You are on page 1of 60

ตารางสรุปการส่งงานของ ................................................................. ชั้น ................ เลขที่ ..................

ที่ งาน กาหนดส่ง หมายเหตุ ตรวจโดย


โรงเรียนสตรีนนทบุรี
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291)
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ……………..
เรือ่ ง แคลคูลสั เบือ้ งต้น เล่ม 2 (Basic Calculus Part II)

ชือ่ ............................................................ ชัน้ .............. เลขที่ ..........


ครูผสู้ อน นายพิบลู ย์ ชมสมบัติ

โรงเรียนสตรีนนทบุรี 120 ถนนพิบลู สงคราม ตาบลสวนใหญ่ อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี


สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 3
สารบัญ
หน้า
ใบความรู้ 1 อนุพันธ์ของฟังก์ชนั 1
แบบฝึกหัด อนุพันธ์ของฟังก์ชัน 6
ใบความรู้ 2 การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชนั พีชคณิตโดยใช้สูตร 11
แบบฝึกหัด การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตโดยใช้สูตร 19
ใบความรู้ 3 ความชันของเส้นโค้ง 24
แบบฝึกหัด ความชันของเส้นโค้ง 29
ใบความรู้ 4 อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ 30
แบบฝึกหัด อนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ 31
ใบความรู้ 5 อนุพันธ์อนั ดับสูง 35
แบบฝึกหัด อนุพันธ์อันดับสูง 38
ใบความรู้ 6 การประยุกต์ของอนุพันธ์ 42
แบบฝึกหัด การประยุกต์ของอนุพนั ธ์ 52
สรุปสูตรการหาอนุพันธ์และปริพันธ์ 55
เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ใบความรู้ที่ 1 เรือ่ ง อนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั


บทนิยาม ถ้า y = f(x) เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจานวนจริง และ
f(x + h) - f(x)
lim
h →0
หาค่าได้ เรียกค่าลิมิตที่ได้นี้ว่า “อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x” เขียนแทนด้วย f/(x)
h

f(x + h) - f(x)
จากบทนิยาม จะได้ f/(x) = lim
h →0
การหา f/ เรียกว่า การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f
h

f(x + h) - f(x)
ถ้า lim
h →0
หาค่าได้ จะกล่าวว่า ฟังก์ชัน f มีอนุพันธ์ที่ x
h
หรือ ฟังก์ชัน f หาอนุพันธ์ได้ที่ x
f(x + h) - f(x)
ถ้า lim
h →0
หาค่าไม่ได้ เราจะกล่าวว่า ฟังก์ชัน f ไม่มีอนุพันธ์ที่ x
h
หรือ ฟังก์ชัน f หาอนุพันธ์ไม่ได้ที่ x
dy
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x เช่น f/(x), (อ่านว่า ดีวายบายดีเอกซ์) ,
dx

d dy d f(x + h) - f(x)
y/ และ f(x) เป็นต้น ดังนัน้ = y = f ( x) = lim
h →0
dx dx dx h

หมายเหตุ : dy 
x
เพราะ dy คือ อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x
dx y dx
ไม่ได้หมายถึง d คูณ y หารด้วย d คูณ x

ขัน้ ตอนการหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั มีดังนี้


1. แทนค่า x ด้วย x + h ใน f(x)
2. หา f(x + h) – f(x)
3. หาร f(x + h) – f(x) ด้วย h
f(x + h) - f(x)
4. หา lim
h →0 h

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 1


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ตัวอย่างที่ 1 กาหนด f(x) = 5 – 3x + x2 จงหา f/(x)

วิธที า จาก f(x) = 5 – 3x + x2

f(x + h) = 5 – 3(x + h) + (x – h)2

= 5 – 3x + 3h + x2 – 2hx + h2

f(x + h) – f(x) = -3h + 2hx + h2 = h(h + 2x – 3)


f(x + h) - f(x)
= h + 2x – 3
h

f(x + h) - f(x)
lim
h →0
= lim (h - + 2x - 3)
h→0
h

ดังนั้น f/(x) = 2x – 3

ตัวอย่างที่ 2 กาหนด f(x) = 2x2 จงหา f/(x)


f(x + h) - f(x)
วิธที า f/(x) = lim
h →0 h

2(x + h) 2 - 2x 2
= lim
h →0 h

2x 2 + 4xh + h 2 - 2x 2
= lim
h→0 h

= lim (4x + 2h)


h →0

= 4x

ตัวอย่างที่ 3 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f(x) = 2x3 - 3x + 2

จงหา (1) อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x

(2) อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x = 2

วิธที า (1) จาก f(x) = 2x3 - 3x + 2


f(x + h) - f(x)
f/(x) = lim
h →0 h

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 2


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

[2(x + h) 2 − 3(x + h) + 2] - [2x 2 - 3x + 2)


= lim
h →0 h

4xh + 2h 2 − 3h
= lim
h→0 h

= lim (4x + 2h − 3)
h→0

= 4x-3

ดังนั้น f/(x) = 4x-3

(2) จาก f/(x) = 4x-3

f/(2) = 4(2) – 3 = 8 – 3

ดังนั้น f/(2) = 5

จากบทนิยามของอนุพันธ์ และสาหรับ a ใดๆ ที่อยู่ในโดเมนของ f จะได้ว่า f/(a) คือ ความชันของ


เส้นโค้ง y = f(x) ที่จุด (a, f(a)) จากตัวอย่างที่ 3 ความชันของเส้นโค้ง f(x) = 2x3 - 3x + 2 ที่จุด
(2,4) เท่ากับ f/(2) = 5 ถ้ากาหนดฟังก์ชัน y = f(x) มีจุด P(a,b) และ Q(a+h, b+k) อยู่บน
กราฟของฟังก์ชัน จะได้ว่า ความชันของส่วนของเส้นตรงที่ผ่านจุด P และจุด Q มีค่าเท่ากับ
(b + k) - b f (a + h) − f (a )
= อัตราส่วนนี้ เรียกว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x
(a + h) - a h
เมื่อค่าของ x เปลี่ยนจาก a เป็น a+h
f(a + h) - f(a)
ถ้าเลื่อนจุด Q ตามแนวเส้นกราฟเข้าหาจุด P นั่นคือ h เข้าใกล้ศูนย์และถ้า lim
h →0 h
หาค่าได้แล้ว เรียกค่าของลิมิตนี้ว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงขณะที่ x = a ซึ่งมีบทนิยามดังต่อไปนี้

บทนิยาม ถ้า y = f(x) เป็นฟังก์ชันใด ๆ เมื่อค่าของ x เปลี่ยนเป็น x + h โดยที่ h  0


ค่าของ y เปลี่ยนจาก f(x) เป็น f(x + h) แล้ว อัตราการเปลี่ยนแปลง
f(x + h) - f(x)
ของ y เทียบกับ x ในช่วง x ถึง x + h คือ
h

f(x + h) - f(x)
อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะ x มีค่าใด ๆ คือ lim
h →0 h

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 3


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

การหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะ x มีค่าใด ๆ มีขั้นตอนดังนี้

1. หา f(x)

2. หา f(x + h)

3. หา f(x + h) – f(x)
f(x + h) - f(x)
4. หา
h

f(x + h) - f(x)
5. หา lim
h →0 h

ตัวอย่างที่ 4 ให้ y = x2 + 1 จงหา


(1) อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เมื่อเทียบกับ x ในช่วง x = 3 ถึง x = 5
(2) จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะที่ x = 3
วิธที า (1) จาก y = f(x) = x2 + 1
f(x + h) - f(x)
และอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x ในช่วง x ถึง x + h คือ
h
ดังนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x ในช่วง x = 3 ถึง x = 5

f(5) - f(3) (5 2 + 1) - (32 + 1)


คือ =
h 5-3

26 - 10
= =8
2
f(x + h) - f(x)
(2) อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะ x มีค่าใด ๆ คือ lim
h →0 h
จาก f(x) = x2 + 1

f(x + h) - f(x) (x + h) 2 + 1 - (x 2 + 1)
lim
h →0
= lim
h →0
h h
(x + 2hx + h 2 + 1 - x 2 - 1)
2
= lim
h →0 h
= lim (2x + h)
h →0
= 2x

ดังนั้น อัตราการเปลีย่ นแปลงขณะที่ x = 3 คือ 2(3) = 6

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 4


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ตัวอย่างที่ 5 กาหนดสมการการเคลื่อนที่ S = 49t2 เมื่อ S เป็นระยะทางของการเคลื่อนที่มี


หน่วยเป็นเมตร และเวลา t วินาที จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ S เทียบกับ t เมื่อ t เปลี่ยน
จาก 4 เป็น 4.5

วิธที า อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ S เทียบกับ t

4.9(t + h) 2 - 4.9t 2
=
h

4.9(t 2 + 2th + h 2 ) - 4.9t 2


=
h

4.9t 2 + 9.8th + 4.9h 2 - 4.9t 2


=
h

9.8th + 4.9h 2
=
h

= 9.8t + 4.9h

เมื่อ t = 4 , h = 4.5 – 4 = 0.5

ดังนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย = 9.8(4) + 4.9(0.5)

= 39.2 + 24.5 = 41.65 เมตรต่อวินาที

หมายเหตุ : 1. สาหรับฟังก์ชัน y = f(x) เมื่ออัตราการเปลี่ยนแปลงเป็นจานวนจริงบวก แสดงว่า เมื่อ


ค่า x เพิ่มขึ้น ค่าของ y จะเพิ่มขึ้น และเมื่ออัตราการเปลี่ยนแปลงเป็นจานวนจริงลบ แสดงว่า เมื่อค่า
ของ x เพิ่มขึ้น ค่าของ y จะลดลง

2. ส าหรั บสมการการเคลื่อ นที่ s = f(t) ซึ่งระยะทางเป็ น ฟั งก์ชัน ของเวลานั้ น เราได้


f(t + h) - f(t)
ความเร็ว ขณะเวลา t ใดๆ คือ lim
h →0
และความเร็วขณะเวลา t ใดๆ เขียนแทนด้วย v ถ้า v
h
เป็นจานวน เต็มบวก แสดงว่า เมื่อ t มีค่ามากขึ้น s จะมีค่ามากขึ้น และถ้า v เป็นจานวนเต็มลบ แสดง
ว่า เมื่อ t มีค่ามากขึ้น s จะมีค่าลดลง

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 5


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

แบบฝึกหัด เรือ่ ง อนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั


1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

(1) f(x) = 3x2 (2) f(x) = x2 – x

(3) f(x) = 2x3 + 1 (4) f(x) = 1

1
(5) f(x) = 12 (6) f(x) = x 3
x

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 6


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

2. กาหนดให้สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = f(x) ที่จุด (2, 5) คือ 3x – y = 1 จงหา f(2)

3. กาหนดให้ f(3) = –1 และ f(3) = 5 จงหาสมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = f(x) ที่ x = 3

4. จากวงกลมรัศมียาว r เซนติเมตร จงหา

(1) อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของพื้นที่วงกลมเทียบกับความยาวของรัศมีเมื่อความยาวของ
รัศมีเปลี่ยนจาก r เป็น r+h

(2) อั ต ราการเปลี่ ย นแปลงของพื้ น ที่ ว งกลมเที ย บกั บ ความยาวของรั ศ มี ขณะรั ศ มี ย าว r


เซนติเมตร

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 7


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

5. ความยาวของด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเปลี่ยนจาก 10 เซนติเมตร เป็น 12 เซนติเมตร จงหา

(1) อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทียบกับความยาวของด้าน

(2) อัตราการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทียบกับความยาวของด้านขณะที่ด้านยาว 10 ซม.

6. ความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า เปลี่ยนจาก 10 เซนติเมตร เป็น 9 เซนติเมตร จงหา


(1) อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของพื้นที่รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าเทียบกับความยาวของด้าน

(2) อัตราการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าเทียบกับความยาวของด้านขณะด้านยาว 10ซม.

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 8


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

7. ปริมาณของสาร N กรัมในน้ายาเปลี่ยนไปตามเวลา t ดังสมการ N = 8 เมื่อ t มีหน่วยเป็นนาที


t +1
จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของ N เทียบกับ t ขณะ t = 3 นาที

8. ทรงกระบอกจุ 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร อากาศภายในมีความดัน 15 กรัมต่อหนึ่งตารางเซนติเมตร ขณะที่


กดลูกสูบลงอุณหภูมิมีค่า คงตัว ความดันจะเพิ่มขึ้น และปริมาตรจะลดลงตามสมการ PV = 6000 (P เป็น
ความดันและ V เป็นปริมาตร) จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของ P เทียบกับ V ในขณะที่ V = 100 ซม3

9. ให้ y = 2x2 – 3 จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x

(1) เมื่อ x เปลี่ยนจาก 2 ไปเป็น 2.2 (2) เมื่อ x เปลี่ยนจาก 2 ไปเป็น 2.1

(3) เมื่อ x เปลี่ยนจาก 2 ไปเป็น 2.01 (4) อัตราการเปลี่ยนแปลงขณะ x = 2

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 9


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

10. ให้ y = 1 จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y เทียบกับ x


x
1) เมื่อ x เปลี่ยนจาก 4 ไปเป็น 5 2) เมื่อ x เปลี่ยนจาก 4 ไปเป็น 4.1

3) เมื่อ x เปลี่ยนจาก 4 ไปเป็น 4.01 (4) อัตราการเปลี่ยนแปลงขณะ x = 4

11. จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาตรของกรวยกลมตรง

(1) เทียบกับความยาวของรัศมีของฐาน ขณะรัศมียาว r หน่วย เมื่อส่วนสูงคงตัว

(2) เทียบกับส่วนสูง ขณะส่วนสูงยาว h หน่วย เมื่อความยาวของรัศมีของฐานคงตัว

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 10


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ใบความรู้ที่ 2 เรือ่ ง การหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั พีชคณิตโดยใช้สตู ร


การหาอนุพั นธ์ของฟังก์ชันพีชคณิ ต โดยใช้บทนิย ามของอนุพั นธ์ของฟั งก์ชัน ในรูปลิ มิตนั้น ค่อนข้าง
ยุ่งยาก ดังนั้น เพื่อให้การหาอนุพันธ์สามารถทาได้สะดวกและรวดเร็ว จึงมีการสร้างสูตรที่ใช้สาหรับหา
อนุพันธ์ขึ้นมา การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันโดยใช้สูตร มีดังนี้
dy
สูตรที่ 1 ถ้า y = c เมื่อ c เป็นค่าคงตัวแล้ว = 0
dx
dy
ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ y = -5 จงหา
dx

dy d (-5)
วิธที า = = 0
dx dx

dy
ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้ y = 18 จงหา
dx

dy d (18)
วิธที า = = 0
dx dx

dy
สูตรที่ 2 ถ้า y = x แล้ว = 1
dx
dx
หมายเหตุ : = 1 หมายถึง อนุพันธ์ของฟังก์ชัน y เทียบกับ x ที่ x ใด ๆ เท่ากับ 1
dx

dy
สูตรที่ 3 ถ้า y = xn เมื่อ n เป็นจานวนจริงแล้ว = nx n - 1
dx

d (x n )
นั่นคือ = nx n - 1
dx

ตัวอย่างที่ 3 กาหนดให้ f(x) = x5 จงหาค่าของ f/(x)


d (x 5 )
วิธที า f/(x) =
dx

= 5x5 - 1

= 5x4

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 11


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

1 dy
ตัวอย่างที่ 4 กาหนดให้ y = จงหา
x4 dx

วิธที า จาก y = 1
x4

= x −4

d (x −4 )
 dy
=
dx dx

= -4x-4 - 1

= -4x-5

= −
4
x5

dy
ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ y = 3
x จงหา
dx
1

วิธที า  3
x = x3

 dy
= d (x 3 )
dx dx
1
1 3 −1
= x
3
2
1 −3
= x
3

1
= 3
3 x2

สูตรที่ 4 ถ้า y = f(x) + g(x) แล้ว


dy d f(x) d g(x)
= +
dx dx dx

จากสูตรที่ 4 จะได้วา่ อนุพันธ์ของผลบวกของฟังก์ชันเท่ากับผลบวกของอนุพันธ์

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 12


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

dy
ตัวอย่างที่ 6 กาหนดให้ y = x4 + x2 จงหา
dx

วิธที า จาก y = x4 + x2
dy d (x 4 ) d (x 2 )
จะได้ = +
dx dx dx

= 4x4 - 1 + 2x2 - 1

= 4x3 + 2x
dy
ตัวอย่างที่ 7 กาหนดให้ y = x6 + 8 จงหา
dx

วิธที า จาก y = x6 + 8

dy d (x 6 ) d (8)
จะได้ = +
dx dx dx

= 6x6 - 1 + 0

= 6x5

สูตรที่ 5 ถ้า y = f(x) - g(x) แล้ว


dy d f(x) d g(x)
= −
dx dx dx

จากสูตรที่ 5 จะได้ว่า อนุพันธ์ของผลต่างของฟังก์ชันเท่ากับผลต่างของอนุพันธ์


dy
ตัวอย่างที่ 8 กาหนดให้ y = x6 + x3 - x2 + 4 จงหา
dx

วิธที า จาก y = x6 + x3 - x2 + 4

dy d (x 6 ) d (x 3 ) d (x 2 ) d (4)
จะได้ = + − +
dx dx dx dx dx

= 6x6 - 1 + 3x3 - 1 - 2x2 – 1+ 0

= 6x5 + 3x2 - 2x

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 13


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ตัวอย่างที่ 9 กาหนดให้ f(x) = x4 - x2 จงหา f/(x)

วิธที า จาก f(x) = x4 - x2

d (x 4 ) d (x 2 )
f/(x) = −
dx dx

= 4x4 - 1 - 2x2 - 1

= 4x3 - 2x

สูตรที่ 6 ถ้า y = cf(x) เมื่อ c เป็นค่าคงตัว แล้ว


dy d f(x)
= c
dx dx

dy
ตัวอย่างที่ 10 กาหนดให้ y = 5x2 - 3x จงหา และ f/(3)
dx

วิธที า จาก y = 5x2 - 3x

dy d (5x 2 - 3x)
จะได้ =
dx dx

d (x 2 ) dx
= 5 -3 = 5(2x) - 3(1) = 10x-3
dx dx

dy
จาก = 10x - 3
dx

ดังนั้น f/(x) = 10x - 3

f/(3) = 10(3) – 3 = 30 – 3 = 27

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 14


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

สูตรที่ 7 ถ้า y = f(x)  g(x) แล้ว


dy d g(x) d f(x)
= f(x) + g(x)
dx dx dx

dy
จากสูตรที่ 7 สามารถเขียนได้ว่า = f(x)g/(x) + g(x) f/(x)
dx

dy
ตัวอย่างที่ 11 กาหนดให้ y = (x2 - 2x + 3)(2x + 5) จงหา
dx

วิธที า จาก y = (x2 - 2x + 3)(2x + 5)

dy d [(x 2 - 2x + 3)(2x + 5)]


จะได้ =
dx dx

d (2x + 5) d (x 2 - 2x + 3)
= (x 2 - 2x + 3) + (2x + 5)
dx dx

= (x2 - 2x + 3)(2 + 0) + (2x + 5)(2x - 2)

= (2x2 - 4x + 6) + (4x2 + 6x - 10)

= 2x2 - 4x + 6 + 4x2 + 6x – 10 = 6x2 + 2x - 4

สูตรที่ 8 ถ้า y = f(x)


โดยที่ g(x)  0 แล้ว
g(x)

d f(x) d g(x)
g(x) - f(x)
dy
= dx
2
dx
dx [g(x)]

dy g(x) f / (x) - f(x) g / (x)


จากสูตรที่ 8 สามารถเขียนได้ว่า =
dx [g(x)] 2

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 15


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

2x - 1
ตัวอย่างที่ 12 กาหนดให้ y = จงหา dy
2x + 1 dx
2x - 1
วิธที า จาก y =
2x + 1

dy d  2x - 1 
จะได้ =  2x + 1
dx dx  

d (2x - 1) d (2x + 1)
(2x + 1) - (2x - 1)
= dx dx
(2x + 1) 2

(2x + 1)(2 - 0) - (2x - 1)(2 + 0)


=
(2x + 1) 2

4x + 2 - 4x + 2 4
= =
(2x + 1) 2 (2x + 1) 2

4x 2 - 7x + 2
ตัวอย่างที่ 13 ให้ f(x) = จงหา f/(x)
3x 2 + 4

4x 2 - 7x + 2
วิธที า จาก f(x) =
3x 2 + 4

d  4x 2 - 7x + 2 
f/(x) =  
dx  3x 2 + 4 

d (4x 2 - 7x + 2) d (3x 2 + 4)
(3x 2 + 4) - (4x 2 - 7x + 2)
= dx dx
(3x 2 + 4) 2

(3x 2 + 4)(8x - 7 + 0) - (4x 2 - 7x + 2)(6x)


=
(3x 2 + 4) 2

(24x 3 - 21x 2 + 32x - 28) - (24x 3 - 42x 2 + 12x)


=
(3x 2 + 4) 2

24x 3 - 21x 2 + 32x - 28 - 24x 3 + 42x 2 - 12x)


=
(3x 2 + 4) 2

21x 2 + 20x - 28
=
(3x 2 + 4) 2

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 16


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

โจทย์ปญ
ั หาเกีย่ วกับการหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั พีชคณิตโดยใช้สตู ร

ตัวอย่างที่ 14 จงหาจุดบนเส้นโค้ง y = x3-12x เมื่อเส้นสัมผัสที่จุดเหล่านั้นขนานกับแกน X

วิธที า จาก y = x3 – 12x


dy d (x3 - 12x)
จะได้ =
dx dx

= 3x2 – 12

นั่นคือ เส้นสัมผัสเส้นโค้ง ณ จุด (x, y) ใด ๆ จะมีความชันเท่ากับ 3x2 – 12

แต่เส้นสัมผัสเส้นโค้งที่ขนานกับแกน X คือ เส้นตรงที่มีความชันเป็นศูนย์

ดังนั้น จะหา x ที่มีสมบัติว่า 3x2 – 12 = 0

x2 – 4 = 0

(x - )(x + 2) = 0

ดังนั้นจะได้ x = 2 หรือ x = -2

และเมื่อ x = 2 จะได้ y = (2)3 – 12(2) = -16

x = -2 จะได้ y = (-2)3 – 12(-2) = 16

ดังนั้น จุดบนเส้นโค้งที่เส้นสัมผัสที่จุดนั้นขนานกับแกน X คือ จุด (-2, 16) และ (2, -16)

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 17


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ตัวอย่างที่ 15 จงหาสมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y= x ที่ x = 4

วิธที า จาก y= x

ที่ x = 4 จะได้ y= 4 = 2

ดังนั้น จุดสัมผัสเส้นโค้ง คือ จุด (4,2)

เนื่องจาก ความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง ณ จุด (x,y) ใดๆ ก็คือ อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x


1

จาก y= x=x 2

1
dy d 2
จะได้ = (x )
dx dx
1
1 −2 1
= x =
2 2 x

dy 1 1
และที่ x = 4 จะได้ = =
dx 2 4 4

1
นั่นคือ เส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด (4,2) และมีความชัน คือ
4

1
y–4 = ( x − 4)
4

หรือ 4y – 8 = x – 4

หรือ x – 4y + 4 = 0

ดังนั้น สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่ต้องการ คือ x – 4y + 4 = 0

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 18


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

แบบฝึกหัด 2.5 เรือ่ ง การหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั พีชคณิตโดยใช้สตู ร

1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

(1) y = –3 (2) y = x 3 + x
3

(3) y = x3 – 3x + 7 (4) y = − 5x 2 + x + 2 x − 1
x

(5) s = 4t5 – 3t2 + t – 8 (6) s = (4t2 + t – 1)(x2 + 3)

(7) y = x(x + 1)(x + 2) (8) y = (4x – x2)(x2 + 3)

3
(9) y = x(x2 + 1) (10) y = x + 2
x

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 19


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

(11) y = 3 (12) y = 1 + 3x
3x 2 + 1 1 − 3x

5 2
(13) s = t(12 − 12 ) (14) y = x − 3x 2+ 5x − 2
t x

6 +t−3
(15) s = 5t (16) y =  1 + 12 (3x 3 + 27)
t x x 

(17) y = 4x2 + 1 (18) y =  3x + 2 (x -5 + 1)


x −5  x 

(19) y = 3 (20) y = (2x 7 − x 2 )( x − 1)


x +2 x +1

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 20


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

2. จงหาอนุพันธ์ของฟังกันต่อไปนี้ที่จุดที่กาหนดให้

(1) f(x) = 2x 3 − 1 ที่ x = 1


x

(2) f(x) = 1 x 5 − 1 x 3 + 1 x 2 − 4x + 5 ที่ x = 1


5 3 2

(3) f(x) = (2x2 – 3x + 1)(x – x2)ที่ x = –1

(4) f(x) = 2x − 1 ที่ x = 2


x +1

3. กาหนดให้ f(4) = 3 และ f(4) = –5จงหา g(4) เมื่อ

(1) g(x) = x f(x) (2) g(x) = f(x)


x

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 21


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

4. จงหาความชันของเส้นสัมผัสโค้งy = x3 – 5x + 2 ที่จุด (2, 0)

5. จงหาสมการของเส้นตงซึ่งสัมผัสกับเส้นโค้ง y = –4x + 2x2 – 3x4ที่จุด (1, –5)

6. เส้นตรงเส้นหนึ่งมีความชัน 3 และสัมผัสเส้นโค้ง y = –x + x2ที่จุด (a, b) จงหา a และ b

7. วัตถุชนิดหนึ่งเคลื่อนที่ตามสมการs =t3 – 2t + 5 เมื่อs เป็นระยะทางมีหน่วยเป็นเมตร t เป็นเวลามี


หน่วยเป็นวินาที จงหาความเร็วของวัตถุนี้ในขณะ t = 10 วินาที

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 22


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

8. ถ้าเส้นตรง y = mx + c ขนานกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = 3x2 – 5 ที่จุด (1, –2) แล้ว จงหาค่า m


เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใด ๆ

9. จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (2, 3) และขนานกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = x3 ที่จุด (1, 1)

10. จงหาจุดบนเส้นโค้ง y = x3 – 3x ซึ่งเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุดนี้ขนานกับแกน X

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 23


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ใบความรู้ที่ 3 เรือ่ ง ความชันของเส้นโค้ง


ทบทวนความชันของเส้นตรง (m) ซึ่งสามารถหาได้ดังนี้

1. ถ้ารู้ว่าเส้นตรงผ่านจุด 2 จุดใดๆ (x1, y1) และ (x2, y2)

y2 − y
m=
x 2 − x1
2. ถ้ารู้สมการของเส้นตรง ให้จัดสมการในรูป
y = mx + c

การหาความชันของเส้นโค้งและความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง สามารถหาได้จากนิยามต่อไปนี้

บทนิยาม ถ้า y = f(x) เป็นสมการของเส้นโค้งแล้ว เส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด P(x, y) ใด ๆ


f(x + h) - f(x)
จะเป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด P และมีค่าความชันเท่ากับ lim
h →0 h

หรือ ถ้า 𝑦 = 𝑓 (𝑥 ) เป็นสมการของเส้นโค้ง แล้ว


𝑑𝑦
1) ความชันของเส้นโค้งที่จุด (𝑥, 𝑦) ใดๆ 𝑚 = 𝑑𝑥 = 𝑓 ′ (𝑥 )
2) ความชันของเส้นโค้ง = ความชันของเส้นสัมผัสที่จุดสัมผัส
(ถ้าเรารู้ความชันของเส้นตรงที่เป็นเส้นสัมผัสที่จุดสัมผัส เราก็ไม่ต้องหาความชันของเส้นโค้งโดยใช้
dy
= 𝑓 ′ (𝑥) ตามข้อ 1 ซึ่งสะดวกกว่า เพราะสามารถใช้แทนกันได้)
dx

ในการหาความชันของเส้นโค้งทีจ่ ุด (x1 , 𝑦1 )

ถ้า y = f(x) เป็นสมการของเส้นโค้ง แล้วเราจะหาความชันของเส้นโค้งที่จุด (x1 , 𝑦1 ) ให้ทาดังนี้


𝑑𝑦
1) หาความชันของเส้นโค้งที่จุด (𝑥, 𝑦) ใดๆ 𝑚 = 𝑑𝑥 = 𝑓 ′ (𝑥)
2) แทนค่า 𝑓 ′ (𝑥1 ) ได้เท่าไร ค่าที่ได้ก็คือ ความชันของเส้นโค้งที่จุด (x1 , 𝑦1 )

ตัวอย่าง 1 กาหนดให้ 𝑦 = 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 จงหาความชันของเส้นโค้งที่จุด (2,3)

ความชันของเส้นโค้ง ณ จุด P(x, y) หมายถึง ความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง ณ จุด P

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 24


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ตัวอย่างที่ 1 ให้ y = x3 เป็นสมการเส้นโค้ง จงหาความชันของเส้นโค้งที่จุด (1, 2)

วิธที า จาก y = x3

ดังนั้น f(x) = x3
dy f(x + h) - f(x)
= lim
h →0
dx h

(x + h) 3 - x 3
= lim
h→0 h

(x 3 + 3x 2 h + 3xh 2 + h 3 - x 3 )
= lim
h →0 h

= lim (3x 2 + 3xh + h 2 )


h →0

= 3x2

ความชันของเส้นโค้งที่จุด (x, y) ใด ๆ = 3x2

ความชันของเส้นโค้งที่จุด (1, 2) = 3(1)2 = 3

ตัวอย่างที่ 2 ถ้า f(x) = 5x2 – 6 เป็นสมการเส้นโค้ง จงหาความชันของเส้นโค้งที่จุด (3,


12)

วิธที า จาก f(x) = 5x2 – 6


dy f(x + h) - f(x)
ดังนั้น = lim
h →0
dx h

[5(x + h) 2 - 6] - (5x 2 - 6)
= lim
h→0 h

5x 2 + 10hx + 5h 2 - 6 - 5x 2 + 6
= lim
h →0 h

= lim (10x + 5h)


h→0
= 10x

ความชันของเส้นโค้ง ณ จุด (x, y) ใด ๆ = 10x

ดังนั้น ความชันของเส้นโค้ง ณ จุด (3, 12) = 10(3) = 30

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 25


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง

สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด (x, y) ใด คือ y – y1 = m(x – x1) เมื่อ m


คือความชันของเส้นตรง การหาสมการเส้นสัมผัสเส้นโค้ง มีขั้นตอนดังนี้
dy
1) หา ซึ่งเท่ากับความชันของเส้นโค้ง
dx

2) หาจุดสัมผัสเส้นโค้ง คือจุด (x, y)

3) หาสมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้งจากสูตร y – y1 = m(x – x1)

ตัวอย่างที่ 3 ถ้า y = x – 2x2 เป็นสมการของเส้นโค้ง จงหา

(1) ความชันของเส้นโค้งที่จุด (1,-1)

(2) สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด (1,-1)

วิธที า (1) ให้ f(x) = x – 2x2

ความชันของเส้นโค้งที่จุด (1,-1) เท่ากับ

f(1 + h) - f(1) (1 + h) - 2 (1 + h) 2 − (−1)


lim
h →0
= lim
h →0
h h

- 3h - 2h 2
= lim
h →0
= lim (-3 - 2h)
h →0
= -3
h

ดังนั้น ความชันของเส้นโค้งที่จุด (1,-1) เท่ากับ -3

(2) สมการของเส้นตรงที่ผ่านจุด (x1,y1) และมีความชันเท่ากับ m คือ y – y1 = m(x - x1)

เนื่องจาก เส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด (1,-1) เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (1,-1) และมีความชันเท่ากับ -3

ดังนั้น สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด (1, -1) คือ y + 1 = -3(x - 1) หรือ y + 3x = 2

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 26


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ตัวอย่างที่ 4 ถ้า y = x – 3x2 เป็นสมการของเส้นโค้ง จงหาสมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด (3, -3)

วิธที า จาก y = x – 3x2

หรือ f(x) = x – 3x2


dy f(x + h) - f(x)
= lim
h →0
dx h

[(x + h) - 3(x + h) 2 ] - (x - 3x 2 )
= lim
h→0 h

(x + h - 3x 2 - 6xh - 3 h 2 - x + 3x 2 )
= lim
h→0 h

= lim (1 - 6x - 3h)
h →0
= 1 – 6x

ความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด (3, -3) = 1 – 6(3) = -17

สมการของเส้นตรงที่ผ่านจุด (x1, y1) และมีความชันเท่ากับ m คือ y – y1 = m(x – x1)

เนื่องจากเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด (3, -3) เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (3, -3) และมีความชันเท่ากับ -17

ดังนั้น สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง คือ y – (-3) = -17(x – 3)

y+3 = -17x + 51

17x + y – 48 = 0

ตัวอย่างที่ 5 จงหาสมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = x3 – 2x2 + 4 ทีจ่ ุด x = 2

วิธที า จาก y = x3 – 2x2 + 4


dy f(x + h) - f(x)
= lim
h →0
dx h

[(x + h) 3 - 2(x + h) 2 + 4] - [x 3 - 2x 2 + 4]
= lim
h →0 h

(x 3 + 3x 2 h + 3xh 2 + h 3 - 2x 2 - 2xh - h 2 + 4 - x 3 + 2x 2 - 4)
= lim
h →0 h

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 27


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

= lim (3x 2 + 3xh + h 2 - 4x - 2h)


h →0

= 3x2 – 4x

ดังนั้น ความชันของเส้นโค้ง ณ จุด (x, y) ใด ๆ = 3x2 – 4x

ความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้งที่จุด ที่ x = 2 , เท่ากับ 3(22) – 4(2) = 4

เมื่อ x = 2 จะได้ y = 23 – 2(22) + 4 = 4

ดังนั้น จุดสัมผัสเส้นโค้ง คือ จุด (2, 4)

สมการเส้นสัมผัสเส้นโค้ง คือ y–4 = 4(x – 2)

y–4 = 4x – 8

4x – y – 4 = 0

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 28


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

แบบฝึกหัด ความชันของเส้นโค้ง

1.จงหาความชันของเส้นโค้ง ณ จุดที่กาหนดให้ และหาสมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง ณ จุดนั้น

(1) y = x2 – 3x ที่จุด (3, 0) (2) y = 5x2 – 6 ที่จุด (2, 14)

2+2
(3) y = x – x2 ที่จุดซึ่ง x = 1 (4) y = x ที่จุดซึ่ง x = 1
2 x

(5) y = 1 + 2x – 3x2 ที่จุด (1, 0) (6) y = lim 6 ที่จุด (2, 2)


h→0 x + 1

2. ถ้าเส้นตรง y = ax ขนานกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y = 3x2 + 8 ที่จุด (1, 11) แล้ว จงหาค่าของ a

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 29


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ใบความรู้ที่ 4 เรือ่ ง อนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั ประกอบ


การสร้างสูตรสาหรับหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบ ซึ่งสูตรในการหาอนุพันธ์นี้
เรียกว่า “กฎลูกโซ่” (Chain Rule)

สูตร : ถ้า f หาอนุพันธ์ได้ที่ x และ g หาอนุพันธ์ได้ที่ f(x)

แล้ว g o f หาอนุพันธ์ได้ที่ x และ (g o f)'(x) = g'(f(x))·f'(x)

จากสูตร ถ้าให้ u = f(x) และให้ y = (g o f)(x)

จะได้ว่า y = g(f(x)) = g(u)

dy
= g (f(x))  f (u)
dx

dy d d
= g(u)  (u)
dx du dx

ฉะนั้น สูตรข้างต้นสามารถเขียนในอีกรูปแบบหนึ่ง ได้ดังนี้


dy dy dy dy du
ถ้า u = f(x), y = g(u) = g(f(x)) และ , หาค่าได้แล้ว = 
du dx dx du dx

สาหรับฟั งก์ชันที่ กาหนดให้ ถ้าพิ จารณาแล้วได้ว่า ฟังก์ชันนั้ นเป็นฟั งก์ชันประกอบ จะสามารถใช้สูต ร


ข้างต้นหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันได้

ตัวอย่างที่ 1 กาหนดให้ f(x) = (2x – 1)5 จงหา f (x)

วิธที า ให้ u = 2x-1


ดังนั้น y = f(x) = (2x – 1)5 = u5
dy dy du
โดยกฎลูกโซ่ จะได้ว่า = 
dx du dx

d 5 d
= (u )  (2 x − 1)
du dx

= (5u4)(2) = 10u4
ดังนั้น f (x) = 10(2x-1)4

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 30


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

dy
ตัวอย่างที่ 2 ให้ y = 1 - 3x 2 จงหา
dx

วิธีทา ให้ u = 1-3x2


1
ดังนั้น y = 1 - 3x 2 = u2

dy dy du
โดยกฎลูกโซ่ จะได้ว่า = 
dx du dx
1
d 2 d
= (u )  (1 − 3x 2 )
du dx
1
1 −
= ( u 2 ) (−6 x)
2
- 6x
=
2 u
- 3x
=
1 - 3x 2

1 dy
ตัวอย่างที่ 3 ให้ y = จงหา
3
2x 2 − 1 dx

วิธีทา ให้ u = 2x2-1


1
1 1 −
จะได้ y = = = u 3

2x 2 − 1
3 3
u

dy dy du
โดยกฎลูกโซ่ จะได้ว่า = 
dx du dx
1
d −3 d
= (u )  (2 x 2 − 1)
du dx
4
1
= (− u 3 ) (4 x)
3
- 4x
=
33 (2x 2 − 1) 4

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 31


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

แบบฝึกหัด เรือ่ ง อนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั ประกอบ

1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

(1) y = (2x + 3)5 (2) y = (1 – 3x)3

(3) y = (3 – 4x2)4 (4) y = (2 – 3x + 4x2)3

(5) y = (x3 – 2x)4 (6) y = 1 − 2x

(7) y = 3x2 + 2 (8) y = 3


x2 + 3

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 32


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

(9) s = (2t2 −1)−3 (10) s = 1


(t 2 − 3t + 2) 2

(11) y = 1 (12) y = 1
x 2 + 2x 3
x 2 − 2x + 3

3
(13) y = (x – 3)3(2x + 1) (14) y=  2x + 1 
1 − 2x 

3
(15) y = (2x2+ 3) 8
(4x − 1)

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 33


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

2. กาหนดให้ f(x) = x และ g(x) = 3x − 1 จงหา F(x) เมื่อ F(x) = f(g(x))


x2 + 1

3. กาหนดให้ F(x) = f(g(x)) และ g(2) = 4, g(2) = 5, f(2) = 6, f(4) = 9 จงหา F(2)

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 34


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ใบความรู้ที่ 5 เรือ่ ง อนุพนั ธ์อนั ดับสูง


จากการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่ผ่านมา จะพบว่า เมื่อเราหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x ใดๆ ได้
เป็น f/(x)ซึ่ง f/ เป็นฟังก์ชันอีกฟังก์ชันหนึ่ง และอาจพิจารณาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f/ ที่ x ได้อีก

ถ้าให้ f(x) = x5 + 2x4 + 3x3 – 2x + 3

จะได้ f/(x) = 5x4 + 8x3 + 9x2 – 2

เรียก f/(x) ว่า อนุพนั ธ์อนั ดับหนึ่งของ f(x)

ถ้านา f/(x) มาหาอนุพันธ์อันดับหนึ่งของ f(x) ใหม่ว่าเป็นอนุพันธ์อันดับสองของ f(x)

นั่นคือ f//(x) = 20x3 + 24x2 + 18x

ในทานองเดียวกัน ถ้านา f//(x) มาหาอนุพันธ์ต่อไปเรื่อย ๆ เราก็จะได้อนุพันธ์อันดับสาม


อันดับสี่ต่อไปเรื่อย ๆ และเพื่อสรุปเป็นหมวดหมู่ เรานิยมใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้แทนอนุพันธ์อันดับต่าง ๆ ดังนี้

dy
f/(x) = y/ = แทน อนุพนั ธ์อนั ดับหนึง่
dx

d2y
f//(x) = y// = แทน อนุพนั ธ์อนั ดับสอง
dx 2

d3y
f///(x) = y/// = แทน อนุพนั ธ์อนั ดับสาม
dx 3
.
.
dn y
f(n)(x) = y(n) = แทน อนุพนั ธ์อนั ดับ n
dx n

ตัวอย่างที่ 1 ให้ f(x) = 3x3 + 6x2 + 2x – 10 จงหา f///(x)

วิธที า จาก f(x) = 3x3 + 6x2 + 2x – 10

ดังนั้น f/(x) = 9x2 + 12x + 2

f//(x) = 18x + 12

f///(x) = 18

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 35


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ตัวอย่างที่ 2 ให้ y = 5x4 + 2x2 - x + 2 จงหาอนุพันธ์อันดับที่ 4 ของ y


d4y
หรือ 4
dx

วิธที า จาก y = 5x5 + 2x2 - x + 2


dy
= 20x3 + 6x2 - 1
dx

d2y
= 60x2 + 12x
dx 2

d3y
= 120x + 12
dx 3

d4y
= 120
dx 4

ตัวอย่างที่ 3 จงหา f//(1) เมื่อ f(x) = 4x3 - 3x2 + 5

วิธที า จาก f(x) = 4x3 - 3x2 + 5

ดังนั้น f/(x) = 12x2 - 6x

f//(x) = 24x - 6

f//(1) = 24(1)-6 = 18

ตัวอย่างการนาอนุพนั ธ์อันดับที่ 2 ไปใช้ในทางกายภาพ ได้แก่ ความเร่ง

ความเร่ง (a) ของวัตถุขณะเวลา t ใดๆ คือ อัตราการเปลีย่ นแปลงของความเร็ว (v) เทียบกับเวลา t


ใดๆ ถ้าวัตถุเคลือ่ นทีต่ ามสมการเคลือ่ นที่ คือ S = f(t) เมือ่ S คือ ระยะทางทีว่ ตั ถุเคลือ่ นทีไ่ ด้ใน
เวลา t
dv dS
จะได้ a = และ v =
dt dt

d  dS  d 2S
ดังนั้น a =   =
dt  dt  dt 2
นัน่ คือ ความเร่งขณะเวลา t ใดๆ ก็คือ อนุพนั ธ์อนั ดับที่ 2 ของ S = f(t)

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 36


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ตัวอย่างที่ 4 เมื่อเวลา t วินาที วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง S = 4t3 + 2t2 + 3t เมตร

จงหา 1) ความเร็วขณะเวลา t ใด ๆ

2) ความเร่งขณะเวลา t ใด ๆ

3) ความเร่งขณะเวลา t = 2 วินาที

วิธที า (1) จาก S = 4t3 + 2t2 + 3t

จะได้ v= dS
dt
= 12t2 – 4t + 3 เมตร/วินาที

ดังนั้น ความเร็วขณะเวลา t ใด ๆ เท่ากับ 12t2 – 4t + 3 เมตร/วินาที

(2) จาก v = 12t2 – 4t + 3


dv
จะได้ a= = 24t - 4 เมตร/วินาที2
dt

ดังนั้น ความเร่งขณะเวลา t ใด ๆ เท่ากับ 24t - 4 เมตร/วินาที2

(3) จาก (2) จะได้ความเร่งขณะเวลา t = 2 วินาที เท่ากับ 24(2) -4 = 44 m/s2

หมายเหตุ : ถ้าความเร่งเป็นจานวนบวก แสดงว่า เมื่อเวลาเพิ่มขึ้น ความเร็วจะเพิ่มขึ้น และถ้าความเร่ง


เป็นจานวนลบ แสดงว่า เมื่อเวลาเพิ่มขึ้นความเร็วจะลดลง

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 37


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

แบบฝึกหัด เรือ่ ง อนุพนั ธ์อนั ดับสูง

1. จงหาอนุพันธ์อันดับที่ 2 ของฟังก์ชันต่อไปนี้

(1) f(x) = 5x2 – 4x + 2 (5) f(x) = (5x2 – 3)(7x3 + x)

(2) f(x) = 5 + 2x + 4x3 – 3x5 (6) f(x) = x + 1


x

(3) f(x) = 3x4 – 2x + x – 5 (7) f(x) = 3x − 2


5x

(4) f(x) = 3 x − 2 + 4x 2
x

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 38


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

2. จงหาอนุพันธ์อันดับที่ 3 ของฟังก์ชันต่อไปนี้

(1) f(x) = x–5 + x5 (2) f(x) = 5x2 – 4x + 7

(3) f(x) = 3x–2 + 4x–1 + x

3. จงหา f (2) เมื่อ f(x) = 3x2 – 2

4. กาหนดให้ y = 6x4
x

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 39


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

5. สุทธิพงศ์ปล่อยวัตถุจากที่สูงลงสู่พื้นดิน วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง s = 16t2เมตร ในเวลา t วินาที

จงหา (1) ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้หลังจากปล่อยวัตถุไป 3 วินาที คือ

(2) ความเร็วขณะเวลา t = 2 วินาที

(3) ความเร็วขณะเวลา t ใด ๆ

(4) ความเร็วขณะเวลา t = 5 วินาที

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 40


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

6. อรสาโยนวัตถุขึ้นไปในอากาศ วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง s = 128t – 16t2 เมตร ในเวลา t วินาที

จงหา (1) ความเร็วเฉลี่ยในช่วงวินาทีที่ 2 ถึงวินาทีที่ 3

(2) ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้หลังจากโยนวัตถุไปแล้ว 5 วินาที

(3) ความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุขณะวินาทีที่ 4

(4) ความเร่งของวัตถุขณะเวลา t ใด ๆ และขณะเวลา t = 2 วินาที

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 41


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ใบความรู้ที่ 6 เรือ่ ง การประยุกต์ของอนุพนั ธ์


การพิจารณาว่าฟังก์ชันที่กาหนดให้เป็นฟังก์ชันเพิ่ม (increasing function) หรือฟังก์ชันลด
(decreasing function) บนช่วงใดบ้าง อาจทาได้โดยพิจารณาจากค่าความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง ดัง
ทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท ให้ฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และสามารถหาอนุพันธ์ของ f ได้

ทุก ๆ จุด ในช่วงเปิด (a, b)

1) ถ้า f/(x) > 0 สาหรับทุก x บนช่วง (a, b) แล้ว

f จะเป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง [a, b]

2) ถ้า f/(x) < 0 สาหรับทุก x บนช่วง (a, b) แล้ว

f จะเป็นฟังก์ชันลดบนช่วง [a, b]
1 3 1 2
ตัวอย่างที่ 1 ให้ f/(x) = x - x - 2x
3 2
จงหา (1) ช่วงที่ทาให้ f เป็นฟังก์ชันลด(2) ช่วงที่ทาให้ f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม
1 3 1 2
วิธที า จาก f(x) = x - x - 2x
3 2

เนื่องจาก f เป็นฟังก์ชันพหุนาม ดังนั้น f มีความต่อเนื่องทุกค่าของ x ที่เป็นจานวนจริง

จาก f(x) ที่โจทย์กาหนด จะได้ f/(x) = x2 – x – 2

(1) เนื่องจากค่า x ที่จะทาให้ f เป็นฟังก์ชันลดคือค่า x ที่ทาให้ f/(x) เป็นจานวนลบ

นั่นคือ f/(x) < 0


x2 – x – 2 < 0

(x – 2)(x + 1) < 0

+ – +

-1 2

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 42


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

จากกราฟช่วงที่ทาให้ f/(x) < 0 คือ (-1, 2)

ดังนั้น ช่วงที่ทาให้ f เป็นฟังก์ชันลด คือ [-1, 2]

(2)เนื่องจากค่า x ทีจ่ ะทาให้ f เป็นฟังก์ชันเพิ่มคือ ค่า x ที่ทาให้ f/(x) เป็นจานวนบวก

นั่นคือ f/(x) > 0

x2 – x – 2 > 0

(x – 2)(x + 1) > 0

+ – +

-1 2

จากกราฟช่วงที่ทาให้ f/(x) > 0 คือ (-, 1)  (2, )

ดังนั้น ช่วงที่ทาให้ f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม คือ (-, 1]  [2, )

ตัวอย่างที่ 2 กาหนดให้ f(x) = 2x3 – 3x2 -12x + 4 จงตรวจสอบว่า f เป็นฟังก์ชันบนช่วงใด


และ f เป็นฟังก์ชันลดบนช่วงใด

วิธที า เริ่มต้นด้วยการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f

f/(x) = 6x2 – 6x -12

= 6(x2 – x - 2)

= 6(x + 1)(x - 2)

ตรวจสอบค่าของ f/(x) โดยเขียนเส้นจานวนและจุดแบ่งช่วง ดังนี้

+ – +

-1 2

จะได้ว่า f/(x) > 0 คือ (-, 1)  (2, )

และ f/(x) < 0 บนช่วง (-1,2)

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 43


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ดังนั้น f เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง (-, 1) และบนช่วง (2, )

และ f เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง (-1, 2)

ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ และค่าต่าสุดสัมพัทธ์

ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ และค่าต่าสุดสัมพัทธ์ของฟังก์ชัน นิยามได้ดังนี้

บทนิยาม ฟังก์ชัน f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ x = c ถ้ามีช่วง (a, b)  Df ซึ่ง c  (a, b)


โดยที่ f(c) ≥ f(x) สาหรับทุก x ในช่วง (a, b) ที่ x  c เรียก f(c) ว่าค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ
ฟังก์ชัน f และ
(c, f(c)) ว่า จุดสูงสุดสัมพัทธ์

ฟังก์ชัน f มีค่าต่าสุดสัมพัทธ์ที่ x = c ถ้ามีช่วง (a, b)  Df ซึ่ง c  (a, b)


โดยที่ f(c) ≤ f(x) สาหรับทุก x ในช่วง (a, b) ที่ x  c เรียก f(c) ว่าค่าต่าสุดสัมพัทธ์
ของฟังก์ชัน f และ
(c, f(c)) ว่า จุดต่าสุดสัมพัทธ์

วิธกี ารหาค่าสูงสุดสัมพัทธ์และค่าต่าสุดสัมพัทธ์ มีขั้นตอนดังนี้

จากฟังก์ชัน y = f(x) ที่โจทย์กาหนดให้

1. หา f/(x)

2. ให้ f/(x) = 0 หาค่า x ที่ทาให้สมการนั้นเป็นจริง ซึ่งค่า x ที่ได้เรียกว่า ค่า


วิกฤต

3. นาค่าวิกฤตไปตรวจสอบ ซึ่งมีวิธีตรวจสอบ 2 วิธี คือ

3.1 ตรวจสอบโดยพิจารณาจากความชันของเส้นสัมผัส

- ถ้าความชันเปลีย่ นจากบวกไปเป็นลบ จะให้คา่ สูงสุดสัมพัทธ์

- ถ้าความชันเปลีย่ นจากลบไปเป็นบวก จะให้คา่ ต่าสุดสัมพัทธ์

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 44


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

3.2 ตรวจสอบโดยใช้อนุพนั ธ์อนั ดับที่ 2 ดังนี้

- ถ้า f//(x) > 0 จะให้คา่ ต่าสุดสัมพัทธ์

- ถ้า f//(x) < 0 จะให้คา่ สูงสุดสัมพัทธ์

- ถ้า f//(x) = 0 แสดงว่าตรวจสอบวิธนี ไี้ ม่ได้ ต้องตรวจสอบ

โดยวิธตี รวจสอบจากความชันของเส้นสัมผัส

ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าสูงสุดสัมพัทธ์และค่าต่าสุดสัมพัทธ์ของฟังก์ชัน f เมื่อกาหนดให้

f(x) = 2x3 + 3x2 – 12x – 7

วิธที า จาก f(x) = 2x3 + 3x2 – 12x – 7

จะได้ f/(x) = 6x2 + 6x – 12

ให้ 6x2 + 6x + 2 = 0

6(x2 + x – 2) = 0

6(x + 2)(x – 1) = 0

ดังนั้น x = -2, 1

ถ้า x < -2 จะได้ f/(x) > 0 เป็นฟังก์ชันเพิ่ม

ถ้า x > -2 จะได้ f/(x) < 0 เป็นฟังก์ชันลด

ดังนั้น f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ x = -2 และมีค่าเท่ากับ 13

ถ้า x < 1 จะได้ f/(x) < 0 เป็นฟังก์ชันลด

ถ้า x > 1 จะได้ f/(x) > 0 เป็นฟังก์ชันเพิ่ม

ดังนั้น f มีค่าต่าสุดสัมพัทธ์ที่ x = 1 และมีค่าเท่ากับ -14

สรุปว่า f มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์เท่ากับ f(-2) = 13 และมีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์เท่ากับ f(1) = -14

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 45


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

จากที่กล่าวมา เป็นวิธีพิจารณาค่าสูงสุดสัมพัทธ์หรือค่าต่าสุดสัมพัทธ์ โดยใช้อนุพันธ์อันดับที่ 1 ของ


ฟังก์ชันช่วยในการพิจารณา นอกจากนี้ เราสามารถใช้อนุพันธ์อันดับที่ 2 มาช่วยในการหาค่าสูงสุดสัมพัทธ์
และค่าต่าสุดสัมพัทธ์ได้ ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท กาหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง A ใด ๆ และ c เป็น ค่าวิกฤตของ f ซึ่ง f/(c) = 0

1. ถ้า f//(c) > 0 แล้ว f(c) เป็นค่าต่าสุดสัมพัทธ์

2. ถ้า f//(c) < 0 แล้ว f(c) เป็นค่าสูงสุดสัมพัทธ์

จากทฤษฎีบทข้างต้น ถ้าทราบว่าค่าของ f//(c) เป็นจานวนบวกหรือเป็นจานวนลบ จะทาให้เราบอก


ได้ว่า f(c) เป็นค่าต่าสุดสัมพัทธ์หรือค่าสูงสุดสัมพัทธ์ แต่ถ้าพบว่า f//(c) = 0 จะไม่สามารถสรุปได้ว่า
f(c) จะเป็นค่าต่าสุดสัมพัทธ์หรือค่าสูงสุดสัมพัทธ์ เพราะบางครั้ง f(c) อาจเป็นค่าต่าสุดสัมพัทธ์หรือ
ค่าสูงสุดสัมพั ทธ์หรืออาจไม่เป็นค่าต่าสุดสัมพัทธ์หรือค่าสู งสุดสัมพัทธ์เลยก็ได้ ดังนั้น ในกรณีที่อนุพันธ์
อันดับที่ 2 ของฟังก์ชันหาค่าไม่ได้หรือเท่ากับศูนย์ ณ ค่าวิกฤต เราจะพิจารณาโดยใช้การเปลี่ยนแปลงค่า
ของอนุพันธ์อันดับที่ 1 ของฟังก์ชันที่จุดบริเวณใกล้เคียงค่าวิกฤตนั้น

ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าสูงสุดสัมพัทธ์หรือค่าต่าสุดสัมพัทธ์ของ f(x) = x3 + 3x2 - 24x - 20

วิธที า จาก f(x) = x3 + 3x2 - 24x - 20

จะได้ f/(x) = 3x2 + 6x – 24

= 3( x + 4)(x – 2)

ให้ f/(x) = 0

จะได้ว่า 3( x + 4)(x – 2) = 0

ดังนั้น x = -4, 2 นั่นคือ ค่าวิกฤตของฟังก์ชันคือ -4 และ 2

จาก f/(x) = 3x2 + 6x – 24

f//(x) = 6x + 6 = 6(x + 1)

f//(-4) = -18 ซึ่ง -18 < 0

f//(2) = 18 ซึ่ง 18 > 0

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 46


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ดังนั้น f มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ x = -4 และมีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์คอื f(-4) เท่ากับ 60

และ f มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ x = 2 และมีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์คือ f(2) เท่ากับ -48

ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่าสุดสัมบูรณ์

บทนิยาม ฟังก์ชัน f มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ที่ x = c เมื่อ f(c) ≥ f(x)

สาหรับทุก x ในโดเมนของ f

ฟังก์ชัน f มีค่าต่าสุดสัมบูรณ์ที่ x = c ถ้า f(c) ≤ f(x)

สาหรับทุก x ในโดเมนของ f

วิธกี ารหาค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่าสุดสัมบูรณ์

กาหนดให้ y = f(x) เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [a, b]

1. หาค่าวิกฤติทั้งหมดในช่วงปิด [a, b]

2. หาค่าของฟังก์ชัน ณ ค่าวิกฤติที่ได้ในข้อ 1

3. หาค่า f(a) และ f(b)

4. นาค่าที่ได้จากข้อ 1 และ 2 มาเปรียบเทียบกัน

- ค่ามากทีส่ ุดคือ ค่าสูงสุดสัมบูรณ์

- ค่าทีน่ อ้ ยทีส่ ดุ คือ ค่าต่าสุดสัมบูรณ์

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 47


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ตัวอย่างที่ 5 ให้ f(x) = x3 + x2 - 8x - 1 เป็นฟังก์ชันบนช่วงปิด [-4, 2] จงหา


ค่าสูงสุดสัมบูรณ์
และค่าต่าสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน

วิธที า ขัน้ ที่ 1 หาค่าวิกฤตของฟังก์ชัน

จาก f(x) = x3 + x2 - 8x - 1

จะได้ f/(x) = 3x2 + 2x - 8

ให้ f./(x) = 0

ดังนั้น 3x2 + 2x - 8 = 0

(3x - 4)(x + 2) = 0
4 4
x = , -2 ค่าวิกฤต คือ x = และ x = -2
3 3

ขัน้ ที่ 2 หาค่าของฟังก์ชัน ณ ค่าวิกฤติที่ได้


4 2
4 4 4 4
ดังนั้น f  =   +   - 8  - 1
 3 3 3 3

203
= −
27

f(-2) = (-2)4 + (-2)2 - 8(-2) - 1

= 11

ขัน้ ที่ 3 เนื่องจากจุดปลายของช่วงเปิด [-4, 2] คือ x = -4 และ x = 2

ดังนั้น f(-4) = (-4)3 + (-4)2 - 8(-4) - 1

= -17

f(2) = 23 + 22 - 8(2) - 1

= -5

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 48


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

4
ขัน้ ที่ 4 นาค่าของ f  , f(-2), f(-4) และ f(2) มาเปรียบเทียบกัน
 3

จะได้ f(-2)= 11 มีค่ามากที่สุด

และ f(-4) = -17 มีค่าน้อยที่สุด

ดังนั้น ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ จะมีค่าเท่ากับ 11

ค่าต่าสุดสัมบูรณ์ จะมีค่าเท่ากับ -17

ตัวอย่างที่ 6 ให้ f(x) = -x2 + 4x + 5 เป็นฟังก์ชันบนช่วง [0, 5] จงหาค่าสูงสุดสัมบูรณ์หรือค่า


ต่าสุดสัมบูรณ์

วิธที า จาก f(x) = -x2 + 4x + 5

จะพบว่า ฟังก์ชัน f ต่อเนื่องบนช่วงปิด [0, 5]

จะได้ f/(x) = -2x + 4

ดังนั้น - 2x + 4 = 0

x = 2

จะพบว่า x = 2 เป็นค่าวิกฤตเพียงค่าเดียวบนช่วง [0, 5]

จึงสามารถตรวจสอบค่าวิกฤตว่า จะทาให้เกิดค่าสูงสุดสัมบูรณ์หรือค่าต่าสุดสัมบูรณ์หรือไม่

โดยใช้อนุพันธ์อันดับสอง

f//(x) = -2

เอา x = 2 ไปแทน จะได้

f//(2) = -2 < 0

แสดงว่า x = 2 เป็นค่าวิกฤตที่ทาให้เกิดค่าสูงสุดสัมบูรณ์

ดังนั้น f(2) = -(2)2 + 4(2) + 5 = 9

ดังนั้น ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ เท่ากับ 9

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 49


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

โจทย์ปญ
ั หาเกีย่ วกับค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุด

ในการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุดจะต้องพิจารณาเงื่อนไขของฟังก์ชันที่กาหนดให้ว่า
มีโดเมนเป็นอย่างไร และปัญหาต้องการให้หาค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ค่าต่าสุดสัมพัทธ์ ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ หรือ
ค่าต่าสุดสัมบูรณ์

หลักเกณฑ์ทวั่ ๆ ไปในการแก้โจทย์ปญ
ั หาเกีย่ วกับค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุด

1. ทาความเข้าใจกับปัญหาอย่างละเอียดให้ทราบแน่นอนว่าต้องการหาค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุดของอะไร
ให้กาหนดสิ่งนั้นเป็น y หรือตัวแปรอื่นๆ ตามความเหมาะสมและควรวาดรูปประกอบ

2. สมมติให้ y เป็นตัวแปรที่มีการเปลี่ยนแปลงในปัญหา โดยที่ค่าของ y จะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่


กับค่าของ x

3. เขียน y ในรูปของ x
dy
4. หาค่า หรือ y/ ซึ่งเป็นอัตราการเปลี่ยนแปลงของค่า y ที่ต้องการหาค่าสูงสุดหรือค่าต่าสุด
dx
เทียบกับตัวแปร x
dy
5. ให้ = 0 แล้วแก้สมการหาค่า x ซึ่งคือค่าวิกฤตของฟังก์ชันในข้อ 3
dx

6. นาค่าวิกฤติในข้อ 5 มาทาการตรวจสอบว่า ทาให้ y มีค่าสูงสุดหรือต่าสุดหรือไม่

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 50


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

ตัวอย่างที่ 7 ในการทดลองทางกสิกรรมครั้งหนึ่ง เป็นที่ยอมรับกันว่าจะได้ผลผลิตมากขึ้นถ้าใส่ปุ๋ยมาก


ขึ้น (ไม่ใส่มากนเกินไป) ให้ f เป็นจานวนปุ๋ยที่ใช้หน่วยเป็นกิโลกรัมต่อไร่ c เป็นปริมาณผลผลิตที่ได้หน่วย
เป็นถังต่อไร่ ถ้า c = 20 + 24f – f2 แล้วจะต้องใช้ปุ๋ยเท่าใดจึงจะได้ผลผลิตมากที่สุด

วิธีทา ให้ c(f) เป็นปริมาณผลผลิตที่ได้หน่วยเป็นถังต่อไร่เมื่อ f เป็นจานวนปุ๋ยที่ใช้หน่วยเป็นกิโลกรัม

ต่อไร่

จะได้ c(f) = 20 + 24f – f2

c(f) = 24 – 2f

ถ้า c(f) = 0 จะได้ 24 – 2f = 0

เพราะฉะนั้น f = 12

ดังนั้น ค่าวิกฤตของฟังก์ชัน c คือ 12

จาก c(f) = 24 – 2f

c(f) = –2

c(12) = –2  0

นั่นคือ ฟังก์ชัน c มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ f = 12 และมีค่าเท่ากับ c(12) = 164

ดังนั้น จะต้องใช้ปุ๋ย 12 กิโลกรัมต่อไร่จึงจะได้ผลผลิตมากที่สุด

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 51


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

แบบฝึกหัด เรือ่ ง การประยุกต์ของอนุพนั ธ์

1. จงหาช่วงซึ่งทาให้ฟังก์ชันที่กาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันเพิ่มและเป็นฟังก์ชันลด

(1) f(x) = 3 – 2x – x2 (2) f(x) = 2x2 – x – 3

(3) f(x) = x3 – x2 – 8x (4) f(x) = 2x3 + 3x2 – 36x + 5

(5) f(x) = x3 – 2x2 – 4x + 7

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 52


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

2. จงหาค่าสูงสุดสัมพัทธ์และค่าต่าสุดสัมพัทธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

(1) f(x) = x2 – 8x+ 7 (2) f(x) = x3 – 3x + 6

(3) f(x) =x3 – 3x2 – 24x + 4 (4) f(x) = x4 – 8x2 + 12

(5) f(x) = x4 – 4x3 + 8

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 53


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

3. จงหาค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่าสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

(1) f(x) = x2 – 4x + 3 บนช่วง0, 5 (2) f(x) = x3 – 2x2 – 4x + 8 บนช่วง–2, 3

(3) f(x) = x4 – 2x3 – 9x2 + 27 บนช่วง –2, 4 (4) f(x) = x3 + 5x – 4 บนช่วง–3, –1

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 54


เรื่อง แคลคูลัสเบือ้ งต้น 2 (Basic Calculus II)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1

สอนโดย ครูพิบูลย์ ชมสมบัติ วิชาคณิตศาสตร์ (ค30205/ ค33291) 55

You might also like