You are on page 1of 8

พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา

1. การทาบุญตักบาตร หมายถึง การถวายภัตตาหารแด่ พระสงฆ์ ลงไปในบาตร


วัตถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่อชาระจิตใจให้สะอาด เบิกบาน สงบ
2. ช่วยทานุบารุงพระพุทธศาสนา
3. สร้างความดีให้แก่ตนเอง เพราะการทาบุญถือเป็นการให้ทาน
ละความโลภ

1. พิธีทาบุญตักบาตร กล่าวคาอธิษฐานเริ่มต้นว่า
“สุทินฺน วต เม ทาน ......”
2. คากล่าวกรวดน้าแบบย่อ เริ่มต้นว่า
“อิท เม ญาติน โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตโย”
หมายถึง การนาอาหารถวายแด่พระสงฆ์ในการประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธ ศาสนา
การจัดภัตตาหารออกเป็น 2 ที่ คือ ถวายพระพุทธรูป 1 ที่ และถวายพระสงฆ์ 1 ที่
1. การถวายภัตตาหารแด่พระพุทธรูป ( ข้าวพระพุทธ ) เพื่อแสดงความระลึกและเคารพสักการะ
พระพุทธเจ้าบูชาคุณพระรัตนตรัย นาไปตั้งที่หน้าพระพุทธรูปโดยใช้ผ้าขาวปูรองพื้นก่อน
2. การถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ ( จัดอาหารเลี้ยงพระสงฆ์ ) เพื่อเป็นการทาบุญอุปถัมภ์แด่พระสงฆ์
พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ เนื้อสัตว์ที่ไม่ควรนามาเป็นอาหารถวายพระสงฆ์ 10 ชนิด คือ
1. มนุษย์ 2. ช้าง 3. ม้า 4. สุนัข 5. งู
6. ราชสีห์ 7.เสือโคร่ง 8. เสือเหลือง 9. หมี 10. เสือดาว

พิธีถวายภัตตาหารแด่พระพุทธรูป ( ข้าวพระพุทธ ) เริม่ ต้นว่า “ อิม สูปพยญฺชนสมฺปนฺน สาลีน โอทน ...”


คากล่าวลาข้าวพระพุทธ ดังนี้ “เสส มงฺคล ยาจามิ”
พิธีกล่าวคาถวายสังฆทาน (ภัตตาหาร) เริม่ ต้นว่า “อิมานิ มย ภนฺเต ภตฺตานิ สปริวารานิ ............”
3. การถวายสังฆทาน คือ การถวายทานแด่พระสงฆ์โดยไม่เจาะจง
เครื่องไทยธรรม คือ สิ่งของที่จะถวายแด่พระสงฆ์ 10 อย่าง ดังนี้
1. ภัตตาหาร
2. น้า เครื่องดื่มไม่ขัดต่อพระธรรมวินัย
3. ผ้า เครื่องนุ่งห่ม
4. ยานพาหนะ รวมถึงปัจจัยค่าพาหนะแก่พระสงฆ์
5. มาลัย ดอกไม้
6. ธูปเทียนบูชาพระ
7. สิ่งชาระร่างกาย เช่น สบู่ ยาสีฟัน
8. เครื่องที่นอนอันสมควรแก่พระสงฆ
9. ที่อยู่อาศัยและบริวาร เช่น เสนาสนะโต๊ะ
10. โคมไฟฟ้า
มิจฉาวณิชชา คือ การค้าขายที่ผิด / ไม่ชอบธรรม
พระพุทธเจ้าตรัสว่า บุคคลไม่ควรยึดถือเพราะเป็นอันตรายต่อมนุษย์ สัตว์ และสภาพแวดล้อม
ประกอบด้วย 1. สัตถวณิชชา คือ การค้าอาวุธ
2. สัตตวณิชชา คือ การค้ามนุษย์
3. มังสวณิชชา คือ การค้าเนื้อสัตว์
4. มัชชวณิชชา คือ การค้าน้าเมา การค้าสารเสพติด
5. วิสวณิชชา หมายถึง การค้าขายยาพิษ
4. การถวายผ้าอาบน้าฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) คือ ผ้าอาบน้าที่นามาถวายพระสงฆ์ในฤดูฝน
เหตุผลที่มา - นางวิสาขาทูลขออนุญาตจากพระพุทธเจ้าให้พระสงฆ์ได้มีผ้าเพิ่ม 1 ผืน
กระทา - ในระหว่าง แรม 1 ค่า เดือน 7 จนถึงวันขึ้น 15 ค่าเดือน 8

คากล่าวถวายผ้าอาบน้าฝน เริ่มต้นว่า “อิมานิ มย ภนฺเต วสฺสิกสาฏิกานิ .......”


กล่าวคาถวายผ้ากฐิน เริ่มต้นว่า
“ อิม ภนฺเต สปริวาร กฐินจีวรทุสสฺ .....”

5. การทอดกฐิน คือ การขึงผ้ากับไม้สะดึงให้ตึงแล้วจึงตัดเย็บ


นาไปถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ผอู้ ยู่จาพรรษาตลอด 3 เดือน
วิธีการปฏิบัติในการทอดกฐิน
1. ระยะเวลาทอดกฐิน เริ่มวันแรม 1 ค่า เดือน 11 - วันขึ้น 15 ค่า เดือน 12
2. วัดหนึ่งๆจะรับผ้ากฐินได้เพียงปีละครั้งเดียว
3. ผู้เป็นเจ้าภาพทอดกฐิน จะเป็นฆราวาสหรือพระสงฆ์ก็ได้แต่ต้องต่างวัดกัน
การทอดกฐินในไทย แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ
1. กฐินหลวง คือ กฐินที่กษัตริยพ์ ระราชทาน ณ วัดอารามหลวง
2. กฐินต้น คือ กฐินที่กษัตริยพ์ ระราชทาน ณ วัดราษฎร์
3. กฐินพระราชทาน คือ กฐินที่กษัตริยโ์ ปรดเกล้าฯให้รัฐบาลหรือเอกชนไปทอด ณ อารามหลวง
4. กฐินสามัคคี คือ กฐินที่ประชาชนจัดขึ้น ณ วัดราษฎร์
กล่าวคาถวายผ้าป่า เริ่มต้นว่า “เอตานิ มย
ภนฺเต ปํสกุ ูลจีวรานิ สปริวารานิ.......”

6. การทอดผ้าป่า (ผ้าบังสุกุล /ผ้าเปื้อนฝุ่น) คือ ผ้าที่ไม่มีเจ้าของวางทิ้งอยู่ตามป่า


หรือพาดอยูต่ ามกิ่งไม้
เหตุที่มา พระพุทธเจ้าไม่อนุญาตให้พระภิกษุสงฆ์รบั ผ้าไตรจีวร
ให้สาวกแสวงหาผ้าที่เขาวางทิ้งไว้/ผ้าห่อศพ
ประชาชนเห็นความลาบากของพระสงฆ์จึงเอาผ้าทาเป็นจีวรไปทอดทิง้
วิธีการปฏิบัติ เป็นสังฆทานไม่เจาะจงพระสงฆ์
ไม่มีการจากัดเวลา สามารถทอดได้ตลอดปี

You might also like