38)
ในบางกรณี การฟ้ องร้องจะอ้างอิงสัญญาฉบับเดียวกัน แต่เป็ นหนี้ คนละจำนวน โดยหนี้ ที่ฟ้องในคดีหลัง
ยังไม่ถึงกำหนดชำระในเวลาที่โจทก์ฟ้องคดีแรก มูลเหตุที่ฟ้องจึงเกิดคนละคราวกัน มิใช่ฟ้องเรื่ องเดียวกัน ไม่
เป็ นฟ้ องซ้อน เช่นคดีก่อนฟ้ องเรี ยกราคาสิ นค้าตามสัญญาซื้ อขายงวดที่ 1 ถึง 8 ส่ วนคดีน้ ีฟ้องเรี ยกราคาสิ นค้า
งวดที่ตอ้ งผ่อนชำระงวดที่ 9 ถึง 12 ฟ้ องคดีหลังไม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 5867/44)
เช็คที่ออกเพื่อชำระหนี้ในมูลหนี้ ใดมูลหนี้ หนึ่ง เมื่อธนาคารตามเช็คปฎิเสธการจ่ายเงิน มูลหนี้ เดิมยังไม่
ระงับ( ป.พ.พ.มาตรา 321 วรรคสาม) ดังนี้ เจ้าหนี้ จึงอาจฟ้ องเรี ยกให้ลูกหนี้ รับผิดตามมูลหนี้ เดิมหรื อมูลหนี้ ตาม
เช็คก็ได้ และเมื่อเจ้าหนี้ เลือกฟ้ องมูลหนี้ ใดแล้วภายหลังอาจฟ้ องให้ลูกหนี้ รับผิดอีกมูลหนี้ กไ็ ด้ ถือว่าข้ออ้างที่
อาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหาแตกต่างกัน ไม่เป็ นฟ้ องซ้อน (ฎ. 7738/47, 6366/47)
ในคดีที่ถือว่าเป็ นฟ้ องซ้อนตามมาตรา 173 วรรคสอง(1) แห่ง ป.วิ.พ.แล้ว แม้ต่อมาโจทก์จะถอนฟ้ อง
คดีเดิมแล้ว ก็ไม่ทำให้คำฟ้ องซ้อนชอบด้วยกฎหมายขึ้นมา (ฎ. 1799/30, 1429/36) แม้ในคดีเดิมศาลจะจำหน่าย
คดีไปก่อนที่คดีหลังจะพิพากษาคดีกต็ าม ก็ไม่ทำให้ฟ้องคดีใหม่ชอบด้วยกฎหมายขึ้นมา (ฎ. 972/32)
ฟ้ องซ้อนอาจเป็ นฟ้ องต่อศาลเดียวกันหรื อต่อศาลอื่นก็ได้ ทั้งนี้ตามบทบัญญัติ มาตรา 173 วรรคสอง (1)
(ฎ. 3160/36)

ทิง้ ฟ้อง ( มาตรา 174-176)


ทิ้งฟ้ องตามมาตรา 174(1) เป็ นการเพิกเฉยไม่ร้องขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อให้ส่งหมายเรี ยกให้แก้
คดีแก่จำเลย และไม่แจ้งให้ศาลทราบเหตุแห่งการเพิกเฉยนี้ ภายใน 7 วัน นับแต่วนั ที่ยนื่ ฟ้ อง
ทิ้งฟ้ องตามมาตรา 147(2) เป็ นกรณี ที่โจทก์เพิกเฉยไม่ดำเนินคดีภายในเวลาที่ศาลเห็นสมควรกำหนดไว้
เพื่อการนั้น โดยได้ส่งคำสัง่ ให้แก่โจทก์ทราบโดยชอบแล้ว
6
คำฟ้ องที่ตอ้ งออกหมายเรี ยกให้จำเลยแก้คดี ได้แก่คำฟ้ องในศาลชั้นต้น ตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา 173
วรรคแรก
ถ้าเป็ นคำฟ้ องอุทธรณ์หรื อฎีกา มีมีการออกหมายเรี ยกให้จำเลยแก้คดีดงั เช่นคำฟ้ องในศาลชั้นต้น ดังนี้
หากผูอ้ ุทธรณ์ หรื อผูฎ้ ีกาไม่นำส่ งหมายและสำเนาอุทธรณ์หรื อฎีกาในเวลาที่ศาลชั้นต้นกำหนด ถือว่าเป็ นการทิ้ง
ฟ้ องตามมาตรา 174( 2)
ข้อสังเกต ตามมาตรา 174 ใช้คำว่าโจทก์ท้ิงฟ้ อง ในชั้นอุทธรณ์ช้ นั ฎีกานั้นคำว่าโจทก์หมายถึงผูท้ ี่ยนื่
อุทธรณ์หรื อฎีกาซึ่งแจจะเป็ นจำเลยก็ได้ หากจำเลยเป็ นผูอ้ ุทธรณ์หรื อฎีกาและเพิกเฉยไม่ดำเนินคดีภายในเวลาที่
ศาลกำหนดก็ถือว่าจำเลยทิ้งฟ้ องอุทธรณ์หรื อฎีกาได้ (ฎ. 393/36)
ค่าธรรมเนียมการส่ งหมายมิใช่ค่าธรรมเนียมศาล ผูไ้ ด้รับอนุญาตให้อุทธรณ์หรื อฎีกาอย่างคนอนาถา จึง
ไม่ได้รับการยกเว้น เมื่อคูค่ วามที่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินคดีอย่างคนอนาถาไม่วางเงินค่าธรรมเนียมการส่ งหมาย
ตามคำสัง่ ศาล จึงเป็ นการทิ้งฟ้ อง
การส่ งคำฟ้ องนั้น ตามมาตรา 70 วรรคสอง บัญญัติวา่ ให้โจทก์เสี ยค่าธรรมเนียมในการส่ ง ส่ วนการนำ
ส่ งนั้นโจทก์จะนำส่ งหรื อไม่กไ็ ด้ เว้นแต่ศาลจะสัง่ ให้โจทก์มีหน้าที่ในการนำส่ ง ดังนี้ ในการส่ งสำเนาคำฟ้ อง
คำฟ้ องอุทธรณ์หรื อคำฟ้ องฎีกา ต้องดูวา่ ศาลชั้นต้นได้มีคำสัง่ ให้นำส่ งด้วยหรื อไม่ ถ้าศาลไม่ส่งจะถือว่าทิ้งฟ้ อง
ไม่ได้ (ฎ. 5456/39)
แต่ถา้ ศาลชั้นต้นสัง่ ให้จดั การนำส่ งด้วย โจทก์ผอู้ ุทธรณ์หรื อฎีกาก็ตอ้ งคอยติดตามผลการส่ งว่า ส่ ง
สำเนาคำฟ้ องฯ ได้หรื อไม่ ถ้าส่ งไม่ได้ตอ้ งแถลงให้ทราบตามคำสัง่ ศาล ถ้าไม่แถลงก็ถือว่าทิ้งฟ้ อง ตามมาตรา
174(2) (ฎ. 4713/41)
กรณี ส่งหมายข้ามเขต แม้ครั้งแรกศาลจะสัง่ ให้โจทก์นำส่ งสำเนาอุทธรณ์ แต่ต่อมาศาลได้มีหนังสื อให้
ศาลอื่นส่ งหมายแทน ถือว่าเป็ นการส่ งหมายข้ามเขตโดยศาลเอง เมื่อส่ งหมายให้ไม่ได้ ศาลสัง่ ให้โจทก์แถลงโดย
ไม่ได้แจ้งคำสัง่ ให้โจทก์ทราบ การที่โจทก์มิได้ยนื่ คำแถลง ถือไม่ได้วา่ โจทก์ท้ิงอุทธรณ์ (ฎ. 5001/47, 2816/39)
ทิ้งฟ้ องตามมาตรา 147(2) เป็ นกรณี ที่โจทก์เพิกเฉยไม่ดำเนินคดีภายในเวลาที่ศาลกำหนด ที่จะถือว่า
โจทก์เพิกเฉยไม่ดำเนินคดีภายในเวลาที่ศาลกำหนดนั้น โจทก์ตอ้ งทราบคำสัง่ ศาลโดยชอบแล้ว ในแบบฟอร์มคำ
คู่ความหรื อคำร้องมีขอ้ ความว่ารอฟังคำสัง่ อยู่ ถ้าไม่รอให้ถือว่าทราบแล้ว ใช้ในกรณี ที่ศาลมีคำสัง่ ในวันที่ยนื่ คำคู่
ความหรื อคำร้องนั้นต่อศาล (ฎ. 2449/35) ถ้าศาลมีคำสัง่ ในวันอื่นจะถือว่าโจทก์ (รวมทั้งผูอ้ ุทธรณ์หรื อฎีกา)
ทราบคำสัง่ ศาลแล้วไม่ได้ ไม่เป็ นการทิ้งฟ้ อง (ฎ. 579/44) แต่ถา้ เจ้าหน้าที่ศาลนัดให้คู่ความมาฟังคำสัง่ ในวันอื่น
แม้ศาลจะมีคำสัง่ ในวันที่ยนื่ คำคู่ความนั้น ก็จะถือว่าคู่ความทราบคำสัง่ ศาลในวันนั้นแล้วไม่ได้ ต้องถือว่าทราบคำ
สัง่ ในวันที่กำหนดให้คู่ความมาฟังคำสัง่ (ฎ. 828/46)
การที่คู่ความลงชื่อรับทราบว่าจะมาฟังคำสัง่ ศาลภายในเวลาที่กำหนด เป็ นหน้าที่ของคู่ความต้องมารับ
ทราบนั้นเอง และถือว่าทราบคำสัง่ นั้นแล้ว (ฎ. 1668/48)
กรณี ที่คู่ความมอบฉันทะให้เสมียนทนายความไปดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ ง ถ้าศาลมีคำสัง่ ที่เกี่ยวกับ
เรื่ องที่มอบฉันทะ ถือว่าคู่ความที่มอบฉันทะทราบคำสัง่ นั้นด้วยแล้ว แต่ถา้ ศาลมีคำสัง่ ในเรื่ องอื่นที่ไม่เกี่ยวกับเรื่ อง
ที่มอบฉันทะ แม้หนังสื อมอบฉันทะจะระบุวา่ ให้รับบทราบคำสัง่ ศาลด้วย ก็ไม่ถือว่าคู่ความทราบคำสัง่ ศาลแล้ว
การที่คู่ความไม่ปฎิบตั ิตามจะถือว่าคู่ความทิ้งฟ้ องไม่ได้ (ฎ. 4820/47)
คู่ความมอบฉันทะให้เสมียนทนายมายืน่ คำร้องขอเลื่อนคดี กระบวนพิจารณาที่ถือว่าคูค่ วามผูม้ อบ
ฉันทะทราบ ต้องเป็ นคำสัง่ ศาลที่เกี่ยวกับการขอเลื่อนคดีเท่านั้น ดังนั้นที่ศาลมีคำสัง่ ให้คู่ความชำระค่าขึ้นศาล
ส่วนที่ขาดให้ถูกต้อง ไม่เกี่ยวกับคำสัง่ ขอเลื่อนคดี จะถือว่าคู่ความผูม้ อบฉันทะทราบคำสัง่ ศาลดั้งกล่าวด้วยได้ไม่
เมื่อคู่ความไม่นำค่าขึ้นศาลมาเสี ยในกำหนดจะถือว่าทิ้งฟ้ องหาได้ไม่ (ฎ. 7513/40)
ถ้ามีการส่ งสำเนาอุทธรณ์หรื อฎีกาให้อีกฝ่ ายหนึ่งในชั้นดำเนิ นคดีอย่างคนอนาถาแล้ว ก็ไม่ตอ้ งส่ งสำเนา
อุทธรณ์หรื อฎีกาอีก ดังนี้ ถ้าศาลสัง่ ให้ส่งอีกผูอ้ ุทธรณ์หรื อฎีกาไม่ส่งจะถือว่าทิ้งฟ้ องอุทธรณ์หรื อฎีกาไม่ได้ (ฎ.
1105/ 43, 1005/39)
การดำเนินคดีตามคำสัง่ ศาลนั้นจะต้องเป็ นกระบวนการพิจารณาที่บงั คับให้โจทก์ตอ้ งกระทำโดยเด็ด
ขาด มิฉะนั้นกระบวนการพิจารณาไม่อาจดำเนินต่อไปได้ ดังนี้ การที่ศาลสัง่ ให้คู่ความไปทำแผนที่พิพาท ถ้าไม่
ไปอีกฝ่ ายหนึ่งนำชี้ไปฝ่ ายเดียว ถึงวันนัดโจทก์ไม่ไปนำชีกไ็ ม่เป็ นอุปสรรคต่อการทำแผนที่พิพาท จะถือว่าโจทก์
7
ทิ้งฟ้ องไม่ได้ (ฎ. 3603/28) ข้อสังเกต ตามฎีกานี้ คำฟ้ องของศาลไม่เป็ นการบังคับโดยเด็ดขาด ดังนั้น แม้โจทก์ไม่
ไปก็จะถือว่าโจทก์ท้ิงฟ้ องไม่ได้
การที่โจทก์ไม่มาในวันนัดชี้สองสถานหรื อวันสื บพยาน ศาลต้องดำเนินกระบวนพิจารณาไปตามที่
บัญญัติไว้ในเรื้ องดังกล่าว ไม่เป็ นการทิ้งฟ้ อง เช่นกรณี ที่โจทก์ถอนฟ้ องจำเลยทั้งสองโดยจำเลยที่ 1 ไม่ยนื่ คำ
ให้การแล้ว ในส่ วนของจำเลยที่ 1 ศาลอนุญาตให้ถอนฟ้ องได้ แต่ในส่ วนของจำเลยที่ 2 ได้ยนื่ คำให้การไว้
แล้ว แต่โจทก์ไม่นำส่ งหมายนัดและสำเนาคำร้องให้จำเลยที่ 2 ตามคำสัง่ ศาล ศาลจะสัง่ ว่าโจทก์ท้ิงฟ้ องสำหรับ
จำเลยที่ 2 ไม่ได้ เพราะโจทก์ไม่ได้นำส่ งหมายนัดและสำเนาคำร้องให้จำเลยที่ 1 ตามคำสัง่ ศาลชั้นต้น ทำให้
ศาลไม่อาจสอบถามจำเลยที่ 2 ได้ ศาลชั้นต้นต้องสัง่ ยกคำร้องขอถอนฟ้ องจำเลยที่ 2 ไม่ใช่ไปสัง่ ว่าทิ้งฟ้ อง (ดูฎ
. 3443/45)
ทนายโจทก์แถลงว่าหากตกลงกันไม่ได้ จะนำผูม้ ีอำนาจฝ่ ายโจทก์มาศาล เพื่อแถลงให้ศาลทราบ ดังนี้
เมื่อคดีตกลงกันไม่ได้ แม้ผมู้ ีอำนาจฝ่ ายโจทก์ไม่มาศาล ยังถือไม่ได้วา่ โจทก์เพิกเฉยไม่ดำเนินคดีภายในเวลาตามที่
ศาลเห็นสมควรกำหนด (ฎ. 4961/48) เรื่ องนี้ ศาลชั้นต้นจดรายงานกระบวนพิจารณาคดีวา่ ... หากไม่ได้ขอ้ ยุติ
ทนายโจทก์จะติดต่อนัดหมายผูม้ ีอำนาจตัดสิ นใจซึ่งเป็ นผูเ้ จรจาฝ่ ายโจทก์มาศาลด้วยตนเองเพื่อแถลงรายละเอียด
ให้ศาลทราบ มิฉะนั้นถือว่าโจทก์ท้ิงฟ้ อง ... นั้น เมื่อถึงวันนัดสื บพยานจำเลย แม้ผมู้ ีอำนาจตัดสิ นใจฝ่ ายโจทก์ไม่
มาศาลก็ตาม แต่ทนายโจทก์กไ็ ด้แถลงให้ศาลทราบแล้วว่าผูม้ ีอำนาจฝ่ ายโจทก์ได้พิจารณาข้อเสนอของฝ่ ายจำเลย
แล้ว ไม่อาจตกลงกันได้จึงไม่มาศาล เมื่อคดีไม่สามารถตกลงกันได้ การที่ผมู้ ีอำนาจตัดสิ นใจฝ่ ายโจทก์ไม่มาศาล
เพื่อแถลงให้ศาลทราบด้วยตนเองตามที่ทนายโจทก์แถลงไว้ ยังถือไม่ได้วา่ โจทก์เพิกเฉยไม่ดำเนินคดีภายในเวลาที่
ศาลเห็นสมควรกำหนดอันจะถือได้วา่ โจทก์ท้ิงฟ้ อง
การเพิกเฉยไม่ดำเนินคดีภายในเวลาที่ศาลกำหนด หมายถึงการไม่ดำเนินคดีในคดีน้ นั ๆเอง ดังนั้นการที่
ศาลสัง่ ให้คู่ความไปฟ้ องเป็ นคดีหนึ่ง แต่คู่ความนั้นเพิกเฉย ถือไม่ได้วา่ เป็ นการทิ้งฟ้ อง (ฎ. 1511/32)
แต่การที่โจทก์จำเลยตกลงกันว่าถ้ามีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นแล้วจะถอนฟ้ องนั้น เป็ นการดำเนินกระบวน
พิจารณาในคดีน้ นั เอง ดังนี้ เมื่อเหตุการณ์น้ นั เกิดขึ้นแล้ว แต่โจทก์ไม่ยอมถอนฟ้ อง เป็ นการเพิกเฉยไม่ดำเนินคดี
ภายในเวลาที่ศาลกำหนด เป็ นทิ้งฟ้ อง (ฎ. 407/44 เรื่ องเสาเข็ม )
คำขอพิจารณาใหม่ไม่วา่ โจทก์หรื อจำเลยเป็ นผูข้ อถือได้วา่ เป็ นคำฟ้ อง ตามมาตรา 1(3) เมื่อคู่ความยืน่
คำขอพิจารณาใหม่ ไม่จดั การนำส่ งสำเนาคำขอพิจารณาใหม่แก่คู่ความอีกฝ่ ายตามคำสัง่ ศาล จึงถือว่าเป็ นการทิ้ง
ฟ้ อง (ฎ. 821/11 ป.) เป็ นการเพิกเฉย ตามมาตรา 174(2) ไม่ใช่มาตรา 174(1) เพราะการขอให้พิจารณาใหม่
ไม่มีการออกหมายเรี ยกให้อีกฝ่ ายให้การ เพียงแต่อีกฝ่ ายหนึ่งมีสิทธิ คดั ค้านเท่านั้น แต่ผขู้ อก็ยงั มีหน้าที่จดั การนำ
ส่ งคำร้องขอพิจารณาใหม่ตามคำสัง่ ศาล เมื่อเพิกเฉยจึงเป็ นการทิ้งฟ้ องตาม 174(2)
ในกรณี ที่โจทก์มีคำขอให้จำเลยรับผิดหลายข้อหา ปรากฏว่าบางข้อหามีการชำระค่าขึ้นศาลไม่ครบถ้วน
บางข้อหาโจทก์กเ็ สี ยค่าขึ้นศาลถูกต้องแล้ว ศาลจึงได้เรี ยกให้โจทก์เสี ยค่าขึ้นศาลในส่ วนที่ไม่ถูกต้อง ถ้าโจทก์ไม่
ปฎิบตั ิตามศาลจะสัง่ จำหน่ายคดีท้ งั หมดไม่ได้ ต้องสัง่ จำหน่ายคดีเฉพาะส่วนที่โจทก์ไม่ปฎิบตั ิเท่านั้น (ฎ.
2995/40)
หากศาลมิได้กำหนดเวลาให้คู่ความดำเนินคดีที่แน่นอนไว้โจทก์กต็ อ้ งดำเนิ นคดีภายในเวลาอันสมควร
มิฉะนั้นถือว่าเป็ นการทิ้งฟ้ องได้ (ฎ.1318/95)
กรณี ที่โจทก์ท้ิงฟ้ อง ศาลมีอำนาจจำหน่ายคดีได้ตามมาตรา 132(1) แต่ศาลจะจำหน่ายคดีหรื อไม่ เป็ น
ดุลพินิจของศาล (ฎ. 6986/41)
เมื่อศาลมีคำสัง่ ว่าโจทก์ท้ิงฟ้ องและจำหน่ายคดีแล้ว โจทก์จะยืน่ คำร้องขอเพิกถอนคำสัง่ ทิ้งฟ้ องและ
จำหน่ายคดีซ่ ึงเป็ นการพิจารณาผิดระเบียบตามมาตรา 27 ได้ (ฎ. 1288/32 ป.)
การทิ้งฟ้ องอุทธรณ์หรื อฎีกา และให้จำหน่ายคดีเป็ นอำนาจของศาลอุทธรณ์หรื อ ศาลฎีกา แล้วแต่กรณี
ศาลชั้นต้นไม่มีอำนาจสัง่ เช่นว่านั้นได้ (ฎ.6320/37)

ถอนฟ้อง (มาตรา 175, 176)


การถอนฟ้ องก่อนจำเลยยืน่ คำให้การ (มาตรา 175 วรรคหนึ่ง)
8
กรณี โจทก์ถอนฟ้ องก่อนจำเลยยืน่ คำให้การ กฎหมายให้ทำเป็ นคำบอกกล่าวเป็ นหนังสื อ แต่โจทก์อาจ
เป็ นคำร้องขอถอนฟ้ องก็ได้ การขอถอนฟ้ องกรณี น้ ี ไม่ทำให้จำเลยเสี ยเปรี ยบ เพราะจำเลยยังไม่ได้ยนื่ คำให้การ
ศาลจึงต้องอนุญาตให้ถอนฟ้ องทุกกรณี จะใช้ดุลพินิจไม่อนุญาตให้ถอนฟ้ องไม่ได้ และศาลอนุญาตโดยไม่ตอ้ ง
ฟังจำเลยก่อน (ฎ. 4769/40)
การถอนฟ้ องภายหลังจะเลยยืน่ คำให้การแล้ว โจทก์ตอ้ งทำคำขอเป็ นคำร้อง และถ้าศาลอนุญาตให้ถอน
ฟ้ อง กฎหมายบังคับให้ศาลต้องฟังจำเลยก่อน ซึ่งมีขอ้ สังเกตว่ากรณี ที่ศาลจะอนุญาตให้โจทก์ถอนฟ้ องเท่านั้นที่
ศาลจะต้องฟังจำเลยก่อน ถ้าศาลไม่อนุญาตให้ถอนฟ้ อง ก็ไม่อยูใ่ นเงื่อนไขดังกล่าว ศาลจึงไม่อนุญาตให้ถอน
ฟ้ องได้เลยโดยไม่ตอ้ งฟังจำเลยก่อน ส่ วนที่ศาลอนุญาตให้ถอนฟ้ องโดยไม่ฟังจำเลยก่อน ถือว่าเป็ นการไม่ชอบ
ตามมาตรา 175 วรรคสอง (ฎ. 777/03)
แม้กฎหมายมิได้บญั ญัติวา่ โจทก์จะขอถอนคำฟ้ องได้ถึงเมื่อใด ก็เป็ นที่เข้าใจได้วา่ โจทก์ตอ้ งขอถอน
ฟ้ องระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้น ก่อนศาลชั้นต้นมีคำพิพากษา (ฎ. 7887/42) แต่ศาลจะอนุญาตหรื อไม่ ก็
ต้องเป็ นไปตามที่บญั ญัติไว้ในมาตรา 175 อย่างไรก็ตาม ถ้าศาลอุทธรณ์หรื อศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาของ
ศาลชั้นต้น คดีกก็ ลับเข้าสู่ การพิจารณาของศาลชั้นต้นอีกครั้งหนึ่ง โจทก์จึงขอถอนฟ้ องได้ โดยอยูใ่ นอำนาจของ
ศาลชั้นต้นที่จะมีอำนาจสัง่ คำร้องดังกล่าว (ฎ. 5623/48)
กรณี ที่มีจำเลยหลายคน โจทก์ขอถอนฟ้ องทั้งคดี ก็ตอ้ งพิจารณาจำเลยแต่ละคนว่ายืน่ คำให้การต่อสู้คดี
แล้วหรื อไม่ (ฎ. 3443/45)
การที่นายความแถลงคัดค้านว่า “คำร้องขอถอนฟ้ องไม่บอกเหตุผลของการถอนฟ้ อง” ย่อมถือได้วา่ ศาล
ฟังจำเลยก่อนมีคำสัง่ แล้ว (ฎ.1677/40)
กรณี มีจำเลยหลายคนโจทก์ถอนฟ้ องเฉพาะจำเลยบางคน ดังนี้ ศาลสอบถามเฉพาะจำเลยที่ถอนฟ้ อง
เท่านั้น (ฎ. 679/06)
ข้อสังเกต คำร้องขอถอนฎีกา ต้องยืน่ ต่อศาลฎีกา เพราะเป็ นกระบวนพิจารณาในชั้นฎีกา แต่ถา้ เป็ น
คำร้องขอถอนฟ้ องเดิม แม้คดีดงั กล่าวจะมีการฎีกาและอยูใ่ นชั้นฎีกา ก็ตอ้ งยืน่ ต่อศาลชั้นต้น
ศาลจะอนุญาตให้ถอนฟ้ องหรื อไม่ ( กรณี จำเลยยืน่ คำให้การแล้ว) เป็ นดุลพินิจของศาล(ฎ.315/04 ป.)
แต่ดุลพินิจที่ศาลจะอนุญาตให้ถอนฟ้ องหรื อไม่ ศาลต้องคำนึงถึงข้อได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบของคดีในส่ วนที่เกี่ยวกับ
คำฟ้ อง คำให้การเท่านั้น ไม่ตอ้ งคำนึงถึงฟ้ องแย้ง (ฎ. 6443/37)
เมื่อได้ฟังจำเลยแล้วแม้จำเลยจะคัดค้าน ศาลก็อนุญาตให้ถอนฟ้ องได้(ฎ.469/46)
โจทก์ขอถอนฟ้ องโดยไม่สุจริ ต ซึ่งทำให้จำเลยเสี ยเปรี ยบ ศาลไม่อนุญาต เช่น ถอนฟ้ องเพราะโจทก์อาจ
แพ้คดี (ฎ. 7944/42) และการที่โจทก์ถอนฟ้ องเพื่อยืน่ ฟ้ องใหม่ เนื่องจากฟ้ องบกพร่ องและพ้นกำหนดเวลาขอ
แก้ไขฟ้ องแล้ว ทำให้จำเลยเสี ยเปรี ยบในการต่อสู้ศาลไม่อนุญาต (ฎ. 6403/39)
โจทก์ขอถอนฟ้ องเพราะฟ้ องที่ดินผิดแปลง สมควรให้ถอนฟ้ องได้ เพราะโจทก์ยอ่ มนำคดีมาฟ้ องจำเลย
เกี่ยวกับที่ดินแปลงที่พิพาทกันอย่างแท้จริ งใหม่ได้ คู่ความทั้งสองฝ่ ายก็จะได้ไม่ตอ้ งเสี ยค่าธรรมเนียมและค่าใช้
จ่ายอีก (ฎ. 3871/41)
โจทก์ขอถอนฟ้ องเพราะฟ้ องผิดศาล โจทก์กอ็ าจนำคดีไปฟ้ องที่ศาลที่อยูใ่ นเขตอำนาจได้ ดังนี้ แม้จำเลย
จะยืน่ คำให้การต่อสู้คดีไว้แล้ว ก็ไม่ทำให้จำเลยเสี ยหายต่อย่างใด สมควรอนุญาตให้ถอนฟ้ องได้ (ฎ. 903/47)

ผลของการถอนฟ้อง
คำว่าลบล้างผลแห่งการยื่นคำฟ้ อง รวมทั้งกระบวนพิจารณาอื่นๆภายหลังยืน่ คำฟ้ องเท่ากับไม่มีการยืน่
ฟ้ องมาก่อนเลย และกระบวนพิจารณาอื่นๆภายหลังจากยืน่ คำฟ้ องก็ถูกลบล้างไปด้วย เช่นการยืน่ คำให้การจองจำ
เลยก็ถูกลบล้างไปด้วย ถือว่าจำเลยไม่ได้ยนื่ คำให้การต่อสู้คดีโจทก์ จำเลยร่ วมคนอื่นจึงไม่อาจถือเอาประโยชน์
จากคำให้การของจำเลยที่โจทก์ขอถอนฟ้ องตามมาตรา 59 (ฎ. 1938/40)
การที่โจทก์ขอถอนฟ้ องโดยแถลงว่าไม่มีความประสงค์จะดำเนินคดีต่อไป มีความหมายว่าไม่ประสงค์
จะดำเนินคดีแก่จำเลยในคดีน้ นั เท่านั้น โจทก์จึงฟ้ องจำเลยเป็ นคดีใหม่ได้ (ฎ.2319/43, 3998/40)
แต่ถา้ โจทก์แถลงต่อศาลอย่างชัดแจ้งว่า จะไม่ฟ้องจำเลยในเรื่ องเดียวกันอีก ดังนี้ โจทก์ฟ้องจำเลยใหม่อีก
ไม่ได้ เช่น แถลงว่าจะไม่ฟ้องจำเลยเกี่ยวกับทรัพย์พิพาทนั้นอีก (ฎ. 2002/11)
9
ข้อสังเกต คำฟ้ องที่ถอนแล้วจะฟ้ องใหม่ได้ตามมาตรา 176 ได้อีกนั้น หมายถึงการถอนฟ้ องนั้นได้
ถึงที่สุดแล้ว หากมีการอุทธรณ์หรื อฎีกาคำสัง่ ศาลที่อนุญาตให้ถอนฟ้ องต่อไปอีก ระหว่างนี้จะฟ้ องใหม่ไม่ได้ เป็ น
ฟ้ องซ้อน (ฎ. 3522/29)

ฟ้องแย้ ง ( มาตรา 177-179)


หลักเกณฑ์ จำเลยจะฟ้ องแย้งเข้ามาในคำให้การก็ได้ แต่ถา้ ฟ้ องแย้งไม่เกี่ยวกับคำฟ้ องเดิม ให้ศาลสัง่ ให้
จำเลยฟ้ องเป็ นคดีต่างหาก (มาตรา 177 วรรคสาม) โจทก์มีหน้าที่ตอ้ งทำคำให้การแก้ฟ้องแย้งยืน่ ต่อศาลภายใน 15
วัน นับแต่วนั ที่ได้ส่งคำให้การถึงโจทก์(มาตรา 178 วรรคแรก) ฟ้ องแย้งและคำฟ้ องเดิมต้องเกี่ยวข้องกันพอที่จะ
รวมการพิจารณาและชี้ ขาดตัดสิ นเข้าด้วยกันได้ (มาตรา 179 วรรคท้าย)
จำเลยจะฟ้ องแย้งเข้ามาในคำให้การก็ได้ ซึ่งรวมทั้งคำร้องขอแก้ไขคำให้การด้วย (ฎ. 629/24 ป.)
ผูม้ ีสิทธิฟ้องแย้งต้องอยูใ่ นฐานะจำเลย ซึ่งตามมาตรา 177 วรรคสาม แสดงให้เห็นว่าผูม้ ีสิทธิฟ้องแย้ง
ต้องตกอยูใ่ นฐานะจำเลยในคดีน้ นั ในกรณี ร้องสอดเข้ามาในคดีในฐานะจำเลยก็มีสิทธิฟ้องแย้งได้(ฎ. 163/07 ป.)
ข้อสังเกต การร้องสอดเข้ามาเป็ นคู่ความตามมาตรา 57 มีอยูด่ ว้ ยกัน 3 กรณี แต่ละกรณี มีสิทธิแตกต่าง
กัน(มาตรา 58) กล่าวคือ ถ้าเป็ นร้องสอดเข้ามาเป็ นคู่ความฝ่ ายที่สามในฐานะจำเลยตามมาตรา 57(1) หรื อถูกเรี ยก
เข้ามาเป็ นจำเลยร่ วมตามมาตรา 57(3) ผูร้ ้องสอดมีสิทธิเสมือนถูกฟ้ องเป็ นคดีเรื่ องใหม่ ไม่ตอ้ งอาศัยสิ ทธิเดิม จึง
มีสิทธิฟ้องแย้งได้ แต่ถา้ เป็ นจำเลยร่ วมตามมาตรา 57(2) จะใช้สิทธิอย่างอื่นนอกจากสิ ทธิที่มีอยูแ่ ก่จำเลยเดิมไม่ได้
ดังนี้ ถ้าจำเลยเดิมมิได้ฟ้องแย้ง ผูร้ ้องสอดก็ไม่มีสิทธิฟ้องแย้งได้ (ฎ. 3665/38)
ในคดีไม่มีขอ้ พิพาท เมื่อมีผคู้ ดั ค้านเข้ามาต้องดำเนินคดีไปอย่างคดีมีขอ้ พิพาทตามมาตรา 188(4) ผูร้ ้อง
จึงมีฐานะเป็ นโจทก์ ส่วนผูค้ ดั ค้านมีฐานะเป็ นจำเลย ผูค้ ดั ค้านจึงฟ้ องแย้งมาในคำคัดค้านได้ เช่น คดีร้องขอแสดง
กรรมสิ ทธิ์ ที่ดิน ผูค้ ดั ค้านฟ้ องแย้งขอให้ขบั ไล่ผรู้ ้องได้ (ฎ. 385/44)
ปัญหาฟ้ องแย้งตกไปตามฟ้ องเดิมหรื อไม่ นั้นให้พิจารณาว่า ถ้าเป็ นกรณี ที่ศาลวินิจฉัยว่าโจทก์ไม่มี
อำนาจฟ้ อง ซึ่งจะทำไห้ไม่มีฟ้องของโจทก์และตัวโจทก์ที่จำเลยจะฟ้ องแย้งอีกต่อไป ฟ้ องแย้งของำเลยก็ตกไป
ด้วย เหตุที่โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้ องก็เช่น ฟ้ องโจทก์เป็ นฟ้ องซ้อน ฟ้ องซ้ำ หรื อโจทก์เป็ นบิดาที่ไม่ชอบด้วย
กฎหมาย จึงไม่มีอำนาจฟ้ องแทนบุตร (ฎ. 7265/44, 972/32, 736/03) ส่วนกรณี อื่นๆที่ไม่ใช่กรณี ที่โจทก์ไม่มี
อำนาจฟ้ อง แต่เป็ นเพียงการทิ้งฟ้ องหรื อถอนฟ้ อง ก็มีผลเพียงเฉพาะคดีโจทก์ไม่มีฟ้องเดิมที่จะดำเนินกระบวน
พิจารณาอีกต่อไปเท่านั้น ไม่ทำให้ฟ้องแย้งตกไปด้วย เพราะยังมีตวั โจทก์ซ่ ึงเป็ นจำเลยตามฟ้ องแย้งอยู่ (ฎ.
6909/43 , 2686/48) และมีคำพิพากษาที่ 3604/40 วินิจฉัยเพิ่มเติมว่า เมื่อฟ้ องแย้งของจำเลยนั้นเกี่ยวกับฟ้ องเดิม
แล้ว ศาลก็ตอ้ งรับฟ้ องแย้งไว้พิจารณาและมีประเด็นแห่งคดีตามฟ้ องแย้งที่ศาลต้องวินิจฉัยให้คู่ความแพ้หรื อชนะ
ตามมาตรา 131(2) และมาตรา 133 บัญญัติไว้ ศาลจะไม่รับวินิจฉัยในฟ้ องแย้งโดยอ้างว่าฟ้ องเดิมตกไปไม่ได้
คดีที่ฟ้องแย้ง ถ้าโจทก์ขาดนัดพิจารณาตามมาตรา 202 ศาลต้องจำหน่ายคดีโจทก์จากสารบบความ แต่
ในส่ วนฟ้ องแย้งต้องถือว่าจำเลยในฐานะโจทก์ตามฟ้ องแย้งมาศาลแล้ว และถือว่าโจทก์(ในฐานะจำเลยตามฟ้ อง
แย้ง) ขาดนัดพิจารณา ศาลต้องสัง่ ให้ช้ ีขาดคดีไปฝ่ ายเดียวตามมาตรา 204 และในกรณี เช่นนี้ถือว่ายังมีตวั โจทก์ที่
ยังคงเป็ นจำเลยของฟ้ องแย้งอยูต่ ่อไปจึงมีคู่ความครบถ้วนที่จะดำเนินคดีในส่ วนฟ้ องแย้งต่อไป
(ฎ.3172/36,4499/45)
ฟ้ องแย้งต้องพิจารณาสิ ทธิตามกฎหมายสารบัญญัติประกอบด้วย เช่น จำเลยจะฟ้ องแย้งขอให้โจทก์จด
ทะเบียนสิ ทธิการเช่าให้ไม่ได้ ขัดต่อ ป.พ.พ.มาตรา 538 (ฎ. 3919/36) แต่ถา้ สัญญาเช่ามีขอ้ ตกลงให้ผใู้ ห้เช่าไปจด
ทะเบียนการเช่า การฟ้ องร้องบังคับคดีหมายถึงการฟ้ องผูใ้ ห้เช่าไปจดทะเบียนการเช่าตามข้อสัญญาด้วย ผูเ้ ช่าจึง
ฟ้ องบังคับผูใ้ ห้เช่าไปจดทะเบียนการเช่าได้ แต่ตอ้ งฟ้ องภายใน 3 ปี (ฎ. 5542/42, 206/42 ป.) ดังนี้ถา้ จำเลยฟ้ อง
แย้งให้โจทก์ไปจดทะเบียนการเช่าตามข้อตกลงกันไว้ในสัญญา ถือว่าเป็ นข้อสัญญาที่บงั คับกันได้และเกี่ยวกับ
ฟ้ องเดิม ศาลต้องรับไว้พิจารณา แต่ถา้ ไม่มีขอ้ สัญญาให้ไปจดทะเบียนการเช่าหรื อขณะฟ้ องแย้งให้จดทะเบียน
การเช่าเกินกว่า 3 ปี ไปแล้ว ก็ถือว่าเป็ นข้อสัญญาที่บงั คับไม่ได้ และฟ้ องแย้งไม่ได้ ต้องพิจารณาเป็ นกรณี ไป
กรณี เป็ นสัญญาต่างตอบแทนยิง่ กว่าสัญญาเช่าธรรมดา จำเลยฟ้ องแย้งให้โจทก์ไปจดทะเบียนการเช่าได้
(ฎ. 172/88, 796/95)
10
ฟ้องแย้ งต้ องเกีย่ วกับฟ้องเดิม (มาตรา 177 วรรคสาม 179 วรรคท้าย)
จำเลยให้การว่าจำเลยไม่ตอ้ งรับผิดตามเอกสารที่โจทก์นำมาฟ้ อง ดังนี้ หากฟังได้ตามข้อต่อสู้ จำเลยย่อม
ได้รับผลตามคำพิพากษาอยูแ่ ล้วโดยศาลต้องพิพากษายกฟ้ อง จึงไม่มีเหตุจำเป็ นต้องฟ้ องแย้งขอให้คืนหรื อทำลาย
เอกสารดักกล่าวอีก ฟ้ องแย้งเป็ นเรื่ องอื่น ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ.5520/42, 843/43)
จำเลยให้การว่าไม่ตอ้ งรับผิดตามสัญญาที่โจทก์ฟ้องเพราะเป็ นสัญญาปลอม หากศาลให้จำเลยชนะศาลก็
ต้องพิพากษายกฟ้ องสถานเดียว จำเลยจึงไม่มีสิทธิฟ้องแย้งขอให้ศาลพิพากษาว่าเป็ นสัญญาปลอมอีก(ฎ. 5189/46)
ฟ้ องแย้งต้องเป็ นการฟ้ องบังคับเอาแก่โจทก์ ฟ้ องแย้งที่บงั คับเอาแก่จำเลยด้วยกันเองเป็ นฟ้ องแย้งที่ไม่
เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 3028/43,3045/30)
ฟ้ องแย้งที่อา้ งสิ ทธิของบุคคลภายนอก ถือว่าไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 802/15, 1300/00, 1897-8/ 47)
นอกจากนี้จำเลยจะฟ้ องแย้งกับบุคคลภายนอกก็ไม่ได้เช่นเดียวกัน ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 5578/49)
คดีที่มีจำเลยหลายคน ฟ้ องแย้งที่โต้แย้งสิ ทธิของจำเลยคนอื่น ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 3932/49) คดีน้ ี
จำเลยที่ 2 กล่าวอ้างว่าโจทก์โต้แย้งสิ ทธิจำเลยที่ 1 ไม่ได้อา้ งว่าโต้แย้งสิ ทธิของจำเลยที่ 2 จำเลยที่ 2 จึงไม่มี
อำนาจฟ้ องแย้ง)
ฟ้ องแย้งเพื่อหาพยานหลักฐานไม่ได้ ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 6/16)
จำเลยให้การว่าสัญญาที่โจทก์นำมาฟ้ องตกเป็ นโมฆะ จะฟ้ องแย้งขอให้โจทก์ปฎิบตั ิตามสัญญานั้นไม่ได้
เพราะขัดกับคำให้การ ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 2648/41) แต่จำเลยฟ้ องแย้งได้วา่ หนี้ตามสัญญาที่โจทก์นำมาฟ้ อง
ตกเป็ นโมฆะ ขอให้คืนเช็คทีจำ ่ เลยชำระหนี้เงินกูใ้ ห้โจทก์ เป็ นฟ้ องแย้งเกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 5263/45)
จำเลยให้การปฎิเสธว่าไม่มีสญ ั ญาต่อกันแล้ว จะฟ้ องแย้งตามสัญญานั้นอีกไม่ได้ ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม
(ฎ.199/22,3920/48)
โจทก์ฟ้องหย่าและขอแบ่งสิ นสมรส จำเลยมีสิทธิฟ้องแย้งขอแบ่งสิ นสมรสอื่นนอกจากที่โจทก์ระบุใน
คำฟ้ องได้ ทั้งนี้เพื่อให้การแบ่งสิ นสมรสเสร็จไปพร้อมกับการสิ้ นสุ ดของการสมรส (ฎ.4650/45) แม้สินสมรสที่
ฟ้ องแย้งจะอยูน่ อกเขตศาลเดิมก็ตาม (ฎ. 5149/49) เช่นเดียวกับการฟ้ องขอแบ่งทรัพย์มรดรดก จำเลยฟ้ องแย้งขอ
ให้แบ่งทรัพย์มรดกนอกจากที่โจทก์ฟ้องได้ (ฎ. 1644/49)
โจทก์ฟ้องขอให้จำเลยชำระเงินกู้ จำเลยฟ้ องแย้งว่าโจทก์ไม่ยอมให้จำเลยกูย้ มื เงินเพิม่ เติมตามที่ตกลงกัน
เป็ นการผิดสัญญาทำให้จำเลยเสี ยหาย ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 4468/48, 7086/39)
ต่างฝ่ ายต่างอ้างที่ดินของอีกฝ่ ายหนึ่งตกอยูใ่ นภาระจำยอมของที่ดินของตน ถือว่าเป็ นที่ดินคนละแปลง
ข้อเท็จจริ งที่จะได้ภาระจำยอมก็ต่างกัน ฟ้ องแย้งจึงไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 1068/27) ดังนั้นการฟ้ องแย้งเกี่ยวกับ
ที่ดินพิพาทแปลงเดียวกันกับฟ้ องเดิม ถือว่าเกี่ยวกับคำฟ้ องเดิม (ฎ. 5741/34) ฟ้ องแย้งให้ขบั ไล่ออกจากที่ดิน
คนละแปลงกับคำฟ้ องเดิมก็ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 374/25)
สิ ทธิเรี ยกค่าเสี ยหายที่เกิดจากการยึดหรื ออายัดชัว่ คราวก่อนพิพากษา เกิดขึ้นเมื่อศาลชั้นต้นพิพากษาให้
โจทก์แพ้คดี ทั้งนี้ตามมาตรา 263(1) ดังนี้ ก่อนศาลชั้นต้นมีคำพิพากษา สิ ทธิเรี ยกร้องของจำเลยยังไม่เกิด จำเลย
จึงไม่มีสิทธิฟ้องแย้งเรี ยกค่าเสี ยหายดังกล่าว (ฎ. 3319/42)
ฟ้ องแย้งว่าโจทก์ผดิ สัญญา แต่เป็ นสัญญาคนละฉบับกับที่โจทก์ฟ้อง ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 4121/46)
โจทก์ฟ้องเรี ยกเงินกู้ จำเลยให้การว่าไม่เคยกูเ้ งินและรับเงินจากโจทก์ และว่าได้ชำระหนี้เงินกูค้ รั้งอื่นให้
โจทก์โดยสำคัญผิดว่ายังไมได้ชำระ จึงฟ้ องแย้งเรี ยกเงินที่ชำระเกินไป ดังนี้ ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 2686/45)
ฟ้ องว่าจำเลยกระทำผิดละเมิด จำเลยฟ้ องแย้งว่าโจทก์ผดิ สัญญา หรื อกลับกันฟ้ องแย้งว่าจำเลยผิดสัญญา
จำเลยฟ้ องแย้งว่าโจทก์ละเมิด เป็ นฟ้ องเรื่ องอื่น ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 738/37, 6408/44) แต่ในบางกรณี ฟ้องเดิม
เป็ นเรื่ องละเมิด จำเลยฟ้ องแย้งเรื่ องผิดสัญญาก็อาจเกี่ยวกับฟ้ องเดิมได้ เช่น โจทก์ฟ้องเรี ยกค่าเสี ยหายเนื่องจาก
จำเลยก่อสร้างอาคารวัสดุก่อสร้างตกใส่ บา้ นของโจทก์เสี ยหาย จำเลยให้การว่ามีการทำสัญญาประนีประนอมยอม
ความกันแล้ว โดยโจทก์ตกลงยอมออกไปอยูท่ ี่อื่นภายใน 1 ปี และจำเลยได้มอบเงินให้โจทก์ไปจำนวนหนึ่งแต่
โจทก์ไม่ได้ไปอยูท่ ี่อื่น จึงฟ้ องแย้งเรี ยกเงินคืนจากโจทก์ เช่นนี้ฟ้องแย้งของจำเลยเกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 465/41)
ฟ้ องเดิมเป็ นเรื่ องผิดสัญญา ฟ้ องแย้งเป็ นเรื่ องละเมิด ถ้าเป็ นผลสื บเนื่องจากการผิดสัญญาก็เกี่ยวกับฟ้ อง
เดิม เช่นฟ้ องว่า จำเลยผิดสัญญาจะซื้ อจะขายที่ดิน จึงบอกเลิกสัญญาให้คืนเงินมัดจำและเรี ยกค่าเสี ยหาย แต่จำเลย
ให้การว่าโจทก์ผดิ สัญญา และฟ้ องแย้งให้ใช้เงินที่ทำให้ไร่ ออ้ ยของจำเลยได้รับความเสี ยหาย เพราะสัญญาจะซื้ อ
11
ขายที่ดินมีขอ้ ตกลงว่าจำเลยยอมให้โจทก็เข้าทำประโยชน์ในที่ดินนับแต่วนั ทำสัญญา การฟ้ องแย้งว่าโจทก์ไถหน้า
ดินของจำเลยไปถมที่ดินของโจทก์เป็ นการทำละเมิดต่อจำเลย ก็เป็ นผลสื บเนื่องจากข้อตกลงในสัญญาจะซื้ อจะ
ขาย นัน่ เอง(ฎ. 2822/39)
ฟ้ องเดิมและฟ้ องแย้งแม้จะเป็ นมูลละเมิดด้วยกัน แต่เป็ นละเมิดคนละครั้ง ไม่เป็ นฟ้ องแย้งที่เกี่ยวกับฟ้ อง
เดิม (ฎ. 2141/23, 5578/49)
ฟ้ องแย้งว่าการที่โจทก์นำคดีมาฟ้ องจำเลยทำให้จำเลยได้รับความเสี ยหาย เป็ นการฟ้ องในมูลละเมิด เป็ น
คนละเหตุกบั ฟ้ องเดิม ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ. 8143/49,1473/42)
ฟ้ องขอให้ร้ื อถอนอาคารที่ปลูกสร้างรุ กล้ำ จำเลยให้การและฟ้ องแย้งว่าจำเลยปลูกสร้างอาคารส่วนที่รุก
ล้ำโดยสุ จริ ต ขอให้โจทก์จดทะเบียนการโอนขายส่ วนที่บุกรุ กหรื อจดทะเบียนภาระจำยอม เป็ นฟ้ องแย้งที่เกี่ยว
กับฟ้ องเดิม (ฎ. 5182/46) หรื อโจทก์ฟ้องขอให้ร้ื อถอนสิ่ งปกลูกสร้าง จำเลยฟ้ องแย้งให้โจทก์ร้ื อถอนสิ่ งปลูก
สร้างที่รุกล้ำแนวเขตที่ดินได้เช่นกัน เกี่ยวกับฟ้ องเดิม เพราะเป็ นการพิพาทกันเกี่ยวกับเรื่ องเขตแดนระหว่างที่ดิน
ของโจทก์จำเลย (ฎ.778/23, 57/18) ความสำคัญอยูท่ ี่วา่ ต้องเป็ นกรณี พิพาทกันในเรื่ องเขตแดนที่ดิน
โจทก์ฟ้องขับไล่จำเลยออกจากที่พิพาท จำเลยฟ้ องแย้งว่าจำเลยได้ครอบครองปรปักษ์จนได้กรรมสิ ทธิ์
แล้ว ขอให้ศาลพิพากษาว่าที่พิพาทเป็ นของจำเลยได้ (ฎ. 1332/35)
ฟ้ องแย้งแม้จะเกี่ยวกับฟ้ องเดิม ถ้าฟ้ องแย้งนั้นไม่อาจบังคับให้เป็ นไปตามคำขอได้ ศาลสัง่ ยกฟ้ องแย้ง
ในชั้นตรวจฟ้ องได้โดยไม่ตอ้ งวินิจฉัยในชั้นมีคำพิพากษา (ฎ. 5183/38)
โจทก์ฟ้องขอให้กำจัดจำเลยมิให้รับมรดก จำเลยฟ้ องแย้งให้กำจัดโจทก์มิให้รับมรดกเป็ นฟ้ องแย้งที่ไม่
เกี่ยวกับฟ้ องเดิม (ฎ.7391/43) แต่ฟ้องเดิมโจทก์ฟ้องขอให้กำจัดจำเลยมิให้รับมรดกที่ดินพิพาท จำเลยฟ้ องแย้งห้าม
โจทก์เกี่ยวข้องกับที่ดินพิพาทได้ (ฎ.6868/46)
กรณี ที่โจทก์จำเลยต่างมีความผูกพันกันในอันที่จะต้องชำระหนี้ ให้แก่กนั และกัน และอยูใ่ นหลักเกณฑ์ที่
จะหักกลบลบหนี้ กนั ได้ ตาม ป.พ.พ. ย่อมให้การต่อสู้ขอให้หกั กลบลบหนี้ ได้ (ฎ. 1190/20) โดยจำเลยมีสิทธิขอ
หักกลบลบหนี้ มาในคำให้การได้ไม่ตอ้ งฟ้ องแย้ง ยิง่ กว่านั้นหากปรากฏว่าเมื่อหักกลบลบหนี้ แล้วโจทก์ยงั เป็ นลูก
หนี้จำเลยอยู่ จำเลยก็มีสิทธิฟ้องแย้งให้โจทก์ชำระหนี้ในส่ วนนั้นได้อีก ถือว่าฟ้ องแย้งของจำเลยเกี่ยวกับฟ้ องเดิม
ของโจทก์ (ฎ. 609/21, 3688/47)
ฟ้ องแย้งที่มีเงื่อนไข มีลกั ษณะพอสรุ ปได้วา่ จำเลยให้การต่อสู้วา่ จำเลยมีขอ้ ต่อสู้วา่ จะชนะคดีอย่างไร
ก่อน หากจำเลยชนะตามข้อต่อสู้ฟ้องแย้งก็ตกไป กล่าวคือศาลไม่ตอ้ งพิจารณาฟ้ องแย้งอีก แต่หากศาลไม่ฟังตาม
ที่ให้การต่อสู้หรื อจำเลยแพ้คดีจึงจะขอให้ศาลพิจารณาฟ้ องแย้งต่อไป กล่าวอีกนัยหนึ่งคือจะให้ศาลพิจารณาฟ้ อง
แย้งก็ต่อเมื่อแพ้ตามคำให้การเสี ยก่อน ดังนั้นฟ้ องแย้งที่มีเงื่อนไขจึงเป็ นฟ้ องที่ไม่เกี่ยวกับฟ้ องเดิม ไม่ชอบที่ศาล
จะรับไว้พจิ ารณา (ฎ. 1656/47, 34/49, 4471/49)
ถ้าข้อต่อสู้ตามคำให้การของจำเลยตกไป ฟ้ องแย้งก็ตกไปด้วย ไม่เป็ นฟ้ องแย้งที่มีเงื่อนไข (ฎ.442/11)

แก้ไขคำฟ้อง คำให้ การ (มาตรา 179-181)


เฉพาะการแก้ไขคำฟ้ อง เป็ นการแก้ไขข้อหาหรื อข้ออ้างที่มีต่อจำเลย ซึ่งทำได้ 2 กรณี คือ
1) การเพิ่มทุนหรื อลดทุนทรัพย์หรื อราคาทรัพย์สินที่พิพาท ตามมาตรา 179 (1) และ
2) การสละข้อหาในฟ้ องเดิมเสี ยบางข้อหรื อเพิ่มเติมฟ้ องเดิมให้สมบูรณ์ ตามมาตรา 179(2)
การแก้ไขคำฟ้ องจึงต้องอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ท้ งั สองประการดังกล่าว ดังนี้ การแก้ไขคำฟ้ องโดยเพิ่ม
จำนวนโจทก์ หรื อจำนวนจำเลยเพิ่มเติมจากคำฟ้ องเดิม ไม่ใช่การแก้ไขคำฟ้ องตามความหมายของมาตรา 179(1)
หรื อ(2) โจทก์จึงขอแก้ไขคำฟ้ องในลักษณะดังกล่าวไม่ได้ (ฎ. 2082/43, 2095/43 ล 1117/27) การขอแก้ไขฟ้ อง
ซึ่งกระทำได้เพียง 2 ประการข้างต้นเท่านั้น ดังนั้นการแก้ไขคำฟ้ องโดยการเพิ่มตัวจำเลย เท่ากับเป็ นการฟ้ อง
บุคคลอื่นเป็ นจำเลยเพิม่ เข้ามาในคดีอีกคนหนึ่ง จึงมิใช่เป็ นเรื่ องขอแก้ไขคำฟ้ องตามนัยแห่งบทกฎหมายดังกล่าว
จึงแก้ไขไม่ได้
หรื อกรณี ที่โจทก์ฟ้องผิดคน โจทก์จะขอแก้ไขคำฟ้ องเพื่อเปลี่ยนตัวจำเลยไม่เช่นกัน (ฎ. 1568/42,
3844/35) การขอเพิ่มตัวจำเลยจะขอแก้ฟ้องไม่ได้แต่สามารถกระทำได้โดยขอให้ศาลหมายเรี ยกเข้ามาเป็ นจำเลย
ร่ วมตามมาตรา 57(3) (ฎ. 2412/27,517/06)
12
แต่การแก้ไขชื่อจำเลยให้ถูกต้องเนื่องจากระบุชื่อจำเลยผิดไป ไม่ใช้การขอแก้ไขคำฟ้ องเพื่อเปลี่ยนตัว
จำเลยเนื่องจากฟ้ องผิดตัว ทั้งถือว่าเป็ นการแก้ขอ้ ผิดพลาดเล็กน้อย จึงขอแก้ไขคำฟ้ องได้ ไม่อยูใ่ นบังคับกำหนด
เวลาตามมาตรา 180 (ฎ. 6304/40,7246/44)
เมื่อปรากฏว่าขณะฟ้ องจำเลยได้ถึงแก่ความตายไปแล้ว โจทก์ยอ่ มไม่มีอำนาจฟ้ อง โจทก์จะขอแก้ไข
คำฟ้ องให้ทายาทรับผิดแทน ไม่ได้ เพราะเท่ากับฟ้ องผิดตัวนั้นเอง (ฎ. 8128/44)
ตามมาตรา 179(1) เป็ นการแก้ไขโดยเพิ่มหรื อลดจำนวนทุนทรัพย์ หรื อราคาทรัพย์ที่พิพาทในฟ้ องเดิม
เท่านั้น กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือต้องมีทุนทรัพย์ในฟ้ องเดิมอยูแ่ ล้วจึงขอแก้ไขโดยขอเพิม่ ทุนหรื อลดทุนทรัพย์น้ นั
โจทก์จะขอแก้ไขโดยขอตั้งทุนทรัพย์เข้าไปใหม่ไม่ได้ (ฎ. 2124/18,6055/46,966/12)
การแก้ไขข้อหาตามมาตรา 179(2 ก็เช่นกัน โจทก์กทำ ็ ได้เพียงสละข้อหาในคำฟ้ องเดิมหรื อเพิ่มเติมฟ้ อง
เดิมให้บริ บูรณ์เท่านั้น ดังนั้นโจทก์จะขอแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้ องโดยตั้งข้อหาขึ้นใหม่แทนข้อหาเดิม หรื อตั้งข้อหาขึ้น
ใหม่เพิ่มเติมจากข้อหาเดิมไม่ได้ ตัวอย่าง การแก้ไขคำฟ้ องเป็ นการตั้งข้อหาใหม่แทนข้อหาเดิม เช่น คำฟ้ องเดิม
ตั้งข้อหาตามสัญญาทรัสต์รีซีท แล้วขอแก้ไขโดยขอสละข้อหาดังกล่าวเป็ นการเรี ยกร้องตามสัญญาเลตเตอร์ออฟ
เครดิต (ฎ. 4604/31) ส่วนตัวอย่างการแก้ไขเพิ่มคำฟ้ องเป็ นการตั้งข้อหาขึ้นใหม่เพิ่มเติมจากข้อหาเดิม เช่น ฟ้ อง
ว่าจำเลยที่ 1 ทำสัญญาจะขายที่ให้โจทก์ ให้จำเลยทั้งสองจดทะเบียนโอน หากไม่โอนให้จำเลยที่ 1 ใช้เงินพร้อม
ดอกเบี้ย ข้อหาในส่ วนที่เกี่ยวกับจำเลยที่ 2 ตามฟ้ องเดิมไม่มีขอ้ อ้างว่าจำเลยที่ 2 ทำสัญญาฯ และไม่มีคำขอ
บังคับให้ใช้ค่าเสี ยหายด้วย ดังนี้ การที่โจทก์ขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้ องว่าจำเลยทั้งสองทำสัญญาฯ และให้จำเลยทั้งสอง
ใช้คา่ เสี ยหายเป็ นการตั้งข้อหาแก่จำเลยที่ 2 ขึ้นใหม่ (ฎ. 1513/46) เพราะเป็ นการเพิ่มเติมข้ออ้างที่อาศัยเป็ นหลัก
แห่งข้อหาและคำขอบังคับโดยตั้งข้อหาแก่จำเลยที่ 2 ขึ้นใหม่
สำหรับการแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้ องโดยตั้งข้อหาใหม่แทนข้อหาเดิม หรื อตั้งข้อหาเพิ่มเติมจากเดิม ถ้ามี
คำขอให้จำเลยชำระเงินตามข้อหาใหม่ดว้ ย ถือว่าเป็ นการตั้งทุนทรัพย์ข้ ึนใหม่ดว้ ย ฟ้ องแย้งเช่นนี้จึงต้องห้ามทั้ง
มาตรา 179(1)(2) (ฎ. 6055/46,966/12)
การแก้ไขคำฟ้ องโดยการตั้งข้อหาเข้ามาใหม่แทนข้อหาเดิม และเป็ นการตั้งทุนทรัพย์เข้ามาใหม่ เช่นฟ้ อง
เดิมตั้งข้อหาเป็ นการเรี ยกค่าสิ นไหมทดแทนในมูลละเมิดแล้วขอแก้ไขเป็ นว่าจำเลยยักยอกเช็ค ขอให้ชำระเงินตาม
เช็ค (ฎ. 966/12)
การแก้ไขคำฟ้ องโดยตั้งข้อหาเพิ่มเติมเข้ามาอีก และเป็ นการตั้งทุนทรัพย์เข้ามาใหม่ เช่นฟ้ องเดิมข้อหา
ว่าจำเลยจัดสรรหุม้ เพิ่มทุนให้บุคคลโดยไม่มีสิทธิ ขอแก้ไขคำฟ้ องตั้งข้อหาเพิ่มเติมว่าการจัดสรรหุน้ ของจำเลย
ทำให้โจทก์เสี ยโอกาสได้รับการจัดสรรหุน้ เพิ่มทุนจึงขอเรี ยกค่าเสี ยหาย (ฎ. 6055/46)
หรื อฟ้ องเดิมข้อหาขัดขวางโจทก์เข้าพัฒนาที่ดินตามสัญญาจะซื้ อขายและบันทึกการให้ทาง โจทก์ขอ
แก้ไขคำฟ้ องว่าให้จำเลยไปโอนที่ดินและชำระค่าปรับ เป็ นการเพิ่มข้อหาและคำขอบังคับนอกเหนือไปจากคำฟ้ อง
เดิม จึงมิใช่เป็ นการเพิ่มทุนทรัพย์ที่พิพาทในฟ้ องเดิม หรื อเพิ่มเติมฟ้ องเดิมให้สมบูรณ์ตามมาตรา 179(1)(2) (ฎ.
9677/39)
การขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้ อง ต้องเป็ นการขอเพิ่มเติมฟ้ องเดิมที่ไม่บริ บูรณ์ให้เป็ นฟ้ องที่บริ บูรณ์เท่านั้น ดังนี้
ถ้าตามฟ้ องเดิมเป็ นเรื่ องโจทก์ไม่มีอำนาจฟ้ อง โจทก์กจ็ ะขอแก้ไขให้กลับคืนเป็ นฟ้ องที่ชอบด้วยกฎหมายไม่ได้
(ฎ. 4181/33)
การขอแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้ องจะต้องเกี่ยวข้องกับฟ้ องเดิมพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ ขาดตัดสิ นคดีเข้า
ด้วยกันได้ (ฎ. 1846/31) ส่วนการแก้ไขคำให้การไม่มีกฎหมายบัญญัติวา่ จะต้องเกี่ยวข้องกับคำให้การเดิมเช่น
เดียวกับการแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้ อง ดังนั้นจำเลยจึงอาจแก้ไขเพิ่มเติมคำให้การโดยยกข้อต่อสู้ข้ ึนใหม่ได้ (ฎ.
2297/15, 194/24) แต่อย่างไรก็ตามถ้าคำให้การกับคำร้องขอแก้คำให้การของจำเลยขัดแย้งกันเองศาลไม่อนุญาต
ให้แก่ไขคำให้การได้ เพราะเป็ นการฝ่ าผืนมาตรา 177 วรรคสอง เป็ นการมิได้ปฎิเสธข้ออ้างของโจทก์โดยชัด
แจ้ง (ฎ. 2236/45)
ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้ องโดยเหตุคดีขาดอายุความ โดยไม่ได้วินิจฉัยประเด็นอื่น แต่ศาลอุทธรณ์
วินิจฉัยว่าคำให้การจำเลยไม่ชอบเพราะไม่ได้แสดง เหตุแห่งการขาดอายุความจึงย้อนสำนวนไปให้ศาลชั้นต้น
พิจารณาประเด็นข้ออื่น ดังนั้น จำเลยขอแก้ไขคำให้การเพื่อให้เกิดประเด็นเรื่ องอายุความอีกไม่ได้ เป็ นการดำเนิน
กระบวนพิจารณาซ้ำ (ฎ. 8920/47)
13

กำหนดเวลาแก้ไขเพิม่ เติมคำฟ้องคำให้ การ ( มาตรา 180)


ระยะเวลาการขอแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้ องหรื อคำให้การ ตามมาตรา 180 ต้องยืน่ ก่อนวันชี้สองสถานหรื อ
ก่อนวันสื บพยานไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ถ้าไม่มีการชี้สองสถานและไม่มีการสื บพยาน ก็ขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ก่อนมีคำ
พิพากษา (ฎ. 2337/32,3551/29)
ถ้าศาลสูงพิพากษายกคำพิพากษาของศาลชั้นต้น ให้ศาลชั้นต้นทำการพิจารณาพิพากษาใหม่ เมื่อศาลชั้น
ต้นยังไม่ได้ทำการชี้สองสถานหรื อทำการสื บพยาน ก็ขอแก้ไขได้ (ฎ.1488/29)
การชี้สองสถานนั้นประกอบไปด้วยการกำหนดประเด็นและกำหนดหน้าที่นำสื บ ดังนี้ แม้คดีใดจะมีการ
นัดชี้สองสถานไว้ ถ้าไม่มีการกำหนดประเด็นและกำหนดหน้าที่นำสื บ เพียงแต่โจทก์รับนำสื บก่อนก็ไม่ใช่การชี้
สองสถาน คู่ความจึงยังขอแก้ไขคำฟ้ องหรื อคำให้การได้ก่อนวันสื บพยานไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน (ฎ. 899/95, 760/09)
ข้อยกเว้นที่คู่ความไม่จำต้องยืน่ คำร้องก่อนวันชี้สองสถานหรื อก่อนวันสื บพยานไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ใน
กรณี ทีไม่มีการชี้สองสถาน 1. มีเหตุอนั สมควรที่ไม่อาจยืน่ คำร้องได้ก่อนนั้น 2. การแก้ไขเกี่ยวกับเรื่ องความสงบ
เรี ยบร้อยของประชาชน 3. การแก้ไขข้อผิดพลาดหรื อข้อผิดหลงเล็กน้อย
ทั้งสามกรณี โจทก์อาจขอแก้ไขเพิ่มเติมในภายหลังกำหนดเวลาได้ เช่นมีเหตุที่จะขอแก้ไขเพิ่มเติมเกิดขึ้น
ภายหลัง หรื อเพิ่มทราบภายหลัง ก็สามารถยืน่ ภายหลังวันดังกล่าวได้ เช่นระหว่างสื บพยานผูค้ ดั ค้าน สำนักงาน
ที่ดินส่ งแผนที่พิพาทมาถึงศาลปรากฏว่าเนื้ อที่ดินรุ กล้ำ 25 ตารางวา ไม่ใช่ 14 ตารางวา ตามที่ผรู้ ้องคำนวณ ซึ่ง
ก่อนหน้านี้ ผรู้ ้องก็ไม่อาจทราบได้ สรุ ปว่าต้องเป็ นเรื่ องที่เกิดขึ้นหลังวันชี้สองสถานหรื อหลังวันสื บพยาน
กรณี การขอแก้ไขคำฟ้ องโดยอาศัยเหตุอนั สมควรที่ไม่อาจยืน่ คำร้องได้ตามเวลาที่กำหนดไว้ในมาตรา
180 โจทก์ตอ้ งระบุเหตุสมควรดังกล่าวไว้ในคำร้องขอด้วย (ฎ. 7362/44)
ปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน เช่น ขอแก้ไขเพิ่มเติมคำให้การว่าโจทก์ไม่มีอำนาจ
ฟ้ อง (ฎ. 6303/34) แต่จะขอแก้วา่ โอนเช็คคบคิดกันฉ้อฉล เป็ นการใช้สิทธิไม่สุจริ ต ไม่เกี่ยวกับความสงบฯ หรื อ
การขอแก้คำให้การว่าสัญญาตามฟ้ องโจทก็เป็ นโมฆียะ ขอบอกล้าง ไม่เกี่ยวกับความสงบฯ (ฎ. 5074/49)
การขอแก้ไขคำให้การภายหลังวันชี้สองสถานในประเด็นที่จำเลยรับและยุติไปแล้ว ไม่ใช่เรื่ องเกี่ยวกับ
ความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน (ฎ. 3680/48)
การขอแก้ไขข้อผิดพลาดหรื อผิดหลงเล็กน้อย ไม่อยูใ่ นบังคับต้องยืน่ ในกำหนดเวลาตามมาตรา 180 (ฎ.
408/38, 105/37) เช่นการขอแก้ไขตัวเลขจำนวนเงินในคำฟ้ องบังคับท้ายฟ้ อง ให้สอดคล้องกับข้ออ้างอันเป็ นที่
อาศัยแห่งข้อหาซึ่งได้บรรยายในคำฟ้ องมาแต่เดิม โดยคำขอท้ายฟ้ องได้พิมพ์ผดิ พลาดคลาดเคลื่อนไป หรื อ ขอ
แก้ไขฟ้ องเกี่ยวกับคำแปลชื่อสิ นค้าจากภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทย เนื่องจากแปลผิดพลาด เพื่อให้ตรงกับความจริ ง
ไม่ทำให้ผลทางกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป เป็ นการแก้ไขข้อผิดพลาดหรื อผิดหลงเล็กน้อย
การแก้ไขชื่อจำเลยให้ชดั เจนถูกต้องตามความจริ ง มิใช่กรณี ฟ้องจำเลยผิดตัว ไม่เป็ นการเปลี่ยนแปลงผล
คำพิพากษาหรื อคำบังคับคดีนอกเหนือจากคำพิพากษา จึงไม่อยูใ่ นบังคับมาตรา 180,181 แม้จะอยูใ่ นชั้นบังคับคดี
ก็ขอแก้ไขได้ (ฎ. 2706/44, 3121/31)
กรณี อุทธรณ์หรื อฎีกา ต้องขอแก้ไขเพิ่มเติมอุทธรณ์ หรื อฎีกา ภายในอายุอุทธรณ์ หรื อฎีกาด้วย
การอนุญาตให้แก้ไขนั้น แม้จะเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ มาตรา 179, 180 ก็ไม่ใช่บทบังคับศาลต้อง
อนุญาตให้แก้ไขเพิ่มเติมเสมอไป เช่นถ้าศาลเห็นว่าผูร้ ้องสามารถสื บหักล้างตามประเด็นข้อพิพาทได้อยูแ่ ล้ว จึง
ไม่มีเหตุควรอนุญาตให้แก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้ องหรื อคำให้การอีก (ฎ.6888/43)
เมื่อโจทก์หรื อจำเลยยืน่ คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้ อง หรื อคำให้การแล้ว ศาลชั้นต้นเพียงแต่สงั่ ให้ส่ง
สำเนาให้อีกฝ่ าย โดยยังมิได้สัง่ คำร้อง แต่ได้ดำเนินกระบวนพิจารณาจนมีคำพิพากษา ถือไม่ได้วา่ ศาลได้อนุญาต
ให้แก่ไขเพิ่มเติมคำฟ้ องหรื อคำให้การแล้ว (ฎ. 1501/17) แม้อีกฝ่ ายหนึ่งได้รับสำเนาแล้วไม่คดั ค้านก็ตาม (ฎ.
59/25)
แต่ถา้ เป็ นกรณี ที่ขอให้เรี ยกบุคคลภายนอกเข้ามาเป็ นจำเลยร่ วมตามมาตรา 57(3) เมื่อพ้น 1 ปี นับแต่
ละเมิด บุคคลภายนอกยกอายุความขั้นต่อสู้ได้ (ฎ. 2185/17)

หลักการพิจารณาคำร้ องขอแก้ไขคำฟ้องหรือคำให้ การ (มาตรา 181)


14
เว้นแต่ในกรณี ที่คำร้องนั้นอาจทำได้แต่ผา่ ยเดียว
(1) ห้ามไม่ให้มีคำสัง่ ยอมรับการแก้ไขเว้นแต่จะได้ส่งสำเนาคำร้องให้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งทราบล่วง
หน้าอย่างน้อย 3 วัน ก่อนกำหนดนัดพิจารณาคำร้องนั้น
(2) ห้ามมิให้ศาลพิพากษาหรื อมีคำสัง่ ชี้ขาดในประเด็นที่คู่ความได้แก้ไขคำฟ้ องหรื อคำให้การ เว้นแต่คู่
ความอีกฝ่ ายหนึ่งจะได้มีโอกาสบริ บูรณ์ในอันที่จะตรวจ โต้แย้ง และหักล้างข้อหาหรื อข้อต่อสู้ใหม่ หรื อข้ออ้าง
หรื อข้อเถียงใหม่ที่กล่าวในคำร้องขอแก้ไขนั้น
บทบัญญัติน้ ี แสดงว่า ในกรณี ที่เป็ นคำร้องที่อาจทำได้แต่ฝ่ายเดียว ศาลมีคำสัง่ อนุญาตให้แก้ไขได้โดยไม่
ต้องส่ งสำเนาให้อีกฝ่ ายตามมาตรา 181(1) และศาลมีคำพิพากษาในประเด็นที่ขอแก้ไขได้โดยไม่ตอ้ งให้อีกฝ่ าย
โต้แย้งก่อนตามมาตรา 181(2)
คำร้องที่อาจทำได้แต่ฝ่ายเดียวได้แก่ กรณี ที่จำเลยขาดนัดยืน่ คำให้การ หรื อคำร้องที่ยนื่ ในขณะที่จำเลย
ยังไม่ได้ยนื่ คำให้การ หรื อคำร้องที่ยนื่ ในคดีไม่มีขอ้ พิพาท เหล่านี้ไม่อยูใ่ นบังคับที่ศาลต้องปฎิบตั ิตามมาตรา 181
ก่อน
สำหรับการแก้ไขในรายละเอียดหรื อข้อผิดพลาดเล็กน้อย ไม่อยูใ่ นบังคับต้องปฎิบตั ิตามมาตรา 180,
181 กล่าวคือไม่จำต้องยืน่ คำร้องขอแก้ไขก่อนวันชี้สองสถาน หรื อก่อนวันสื บพยานไม่นอ้ ยกว่าเจ็ดวัน และไม่
ต้องส่ งสำเนาคำร้องให้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหนึ่งและไม่ตอ้ งฟังอีกฝ่ ายหนึ่งก่อน (ฎ. 105/37, 821/40)
คดีที่อยูใ่ นระหว่างการนัดไต่สวนขอฟ้ องคดีอย่างคนอนาถา แม้ศาลยังไม่ได้รับฟ้ องก็ขอแก้ไขคำฟ้ อง
ได้(ฎ. 2321/30) แต่ถา้ ศาลไม่รับฟ้ องไว้พิจารณาแล้ว ก็จะขอแก้ไขคำฟ้ องไม่ได้ (ฎ. 8098/43)

การพิจารณาคดีโดยขาดนัด( มาตรา 197-207)


ขาดนัดยืน่ คำให้ การ (มาตรา 197,198,199)
เมื่อจำเลยได้รับหมายเรี ยกให้ยนื่ คำให้การแล้ว จำเยมิได้ยนื่ คำให้การในระยะเวลาที่กำหนดไว้ตาม
กฎหมาย หรื อตามคำสัง่ ศาล ให้ถือว่าจำเลยขาดนัดยืน่ คำให้การ (มาตรา 197)
กำหนดเวลายืน่ คำให้การมีบญั ญัติไว้ตามมาตรา 177 วรรคหนึ่ง ให้จำเลยมีหน้าที่ตอ้ งยืน่ คำให้การ
ภายในกำหนดเวลา 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้ส่งหมายเรี ยกและสำเนาคำฟ้ องให้จำเลย
จำเลยยืน่ คำให้การในกำหนดแล้ว แม้ทนายความไม่มีอำนาจเรี ยงคำให้การ ก็มิใช่กรณี ที่จำเลยขาดนัดยืน่
คำให้การ (ฎ. 6311/49) เรื่ องนี้ จำเลยยืน่ คำให้การแลฟ้ องแย้ง และศาลมีคำสัง่ ให้รับคำให้การและฟ้ องแย้งไว้แล้ว
จึงมิใช่จำเลยขาดนัดยืน่ คำให้การ แม้ตอ้ มาจะปรากฏว่าทนายจำเลยไม่มีอำนาจเรี ยงคำให้การและฟ้ องแย้งก็ตาม
เพราะถูกห้ามการเป็ นทนายความระหว่างนั้น การดำเนินกระบวนพิจารณาของทนายจำเลยในระหว่างเวลาดัง
กล่าวจึงเป็ นการผิดระเบียบตามมาตรา 27 วรรคหนึ่ง ศาลชั้นต้นจึงต้องดำเนินกระบวนพิจารณาใหม่

คำขอให้ ศาลมีคำพิพากษาให้ โจทก์ชนะคดีโดยขาดนัด( มาตรา 198)


ถ้าจำเลยไม่ยนื่ คำให้การในกำหนด ถือว่าจำเลยขาดนัดยืน่ คำให้การ เป็ นการขาดนัดโดยผลของกฎหมาย
ทันที โดยโจทก์ไม่มีหน้าที่ตอ้ งยืน่ คำขอให้ศาลมีคำสัง่ ว่าจำเลยขาดนัดยืน่ คำให้การอีก แต่โจทก์ตอ้ งมีคำขอให้
ศาลมีคำพิพากษาหรื อคำสัง่ ชี้ขาดให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัด โดยต้องยืน่ คำขอต่อศาลภายใน 15 วัน นับแต่
ระยะเวลาที่กำหนดให้จำเลยยืน่ คำให้การสิ้ นสุ ดลง ถ้าโจทก์ไม่มีคำขอในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ศาลจำหน่าย
คดีน้ นั เสี ยจากสารบบความ
จะเห็นได้วา่ เมื่อจำเลยขาดนัดยืน่ คำให้การโจทก์มีสิทธิขอให้ศาลมีคำพิพากษาให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดย
ขาดนัดได้เลยทีเดียว เป็ นการลัดขั้นตอนไม่ตอ้ งมีการสื บพยานหลักฐานไปฝ่ ายเดียว แต่กม็ ียกเว้น
คำให้การของจำเลยต้องทำเป็ นหนังสื อโดยใช้แบบพิมพ์ของศาล ดังนั้นการที่ศาลบันทึกคำแถลงของ
จำเลยไว้ในรายงานกระบวนพิจารณาว่า จำเลยรับว่าเป็ นหนี้ โจทก์ตามฟ้ องและลงลายมือชื่อไว้ ถือไม่ได้วา่ เป็ นคำ
ให้การจำเลย เมื่อจำเลยไม่ยนื่ คำให้การ โจทก์จึงมีหน้าที่ตอ้ งมีคำขอให้ศาลมีคำพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีโดยขาด
นัด เมื่อโจทก์ไม่มีคำขอดังกล่าวภายในกำหนด ศาลต้องสัง่ จำหน่ายคดี (ฎ. 911/48)
ถ้าจำเลยไม่ยนื่ คำให้การในกำหนด เป็ นหน้าที่ของโจทก์จะต้องมีคำขอต่อศาลให้มีคำพิพากษาให้ตน
เป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัดตามมาตรา 198 วรรคหนึ่ง แม้ศาลจะนัดสื บพยานโจทก์ไว้แล้วก็ตาม (ฎ. 672/26)
15
ในคดีที่จำเลยฟ้ องแย้งโจทก์ โจทก์กต็ อ้ งยื่นคำให้การด้วย ถ้าโจทก์ไม่ยนื่ คำให้การในกำหนด จำเลยก็
ต้องมีคำขอให้ศาลพิพากษาให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีตามฟ้ องแย้งโดยขาดนัดเช่นกัน (ฎ. 5462/36)
ในคดีร้องขัดทรัพย์ โจทก์มีฐานะเป็ นจำเลยจึงต้องยืน่ คำให้การเช่นกัน ถ้าโจทก์ไม่ยนื่ คำให้การใน
กำหนด ผูร้ ้องซึ่งมีฐานะเป็ นโจทก์กต็ อ้ งมีคำขอให้ศาลมีคำพิพากษาให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะโดยขาดนัดเช่นกัน แม้
ศาลจะสัง่ นัดสื บพยานผูร้ ้องไว้แล้วก็ตามผูร้ ้องก็ยงั มีหน้าที่ดงั กล่าว (เทียบ ฎ. 310/23) ถ้าโจทก์ทำเป็ นคำแถลง
คัดค้านเข้ามา แต่ศาลชั้นต้นรับเป็ นคำแถลงเท่านั้นมิใช่รับเป็ นคำให้การของโจทก์ เมื่อโจทก์ไม่ยนื่ คำให้การ
ภายในกำหนด โจทก์ยอ่ มขาดนัดยืน่ คำให้การ ผูร้ ้องต้องมีคำขอภายใน 15 วัน เพื่อขอให้ศาลพิพากษาชี้ ขาดให้ผู้
ร้องเป็ นฝ่ ายชนะคดี เพราะโจทก์ขาดนัดยืน่ คำให้การแก้คำร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ ถ้าไม่ยนื่ ภายในกำหนด ศาลชั้น
ต้นชอบที่จะจำหน่ายคดีจากสารบบความ ตามมาตรา 198 วรรคสอง (ฎ. 4411/39, 310/23)
เมื่อจำเลยขาดนัดยืน่ คำให้การ แม้จำเลยยืน่ คำร้องขออนุญาตยื่นคำให้การและศาลดำเนินการไต่สวน
เป็ นเรื่ องระหว่างศาลกับจำเลย โจทก์ยงั มีหน้าที่ตอ้ งงยื่นคำขอให้ศาลมีคำพิพากษาให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาด
นัดอยูอ่ ีก (ฎ. 1820/30)
แม้โจทก์จะได้ขอให้ศาลมีคำพิพากษาให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีมาครั้งหนึ่งแล้ว ต่อมาศาลอนุญาตให้จำเลย
ยืน่ คำให้การ แต่จำเลยกลับไม่ยนื่ คำให้การอีก ดังนี้ โจทก์ตอ้ งยืน่ คำขอนั้นใหม่เพราะคำขอเดิมเป็ นอันเพิกถอนไป
แล้ว (ฎ. 2438/28) เพราะเมื่อศาลอนุญาตให้จำเลยยืน่ คำให้การได้ ถือว่าคำขอเดิมที่ขอให้ศาลมีคำพิพากษาให้ตน
เป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัดถูกเพิกถอนไปแล้ว ต่อมาจำเลยไม่ยนื่ คำให้การอีกโจทก์จะต้องมีคำขอใหม่อีก หาก
ไม่มีคำขอเข้ามาใหม่ศาลก็ตอ้ งจำหน่ายคดี
คดีที่มีจำเลยหลายคน บางคนขาดนัดยืน่ คำให้การ แต่โจทก์มิได้มีคำขอให้ศาลมีคำพิพากษาให้ตนเป็ น
ฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัดสำหรับจำเลยที่ขาดนัด ศาลจำหน่ายคดีโจทก์สำหรับจำเลยที่ขาดนัดยืน่ คำให้การเท่านั้น
ศาลจะสัง่ จำหน่ายคดีท้ งั คดีไม่ได้ (ฎ. 6053/39)
กรณี ที่โจทก์ไม่ได้มีคำขอให้ศาลมีคำพิพากษาให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัดภายในกำหนดเวลา 15
วัน นับแต่ระยะเวลาที่กำหนดให้ยนื่ คำให้การสิ้ นสุ ดลง ให้ศาลมีคำสัง่ จำหน่ายคดีน้ นั จากสารบบความตามมาตรา
198 วรรคสอง (ฎ. 3002/25) ซึ่งตามแนวคำพิพากษานี้ ศาลมีดุลพินิจจะสัง่ ให้จำหน่ายคดีหรื อไม่กไ็ ด้
การที่โจทก์มิได้มีคำขอให้ศาลมีคำพิพากษาให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัดภายในกำหนด แต่ศาลก็
มิได้สงั่ จำหน่ายคดีจนโจทก์นำพยานเข้าสื บไปบ้างแล้ว แสดงว่าโจทก์ประสงค์จะดำเนินคดีต่อไป จึงไม่มีเหตุ
สมควรจำหน่ายคดี (ฎ. 1065/33, 5462/36)
คำสัง่ ศาลที่ให้จำหน่ายคดีตามมาตรานี้ ไม่ใช่กรณี ที่ตอ้ งคืนค่าขึ้นศาลให้แก่โจทก์ (ฎ. 1445/40)
คำสัง่ จำหน่ายคดีตามมาตรา 198 วรรคสอง ไม่เป็ นคำสัง่ ระหว่างพิจารณา แม้จะเป็ นการจำหน่ายคดี
สำหรับจำเลยบางคนก็ตาม จึงอุทธรณ์ได้ทนั ที (ฎ. 1365/30) และในทางปฎิบตั ิกถ็ ือตามแนวนี้ แต่ มีคำพิพากษา
ฎีกาที่ 5508/ 45 วินิจฉัยว่าเป็ นคำสัง่ ระหว่างพิจารณา

คำพิพากษาหรือคำสั่ งชี้ขาดคดีโดยขาดนัด (มาตรา 198 ทวิ)


เมื่อโจทก์มีคำขอตามมาตรา 198 แล้ว ให้ศาลมีคำพิพากษาหรื อคำสัง่ ชี้ขาดคดีโดยขาดนัดไปตามมาตรา
198 ทวิ ศาลจะมีคำพิพากษาให้โจทก์เป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยจำเลยขาดนัดยืน่ คำให้การได้กต็ ่อเมื่อคำฟ้ องมีมูลและ
ไม่ขดั ต่อกฎหมาย
คำฟ้ องมีมูลน่าจะต้องพิจารณาว่าตามสภาพแห่งข้อหาที่โจทก์บรรยายฟ้ องมา ก่อให้เกิดหนี้ที่จำเลยจะ
ต้องรับผิดต่อโจทก์หรื อไม่ ซึ่งอาจจะมีที่มาจากมูลหนี้ นิติกรรม สัญญา ละเมิด จัดการงานนอกสัง่ หรื อลาภมิควร
ได้ หรื อมีหน้าที่ตามที่กฎหมายบัญญัติ ส่ วนคำฟ้ องของโจทก์ตอ้ งไม่ขดั ต่อกฎหมาย หมายถึงเฉพาะกฎหมายที่
เกี่ยวกับความสงบเรี ยบร้อยหรื อศีลธรรมอันดีของประชาชนเท่านั้น
นอกจากนี้ศาลก็มีอำนาจยกข้อกำหมายที่เกี่ยวด้วยความสงบเรี ยบร้อยของประชาชนขึ้นอ้างได้โดยไม่
ต้องรอให้จำเลยยกข้อต่อสู้ เช่น โจทก์ไม่มีอำนาจฟ้ อง หรื อฟ้ องโจทก์เป็ นฟ้ องซ้ำ ฟ้ องซ้อน ศาลก็พิพากษา
ยกฟ้ องได้เลย (ฎ. 5458/41)
แต่อย่างไรก็ตามแม้คำฟ้ องของโจทก์มีมูล และไม่ขดั ต่อกฎหมาย ศาลก็อาจสื บพยานเกี่ยวกับข้ออ้างของ
โจทก์หรื อพยานหลักฐานอื่นไปฝ่ ายเดียวที่เห็นจำเป็ นก็ได้ ( มาตรา 198 ทวิ วรรคสอง) ตามบทบัญญัติน้ ี เป็ นความ
16
ยืดหยุน่ ของกฎหมายที่ให้อำนาจศาลที่จะสื บพยานตามที่เห็นจำเป็ นก็ได้ เช่น มูลหนี้ ที่โจทก์กล่าวอ้างมามีความ
สับสน หรื อมีขอ้ สงสัยว่าข้อเท็จจริ งจะเป็ นไปตามคำฟ้ องของโจทก์หรื อไม่ ศาลก็อาจสัง่ ให้โจทก์นำพยานมาสื บ
ตามที่เห็นสมควรก็ได้

กรณีที่ศาลต้องสื บพยานหลักฐานโจทก์ไปฝ่ ายเดียว (มาตรา 198 ทวิ วรรคสอง)


ภายหลังโจทก์มีคำขอให้ศาลพิพากษาให้ตนเป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยขาดนัดแล้ว ศาลต้องสื บพยานของ
โจทก์ไปฝ่ ายเดียวในกรณี ดงั ต่อไปนี้
1. คดีเกี่ยวกับสิ ทธิแห่งสภาพบุคคล
2. คดีเกี่ยวกับสิ ทธิในครอบครัว
3. คดีพิพาทเกี่ยวด้วยกรรมสิ ทธิ์ ในอสังหาริ มทรัพย์
คดีเกี่ยวกับสิ ทธิแห่งสภาพบุคคล หมายถึง คดีที่โต้แย้งเกี่ยวกับสิ ทธิของบุคคลดังที่บญั ญัติไว้ใน ป.พ.พ.
บรรพ 1 ลักษณะ 2 หมวด 1 ส่วนที่ 1 ถึงส่วนที่ 4 เช่น สิ ทธิของบุคคลในการใช้นามอันชอบ ตามมาตรา 18
ดังนั้นคดีที่โจทก์ขอให้แสดงว่าจำเลยสัง่ ให้โจทก์สึกจากสมณเพศ และออกคำสัง่ ไม่ให้อุปัชฌาอุปสมบทให้
เป็ นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ใช่คดีที่เกี่ยวกับสิ ทธิแห่งสภาพบุคคล (ฎ. 1172/96) แต่คดีที่พิพาทกันว่า
โจทก์เป็ นคนสัญชาติไทย หรื อต่างด้าว ในคดีที่โจทก์ฟ้องว่าโจทก์มีสิทธิอยูใ่ นประเทศไทย เป็ นคดีเกี่ยวด้วยสิ ทธิ
แห่งสภาพบุคคล (ฎ.1463/96)
คดีเกี่ยวด้วยสิ ทธิในครอบครัว หมายถึง คดีที่พิพาทเกี่ยวกับสิ ทธิและหน้าที่ ตามที่บญั ญัติไว้ใน ป.พ.พ.
บรรพ 5 ว่าด้วยครอบครัว เช่น คดีฟ้องหย่า เรี ยกคาอุปการะเลี้ยงดู ค่าทดแทน และค่าเลี้ยงชีพ (ฎ. 2995/40) คดี
พิพาทเกี่ยวกับสิ นสมรส คดีเกี่ยวกับอำนาจปกครอง ฯ แต่ถา้ เป็ นคดีที่พิพาทเกี่ยวกับเรื่ องผิดสัญญาหมั้น ไม่ยอม
ไปจดทะเบียนสมรส ขอให้คืนของหมั้นและสิ นสอด ไม่ใช่คดีเกี่ยวด้วยสิ ทธิในครอบครัว (คร. 1330/35, ฎ.
755/45 ) เรื่ องนี้ วินิจฉัยตามมาตรา ป.วิ.พ.มาตรา 224 ด้วย และคดีฟ้องขอให้โอนมรดก ไม่เป็ นคดีเกี่ยวด้วย
สิ ทธิในครอบครัว (ฎ. 1524/35)
หมายเหตุ ถ้าเป็ น พ.ร.บ.จัดตั้งศาลคดีเยาวชนและครอบครัวฯ ถือว่ากรณี ดงั กล่าวข้างต้นทั้งหมดเป็ น
คดีครอบครัวตามมาตรา 11(3)
คดีพิพาทเกี่ยวด้วยสิ ทธิในอสังหาริ มทรัพย์ หมายถึงคดีพิพาทโต้เถียงเกี่ยวกับสิ ทธิความเป็ นเจ้าของใน
อสังหาริ มทรัพย์ ไม่วา่ จะเป็ นที่ดินมือเปล่า หรื อที่มีกรรมสิ ทธิ์ ก็ตาม ซึ่งการฟ้ องอาจจะเป็ นการฟ้ องบังคับเอาแก่
ตัวอสังหาริ มทรัพย์น้ นั โดยตรง เช่น ฟ้ องขอให้ส่งมอบที่ดิน หรื อฟ้ องขอให้ขบั ไล่จำเลยออกจากอสังหาริ มทรัพย์
ฟ้ องขอแบ่งอสังหาริ มทรัพย์ หรื อฟ้ องขอให้จดทะเบียนโอนอสังหาริ มทรัพย์

คำขอบังคับที่เป็ นจำนวนเงิน ( มาตรา 198 ทวิ วรรคสาม)


1. คำขอบังคับให้จำเลยชำระหนี้ เป็ นจำนวนเงินแน่นอน ให้ศาลสัง่ ให้โจทก์ส่งพยานเอกสารตามที่ศาล
เห็นว่าจำเป็ น แทนการสื บพยาน เช่น โจทก์ฟ้องให้ชำระเงินตามสัญญากูย้ มื เงิน ชำระเงินตามเช็ค ชำระเงินตาม
หนังสื อรับสภาพหนี้ หรื อชำระเงินตามสัญญาประนีประนอมยอมความ ศาลอาจสัง่ ให้โจทก์ส่งพยานเอกสารที่
เป็ นสัญญากูเ้ งิน เช็ค หนังสื อรับสภาพหนี้ สัญญาประนีประนอมฯ ต่อศาลแทนการสื บพยานก็ได้
2. คำขอบังคับให้จำเลยชำระหนี้เป็ นเงินอันไม่อาจกำหนดจำนวนเงินได้โดยแน่นอน ให้ศาลสื บพยาน
หลักฐานโจทก์ไปฝ่ ายเดียว และศาลอาจเรี ยกพยานหลักฐานอื่นมาสื บได้เองตามที่เห็นจำเป็ น กรณี ดงั กล่าวก็เช่น
ฟ้ องขอให้ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนในมูลละเมิด ศาลต้องวินิจฉัยตามสมควรแก่พฤติการณ์ และความร้ายแรงแห่ง
ละเมิด ซึ่งอาจน้อยกว่าจำนวนที่โจทก์เรี ยกมาก็ได้
ในกรณี ที่ศาลสัง่ ให้โจทก์ส่งพยานเอกสารแทนการสื บพยาน ถ้าพยานเอกสารไม่เพียงพอศาลอาจ
พิพากษาให้เฉพาะส่วนที่มีพยานเอกสารมาแสดง ไม่จำต้องพิพากษาให้โจทก์ชนะคดีเต็มตามคำขอท้ายฟ้ องเสมอ
ไป (ฎ. 2625/46, 2891/48)
17

You might also like