You are on page 1of 3

การหักขนมปัง

เป้ าหมายบทเรียน
เพือ่ ให้ผเู้ ชือ่ ใหม่เข้ามามีสว่ นรับพิธมี หาสนิทด้วยความเข้าใจและด้วยความเชือ่ เพือ่ ทีก่ ารรับพิธหี าสนิทจะเป็ นการ
นมัสการอย่างมีความหมาย ไม่ได้เป็ นเพียงพิธที ว่ี า่ งเปล่า
คำสังพระเยซู

ลก 22:19 “...จงกระทำอย่างนี้ให้เป็ นทีล่ ะลึกถึงเรา”
พระคัมภีรท์ ี่สนับสนุน
กจ 20:7 1 คร 11:23-26
คริ สตจักรในหนังสือกิ จการ
กจ 2:42 “...ขมักเขม้นในการรับขนมปงั ”
การนำสู่บทเรียน
แบ่งปนั ข้อพระคัมภีรใ์ นการเฝ้าเดีย่ ว ทบทวนข้อพระคัมภีรท์ ท่ี อ่ งจำ กจ 2:42 ร้องเพลงด้วยกัน ย้ำถึงพระ
ประสงค์ดเี ลิศของพระเจ้าทีไ่ ม่เพียงแต่ชว่ ยเราออกจากความบาเท่านัน้ แต่พระองค์ประทานชีวติ ใหม่ตามพระประสงค์
ของพระองค์ เมือ่ เราวางชีวติ ของเราไว้ในพระหัตถ์ของพระองค์ พระองค์จะสามารถเปลีย่ นแปลงเราและใช้เราให้เป็ น
พระพรสำหรับคนอื่น สามบทแรกเป็ นการเริม่ ต้นกับพระเจ้า...”จงกลับใจใหม่ รับบัพติศมา...รับพระราชทานพระ
วิญญาณบริสทุ ธิ ์” ขณะนี้ เรากำลังศึกษาคำสัง่ 6 ประการสำหรับความเจริญเติบโตในชีวติ คริสเตียน วันนี้จะได้ศกึ ษาถึง
คำสัง่ “การหักขนมปงั ” ซึง่ หมายถึงการฉลองพิธมี หาสนิท หรือ การเลีย้ งขององค์พระผูเ้ ป็ นเจ้า
บทเรียน
ให้เราอ่าน 1 คร 11:23-30 โปรดระลึกว่าเราไม่ได้พยายามทีจ่ ะศึกษาเรือ่ งนี้โดยสมบูรณ์ แต่เรากำลังเตรียมผู้
เชือ่ ใหม่ให้รบั พิธมี หาสนิทอย่างมีความหมาย

พิ ธีมหาสนิ ทหมายความว่าอย่างไร
จากคำตรัสของพระเยซู ( 1 คร 11:24-25) ขนมปงั เป็ นสัญลักษณ์แห่งพระกายของพระองค์ และเหล้าองุน่ เป็ น
สัญลักษณ์แห่งพระโลหิตของพระองค์ พระกายของพระองค์ตอ้ งแตกหัก และพระโลหิตทีต่ อ้ งหลังออกเพื
่ ่อเราบน
กางเขน การรับประทานขนมปงั และการดืม่ เหล้าองุน่ โดยความเชือ่ เราได้รบั ชัยชนะทีก่ างเขน ในทีน่ ้จี ะพิจารณาเพียง
3 แง่มมุ ของพิธมี หาสนิท
1.อดีต พระโลหิตเล็งถึงการอภัยบาปของเรา (อฟ 1:7 ฮบ 9:22 วว 1:5) การชำระจิตสำนึกของเราจากความ
ผิดบาป (ฮบ 9:14 ใจของเราได้รบั การปะพหรมเพือ่ ชำระจิตสำนึกผิด คือไก้การชำระให้สะอาด) หมายความว่าเรา
สามารถเข้าใกล้พระเจ้าได้ดว้ ยความมันใจเสมอ
่ (ฮบ 10:22)
2.ปัจจุบนั ขนมปงั เล็งถึงชีวติ ของพระเยซูคริสต์ทอ่ี ยูใ่ นเราตลอดไป ยน 6:50-51 พระองค์ไม่ได้เพียงแต่วาย
พระชนม์เพือ่ ความบาปของเรา แต่พระองค์ทรงสถิตอยูใ่ นเรา ให้ชวี ติ ใหม่และชัยชนะเหนือบาปแก่เรา (กท 2:20 2 คร
5:17) (เราคงตระหนักว่าไม่สามรถแยกความหมายของพระโลหิตและพระกายออกจากกันโดยสมบูรณ์ ทัง้ สองอย่างจึง
เป็ นสัญลักษณ์แห่งการวายพระชนม์ของพระเยซู )
3.อนาคต พิธมี หาสนิทเป็ นการเตือนเราถึงการเสด็จมาของพระเยซูคริสต์อกี ครัง้ หนึ่ง (ลก 22:16,18 1 คร
10:26…จนกว่าพระองค์จะเสด็จกลับมา) “ในฐานะกษัตริยท์ ท่ี รงสง่าราศีเพือ่ ทำให้ความรอดของเราสมบูรณ์ ทำให้ทุก
อย่างอยูใต้การควบคุมของพระคริสต์ ทุกเข่าจะคุกเข่าลงก้มกราบพระองค์ และทุกลิน้ จะสารภาพว่าพระเยซูเป็ นองค์
พระผูเ้ ป็ นเจ้า ช่างเป้นวันทีน่ ่าตื่นเต้นอะไรเช่นนี้ (ฟป 2:10-11)
ทำไมเราจึงหักขนมปัง
1.เป็ นคำสังขององค์
่ พระผูเ้ ป็ นเจ้า (ลก 22:19)
2.เป็ นการเตือนเรา (เพือ่ เป็ รการระลึกถึงพระเยซูคริสต์) ในความจริง 3 ประการ ในการประกาศการวายพระ
ชนม์ขององค์พระผูเ้ ป็ นเจ้า (1 คร 11:26)
ก.การวายพระชนม์เพือ่ การชำระ (อดีต)
ข.ชีวติ ของพระเยซูกบั เราในขณะนี้ (ปจั จุบนั )
ค.การเสด็จกลับมาครัง้ ทีส่ องของพระเยซู (อนาคต)
3.เป็ นการนมัสการ และการสรรเสริญร่วมกันสำหรับของประทานความรอด (สดด 116:12-14...ยกถ้วยแห่ง
ความรอด, 1 คร 10:16…ถ้วยแห่งพระพร, 1 คร 10:16...ถ้วยแห่งพระพร) เป็ นการถวายตัวเราให้พระองค์
เพราะว่าพระองค์ทรงซือ้ เรามาด้วยราคาสูง ด้วยพระกายและพระโลหิตของพระองค์ (1 คร 6:20) และเป็ นการรับ
พระพรโดยความเชือ่ เราไม่ควรรับพีมหาสนิทโดยไร้ความหมาย

เราหักขนมปังอย่างไร
1.ร่วมกัน พิธมี หาสนิทเป็ นเวลาแห่งการนมัสการและสามัคคีธรรมร่วมกัน ไม่ใช่เรือ่ งกระทำส่วนตัว
เราควรมีความปรารถนาต่อพิธนี ้เี หมือนดังทีพ่ ระเยซูมคี วามปรารถนาทีจ่ ะเสวยร่วมกับสาวกของพระองค์ (ลก 22:15
1 คร 11:20,23 เมือ่ ท่านทัง้ หลายประชุมกัน) ขนมปงั ก้อนเดียวเล็งถึงความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันในพระกายของพระ
เยซูคริสต์ (1 คร 10:17)
2.พิจารณาตนเอง ก่อนทีท่ า่ นจะร่วมในการหักขนมปงั หรือพิธมี หาสนิทท่านจะต้องจัดการกับบาปทีย่ งั ไม่ได้
สารภาพ อย่าร่วมพิธนี ้โี ดยท่านยังมีความขมขืน่ หรือยังไม่ได้ยกโทษให้พน่ี ้อง (1 คร 11:29)
3.โดยความเชือ่ ตัวขนมปงั และน้ำองุ่นไม่ได้ทำให้เกิดพระพรทีก่ างเขน เว้นแต่โดยความเชือ่ ของผูท้ เ่ี ชื่อ
พระองค์ พิธมี หาสนิทจึงเป็ นสัญลักษณ์ ทำนองเดียวกันกับการรับบัพติศมาในน้ำ ซึง่ จะไม่มคี วามหมายเลยเมือ่ เรา
กระทำเป็ นพิธที างศาสนาเท่านัน้ การมาทีโ่ ต๊ะเสวยขององค์พระผูเ้ ป็ นเจ้า จึงเป็ นการมาใคร่ครวญถึงไม้กางเขน
เป็ นการมาถวายตัวเราเองต่อพระผูเ้ ป็ นเจ้า และเป็ นการคาดหวังทีเ่ ราจะได้รบั พระพรจากพระองค์โดยความเชือ่ เมือ่ เรา
นมัสการพระองค์ดว้ ยพิธนี ้ี (1 คร 10:16…ถ้วยแห่งพระพร)
4.บ่อยเป็ นประจำ ผูเ้ ชือ่ ในเยรูซาเล็มฉลองพิธมี หาสนิทบ่อยมาก (กจ 2:26 เขาได้รว่ มใจกันไปในพระวิหาร
และหักขนมปงั ตามบ้านของเขา...ทุกวันเรือ่ ยไป) พระคัมภีรไ์ ม่ได้บอกว่าให้เราหักขนมปงั บ่อยขนาดไหน แต่เราเชือ่
ว่าการฉลองพิธมี หาสนิทเป็ นจุดสุดยอดแห่งการนมัสการ มีความสำคัญเท่ากับการเทศนาพระวจนะ หรือ การสรรเสริญ
หรือ การนมัสการ
สรุป องค์พระผูเ้ ป็ นเจ้าสังเราให้
่ หกั ขนมปงั ร่วมกันเพราะเป็ นเวลาสำคัญแห่งพระพรและการบำรุงจิตวิญญาณของ
เรา เราจึงไม่ควรรับอย่างเป็ นพิธที ไ่ี ร้ความหมาย แต่ควรรับด้วยใจแห่งความเชือ่ และนมัสการ ชืน่ ชมยินดีในพระคุณ
อัศจรรย์ ทีป่ ระทานแก่เราทางไม้กางเขน

You might also like