You are on page 1of 100

ข้าพเจ้ายากจนและขัดสน

ข้าแต่พระเจ้า โปรดทรงรีบมาช่วยข้าพเจ้าเถิด
พระองค์ทรงช่วยเหลือและประทานความรอดพ้นแก่ข้าพเจ้า
ข้าแต่พระยาห์เวห์ ขออย่าทรงรอช้าอยู่เลย (สดด 70: 5)

วิถีมหาไถ่ 1
เรียน ท่านสมาชิกกองทุนสนับสนุนกระแสเรียกที่เคารพ

ในนามของคณะพระมหาไถ่แห่งประเทศไทย ทางคณะฯ ขอพระพร


ของพระบิดาเจ้า องค์พระเยซูคริสตเจ้า องค์พระจิตเจ้า และแม่พระ ทรงพระ
กรุณาอวยพรทุกท่านและครอบครัว ด้วยพระพรแห่งสันติสุข พลานามัย
ปรีชาญาณ และความส�ำเร็จในกิจการงานต่างๆ ตลอดไป

หนังสือวิถีมหาไถ่ ซึ่งท่านก�ำลังถืออยู่นี้ ได้รับการปรับปรุงขึ้นด้วย


น�้ำพักน�้ำแรงของบรรดาสามเณรหรือบราเดอร์ของคณะพระมหาไถ่ บรรดา
สามเณรหรือบราเดอร์เหล่านี้ แท้จริงก็คือลูกหลานของท่านทุกๆ คน ทาง
คณะฯ ต้องขอขอบใจสามเณรหรือบรรดาบราเดอร์ทุกท่าน ที่ได้มีความคิด
ริเริ่ม ความคิดสร้างสรรค์ และเอาใจใส่รับผิดชอบในการจัดท�ำหนังสือฉบับ
นี้ จนท�ำให้หนังสือฉบับนี้กลายเป็นจริงขึ้นมา อย่างสวยงาม

2 วิถีมหาไถ่
ท่านนักบุญอัลฟอนโซ ได้เป็นผู้เขียนหนังสืออย่างมากมาย อาทิ
เช่น หนังสือเกี่ยวกับการเฝ้าศีล การภาวนา และแม่พระ ดังนั้นเช่นเดียวกัน
บรรดาสามเณรหรือบราเดอร์ ผูเ้ ป็นลูกหลานของท่านนักบุญอัลฟอนโซ ก็ได้
ด�ำเนินตามจิตตารมณ์ของท่าน ในการจัดท�ำหนังสือนี้ เพื่อให้หนังสือวิถี
มหาไถ่นี้ ได้เป็นสื่อแห่งความรักเมตตาของพระเจ้าที่มีต่อทุกท่าน หนังสือ
นี้ จะเป็นสื่อในการมอบค�ำภาวนา ข่าวสารต่างๆ และสร้างความสัมพันธ์อัน
ดีระหว่างทุกๆ ท่านกับคณะฯ เพราะทุกท่านคือ ผู้มีพระคุณอย่างล้นเหลือ
ต่อกระแสเรียกในชีวิตนักบวชของคณะฯ

การที่บุคคลหนึ่งได้สนับสนุนกระแสเรียก ไม่ว่าจะมากน้อยเพียงใด
น�้ำจิตน�้ำใจคือสิ่งที่งดงามแล้วในสายพระเนตรของพระเจ้า ซึ่งก็เท่ากับท่าน
ได้ช่วยเป็นท่อธารให้พระพรของพระเจ้าได้เกิดขึ้น ท่านคือบุคคลที่ได้เป็น
เสมือนบิดามารดาของการให้กำ� เนิดกระแสเรียก และเลีย้ งดูกระแสเรียกของ
นักบวช ให้เจริญเติบโตและด�ำเนินต่อไป ไม่สูญหาย ท่านจึงเป็นบุคคลที่ได้
ช่วยท�ำให้ชีวิตพระและพระพรของพระองค์ได้คงอยู่ตลอดไป ในท่ามกลาง
มนุษยชาติ

ทางคณะฯ จึงขอขอบพระคุณทุกๆ ท่านมา ณ ที่นี้ และขอให้องค์


พระบิดาเจ้า องค์พระเยซูคริสตเจ้า องค์พระจิตเจ้าและแม่พระอวยพรทุก
ท่าน ขอให้สันติสุขของพระ และสิ่งที่ดีงามทั้งหลาย จงสถิตในจิตใจ ในชีวิต
และครอบครัวของทุกท่านเสมอไปด้วย
ในองค์พระคริสตเจ้าและแม่พระ

(คุณพ่อสมพงษ์ เตียวตระกูล, C.Ss.R.)


อธิการเจ้าคณะพระมหาไถ่แห่งประเทศไทย

วิถีมหาไถ่ 3
วารสารวิถีมหาไถ่ ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
เจ้าของ : คณะพระมหาไถ่แห่งประเทศไทย ที่ปรึกษา: คุณพ่อสมพงษ์ เตียวตระกูล
/ คุณพ่อประเสริฐ โลหะวิริยศิริ / คุณพ่อจักรายุทธ์ ปาละลี / คุณพ่อชาย ขัณฑะ-
โฮม บรรณาธิการ: วิศิษฐ์ แสงสว่าง กองบรรณาธิการ: เณรใหญ่คณะพระมหาไถ่
สามพราน ศิลปกรรม-กราฟฟิก โสภณ เจียรนัยกุล / สุดเดช เมฆอารี ออกแบบ
ปก: Jedsada Noreeratana พิสูจน์อักษร: พีรภัทร วิจิตรวงศ์ / ธนาวุฒิ ชมภูจันทร์
จัดพิมพ์: กรรมการวิชาการ 1/2553 ส�ำนักงาน: OMPH MEDIA CENTER บ้านนักบุญ
อัลฟอนโซ คณะพระมหาไถ่ สามพราน 71 ม. 6 ต.ท่าข้าม อ.สามพราน จ.นครปฐม
73110 โทร. 0-2429-0185 แฟกซ์: 0-2812-5406 Homepage: http://www.cssr.or.th

4 วิถีมหาไถ่
ท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน
ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจของ
หลายๆ ฝ่าย วิถีมหาไถ่ก็กลับมาพบกับ
ท่านผู้อ่านอีกครั้งหนึ่ง หลังจากหายหน้า
หายตาไปกว่าสองปี
ท่านผูอ้ า่ นครับสองปีทวี่ ถิ มี หาไถ่
หายไป โลกเรารวมทั้งประเทศของเราไม่
ได้หยุดอยู่กับที่เหมือนหนังสือเล่มนี้ แต่
ทุกสิ่งทุกอย่างยังคงก้าวเดินต่อไปเรื่อยๆ
มีหลายสิ่งหลายอย่างที่เกิดขึ้น มีหลายสิ่ง
หลายอย่างเปลี่ยนแปลงไป สังคมของเรา
ก็เปลี่ยนแปลงครับ สังคมของเราโตขึ้น มี
ความหลากหลายมากขึน้ มีประชากรมาก
ขึ้น แต่สิ่งหนึ่งที่เราพบก็คือ มีคนจนเพิ่ม
มากขึ้นตามไปด้วย แม้ตามรายงานต่างๆ
จะระบุว่าคนจนลดลง แต่ในความเป็นจริง
เมื่อเรามองไปทางไหนเราก็เห็นคนจน มิ
หน�ำซ�ำ้ ยังถูกทอดทิง้ อีก ซึง่ นับวันยิง่ มีมาก
ขึ้น มากขึ้น
คณะพระมหาไถ่ถกู ตัง้ ขึน้ มาเพือ่
ช่วยคนยากคนจน คนที่ถูกทอดทิ้ง ด้วย
เหตุนี้ เราจึงเลือกที่จะท�ำวิถีมหาไถ่ฉบับ
รีเทิร์น โดยใช้หัวข้อความยากจน โดย
เฉพาะความยากจนในชีวติ นักบวช เพราะ
ถ้าเราไม่รู้จักความยากจน เราก็จะไม่มีวัน
เข้าใจคนจน และนีค่ อื งานของเรา ชาวพระ
มหาไถ่ทุกคน
บรรณาธิการ
วิถีมหาไถ่ 5
1) นักบวชคือใคร?
นักบวชคือใคร? ต่างจากสงฆ์อย่างไร? ค�ำถามนีม้ กั จะได้ยนิ เสมอๆ
ตอบง่ายๆ นักบวช คือ ฆราวาสชายหญิงที่ปรารถนาจะด�ำเนินชีวิตของตน
ให้เหมือนชีวิตของพระเยซูเจ้าให้มากที่สุด พวกเขาจึงได้อุทิศตนเป็นผู้รับใช้
พระองค์ในการท�ำงานต่างๆ ในส่วนชีวิตจิตแล้ว พวกเขาปรารถนาจะเลียน
แบบชีวิตของพระคริสตเจ้าและอยากใกล้ชิดพระองค์ให้มากที่สุดเท่าที่จะ
ท�ำได้
ค�ำว่า นักบวช จึงต่างจาก ชีวติ การเป็นสงฆ์ นักบวชผูกมัดตนเองกับ
ค�ำปฏิญาณ (Vows) แต่สงฆ์ผูกมัดตนเองทางพิธีศักดิ์สิทธิ์ที่เรียกว่า พิธีบวช
(The Sacrament of Orders) และเงื่อนไขของสงฆ์ต้องเป็นเพศชายเท่านั้น
แต่นักบวชมีทั้งเพศชายและหญิง ชีวิตนักบวชได้มีพัฒนาการเพิ่มขึ้นอีกคือ
นักบวชชายทีม่ คี วามสามารถในการศึกษาปรัชญา เทววิทยา และเพราะสังคม
เรียกร้อง พวกเขาจึงศึกษาเล่าเรียนจนเหมาะสมทีจ่ ะรับพิธบี วชเป็นพระสงฆ์
ด้วย ดังนั้น จึงเกิดมีนักบวชชายที่เป็นสงฆ์ท�ำงานด้านพิธีกรรมด้วย

6 วิถีมหาไถ่
2) เป้าหมายของชีวิตนักบวชที่
เกี่ยวกับความยากจน
ค� ำ สอนของพระเยซูเ จ้า
เรื่ อ งความยากจนนั้ น ชั ด เจนใน
ชี วิ ต ของพระองค์ แ ละมี บั น ทึ ก
ในพระวรสาร เช่น เมื่อพระองค์
สอนถึงแนวทางของความสุขแท้
พระองค์ตรัสว่า..... ผู้มีใจยากจนก็เป็นสุข..เพราะอาณาจักรสวรรค์เป็นของ
เขา (มธ 5: 3 ) มนุษย์ทุกคนปรารถนาความสุขในชีวิตแต่เขาก็พบว่าโลกไม่
ได้ให้ความสุขแท้เลย นักบวชเชื่อมั่นว่าถ้าหากเขาเลียนแบบพระเยซูเจ้าใน
การปฏิเสธค่านิยมของโลกด้วยการตัดใจพึ่งพาพระเจ้ามากกว่าสิ่งของ เขา
ก็จะพบความสุข นอกนั้นพระองค์ยังยืนยันอีกว่า เป็นการยากที่คนรวยจะ
เข้าอาณาจักรสวรรค์ (ลก 18: 23-25) นี่ก็ยิ่งท�ำให้เขาเชื่อมั่นว่าทางเดียวที่
เขาจะได้ความสุขในชีวิตคือทางแห่งการปฏิเสธค่านิยมของคนรวยและหัน
มาถือค่านิยมและความเชื่อมั่นในความยากจนที่พระองค์สอน

3) ความยากจนในภาคปฏิบัติของนักบวช
นักบวชด�ำเนินชีวิตแห่งความยากจนในภาคปฏิบัติ คือ
1) ถือว่าทุกสิง่ เป็นของส่วน
รวม เป็นของคณะ ดังจิตตา
รมณ์ของคริสตชนในยุคแรก ที่
ไม่ถือว่าสิ่งของต่างๆ เป็นของ
ตน แต่น�ำมาเป็นของส่วนรวม
(กจ 4: 32) จิตตารมณ์ของการ
แบ่งปันจึงเป็นส่วนหนึง่ ในชีวติ
นักบวช เพราะเขาเชื่อว่าเมื่อมี

วิถีมหาไถ่ 7
การแบ่งปันทุกคนก็มีพอเพียงในการด�ำเนินชีวิต
2) ถื อ ว่ า สิ่ ง ที่ มี นั้ น เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ สั ง คมที่ ย ากจน ดั ง นั้ น เขาจะใช้
ทรัพย์สินต่างๆ เพื่อช่วยเหลือคนจน เพราะปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่า
สังคมรอบข้างยังมีคนหิวโหยและต้องการความช่วยเหลือ (มธ 19:
21) นักบวชจึงใช้สิ่งของที่มีเพื่อจรรโลงสังคมที่หิวโหยด้วย
3) ด�ำเนินชีวติ ด้วยการเป็นพยานถึงค่าของความยากจนให้ชาวโลกได้
ประจักษ์ว่าความจนก็มีคุณค่าในตัวมันเอง ในภาคปฏิบัตินักบวช
จึงท�ำการปฏิญาณและลงชื่อมอบทรัพย์สินต่างๆ ที่เขาอาจจะมี ให้
เป็นของส่วนรวม และโดยส่วนตัวก็ด�ำเนินชีวิตในลักษณะที่ไม่เป็น
เจ้าของสิ่งใด

สรุป เมือ่ ฆราวาสคนหนึง่ ปรารถนาจะด�ำเนินชีวติ ทีม่ คี วามหมาย


และท�ำให้ความเชือ่ ของเขาครบครัน การเป็นนักบวชคือทางเลือกของเขา แต่
ทางชีวติ สายนีจ้ ะเกิดขึน้ ได้อย่างแท้จริง บุคคลนัน้ จ�ำเป็นต้องมีความเชือ่ มัน่
ในค�ำสอนของพระเยซูเจ้าอย่างลึกซึ้งและเอาจริงเอาจังกับค�ำสอนนั้น ด้วย
การน�ำมาเป็นภาคปฏิบตั ใิ นชีวติ จริง เพราะปฏิเสธไม่ได้วา่ นักบวชบางคนแม้
ได้ปฏิญาณแล้วก็ยงั ไม่พบคุณค่าและความหมายทีแ่ ท้จริงของความยากจน
เลย เพราะเหตุใด? ค�ำตอบ
คือ เพราะความเชื่อในพระ
วาจาของพระเยซูเจ้ายังไม่
หยั่ ง รากลึ ก ในหั ว ใจของ
เขาตามที่ควรจะเป็น แล้ว
ท่านล่ะ เชื่อหรือไม่ว่า พระ
เยซูเจ้าไม่เคยโกหก รวมทั้ง
เรือ่ งทีว่ า่ ใครก็ตามทีม่ จี ติ ใจ
ยากจนก็เป็นสุข

8 วิถีมหาไถ่
หนึ่งในศีลบนสามประการที่บรรดานักบวช รวมทั้งสมาชิกใน
คณะพระมหาไถ่ได้ปฏิญาณถือปฏิบตั คิ อื ความยากจน สมาชิกถือศีลบน
นี้ ก็เพื่อเลียนแบบพระเยซูคริสต์ “แม้พระองค์ทรงร�่ำรวย พระองค์ยัง
ทรงยอมกลายเป็นคนยากจนเพราะเห็นแก่เรามนุษย์ เพือ่ เราจะได้ร�่ำรวย
เพราะความยากจนของพระองค์” (เทียบ 2 คร 8: 9/ ธรรมนูญ # 61)
การถื อ ศี ล บนความยากจนนี้ มิ ไ ด้ ห มายถึ ง การด� ำ เนิ น ชี วิ ต
แบบ อดๆ อยากๆ อดมื้อกินมื้อ แต่หมายถึงการด�ำเนินชีวิตแบบเรียบ
ง่าย แบ่งปันทรัพย์สิน ความสามารถ รายได้ต่างๆที่สมาชิกหามาได้
เก็บไว้เป็นส่วนกลางโดยมีสมาชิกผู้หนึ่ง
(minister) ทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากหมูค่ ณะ
(community) เป็นผู้ดูแล และใช้ชีวิตร่วม
กั น ฉั น พี่ ฉั น น้ อ งซึ่ ง เป็ น ภาพสะท้ อ นถึ ง
ชีวิตกลุ่มของคริสตชนในศตวรรษแรกๆ
(เทียบ กจ 4:32/ ธรรมนูญ # 62)

วิถีมหาไถ่ 9
แม้ว่าคณะอนุญาตให้สมาชิกและ
หมูค่ ณะสามารถปรับตัวให้เข้าสถานการณ์
ใหม่ๆ ในการถือศีลบนความยากจน แต่
เขาจะต้องตระหนักถึงรูปแบบดั้งเดิมตาม
จิตตารมณ์ของพระวรสาร (ธรรมนูญ #
63) ดังนั้นสมาชิกต้องด�ำเนินชีวิตเยี่ยง
คนยากจนเช่นเดียวกับพระเยซูคริสต์ นัก
เทศน์พเนจร ไม่ยึดติดในทรัพย์สิน หน้าที่
การงานหรือแม้แต่สถานที่ ในฐานะที่เป็น
คนจน สมาชิกจะต้องท�ำหน้าที่ของเขาสุด
ความสามารถเพื่อการด�ำรงชีวิตของเขา
และหมู่คณะ (ธรรมนูญ # 64)
ในการถือศีลบนความยากจนนี้นอกจากจะช่วยสมาชิกไม่ให้ยึด
ติดกับอัตตาหรือตัวตนแล้ว ยังช่วยสมาชิกปรับตัวเข้ากับการประกาศ
ข่าวดี ตามสถานการณ์ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และรับใช้ประชากร
ของพระเจ้าได้ง่ายขึ้น (เทียบธรรมนูญ # 67)
ในปัจจุบนั การถือศีลบนความยากจนมีความยากเพิม่ ขึน้ เพราะ
ปัจจุบนั เป็นยุคของวัตถุนยิ ม บริโภคนิยม สุขนิยม การประจญล่อลวง
มีอยู่ทั่วไป จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่สมาชิกจะต้องมีความยากจนด้านจิตใจ
ก่อน (poverty in spirit เทียบ # 68) เขาถึงจะสามารถถือความยากจน
ทางวัตถุได้ เขาจะต้องตระหนักอยู่
เสมอว่ า ชี วิ ต และแม้ แ ต่ ล มหายใจก็
มิใช่ของเขา เพราะสิ่งเหล่านี้เป็น
ของพระเจ้า ในฐานะที่สมาชิกคณะ
พระมหาไถ่เป็นพระผู้ไถ่อีกองค์หนึ่ง
(another Christ) เขาจ�ำเป็นทีจ่ ะต้อง

10 วิถีมหาไถ่
“ในฐานะที่สมาชิกคณะพระมหาไถ่เป็นพระผู้ไถ่อีกองค์หนึ่ง
เขาจำ�เป็นที่จะต้องผูกติดกับพระเยซูคริสต์
และเป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์”
ผูกติดกับพระเยซูคริสต์และเป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์ ดังที่พระองค์ตรัส
ว่า “เราเป็นเถาองุน่ แท้ และพระบิดาของเราทรงเป็นชาวสวน กิง่ ก้านใด
ในเราทีไ่ ม่เกิดผล พระองค์จะทรงตัดทิง้ เสีย กิง่ ก้านใดทีเ่ กิดผล พระองค์
จะทรงลิด เพื่อให้เกิดผลมากขึ้น” (ยน 15: 1-2) เพราะฉะนั้นเขาจะ
ต้องร�ำพึงและน�ำค�ำสอนของพระเยซูคริสต์มาปฏิบัติจนเป็นชีวิตของเขา
เหมือนนักบุญเปาโลที่กล่าวว่า “ข้าพเจ้าถูกตรึงกางเขนกับพระคริสต
เจ้าแล้ว ข้าพเจ้ามีชีวิตอยู่ มิใช่ตัวข้าพเจ้าอีกต่อไป แต่พระคริสตเจ้า
ทรงด�ำรงชีวิตอยู่ในตัวข้าพเจ้า ชีวิตที่ข้าพเจ้าก�ำลังด�ำเนินอยู่ในร่างกาย
ขณะนี้ ข้าพเจ้าด�ำเนินชีวิตในความเชื่อถึงพระบุตรของพระเจ้าผู้ทรงรัก
ข้าพเจ้าและทรงมอบพระองค์เพื่อข้าพเจ้า” (กท 2: 20)
การถือศีลบนความยากจนจึงเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะช่วย
ให้สมาชิกคณะพระมหาไถ่เป็นพระมหาไถ่ที่สมบูรณ์อีกองค์หนึ่ง การ
ปฏิบัติตามศีลบนความยากจนจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นและมีความส�ำคัญต่อ
สมาชิกคณะมหาไถ่อย่างมาก ดังค�ำพูดนักบุญอัลฟอนโซ บิดาของเรา
ที่ว่า “เมื่อความยากจนไป ทุกสิ่งทุกอย่างก็ไปด้วย” (When poverty
goes, everything goes.)

วิถีมหาไถ่ 11
ค�ำภาวนาของกบ
เด็กผู้ชายสามคน ถูกน�ำตัวมาขึ้นศาลในข้อหาขโมยแตงโม และพวกเขาเกิดความ
ประหม่าอย่างยิง่ เมือ่ ต้องมาอยูต่ อ่ หน้าผูพ้ พิ ากษา ผูซ้ งึ่ ขึน้ ชือ่ เรือ่ งความเข้มงวด เมือ่
เวลาตัดสินมาถึง ผู้พิพากษาได้ใช้ไม้เคาะโต๊ะและประกาศออกมาว่า “ใครที่ไม่เคย
ขโมยแตงโมสักลูกเมื่อตอนเป็นเด็ก กรุณายกมือขึ้น” เขารอจนกระทั่งเวลาผ่าน
ไปสักพักก็พบว่า ทั้งพนักงานในศาล, ต�ำรวจ, ผู้ที่เข้ามาร่วมฟังค�ำตัดสิน หรือ
แม้แต่ตัวของผู้พิพากษาเองก็ไม่มีใครยกมือ เขาจึงประกาศว่า “คดีเป็นโมฆะ”

แม่: “ลูกรู้รึเปล่าว่า พระเจ้าอยู่ที่นั่นด้วยนะตอนที่ลูกขโมยคุกกี้จากห้องครัว”


ลูก: “ครับ”
แม่: “และพระองค์ก็จ้องมองลูกอยู่ตลอดเวลาด้วย”
ลูก: “ครับ”
แม่: “และลูกรู้รึเปล่าว่าพระองค์อยากบอกอะไรกับลูก”
ลูก: “พระองค์บอกว่า ไม่มีใครอยู่ที่นี่หรอก มีแค่เราสองคน...เอามาสองชิ้น”

เมื่อแม่เห็นผลคะแนนลูกจึงถามว่า “ท�ำไมแนนนี่ถึงได้คะแนนมากกว่าลูกทุกครั้ง
ทั้งๆ ที่เขามีอายุน้อยกว่าลูก”
ลูกจึงตอบว่า “ผมคิดว่า พ่อแม่ของแนนนี่ต้องเป็นคนที่ฉลาดแน่เลย”

ที่มา: The Prayer of the Frog Volume - II


แปลและเรียบเรียงโดย สายลมที่พัดผ่าน

12 วิถีมหาไถ่
ศึกษาไตร่ตรองเรื่อง ANAWIM (อนาวิม)
จากสดุดีที่ 37 ข้อ 1-11
ของกษัตริย์ดาวิด
อาเลฟ 1 อย่าได้เดือดเนื้อร้อนใจเรื่องคนเลวร้าย
หรืออิจฉาริษยาผู้ที่กระท�ำผิด
2 เขาจะเหี่ยวแห้งไปอย่างรวดเร็วเหมือนต้นหญ้า
จะร่วงโรยเหมือนพืชเขียวในทุ่งนา
เบท 3 จงวางใจในพระยาห์เวห์และท�ำความดี
จงพ�ำนักอยู่ในแผ่นดิน และอยู่เย็นเป็นสุข
4 จงปีติยินดีในพระยาห์เวห์
แล้วพระองค์จะประทานให้ตามที่ใจของท่าน
ปรารถนา
กีเมล 5 จงฝากชะตากรรมของท่านไว้กับพระยาห์เวห์
จงวางใจในพระองค์ แล้วพระองค์จะทรงจัดการเอง

วิถีมหาไถ่ 13
6 พระองค์จะทรงบันดาลให้ความชอบธรรมของท่านส่อง
สว่างเหมือนแสงอรุณ
และความยุติธรรมของท่านเหมือนแสงตะวันเวลา
เที่ยง
ดาเลท 7 จงสงบเงียบเฉพาะพระพักตร์พระยาห์เวห์และเฝ้ารอ
พระองค์
อย่าเดือดเนื้อร้อนใจเมื่อใครสักคนประสบความ
ส�ำเร็จโดยใช้เล่ห์กล
เฮ 8 จงระงับโทสะและเลิกโกรธเสีย
อย่าเดือดเนื้อร้อนใจ เพราะไม่เกิดประโยชน์อันใด
9 คนเลวร้ายย่อมถูกก�ำจัดให้หมดสิ้น
แต่ผู้ที่วางใจในพระยาห์เวห์ย่อมได้รับแผ่นดินเป็น
มรดก
วาว 10 รอสักนิดเถิด แล้วคนเลวร้ายจะไม่มีอีก
ท่านจะค้นหาเขาที่ไหน ก็จะหาเขาไม่พบ
11 คนยากจนจะได้รับแผ่นดินเป็นมรดก
เขาจะอยู่เย็นเป็นสุขอย่างมาก

• โครงสร้างของเพลงสดุดี 11 ข้อแรกนี้ จบลงในข้อที่ 11 ด้วย คนอ่อน


โยน (ภาษาฮีบรูใช้ค�ำว่า “Anawim”) จะได้รับแผ่นดินเป็นมรดก ค�ำแปล
อาจจะมีปญั หาเล็กน้อยเพราะใช้คำ� ว่าคนยากจนเป็นค�ำแปลส�ำหรับค�ำว่า
Anawim ซึง่ ค�ำ Anawim ในภาษาฮีบรูมคี วามหมายมากกว่าความยากจน
• ดูค�ำแปลเปรียบเทียบ

14 วิถีมหาไถ่
RSV
Psalm 37:11 But the meek (anawim) shall possess the land,
and delight themselves in abundant prosperity.

Psalm 36:11 oi` de. praei/j klhronomh,sousin gh/n


LXT

kai. katatrufh,sousin evpi. plh,qei eivrh,nhj

WTT
Psalm 37:11

• ภาษาฮีบรูใช้ค�ำว่า “Anawim” อย่างชัดเจน ในความหมายนี้ไม่ได้หมาย


ถึงคนจน แต่ หมายถึงกลุ่มคนที่รอคอยพระเจ้าด้วยความเพียร
ทน คนที่มีความอ่อนโยน คือเปี่ยมด้วยความหวังในการรอคอย
พระเจ้าให้พระองค์เสด็จมา
• (Anaw) รากภาษาฮีบรูของค�ำว่า (Anawim) มี
ความหมายสี่ประการที่ส�ำคัญทางรากศัพท์ คือ poor, afflicted,
humble, and meek
1. poor, needy
2. poor and weak, oppressed by rich and powerful
3. poor, weak and afflicted Israel
4. humble, lowly, meek (Moses)

วิถีมหาไถ่ 15
• ใน 11 ข้อแรกของสดุดบี ทนี้ ปรากฏรากภาษาฮีบรูเป็น “ค�ำสัง่ ” (Impera-
tive) 14 ค�ำสัง่ ด้วยกัน (ชัดในภาษาฮีบรูเท่านัน้ เพราะเป็นภาษาต้นฉบับ)
• “คนอ่อนโยน” (Anawim) ในบทสดุดีนี้คือ คนที่อยู่ในสภาพของ
ความยากล�ำบาก การกดขี่รุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่เขา
ต้องเผชิญหน้ากับคนชั่วร้าย (จงสงบเงียบเฉพาะพระพักตร์พระ
ยาห์เวห์และเฝ้ารอพระองค์ อย่าเดือดเนื้อร้อนใจเมื่อใครสักคนประสบ
ความส�ำเร็จโดยใช้เล่ห์กล ข้อ 7)
• คนอ่อนโยน ไม่ได้หมายถึงความอ่อนแอ แต่เป็นการเผชิญหน้ากับ
ความรุนแรง ความโกรธแค้น ที่คนอ่อนโยนสามารถต่อสู้ยืนหยัด
ได้กบั คนชัว่ หรือคนอยุตธิ รรมทีร่ นุ แรงกับเขา คนอ่อนโยนไม่หวัน่
ไหวแต่อย่างใด
• คนอ่อนโยนได้เช่นนีต้ ามบทสดุดี “คนอ่อนโยน นัน้ คือ คนทีม่ คี วามหวัง
ในพระเจ้า” (Hope or Trust in the Lord) คนเช่นนี้จะสามารถยืนหยัด
ได้ เราเห็นได้จาก “ค�ำสั่งแปดประการ” ด้วยกันคือ

1. จงวางใจในพระยาห์เวห์ และ
2. จงท�ำความดี
3. จงพ�ำนักอยู่ในแผ่นดิน และอยู่เย็นเป็นสุข
4. จงปีติยินดีในพระยาห์เวห์
5. จงฝากชะตากรรมของท่านไว้กับพระยาห์เวห์
6. จงวางใจในพระองค์ แล้วพระองค์จะทรงจัดการเอง
7. จงสงบเงียบเฉพาะพระพักตร์พระยาห์เวห์ และ
8. จงเฝ้ารอพระองค์

16 วิถีมหาไถ่
• เราจะเห็นว่าท่าทีแปดประการนีเ้ ป็นจ�ำนวนทีน่ า่ ไตร่ตรองอย่างยิง่ ท�ำให้
เห็นธรรมชาติของคนที่มีความหวังในพระเจ้า ยึดมั่นอยู่ในพระเจ้าเป็น
ส�ำคัญที่สุด เป็น Anawim ที่แท้จริง คือ สุภาพ ถ่อมตน และอ่อนโยน
ที่สุด เปี่ยมด้วยความหวังมากที่สุดด้วย
• “การได้รบั แผ่นดินเป็นมรดก” ความหมายของพันธสัญญาเดิม “ทีด่ นิ ”
นีห้ มายถึงแผ่นดินแห่งพันธสัญญา “คานาอัน” แผ่นดินทีพ่ ระเจ้าประทาน
ให้กับอับราฮัมและบุตรหลาน (ปฐก 12:7) และในการที่พระเจ้าเรียก
โมเสสนัน้ พระเจ้าประกาศเจตนาทีจ่ ะปลดปล่อยประชากรของพระองค์
จากแดนทาสในอียิปต์ เพื่อน�ำกลับไปยังแผ่นดินที่อุดมด้วยน�้ำผึ้งและ
น�ำ้ นม (อพย 3:8 เทียบ 3:17) เราเห็นภาพชัดทีส่ ดุ ว่าตลอด 40 ปีของการ
เร่รอ่ นในถิน่ กันดารนัน้ มีเป้าหมายทีม่ งุ่ ไปสูแ่ ผ่นดินแห่งพันธสัญญาผืนนี้
• ความหมายของการได้แผ่นดินเป็นมรดกในทีน่ ี้ ไม่ได้หมายถึงแผ่นดินคา
นาอันโดยตรง แต่เป็นภาษาเปรียบเทียบ เป็นทรัพย์สมบัตแิ ท้ หมายถึง
ชีวิตในสันติสุขและเต็มเปี่ยมด้วยความชื่นชมยินดี
• ไม่ได้หมายถึงแผ่นดินที่เป็นรูปธรรมภายนอก แต่หมายถึงความมั่นคง
แท้จริงที่ท�ำให้มีชีวิตและเป็นบ่อเกิดที่ท�ำให้ชีวิตเกิดผลอย่างแท้จริง

วิถีมหาไถ่ 17
พระเยซูเจ้าคือ Anawim ที่แท้จริง “ความอ่อนโยนของพระเยซูเจ้า”

• ให้เราพิจารณาไตร่ตรองต้นแบบแห่งความอ่อนโยน คือ “พระเยซู”


จากพระวาจาสองตอนที่ยกมา

• มธ 11:29 จงรับแอกของเราแบกไว้ และมาเป็นศิษย์ของเรา เพราะ


เรามีใจสุภาพอ่อนโยนและถ่อมตน จิตใจของท่านจะได้รบั การพัก
ผ่อน
• มธ 21:5 จงบอกธิดาแห่งศิโยนว่า ดูซิ กษัตริย์ของท่านเสด็จมา
พบท่าน มีพระทัยอ่อนโยน ประทับบนแม่ลา บนลูกลา สัตว์ใช้
งาน ปกติกษัตริย์จะประทับบนหลังม้าหรือรถม้า เป็นเครื่องหมายของ
ความห้าวหาญ ก�ำลัง อ�ำนาจ ทางสงคราม แต่พระเยซูเจ้าทรงลาเป็น
เครื่องหมายของความถ่อมตน อ่อนโยน และไม่มีความรุนแรง

ไตร่ตรองตรองสู่ชีวิตคริสตชน

• พิจารณาความหมายของ “Anawim” อีกครั้ง คือ ยากจน ถูกกดขี่


สุ ภ าพถ่ อ มตน และอ่ อ นโยน
หมายความว่าอย่างไร
• พระเยซูเจ้าคือต้นแบบ
ใช่ไหม “เพราะเรามีใจอ่อนโยน
และถ่อมตน” พระเยซูเจ้าจะ
เป็นต้นแบบให้กับเราจริงๆ โดย
เฉพาะการยอมรับพระประสงค์
ของพระเจ้ า “พระบิ ด าเจ้ า ข้ า

18 วิถีมหาไถ่
พระองค์ท�ำได้ทุกสิ่ง ถ้าเป็นไปได้ โปรดให้.... แต่ขอให้เป็นไปตามพระ
ประสงค์ของพระองค์เถิด”
• “ความอ่อนโยนคือผลของพระจิตเจ้า” คิดอย่างไรเรือ่ งศีลล้างบาปที่
เราได้รับ คิดอย่างไรเรื่องศีลก�ำลังที่เราได้รับ?
• “ความอ่อนโยน จ�ำเป็นเพื่อสามารถรักษาเอกภาพความเป็น
หนึ่งเดียวกันในพระคริสตเจ้า” เวลาที่มีความแตกแยกไม่ว่าที่ใดๆ
เปาโลมักจะเน้นค�ำนี้เสมอ “จงถ่อมตนอยู่เสมอ จงมีความอ่อนโยน
พากเพียรอดทนต่อกันด้วยความรัก” (อฟ 4:2) เรือ่ งนีเ้ ป็นจริงในหมู่
คณะของเราไหม เป็นจริงในชีวิตของเราแต่ละคนไหม อย่าลืมว่าเปาโล
พูดเตือนมโนธรรมคนทีก่ ำ� ลังแตกแยกกันว่า “ท่านเป็นผูท้ พี่ ระเจ้าทรง
เลือกสรร” ต้องเห็นอกเห็นใจกัน
• เรามีความเห็นใจกันเพียงใด?
• คนอ่อนโยนคือคนที่ “รู้จักควบคุมอารมณ์ ความโกรธ” ของตนเอง
ไม่มีค�ำอธิบายใดๆ นอกจากต้องพิจารณาตัวเองจริงๆ เท่านั้น และอย่า
ลืมสอบถามเพื่อนพี่น้องบ้างว่าเราเป็นอย่างไร?
• แปลกไหมที่จากการไตร่ตรองพระคัมภีร์ท�ำให้เราพบว่า “ความอ่อน
โยน” คือ “พลัง” (Paradox) จ�ำได้ไหมว่าพระยาห์เวห์เมื่อเสด็จมาพบ
เอลียาห์นั้น พระองค์เสด็จมาในเสียงลมที่แผ่วเบาเหลือเกิน (ในความ
รุนแรงหลายอย่างที่โฮเรบ แต่พระยาห์เวห์ไม่ได้สถิตอยู่ในไฟ แผ่นดิน
ไหว หรือพายุ)
• “ความอ่อนโยนจะสามารถท�ำให้เราสามารถท�ำตนเสมอภาคกับ
ทุกคน” คิดอย่างไร
• “ปรีชาญาณแท้ คือ ความสามารถในการควบคุมตนเอง” ความ
อ่อนโยน แสดงตนออกเป็น “ความเมตตา” (Misericordia) คือ การ
เห็นความทุกข์ยาก สงสาร และท�ำอะไรบางอย่างเพือ่ ช่วยเหลือไม่ใช่หรือ

วิถีมหาไถ่ 19
• คิดอย่างไรกับความคิดที่ว่า ความอ่อนโยนคืออิสรภาพจากการใช้
อารมณ์ คือ ไม่เป็นทาสของอารมณ์และความโกรธ (เราอาจจะต้อง
ร่วมกันสร้างบุคลิกภาพคริสตชนกันหน่อยจะดีไหม - ปัจจุบนั นีท้ างสังคม
โลก แม้แต่ธุรกิจ เขาเน้นเรื่องนี้กันมากๆ เขาใช้ค�ำว่า “Performance”
ซึ่งหมายถึง การกระท�ำ การปฏิบัติตามสัญญา)
• Trust in the LORD, and do good. เราหวังวางใจในพระเจ้าหรือไม่ ค�ำ
ตอบทีจ่ ะได้จากพวกเราคือ เราต้องเชือ่ และหวังในพระเจ้าอย่างแน่นอน
แต่คำ� ถามทีเ่ ป็นการยืนยันความหวังวางใจของเราในพระเจ้า คือ กิจการ
ที่เรากระท�ำนั้นดีหรือไม่?
• Commit your way to the LORD. เราเป็นเช่นนี้หรือเปล่า หรือเรา
วางใจเฉพาะในหนทาง วิธกี ารท�ำงาน ความคิดอ่านของเราเองเท่านัน้ ?
• Be still before the LORD. เรามีความมัน่ คงเพียงใดในการแสดงความ
หวังและวางใจในพระเจ้า
• Anawim ย่อมได้รับแผ่นดินเป็นมรดก คือ คนอ่อนโยน สุภาพ อยู่
ที่ไหนก็ได้ในโลกและในใจคนอื่นๆ
• ดังนั้น ความเป็น Anawim ย่อมต้องเป็นธรรมชาติของศิษย์ของ
พระคริสตเจ้าทุกคน “จงรับแอกของเราแบกไว้ และมาเป็นศิษย์
ของเรา เพราะเรามีใจสุภาพอ่อนโยนและถ่อมตน”

20 วิถีมหาไถ่
นับเป็นโชคดี (หรือไม่) ของกอง บก. ที่ได้ไปสัมผัสชีวิต
และเรียนภาษาอังกฤษที่เมืองบังกาลอร์ รัฐคานาตากะ ประเทศ
อินเดีย เป็นระยะเวลานานถึง 3 เดือน (นานจริงๆ นะครับ) ทาง
ทีมงานก็ตงั้ ใจว่าจะต้องหาอะไรเป็นของฝากกลับมาฝากแฟนคลับ
วิถีมหาไถ่ทุกท่าน หลังจากหายหน้าหายตาไปกว่าสองปี
พวกเราไปพักอยู่ที่บ้านเยราร์ด ซึ่งเป็นบ้านพักพระสงฆ์
ชรามีคุณพ่ออรุลเป็นอธิการบ้าน ทุกวันพวกเราต้องเดินไปเรียน
ที่โรงเรียนมัธยมอัลฟอนโซ ซึ่งคุณพ่อเป็นผู้อ�ำนวยการ ท�ำให้เรา
เห็นความเคร่งครัด เอาจริงเอาจัง เอาใจใส่เด็กทุกคน ส�ำหรับพวก
เราคุณพ่อใจดียมิ้ ให้เสมอ แต่สำ� หรับเด็กๆ ทีโ่ รงเรียนล่ะก็ หารอย
ยิ้มจากคุณพ่อได้ยากมาก คุณพ่อเคร่งครัดมากๆ (โหดสุดๆ ก็ว่า
ได้) และเมื่อเราได้มีโอกาสได้คุยกับคนโน้นคนนี้ ยิ่งท�ำให้พวก
เราอยากจะรู้จักคุณพ่อมากขึ้น จึงน�ำมาสู่บทสัมภาษณ์ที่ทุกท่าน
ก�ำลังจะอ่านต่อไปนี้
วิถีมหาไถ่ 21
ขอคุณพ่อช่วยเล่าประวัติของคุณพ่อให้ฟัง
พ่อเกิดในหมู่บ้านเล็กๆ ชื่อ แพทเชอรี ในรัฐทมิฬนา
ดู ทางตอนใต้ของอินเดีย มีพี่น้องทั้งหมดสิบคน เป็นพระสงฆ์
สองคน ซิสเตอร์อีกหนึ่ง พ่อเคยเป็นพระสงฆ์พื้นเมืองสังกัด
สังฆมณฑลทางเหนือของของอินเดีย ท�ำงานกับพวกชนเผ่าพื้น
เมือง ก่อนที่พ่อจะเข้าคณะพระมหาไถ่

อะไรคือแรงจูงใจที่ท�ำให้คุณพ่อเข้าคณะพระมหาไถ่
พ่อรู้จักคณะพระมหาไถ่ ตั้งแต่สมัยที่พ่อเรียนที่บ้าน
เณรใหญ่ และพ่อก็เคยอ่านเจอจิตตารมณ์ของคณะที่ช่วยเหลือ
คนยากจนและผู้ที่ถูกทอดทิ้งมากที่สุด ความมุ่งมั่นนี้ท�ำให้พ่อ
ตัดสินใจที่จะเข้าคณะ พ่อเข้าเป็นนวกชนที่บังกาลอร์ 1 ปี ก่อน
ที่จะถวายตัว

ประวัติการท�ำงานของคุณพ่อเป็นอย่างไร
เมือ่ พ่อบวชพ่อก็ทำ� งานอยูก่ บั ชนเผ่าพืน้ เมืองสักพัก แล้ว
ก็เข้าคณะพระมหาไถ่ เมื่ออยู่ในคณะพ่อเป็นนักเทศน์ และได้ไป
เทศน์ทรี่ ฐั ทมิฬนาดูอยู่ 5 ปี หลังจากนัน้ พ่อก็เป็นเจ้าวัดทีว่ ดั เล็กๆ
แห่งหนึง่ ติดชายทะเลในรัฐทมิฬนาดูนแี่ หละ ต่อมาพ่อได้รบั เลือก
ให้เป็นรองเจ้าคณะ เหรัญญิก และที่ปรึกษา พ่อวนเวียนอยู่ใน
ต�ำแหน่งเหล่านี้จนถึงปัจจุบัน
ปัจจุบันพ่อเป็นอธิการบ้านเยราร์ด (บ้านพักพระสงฆ์
อาวุโส และบ้านหลังแรกของ
คณะพระมหาไถ่ ใ นบั ง กา
ลอร์) ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน
มัธยมอัลฟอนโซ (โรงเรียน
ของคณะที่ให้การศึกษาแก่

22 วิถีมหาไถ่
เด็กยากจนในสลัม อยู่ใกล้ๆ บ้านเยราร์ด) และเป็นที่ปรึกษาเจ้า
คณะด้วย

คุณพ่อเริม่ งานทีโ่ รงเรียนมัธยมอัลฟอนโซเมือ่ ไหร่ และอะไร


คือเป้าหมายที่คุณพ่อหวังไว้ ปัจจุบันเป้าหมายนั้นบรรลุผล
มากน้อยเพียงใด
พ่อเริ่มงานที่โรงเรียนในปี 2002 ด้วยเป้า
หมายที่จะช่วยเหลือพวกเด็กๆ ให้สามารถเรียน
ต่อในระดับ College (ส�ำหรับบ้านเราก็เรียกมัธยม
ปลาย) ได้ เพราะพ่อคิดว่าการศึกษาเป็นทางทีจ่ ะ
ช่วยพวกเขาให้พ้นจากความยากจน เด็กเหล่า
นี้เป็นเด็กยากจนมากๆ เราเก็บค่าเล่าเรียนขั้นต�่ำ 50 รูปี ต่อปี
(ประมาณ 40 บาท) หากใครไม่มกี ไ็ ม่ตอ้ งจ่าย เมือ่ พ่อเข้ามาตอน
แรกพ่อก็ต้องวิ่งเต้นหาทุนค่าอาหารกลางวันให้เด็ก จนกระทั่ง
ปัจจุบันรัฐบาลเป็นคนจัดสรรให้ ขณะนี้เรามีนักเรียนประมาณ
1,300 คน การศึกษาชั้นสูงสุดก็คือ เกรด 10 (ในบ้านเราก็คือ
มัธยมต้น) ท�ำการเรียนการสอนในวันจันทร์ถึงวันเสาร์ (ครึ่งวัน
เช้า) เรือ่ งภาษาทีใ่ ช้นนั้ เราใช้ภาษาทมิฬเป็นสือ่ กลางในการสอน
จนถึงเกรด 7 ตั้งแต่เกรด 8 เป็นต้นไป ใช้ภาษาอังกฤษ

ทีโ่ รงเรียนนีม้ กี ารสอนพิเศษทุกเย็นด้วยหรือ


ครับ
เมื่ อ จบเกรด 10 จะมี ก ารวั ด ผลโดย
ข้อสอบกลางจากรัฐบาล เราต้องติวเด็กเป็น
พิเศษเพื่อเข้าเรียนต่อในระดับ College ที่เรา
ต้องจัดสอนพิเศษก็เพราะว่าอยู่ที่บ้านเขาไม่มี
โอกาสได้เรียนหรอก แม้กระทั่งโดยทั่วไป เรา

วิถีมหาไถ่ 23
ก็ต้องตกลงกับผู้ปกครองว่าจะต้องส่ง
เด็กมาเรียนทุกวัน เพราะในบางครั้ง
ผู้ปกครองบางคนก็ไม่ยอมให้เด็กมา
เรียน เพราะต้องการให้เด็กอยู่ช่วย
งานที่บ้าน
ในการเรียนพิเศษนั้นจะมีทกุ
เย็นหลังเลิกเรียน ส�ำหรับเด็กเกรด 8-10 เด็กเกรด 8 และ 9
นั้น จะเรียนตั้งแต่ สี่โมงเย็นถึงหกโมงเย็น ส่วนเด็กเกรด 10 จะ
เรียนจนถึงสองทุ่ม เราเตรียมอาหารว่างให้เขาทาน และช่วงปิด
ภาคเรียนเรามีการสอนพิเศษภาษาอังกฤษด้วย โดยมีซิสเตอร์
คณะพระมารดานิจจานุเคราะห์มาช่วยสอน ผลปรากฏว่าเด็ก
ร้อยละ 96 สอบผ่านและสามารถเข้าเรียนในระดับ College ได้

ทราบมาว่าคุณพ่อเป็นทนายความ อะไรเป็นสาเหตุให้คุณ
พ่อเลือกเรียนกฎหมายและเป็นทนายความ
ในช่วงทีพ่ อ่ ไปเป็นเจ้าอาวาสอยูท่ หี่ มูบ่ า้ นเล็กๆ
ชายทะเล เป็นเวลาสิบปีนั้น ชาวบ้านที่นั่นมีอาชีพท�ำ
ประมงพื้นบ้าน เมื่อพ่อเข้าไปแรกๆ ที่นั่นยังไม่มีอะไร
เลย เราสร้างบ้าน สร้างโรงเรียน เดินเรื่องขอไฟฟ้าใช้
ในหมู่บ้าน ด้วยเหตุที่ชาวบ้านท�ำประมงพื้นบ้าน
และเขาไม่มคี วามรู้ จึงถูกสหภาพการค้าและพวก
นายทุนเอาเปรียบ พ่อจึงตัดสินใจเรียนกฎหมาย พ่อเรียน
กฎหมายแพ่ง เพื่อจะได้มาช่วยเหลือชาวบ้านเหล่านี้ แม้พ่อ
จะพ้นจากต�ำแหน่งนั้นไปแล้ว แต่พ่อก็ยังช่วยพวกเขาอยู่
ด้วยเหตุนี้พ่อจึงต่อต้านการประมงโดยใช้เรือล�ำใหญ่
อวนตาถี่จับปลา เพราะมันท�ำลายระบบนิเวศ และท�ำลายอาชีพ
ของชาวประมงพื้นบ้านเหล่านั้น

24 วิถีมหาไถ่
ประเทศอินเดียมีชายฝั่งยาวถึงเจ็ดพันไมล์ ประชาชน 6
ล้านคน ใน 6 รัฐ ท�ำอาชีพประมง พวกเขายากจนและต้องต่อสู้
ดิ้นรนเพื่อเลี้ยงปากท้อง และพวกเขายังต้องประสบกับปัญหา
เดียวกัน คือ ไม่มลี กู ปลาทีจ่ ะเติบโตเป็นปลาตัวใหญ่ให้พวกเขาจับ
เพราะเรือใหญ่จับไปหมดแล้ว แล้วพวกเขาจะท�ำมาหากินอะไร

ตอนนี้คุณพ่อต้องดูแลงานด้านกฎหมาย
ของคณะด้วยหรือไม่
ทั้งๆ ที่ความจริงพ่อไม่อยากท�ำงาน
ด้านนี้ แต่ตอนนี้มันกลายเป็นงานประจ�ำของ
พ่อไปแล้ว ตอนแรกทีพ่ อ่ เข้าไปพ่อต้องจัดการ
กับเอกสาร เรื่องเงินๆ ทองๆ และปัญหาเรื่อง
ข้อกฎหมายต่างๆ ของคณะ พ่อต้องติดต่อกับรัฐบาล ซึง่ เป็นเรือ่ ง
ยากมาก หากเราไม่จา่ ยใต้โต๊ะ มีอยูค่ รัง้ หนึง่ ทีส่ าธุปะเดซา (นีเ่ ป็น
บ้านปรัชญาของคณะเราทีบ่ งั กาลอร์ มีเนือ้ ทีเ่ ยอะมาก) รัฐบาลได้
มายึดที่ดินที่เรามีแต่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ไป พ่อก็ต้องขึ้นศาลเพื่อ
เรียกร้องค่าเวนคืนจากรัฐบาล

สุดท้ายขอถามคุณพ่อว่า คุณพ่อคาดหวังอะไรจากสมาชิก
คณะพระมหาไถ่ รุ่นใหม่ๆ บ้าง
ในอินเดียมีคนจนอยู่มากมายและนับวันจะยิ่งเพิ่มขึ้น
สมาชิกของคณะจ�ำเป็นต้องยึดพระเยซูเจ้าเป็นศูนย์กลาง สวด
ภาวนา และเป็นหนึ่งเดียวกับคนยากจนและผู้ที่ถูกทอดทิ้งมาก
ที่ สุ ด สมาชิ ก ของคณะจะต้ อ งต่ อ สู ้ เ พื่ อ ความ
ยุติธรรม ความถูกต้อง ความชอบธรรม และ
ต้องหาแนวทางใหม่ๆ ในการประกาศพระวรสาร
และในการท�ำงานกับกลุ่มเป้าหมายของเรา

วิถีมหาไถ่ 25
ท่านผู้อ่านครับ กว่าจะได้บทสัมภาษณ์นี้มา ต้องยอมรับ
ว่าทุลักทุเลจริงๆ เราติดต่อสัมภาษณ์คุณพ่อ แต่คุณพ่อไม่ค่อย
ว่างเลย เราสัมภาษณ์คณ ุ พ่อเสร็จตอนทีเ่ ราก�ำลังนัง่ รถมาทีส่ นาม
บินนานาชาติบังกาลอร์ เพื่อจะกลับเมืองไทย สัมภาษณ์กันในรถ
นั่นแหละครับ
ในบทเทศน์ (ที่ค่อนข้างยาว) คุณพ่อบอกว่าคุณพ่ออ่าน
หนังสือเดือนละสองเล่ม และเตือนพวกเราว่าอย่าไปดูทีวีมาก
เพราะยิ่งเราดูทีวีมาก เงินก็จะยิ่งไปอยู่กับคนรวย คนรวยก็จะยิ่ง
รวยขึ้น คนจนก็จะยิ่งจนลง
อีกอย่างหนึ่ง พวกเรายังรู้สึกแปลกใจว่าท�ำไมคุณพ่อไม่
เรียนต่อทางปรัชญาหรือเทววิทยา แต่คณ ุ พ่อเลือกเรียนกฎหมาย
เพือ่ เป็นทนายแก้ตา่ งให้ชาวบ้านทีไ่ ม่มที างสู้ คุณพ่อท�ำทุกวิถที าง
เพื่อให้เด็กนักเรียนได้เรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น ให้มีข้าวกลางวัน
กิน (ทางทีมงานมารู้ภายหลังว่า หากคุณพ่อไม่หาข้าวให้กิน เด็ก
ส่วนมากก็ต้องอดข้าวกลางวัน เพราะที่บ้านไม่มีให้กิน เนื่องจาก
ครอบครัวมีฐานะยากจนมาก)
คุณพ่อเป็นพระสงฆ์ทดี่ ำ� เนินชีวติ ตามแบบอย่างของพระ
คริสตเจ้า ในแนวทางที่นักบุญอัลฟอนโซ ผู้สถาปนาคณะพระ
มหาไถ่ได้วางไว้ และพวกเราเชือ่ แน่วา่ คุณพ่อคงเป็นแรงบันดาล
ใจให้กบั คนหลายๆ คน ให้กล้าทีจ่ ะยืนหยัด ต่อสูเ้ พือ่ น�ำความเสมอ
ภาคและความยุติธรรมคืนสู่สังคม สังคมของพวกเรา

26 วิถีมหาไถ่
วิถีมหาไถ่ 27
1. ความคิดเกี่ยวกับความเชื่อ
ความเชื่อเกี่ยวกับพระเจ้าเกิดขึ้นจากการยอมรับความจริงในพระ
คัมภีร์ และค�ำสอนของพระศาสนจักร ความเชื่อเป็นความผูกพันระหว่าง
เรากับพระเจ้า
ชีวติ มนุษย์เกีย่ วข้องกับพระเจ้าโดยอาศัยพระหรรษทานแห่งความ
เชื่อที่แฝงอยู่ในชีวิตของมนุษย์ซึ่งมนุษย์ไม่สามารถที่จะปฏิเสธได้
ความเชือ่ เป็นการยอมรับในอ�ำนาจของพระเจ้าทีพ่ ระองค์เผยแสดง
ในองค์พระคริสตเจ้า สิ่งที่เราต้องเชื่อคือ การเปิดเผยของพระเจ้าผ่านทาง
ประวัติศาสตร์แห่งความรอดทั้งในพันธสัญญาเดิม และพันธสัญญาใหม่
สิง่ ทีต่ อ้ งเชือ่ มีอะไรบ้าง ? ตามความคิดของนักบุญออกัสติน และ
นักบุญโทมัส อไควนัส
1. ต้องเชื่อว่าพระเจ้ามีอยู่จริง
2. ต้องเชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้ประทานรางวัลให้คนดี และลงโทษคนชั่ว

28 วิถีมหาไถ่
3. ต้องเชื่อในพระธรรมล�้ำลึกเรื่องพระตรีเอกภาพ
4. ต้องเชื่อในธรรมล�้ำลึกแห่งการรับเอากายมาเกิดเป็นมนุษย์
ของพระเยซูเจ้า
ชีวิตมีกฎเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติตาม นั่นคือปฏิบัติตามเสียงมโนธรรม
ของตน การปฏิบัติตามมโนธรรมก็เหมือนกับมีความเชื่อในพระเจ้า

2. การนอบน้อมยอมรับความเชื่อของมนุษย์
การนอบน้ อ มยอมรั บ ความเชื่ อ ของ
มนุษย์เกิดจากการมองจากสภาพของมนุษย์
ว่าพวกเขาต้องการพระเจ้า พระเยซูเจ้าเป็นรูป
แบบของการแสดงออกถึงความเชือ่ ว่า พระองค์
น้อมรับพระประสงค์ของพระบิดา
ความเชือ่ ของมนุษย์นนั้ ไม่ได้มาจาก
การตัดสินใจเพียงครั้งเดียว แต่ค่อยเป็น
ค่อยไป มีการตัดสินใจหลายครั้งจนสุดท้ายว่า เราจะยอมรับพระเจ้า
หรือ ไม่ยอมรับพระเจ้า

3. หน้าที่ในเรื่องความเชื่อ
คริสตชนจึงมีหน้าทีใ่ นการประกาศยืนยันความเชือ่ ของตนเอง ดังนี้
1.หน้าที่ในการไม่ปฏิเสธความเชื่อ
2.หน้าที่ในการประกาศความเชื่ออย่างเปิดเผย
คริสตชนมีหน้าที่ในการเผยแผ่ความเชื่อ เพราะบัญญัติเอกที่พระ
เยซูเจ้าทรงทรงสอนให้รกั พระเจ้านัน้ ผลักดันให้คริสตชนต้องส่งเสริมเกียรติ
มงคลของพระเจ้า และขยายพระอาณาจักรของพระองค์

วิถีมหาไถ่ 29
ภาระหน้าที่การประกาศข่าวดีเป็น
ของใครบ้าง ? ศิษย์ทุกคนของพระคริสตเจ้ามี
ภาระหน้าที่ในการประกาศข่าวดี ไม่ว่าจะเป็น
พระสังฆราช คณะนักบวช บรรดาพระสงฆ์ และ
สัตบุรุษ
คริสตชนมีหน้าที่ป้องกันความเชื่อของ
ตนจากอันตรายต่างๆ และปกป้องสิทธิในเรื่อง
ความเชือ่ ในสังคมของตน คริสตชนต้องรูจ้ กั เลือก อับราฮัม บิดาแห่งความเชื่อ
พยายามหลีกเลีย่ งสิง่ ทีเ่ ป็นอันตรายต่อความเชือ่

4. การสนับสนุนความเป็นหนึ่งเดียวของความเชื่อ
แนวปฏิบัติในการสร้างความเป็นหนึ่งเดียว
1. เราคาทอลิกต้องรู้หลักค�ำสอนของเรา อย่างถูกต้องเสียก่อน
2. มีแนวปฏิบัติต่อคริสตจักรต่างนิกายในการสร้างเอกภาพ แต่เรา
ต้องยืนยันในความเชื่อของเรา
3. มีการเสวนา เป็นการยืนยันในความเชื่อของเรา และเปิดใจฟังค�ำ
อธิบายความเชื่อของคนอื่น
การแบ่งปันทางด้านชีวิตจิต
1. การภาวนาร่วมกัน อาจจะหาโอกาสวันส�ำคัญๆ เพื่อจะภาวนา
ร่วมกัน
2. ศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ คาทอลิกและออร์ธอดอกซ์มกั จะไม่มปี ญ
ั หาในเรือ่ งนี้
คาทอลิกยอมรับศีลศักดิส์ ทิ ธิข์ องออร์ธอดอกซ์ แต่โปรเตสแตนต์ ไม่
ยอมรับว่ามีศีลศักดิ์สิทธิ์ยกเว้นศีลล้างบาป
3. พิธีกรรมต่างๆ ที่จะกระท�ำร่วมกัน ในเรื่องนี้จะต้องตกลงกันก่อน
ที่จะท�ำพิธี

30 วิถีมหาไถ่
4. พ่อแม่ทูนหัว และพยานศีลแต่งงาน การเป็นพ่อแม่ทูนหัวใน
ศีลล้างบาป ต้องเป็นคาทอลิก แต่ก็อาจจะใช้ผู้นับถือนิกายออร์ธอ
ดอกซ์ ได้แต่ต้องมีเหตุผลที่พอสมควร และพระสงฆ์จ�ำเป็นต้อง
แนะน�ำให้หาคาทอลิกก่อน ส�ำหรับโปรเตสแตนต์ ตามปกติไม่
อนุญาตให้มาเป็นพ่อแม่ทูนหัว อาจจะยกเว้นในกรณีที่เป็นเพื่อน
สนิทหรือญาติ แต่ต้องปรึกษากับคุณพ่อเจ้าวัด และการเป็นพยาน
ในศีลแต่งงาน สามารถให้ผู้ที่นับถือต่างศาสนาต่างนิกายมาเป็น
พยานได้ แต่ควรหา 1 คนที่เป็นคาทอลิก
5. สถานทีแ่ ละภาชนะศักดิส์ ทิ ธิ
์ คาทอลิกและออร์ธอดอกซ์สามารถ
ใช้สถานที่ศักดิ์สิทธิ์และภาชนะศักดิ์สิทธิ์ร่วมกันได้ แต่ต้องขอ
อนุญาตก่อน ส่วนโปรเตสแตนต์น�ำมาใช้ร่วมกันไม่ได้
6. การอนุ ญ าตให้ ศ าสนบริ ก รศาสนาอื่ น มาในโรงเรี ย นหรื อ
โรงพยาบาลคาทอลิก ถ้ามาเยี่ยมเยียน หรือมาเทศน์สอน ก็
ควรอนุญาต แต่ส�ำหรับพระภิกษุนั้นควรให้แค่มาเทศน์ ไม่ควรให้
ประกอบพิธีกรรม

5. หน้าที่ของการยอมรับในอ�ำนาจการสอนของพระศาสนจักร
พระศาสนจั ก รมี ห น้ า ที่ ใ นการสอนความจริ ง ของพระเจ้ า สอน
ข้อความเชื่อที่ต้องเชื่อโดยไม่มีเงื่อนไข และการประกาศความเชื่อของพระ
สันตะปาปาพร้อมกับคณะพระสังฆราช ถือเป็นการ
ประกาศที่ไม่มีผิดพลั้ง
แม้บางทีจะไม่เห็นด้วยกับการประกาศของ
พระศาสนจักรในบางเรื่อง แต่อย่างน้อยที่สุดการ
แสดงออกภายนอกถึงการยอมรับต่ออ�ำนาจการ
สอนของพระศาสนจักรถือเป็นสิ่งที่ดี ค�ำสอนของ

วิถีมหาไถ่ 31
พระศาสนจักรได้รับการไตร่ตรองมาอย่างดีแล้ว จึงควรจะยอมรับ และค�ำ
สอนต้องมีบทบาทและมีอิทธิพลมากกว่าความคิดเห็นส่วนตัว

6. บาปที่ผิดต่อความเชื่อ
1) จองหอง หยิง่ ยโส แน่ใจในความเป็นตัวของตัวเองโดยไม่ตอ้ งพึง่ พระเจ้า
2) การไม่ยอมเชื่อ
อเทวนิยม เป็นพวกที่มีแนวคิด แนวปฏิบัติไม่ยอมรับและปฏิเสธ
พระเจ้า
Secularism แนวความคิดที่ว่า โลกมีความเป็นอยู่โดยธรรมชาติใน
ตัวของมันเอง มนุษย์จงึ จ�ำเป็นต้องรูจ้ กั โลกมากกว่าจะไปรูจ้ กั พระเจ้า มนุษย์
จะต้องพึ่งพาตนเอง มนุษย์จะบรรลุเป้าหมายก็โดยการสร้างอาณาจักรของ
มนุษย์ ไม่ใช่อาณาจักรของพระเจ้า
3) บาปที่ผิดต่อความเชื่อของคริสตชน
· Inf idelity พวกที่ไม่แสวงหาพระเจ้า เลินเล่อ ไม่พยายามที่จะ
แสวงหาความจริง และต่อต้านศาสนา
· Heresy พวกที่ได้รับศีลล้างบาปมีความเชื่อ แต่ต่อมาพวกนี้ไม่เห็น
ด้วยกับข้อความเชื่อในบางเรื่อง
· Schism พวกที่ไม่ยอมรับอ�ำนาจของพระสันตะปาปา
· Apostasy พวกทีไ่ ด้รบั ศีลล้างบาปแล้ว แต่ตอ่ มาได้ละทิง้ ความเชือ่

32 วิถีมหาไถ่
21-22 มกราคม 2010
คณะสงฆ์และสัตบุรุษเขตวัดนักบุญปาตริก แม่แจ่ม
ร่วมกันจัดงาน 50 ปี “กึ่งศตวรรษแห่งพระหรรษ
ทาน สืบสานความเชือ่ คริสตชนลุม่ น�ำ้ แจ่ม” โดย
พระคุณเจ้าฟรังซิส เซเวียร์ วีระ อาภรณ์รตั น์ ประมุข
สังฆมณฑลเชียงใหม่ ให้เกียรติเป็นประธานในพิธี

วิถีมหาไถ่ 33
7 มีนาคม 2010 วันครอบครัวมหาไถ่
โดย คุณพ่อสมพงษ์ เตียวตระกูล อธิการเจ้าคณะ
เป็นประธานในพิธี (ด้านบน)
(ด้านล่าง) ภาพชีวติ และกิจกรรมของเณรในแต่ละ
วัน ช่วงเปิดภาคเรียนปีการศึกษา 2553

34 วิถีมหาไถ่
29 พฤษภาคม 2010
พิธีบวชสังฆานุกร
บราเดอร์ภูวนัย ตันติกุล
บราเดอร์เมธี ศรีวรกุล
บราเดอร์ธนภูมิ มานะมุติ
บราเดอร์เจตนา กิจเจริญ
พิธีปฏิญาณตนตลอดชีวิต
บราเดอร์ภูวนัย ตันติกุล
บราเดอร์สังคม อ�ำไพพิพัฒน์
บราเดอร์บ�ำรุง ซื่อแสนงาม
บราเดอร์อนุวัฒน์ อาศัยรัตน์
โดย พระสังฆราชฟิลิป บรรจง ไชยรา
ณ วัดนักบุญโทมัส อไควนัส มีนบุรี
วิถีมหาไถ่ 35
27 มิถุนายน
ฉลองแม่พระนิจจานุเคราะห์
บ้านเณรเล็กศรีราชา (ด้านบน)
เข้าเงียบ มีนพวาร
และงานเลี้ยงในช่วงเย็น
ดาวาว ฟิลิปปินส์ (ด้านขวามือ)
พิธีแห่พระรูปแม่พระรอบหมู่บ้าน
เขตแม่แจ่ม เชียงใหม่ (ด้านล่าง)
ฉลององค์อุปถัมภ์ของศูนย์ป่าฝาง
มีพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ ทาน
อาหารค�่ำ กิจกรรม และการแสดง

36 วิถีมหาไถ่
ดาวาว คืออะไร?? และเพือ่ จะได้ยกระดับการศึกษาและ
ดาวาวคือเมืองหนึง่ บนเกาะ คุ ณ ภาพของเณรเราให้ เ ป็ น สากล
ทีอ่ ยูท่ างใต้ของประเทศฟิลปิ ปินส์ ที่ มากขึ้น ซึ่งโครงการนี้ก็เป็นรูปเป็น
พวกเราต้องเอาชีวิตเข้ามาเกี่ยวพัน ร่างขึ้นมาในราวปี ค.ศ. 1995 โดย
กันกับเมืองดาวาวก็เพราะทางคณะ ทางคณะได้ส่งคุณพ่อประสิทธิ์ เครือ
พระมหาไถ่กิ่งแขวงกรุงเทพฯ ได้ สุวรรณ มาเรียนเป็นคนแรกนับเป็น
ตัดสินใจร่วมมือกับคณะพระมหาไถ่ รุ่นบุกเบิกก็ว่าได้ จากนั้นพวกเราก็
แขวงเซบู ในการท�ำข้อตกลงร่วม ส่งเณรมาเรียนที่นี่เรื่อยมาจวบจน
กั น ที่ จ ะสานฝั น โดยการก่ อ ให้ เ กิ ด ปัจจุบัน
ความร่วมมือกันทางการศึกษาของ ดั ง นั้ น เมื่ อ พู ด ถึ ง เมื อ งดา
พวกเณรใหญ่ในระดับเทวศาสตร์ให้ วาว ต่ า งก็ เ ป็ น ที่ ห มายปองของ
ได้มาตรฐานมากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ บรรดาเณรใหญ่ทั้งหลายของคณะ

วิถีมหาไถ่ 37
พระมหาไถ่กิ่งแขวงกรุงเทพฯ เลยก็ เฉพาะเรื่องขาดๆ หายๆ เป็นช่วงๆ
ว่าได้ เพราะมันเป็นอะไรที่ท้าทาย เวลาสนทนา ก็หมดไปโดยปริยาย นี่
เนื่องจากเราต้องฝ่าฟันกับอุปสรรค คือสิ่งที่เห็นได้ชัดถึง พัฒนาการของ
นานัปการกว่าจะได้มา (ส�ำหรับบาง พวกเรา ยังไงก็จะอยู่ให้มันคุ้มกับ
คนต้ อ งใช้ เ วลาเตรี ย มตั ว ถึ ง 2 ปี ที่รอคอยกันนานกว่าจะได้มาเลือด
กว่าจะได้มา) ซึ่งอุปสรรคอันเป็น ตาแทบกระเด็น และทางคณะก็ได้
ยาขมหม้อใหญ่ส�ำหรับพวกเราที่จะ ทุ่มเทอย่างสุดฤทธิ์เช่นกันเพื่อการ
มาก็คือเรื่องของภาษาที่จะต้องใช้ ศึกษาของพวกเณรเราจะได้กา้ วหน้า
โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซึ่งจ�ำเป็น มากขึ้น อย่างน้อยก็เพื่อเป็นก�ำลัง
ส�ำหรับชีวิตประจ�ำวัน และที่จะต้อง ของพระศาสนจักรต่อไป
ใช้ในการเรียนด้วย แต่พวกเราเณร จะว่ า ไปแล้ ว พวกเรานั บ
ไทยทีม่ าก็ไม่ได้ ว่ า โชคดี ม ากๆ
ท� ำ ให้ ผิ ด หวั ง ที่ ท า ง ค ณ ะ ฯ
เพราะทุ ก คน ได้ ส ่ ง เสริ ม และ
ต่างก็พยายาม สนับสนุนโอกาส
ท� ำ หน้ า ที่ ข อง ทางการศึ ก ษา
ต น เ อ ง ใ ห ้ ดี เช่ น นี้ เพราะ
ที่ สุ ด แม้ ว ่ า ใน บางแห่งยังไม่มี
ช่วงแรกๆ นั้น โอกาสเหมื อ น
การใช้ภาษาอังกฤษของเราจะเป็น เรา และที่ส�ำคัญทุกคนที่จบจากที่
ไปแบบกระท่อนกระแท่นและขาด นี่แล้วกลับไป เรื่องภาษาอังกฤษ
ช่วง ไม่ไหลลื่น แต่เท่าที่สังเกตจาก ที่ เ คยเห็ น ว่ า เป็ น ยาขมหม้ อ ใหญ่
คนที่ อ ยู ่ ม าแล้ ว 1 ปี จ ะเห็ น ได้ ว ่ า เมื่อก่อนมานั้น พอจบกลับไปมัน
ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษาเริม่ กลั บ กลายเป็ น เรื่ อ งปรกติ ซ ะงั้ น
เข้าที่เข้าทาง เหมือนเครื่องจักรที่ได้ เพราะสภาพแวดล้ อ มมั น ได้ ห ล่ อ
รับการอัดจาระบี ยังไงยังงั้น โดย หลอมพวกเราโดยไม่รู้ตัว และต่อ

38 วิถีมหาไถ่
ไปทุ ก คนก็ จ ะสามารถเดิ น ทางไป แต่ผทู้ จี่ ะมาเป็นอาจารย์สอนในระดับ
ศึกษาต่อต่างประเทศได้อย่างมั่นใจ นี้ ไ ด้ ต ้ อ งมี ใ บอนุ ญ าตส� ำ หรั บ การ
เพราะทีน่ ตี่ อ้ งใช้ภาษาอังกฤษตลอด เรียนการสอนด้วย ไม่ใช่เอาใครก็ได้
เวลา ทั้งในชีวิตประจ�ำวันและใน มาสอนซึ่งอาจารย์ส่วนใหญ่จะจบ
การเรียน ฉะนั้นการที่พวกเราได้มี ด็อกเตอร์ในสาขาวิชาต่างๆ อาจารย์
โอกาสเตรียมตัวฟิตทางด้านภาษา ทีน่ สี่ อนโดยไม่ตอ้ งอาศัยหนังสือเลย
อังกฤษมาจากทางเมืองไทย จึงนับ ก็วา่ ได้ เนือ่ งจากสอนกันจนช�ำนาญ
ว่าเป็นการได้เปรียบชาติอื่นอย่าง และรู้จริง แถมให้การบ้านกันแต่ละ
เห็นได้ชัด เพราะเณรที่อื่นเขาไม่มี ทีเห็นแล้วก็อดถามตัวเองไม่ได้เลย
โอกาสเรียนและเตรียมตัวทางด้าน ว่า นถี่ า้ ให้มาเรียนในปัจจุบนั นีค้ งจะ
ภาษามากเหมือนเรา เวลามาจึง ไม่ผ่านเกณฑ์ของเขาอย่างแน่นอน
เหมือนเอาหัวมาชนภูเขา ยังไงยัง เ นื่ อ ง จ า ก
งัน้ ฉะนัน้ อย่าลืมขวนขวายเรือ่ งนีใ้ ห้ ในแต่ละ
ปึก้ ๆ หน่อย ก็นา่ จะดีนะครับขอบอก ชั่ ว โ ม ง ที่
เวลามาแล้วจะได้สบายไม่ต้องมานั่ง เข้ า เรี ย น
เครียดทีหลัง เพราะการเรียนทีน่ ี่ คือ อาจารย์
เรียนจริง – ทุ่มจริง และที่ส�ำคัญต้อง แต่ละคน
รู้จริง จึงจะสามารถผ่านการวัดผล ก็ จ ะ ใ ห ้
ไปได้ เอกสารกลั บ มา
อ่านกันเป็นปึกๆ (มินา่ หละ...บางคน
การเรียน ถึงบอกว่าบางวันกว่าจะได้เข้านอนก็
ชี วิต นั ก ศึกษาที่นี่ก็ไม่ต่า ง ปาเข้าไปตี 2 แล้ว) ทีต่ อ้ งอดตาหลับ
อะไรกั บ ชี วิ ต โปสตุ ลั น ต์ ที่ บ ้ า นเรา ขับตานอนเยี่ยงนี้ก็เพราะต้องเรียน
เพราะเราเรียนอยู่ที่บ้านเณรของเรา จริง ต้องอ่านให้จบให้ได้ หาไม่แล้ว
เอง แต่มีอาจารย์จากข้างนอกและ เวลาเข้าไปในห้องเรียน เขาจะมีการ
อาจารย์ภายในบ้านเณรสอนกันเอง แบ่งปันสิ่งที่ตนเองได้อ่านมาแล้วมี

วิถีมหาไถ่ 39
การโต้เถียงกันด้วย ไม่เหมือนบ้าน
เราที่เรียนกันแบบสบายๆ ต่างกัน
ราวฟ้ากับเหว มิน่าหละ...บางคน
จึงบอกว่าเมื่อเรียนจบแต่ละวิชา ถ้า
ให้ไปสอนต่อก็สอนได้เลยนับว่าของ
เขาดีจริงเนื่องจากทุกคนต้องรู้จริง “น็อค”คู่
มิหน�ำซ�้ำเวลาสอบจะเป็นเวลาแห่ง ต่อสู้นั่นก็คือ แต่ละวิชาที่เรียนมัน
ความเป็นความตายส�ำหรับนักเรียน เกี่ ย วพั น กั น อย่ า งไรให้ ส รุ ป ให้ ฟ ั ง
เลยก็ว่าได้ นัยว่าเหมือนกับการ แบบองค์รวมเลย ... ตัวใครตัวมัน
พิพากษาประมวลพร้อมยังไงยังงั้น นะครับงานนี.้ ..นีถ่ า้ ไม่แน่จริงคงต้อง
(ลองสอบถามจากผูท้ จี่ บจากทีน่ กี่ จ็ ะ ได้กลับไปนั่งเรียนใหม่แน่ๆ ครับผม
พบสัจธรรมเช่นกันครับผม) ทั้งนี้ก็ ฉะนั้นนักเรียนไม่ต้องท�ำอะไรมาก
เพราะการสอบที่นี่จะเป็นการสอบ เพียงแค่ตอบให้ได้และเข้าประเด็น
แบบปากเปล่าเสียเป็นส่วนใหญ่ ดัง เป็นพอ ที่จะให้ไปนั่งเขียนเหมือน
นั้น นักศึกษาเองก็ต้องพร้อมด้วย ทีส่ ามพรานคงไม่มใี ห้เห็นทีน่ ี่ ฉะนัน้
เช่นกัน เพราะในแต่ละวิชาจะใช้ ใครที่ลายมื อ เหมื อ นภาษาขอมไม่
เวลาเพียงแค่ 15-20 นาทีก็จะรู้เลย ต้องตกใจสบายมากขอให้มั่นใจเป็น
ว่าตนเองสอบผ่านหรือไม่ ที่หนัก พอ ซึ่งนอกจากการสอบปากเปล่า
หนาสาหัสก็คือ เมื่อมีการสอบจะมี แล้วยังต้องท�ำวิทยานิพนธ์สง่ อีก นับ
อาจารย์นั่งเรียงหน้ากระดาน 3 คน ว่ากว่าจะผ่านแต่ละวิชาได้แต่ละคน
แล้ ว นั ก ศึ ก ษาเข้ า ไปสอบที ล ะคน ต้องปึ้กจริงๆ หาไม่แล้วก็คงจะแป้ก
อาจารย์ แ ต่ ล ะคนก็ จ ะถามค� ำ ถาม และลงเรียนใหม่อย่างแน่นอน และ
ชนิดยิงใส่เป็นชุด อาจารย์แต่ละคน การให้เกรดที่นี่ไม่เหมือนที่บ้านเรา
สอนกันคนละวิชา นั่นหมายความ เลย เพราะที่บ้านเราเกรดสูงสุดคือ
ว่าสอบทีก็ 3 วิชารวด ที่เด็ดสุดก็ เกรด 4 แต่ที่นี่เกรดสูงสุดคือเกรด 1
คงจะหนีไม่พ้นค�ำถามสุดท้ายเอาไว้ แล้วก็จะมีจดุ ตามมา เช่น 1.5-2.0 แต่

40 วิถีมหาไถ่
เกรดที่โหลยโท่ยที่สุดน่าจะเป็น 2.5 แก้ไข) นอกนัน้ ในช่วงเช้าจะมีตาราง
ถ้าต�่ำกว่านี้ก็ถือว่าเรียนใหม่ก็แล้ว สวดท�ำวัตรร่วมกันเวลา 07.30 น.
กันความรู้จะได้แน่นนะครับ และในช่วงเย็นก่อนอาหารเย็นเวลา
18.45 น. ส�ำหรับอาหารก็เช่นกัน
ตารางเวลา ใครจะลงมากินก็ได้ไม่ลงมากินก็ได้
ทีน่ กี่ เ็ หมือนกับสถาบันทัว่ ๆ สุดแล้วแต่ไม่บังคับ(บางคนไม่ค่อย
ไปในโลก แต่มีอิสระมากกว่า เรียก เห็นลงมาทานอาหารเลยสงสัยอิ่ม
ได้วา่ ทุกคนต้องดูแลตารางเวลาของ ทิพย์) แถมในช่วงเย็นที่ไม่มีตาราง
ตนเอง ในส่วนที่เป็นตารางประจ�ำ อะไร พวกเณรสามารถไปไหนต่อ
วันทุกคนต้องท�ำร่วมกันอยู่แล้ว แต่ ไหนก็ได้ ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะไปดูหนัง
เวลานอกเหนือจากนัน้ แต่ละคนต้อง –สังสรรค์กนิ กาแฟ ฯลฯ จะกลับมาตี
จัดสรรเวลากันเอง ทีเ่ ห็นได้ชดั ๆ คือ หนึ่งตีสองก็สุดแล้วแต่ (อย่างนี้บ้าน
ตารางการเข้ามิสซา อาทิตย์หนึง่ จะ เราไม่มีแน่ๆ ขอบอก เพราะบางคน
มีมิสซาเพียง 2 วันที่จะเข้าพร้อมๆ ถือโอกาสไปแล้วไม่กลับบ้านก็มีแต่
กัน ส่วนทีเ่ หลือทุกคนสามารถไปเข้า พวกนีอ้ ยูไ่ ด้ไม่นานก็ตอ้ งไปทีช่ อบที่
วัดใหญ่ในช่วงเช้าหรือเย็นก็ได้เลือก ชอบ...เพราะเห็นว่าชอบ ทางผู้ใหญ่
เอา ซึ่งมิสซาเช้าเวลา 06.00 น. โดย จึงให้ไปให้พน้ ๆ ไง) จึงเห็นได้วา่ ชีวติ
เราสามารถหลับตาเดาได้เลยว่าคง ที่นี่อิสระมากๆ แต่ก็เป็นการสอนให้
ไม่มีเณรคนใดที่กระเสือกกระสนไป แต่ละคนรูจ้ กั จัดระเบียบชีวติ ของตน
เข้าร่วมมิสซาเช้าเช่นนี้แน่ๆ เพราะ เพราะโตๆ กันแล้ว
เป็นวัยที่ก�ำลังกินก�ำลังนอน ส่วนอีก เนื่ อ งจากที่ นี่ มี ผู ้ ค นจาก
มิสซาหนึง่ ก็คอื 17.30 น. ในช่วงเย็น หลายชาติมารวมกัน ความเป็นอยู่
ซึ่งจะได้รับความนิยมจากพวกเณร จึงเป็นไปแบบอินเตอร์กลายๆ แต่
เป็นอย่างมาก (เพราะเหตุนจี้ งึ มีพวก กลิ่ น อายก็ ยั ง เป็ น ของฟิ ลิ ป ปิ น ส์
ที่ถือโอกาสโดดมิสซาซะงั้น ขอบอก เจ้าของพื้นที่เสียเป็นส่วนใหญ่ จะ
ว่าเยอะเสียด้วยแต่ก็ยังไม่ได้รับการ ว่ า ไปแล้ ว บ้ า นเณรเล็ ก และบ้ า น

วิถีมหาไถ่ 41
เณรใหญ่ ข องเราที่ เ มื อ งไทยจะมี ขอบอก ทีเ่ รามีสตั บุรษุ มากก็เพราะที่
ความเป็นอยู่ที่ดีกว่าที่เห็นได้ชัดๆ ฟิลปิ ปินส์นี้ พลเมืองส่วนใหญ่นบั ถือ
ก็คือ เรื่องการส่งผ้าซัก ที่นี่จะส่ง คาทอลิกเลยไม่น่าที่จะแปลกใจใน
ได้อาทิตย์ละครั้ง ครั้งละ 9 ชิ้น ที่ ตัวเลขของสัตบุรุษ เพราะไม่ว่าจะ
เหลือต้องซักเองทั้งหมด ดังนั้นพวก เดินไปที่ไหนก็ชนแต่คาทอลิกเกือบ
เราจึงต้องใส่เสื้อผ้ากันอย่างจ�ำกัด ทั้งเมือง ในช่วงบ่ายวันเสาร์ก็จะมี
จ�ำเขี่ยกันเป็นอย่างมาก เนื่องจาก ตารางออกไปท�ำงานอภิบาลตามวัด
จะอาศัยใครก็ไม่ได้เพราะแต่ละคนก็ น้อยที่กระจายอยู่ตามที่ต่างๆ โดย
มีภาระของตนมากพออยู่แล้ว ส่วน จะให้พวกปี 1 ออกไปลุยงานนี้โดย
เรื่องอื่นๆ ก็เหมือนบ้านเรา คือมีเวร เฉพาะ นัยว่าเป็นการปล่อยให้ออก
ท�ำความสะอาดบ้านอาทิตย์ละครั้ง ไปชิมลางดูเพราะช่วงนีจ้ ะเป็นช่วงที่
และล้ า งจานตอนทานอาหารเย็ น ก�ำลังมีไฟอยู่ และเมื่อไปก็จะไปน�ำ
เวรละ 1 อาทิตย์ จะมีบ้างบางคนที่ สวดและท�ำวจนพิธีกรรม-ประชุม-
หลบๆ แต่เขาก็บอกว่าถ้าไม่วา่ งหรือ แบ่งปันพระวาจา จากนั้นก็ให้ไป
ไม่อยู่ กรุณาติดต่อหาคนอื่นมาแทน ค้างคืนทีบ่ า้ นชาวบ้าน เช้าจึงให้กลับ
ด้วยจักเป็นพระคุณยิ่ง (...มีการพูด มาบ้านเณร หลายคนกลับมาพร้อม
ดักคอไว้อีก) กับประสบการณ์ใหม่ๆที่ถ้าให้แบ่ง
กันเล่าเป็นอาทิตย์ก็ยังไม่จบอย่าง
งานอภิบาล แน่นอน ส่วนชัน้ ปีที่ 2 ก็มงี านประจ�ำ
ส่ ว นการออกไปท� ำ งาน
อภิบาล เนื่องจากในเขตวัดที่เรา
ดูแล อยู่เป็นเขตที่ใหญ่มากๆ เท่า
ที่สอบถามดู ปรากฏว่าลูกวัดเราที่
เราดูแลอยู่วัดนี้วัดเดียว มีสัตบุรุษ
กว่าห้าหมื่นคน วัดบ้านเราที่ว่า
ใหญ่ ม าเจอที่ นี่ วั ด เดี ย วจ๋ อ ยเลย

42 วิถีมหาไถ่
คือไปเยีย่ มคุก และเยีย่ มคนป่วยตาม เป็นความแปลกใหม่ที่ก�ำลังเกิดขึ้น
โรงพยาบาล ชั้นปีที่ 3 ไปฝึกงาน ในบ้านเราที่ดาวาวในขณะนี้
ธรรมทูตที่ต่างประเทศ ชั้นปีที่ 4-5
เป็นผูน้ ำ� ในการอบรมและสัมมนาทีม่ ี การประชุม!!!
การจัดขึน้ เป็นครัง้ คราว หรือทีม่ กี าร เป็นอะไรทีน่ บั ว่าขึน้ หน้าขึน้
ขอมา ชัน้ ปีที่ 5 ทีไ่ ด้บวชเป็นสังฆานุ ตาเป็นอย่างมากส�ำหรับบ้านนี้เมือง
กรแล้วก็จะอยู่ช่วยงานที่วัด ไม่ว่าจะ นี้ เพราะอะไรๆ ก็ประชุม แถม
เป็นการเทศน์ในมิสซา หรือล้างบาป
– เสกรถ-เสกบ้าน ฯลฯ เท่าที่สังฆา
นุกรสามารถและมีสิทธิ์ที่จะท�ำได้

ชีวิตกลุ่ม
ปีนมี้ าแปลกกว่าทุกปี เนือ่ ง
จากทางคณะผู้บริหารได้เสนอให้มี
การแบ่งเณรออกเป็นกลุ่มๆ แต่ละ
กลุ่มก็จะมีสมาชิกราว 6-7 คน โดย ประชุมกันแบบเอาเป็นเอาตายเสีย
แต่ละกลุ่มจะเป็นผู้จัดการกิจกรรม ด้วย ที่เห็นได้ชัดที่สุดก็คือเมื่อตอน
ต่างๆ ในแต่ละเดือน แทนทีจ่ ะมีคณะ ก่อนเปิดเทอม ทุกคนต้องเข้าบ้าน
กรรมการ ก็จะปัดความรับผิดชอบไป ก่อนเป็นอาทิตย์ เพือ่ เข้าร่วมประชุม
ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดพิจารณาว่า วางแผนและตารางประจ�ำปี ปีนี้ล่อ
จะมีกิจกรรมอะไรบ้างในแต่ละเดือน เข้าไป 3 วัน นับว่าสั้นที่สุดเท่าที่เคย
ที่ตนเองรับผิดชอบ ไม่ว่าจะเป็นตัว มีมา เพราะปีที่แล้วกว่าจะประชุม
หลักในการเข้าเงียบ – การพักผ่อน วางแผนกันเสร็จปาเข้าไป 10 วัน ไอ้
ร่วมกัน ฯลฯ จะออกมาจากกลุม่ ทีร่ บั เราก็คิดกันว่ามันจะอะไรกันนักหนา
ผิดชอบแต่ละเดือนทั้งสิ้น ไม่ใช่จาก แต่พอเข้าร่วมแล้วจึงเห็นว่า มันเป็น
กรรมการเหมือนที่ผ่านๆ มา นี่นับ วัฒนธรรมของเขาที่รักและชอบการ

วิถีมหาไถ่ 43
ประชุมเป็นชีวิตจิตใจนี่เอง อะไรนิด ความเป็นไปของดาวาว ว่ามีอะไร
อะไรหน่อยก็ต้องประชุม ไม่เหมือน เกิดขึ้นบ้าง จะได้เตรียมตัวเตรียม
พวกเราประกาศเลยจบเรื่องไม่ต้อง ใจถูก อย่างน้อยรู้เขารู้เราเอาไว้
เสียเวลามานั่งประชุม ฉะนั้นสิ่งที่ บ้างก็จะดีนะครับ หวังว่าคงจะไม่
พวกเราต้องเตรียมตัวเตรียมใจกัน ท�ำให้หลายๆ คนเกิดความท้อแท้
อีกอย่างที่จะขาดไม่ได้เมื่อมาอยู่ที่นี่ ก่อนนะครับ เพราะเท่าที่ตีแผ่มา
คือ ต้องพยายามท�ำตัวให้คุ้นเคยกับ นี้ ก็ เ ป็ น เพี ย งส่ ว นหนึ่ ง เท่ า นั้ น สิ่ ง
การประชุมให้ได้ ถือว่ามาเรียนรู้ ต่างๆ ที่เล่ามานี้จะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อ
ประสบการณ์ใหม่ๆ ก็จะไม่มีปัญหา พวกท่านแต่ละคนได้มาร่วมสร้าง
แน่นอนครับ ประสบการณ์ชีวิตด้วยกันที่นี่ในวัน
นี่เป็นเพียงเกร็ดเล็กเกร็ด ข้างหน้า...อย่าลืมนะครับ...พวกเรา
น้อยส�ำหรับผู้ที่ต้องการรู้และทราบ รออยู่...ที่นี่ดาวาวครับผม

44 วิถีมหาไถ่
นานแสนนานมาแล้ว เมื่อครั้งก่อนที่จะมีการบันทึกอะไรๆ เป็นลาย
ลักษณ์อกั ษร ความฝันถือว่าเป็นสิง่ ทีม่ คี วามหมายมากๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่
ในศาสนา ไม่ว่าจะนิมิตของยาโคบที่เห็นทูตสวรรค์เดินขึ้น-ลงบันไดสวรรค์
หรือการดลใจให้เผยแผ่ศาสนาของมูฮมั หมัด ดังนัน้ ความฝันจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญ
ในการชี้น�ำไม่เพียงแต่ในด้านศาสนาแต่ยังรวมถึงประวัติศาสตร์ของโลกเรา
อีกด้วย เหตุฉะนี้ มนุษย์เราจึงพยายามที่จะเข้าใจและวิเคราะห์ความฝันอยู่
เสมอๆ มากไปกว่านั้น แต่ละที่ แต่ละวัฒนธรรม ก็ยังมีมุมมองส�ำหรับความ
ฝันแตกต่างกันออกไปอีก
ชาวบาบิโลนในสมัยโบราณนั้นได้แบ่งความฝันเป็น 2 แบบคือ ดี
(ซึ่งถูกดลใจโดยจิตวิญญาณแห่งความดี) และร้าย (ถูกปลุกเร้าโดยปีศาจ)
ชาวอัสซีเรียเป็นพวกแรกที่เชื่อมโยงความฝันกับนิมิตแห่งเทพเจ้าเข้าด้วย
กัน พวกเขาเชื่อว่าในนิทรานั้น เราสามารถที่จะข้ามเขตแดนแห่งมนุษย์ไป
สูอ่ าณาจักรแห่งจิตวิญญาณ เพือ่ เข้าไปรับพรจากบรรดาเทพเจ้าทัง้ หลายได้

วิถีมหาไถ่ 45
ส�ำหรับชาวอียปิ ต์นนั้ นิมติ จากความฝันมี
ค่ามากไปกว่านัน้ อีก นักบวชชาวอียปิ ต์เชือ่ ว่าเหล่า
เทพเจ้าจะเปิดเผยความประสงค์ผา่ นทางความฝัน
เท่านัน้ โดยสิง่ เหล่านีจ้ ะไม่เกิดขึน้ เลยในขณะทีต่ นื่
อยู่ ด้วยเหตุนี้พวกเขาจึงสร้างวิหาร ที่ซึ่งเหล่าผู้ที่
สามารถติดต่อกับเทพเจ้าได้จะเข้าไปสู่นิทรา และ
รอคอยนิมิตจากเหล่าเทพเจ้าทั้งหลาย และเพื่อ
ที่จะเป็นการปลุกเร้าใจผู้ที่หลับใหลให้มากยิ่งขึ้น
พวกเขาจึงตกแต่งวิหารด้วยรูปปั้นเทพเจ้าต่างๆ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทพ
อานูบิส) ไว้มากมาย
รูปเทพอานูบิส อานูบิสเป็นเทพแห่งความตาย
ของชาวอียิปต์ โดยชาวอียิปต์มักจะวาดรูปของ
เทพอานูบิสที่ถือตราชั่ง (ตามความเชื่อของชาว
อียิปต์ อานูบิสจะถือหัวใจของผู้วายชนม์ และขน
นกของเทพมูอาทไว้ส�ำหรับชั่งบนตราชั่ง เพื่อวัด
ความดีของเจ้าของหัวใจหรือผู้ตายนั่นเอง) ซึ่งเป็น
เครื่องหมายถึงความสมดุลของจิตวิญญาณของ
แต่ละคน ชาวอียิปต์นั้นเชื่อว่าการจะเห็นนิมิตจาก
เทพเจ้าได้นั้น ร่างกายและวิญญาณจะต้องอยู่ใน

ภาวะสมดุล

ส�ำหรับชาวยิวนั้น พระยาห์เวห์มักจะเปิดเผยพระประสงค์ของ
พระองค์ในความฝัน ในพันธสัญญาเดิมนั้น ก็มีการดลใจผ่านทางนิมิตใน
ความฝันให้เห็นอยู่มากมาย ส�ำหรับนิมิตที่เราน่าจะคุ้นเคยมากที่สุดก็คงจะ
เป็นนิมิตของฟาโรห์ที่ว่า วัวอ้วน 7 ตัวถูกวัวผอม 7 ตัวกินเข้าไป และรวง
ข้าวชั้นดี 7 รวงที่ตามมาด้วยรวงข้าว 7 รวงที่เป็นโรค ซึ่งโยเซฟก็ได้ตีความ
ว่า เจ็ดปีนอี้ ยี ปิ ต์จะอุดมสมบูรณ์ แต่เจ็ดปีตอ่ มาจะเกิดความแห้งแล้งกันดาร

46 วิถีมหาไถ่
อาหาร ประกาศกหลายคนเช่นเอลียาห์ ซามูเอล และโซโลมอนก็คล้ายกัน
กับโยเซฟและดาเนียล คือได้เห็นนิมิตจากพระเจ้า ซึ่งท�ำให้พวกเขานั้นได้
รับต�ำแหน่งสูงๆ ในทางราชการ

หนึ่งในบรรดาความฝันที่ส�ำคัญที่สุดในศาสนายิวก็คงเป็นฝันของ
ยาโคบ เขาฝันว่าเห็นเหล่าทูตสวรรค์ก�ำลังเดินขึ้น-ลงบันไดที่พาดลงมา
จากสรวงสวรรค์ และพระเป็นเจ้าก็ได้ทรงสัญญากับเขาว่า ที่นี่เองที่เขาและ
ครอบครัวจะตั้งรกรากกัน ซึ่งไม่กี่ปีต่อมา ยาโคบก็เปลี่ยนชื่อเป็นอิสราเอล
และทุกวันนี้ เหล่าลูกหลานทั้ง 12 เผ่าของเขาก็ยังคงถือสิทธิ์ในการครอบ
ครองดินแดนแห่งนั้น
ในศาสนาอิสลามเองก็พบว่ามูฮัมหมัดก็ได้รับการเปิดเผยโดยผ่าน
ทางความฝันเหมือนกับชนชาติยวิ ความฝันจึงเป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญส�ำหรับมุสลิม

วิถีมหาไถ่ 47
เช่นกัน ชาวฮินดู (Hindus) ก็เชื่อใน
การชี้น�ำของความฝัน ในขณะที่ชาว
ญีป่ นุ่ แม้กระทัง่ ในปัจจุบนั นี้ ก็มวี หิ าร
แห่งการชีน้ ำ� ของความฝันอยูเ่ ช่นกัน
ชาวเคลต์โบราณนั้นเชื่อว่า
ความฝันจะบอกพวกเขาว่าควรออก
ล่าสัตว์ในเวลาไหนจึงจะเป็นเวลาที่
ดีที่สุด กระทั่งการท�ำศึกสงครามก็ยังต้องอาศัยความฝัน บางครั้งพวกเขาก็
นอนหลับท่ามกลางบรรดารูปปั้นของเหล่าเทพยดาของพวกเขาเอง เพื่อว่า
อาจจะได้รับการดลใจบ้าง ส�ำหรับชาวกรีกโบราณนั้นเชื่อว่าฮิพนอส (เทพ
แห่งการหลับใหล) เป็นผูค้ รอบครองอาณาจักรแห่งความฝัน และคอยสือ่ สาร
กับมวลมนุษย์ผา่ นทางความฝันนีเ้ อง ในขณะทีอ่ าณาจักรโรมันรับความเชือ่
ของเทพเจ้ากรีกเข้ามานัน้ พวกเขาก็ได้รบั ความเชือ่ นี้
(ฮิพนอส) เข้ามาด้วย มากไปกว่านั้นพวกเขายังเพิ่ม
ความส�ำคัญให้แก่ความฝันมากขึ้นไปอีก จนกระทั่ง
จักรพรรดิบางองค์ของอาณาจักรโรมันนั้นถึงกับยอม
จ่ายเงินจ�ำนวนมากแก่ผู้พยากรณ์ เพื่อท�ำนายความ
ฝันของพวกเขาเอง

รูปคนโรมันนอน ชาวโรมันนั้นเชื่อว่าในความฝันนั้นมีความลับอยู่มากมาย ในวิหาร


ของพวกเขาจึงมีห้องเฉพาะ เพื่อให้คู่หนุ่มสาวจ่ายเงินและเข้าไปนอนหลับ ด้วยหวัง
ว่าจะได้รับนิมิตหรือการดลใจจากเทพเจ้าบ้าง
รูปกวาง ภาพบนผนังถ�้ำอายุกว่า 15,000 ปีนี้ คาดว่าเป็นการสื่อถึงหมอผีที่เขียนรูป
กวางเพศผู้จากการจินตนาการถึงรูปเหยื่อในความฝัน ซึ่งคนทรงประจ�ำเผ่านั้นมีสิทธิ์
มีอ�ำนาจเหนือเหยื่อของพวกเขา

48 วิถีมหาไถ่
หัวใจของต�ำนานแห่งเผ่าอะ
บอริจินนั้นก็คือ “ขณะฝัน” เป็นช่วง
เวลาทีเ่ หล่าจิตวิญญาณทีห่ ลับใหลอยู่
ได้ฟื้นจากนิทราเพื่อมาสร้างโลกใบ
นี้ พวกเขา (เหล่าจิตวิญญาณ) เป็น
ผู้สร้างและขีดแบ่งเขตแดนต่างๆ น�ำ
ชีวิตมาสู่เหล่าสรรพสัตว์ พืชพรรณ
และภู ผ าทั้ ง หลายด้ ว ยการขั บ ขาน
นาม (อันมิเป็นที่ล่วงรู้) ของพวกเขา
เอง จิตวิญญาณเหล่านี้ได้กระท�ำสิ่ง
เหล่านี้ก่อนที่จะจมลึกสู่ห้วงนิทราอีกครั้งหนึ่ง ดังนั้นชาวอะบอริจินจึงให้
ความส�ำคัญแก่พลังในการหลับใหล (ความฝัน) และถ้อยค�ำทั้งหลายซึ่งมา
กับความฝันเหล่านั้นอย่างมาก อย่างไรก็ตามแม้ความลับแห่ง “ขณะฝัน”
จะยังคงถูกปิดบังไว้ แต่ผอู้ าวุโสบางคนทีร่ กู้ ไ็ ด้ถา่ ยทอดภาพเหล่านัน้ ไว้ตาม
ภูผาต่างๆ (ดังภาพ)
ชาวพืน้ เมืองอเมริกนั หรือทีเ่ รารูจ้ กั กันว่าอินเดียนแดงนัน้ ก็ให้ความ
ส�ำคัญกับความฝันมากเช่นกัน พวกเขาเชื่อว่าการหลับนั้นสามารถเปิดเผย
ความปรารถนาที่แท้จริงแห่งจิตวิญญาณได้ พวกเขายึดมั่นในความเชื่อที่
ว่า ความลับแห่งโลกมนุษย์และโลกแห่งจิตวิญญาณจะถูกเปิดเผยได้โดย
ผ่านทางความฝันนี่เอง และพวกเขาก็จะเลือกผู้ที่สามารถเข้าใจความฝันได้
ดีที่สุดให้เป็นคนทรงประจ�ำเผ่า ด้วยพลังแห่งความฝันนี้อีกเช่นกันที่ท�ำให้
เหล่านักรบของพวกเขาถูกตั้งความหวังไว้ว่าจะสามารถล่าสัตว์กลับมาได้
อย่างแน่นอน ก่อนการออกล่าสัตว์ พวกเขาคาดหวังว่าจะได้พบกับนิมติ แห่ง
“วิถี” ของเหล่าสัตว์ที่พวกเขาจะล่า ซึ่งต่อมาก็กลายเป็นการให้ความเคารพ
แก่สงิ่ สร้าง ทัง้ หลายทีจ่ ำ� เป็นจะต้องสังเวยชีวติ ของตนเพือ่ ความอยูร่ อดของ
เผ่าพันธุ์
วิถีมหาไถ่ 49
อาณาจักรสวรรค์ยังเปรียบได้อีก
กับพ่อค้าที่แสวงหาไข่มุกเม็ดงาม
เมื่อได้พบไข่มุกที่มีค่าสูง เขาจะไปขายทุกสิ่งที่มี
น�ำเงินมาซื้อไข่มุกเม็ดนั้น (มธ 13:45-46)

ในชีวิตของเราทุกคนคงจะ กว่า แต่ถา้ ว่าสิง่ ต่างๆ ทีม่ คี า่ มากกว่า


ได้เคยเสียสละบางสิ่งเพื่อที่จะได้มา มีความส�ำคัญมากกว่า มีความสุข
ซึ่งบางสิ่ง อาจจะต้องเสียสละสิ่งที่ ยืนยาวกว่า ยังไม่อาจจะน�ำมาซึ่งสิ่ง
มีค่าน้อยกว่าเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่มี ที่มีค่ามากที่สุด มีความส�ำคัญมาก
ค่ามากกว่า อาจจะต้องเสียสละสิ่งที่ ทีส่ ดุ มีความสุขถาวรทีส่ ดุ เราก็ยงั คง
ส�ำคัญน้อยกว่าเพือ่ ให้ได้มาซึง่ สิง่ ทีม่ ี ต้องแสวงหาต่อไป ใช้เวลาต่อไป แต่
ความส�ำคัญมากกว่า อาจจะต้องเสีย อย่าลืมว่า เรามีเวลาจ�ำกัด... เพราะ
สละสิ่งที่ให้ความสุขในระยะสั้นกว่า ฉะนั้นอย่างหลงอยู่กับสิ่งที่ให้ความ
เพื่ อ รั ก ษาไว้ ซึ่ ง ความสุ ข ที่ ยื น ยาว สุ ข แก่ ตั ว เองระยะสั้ น นานเกิ น ไป

50 วิถีมหาไถ่
ควรแสวงหาสิ่งที่ให้ความสุขแท้และ
ยืนยาวแก่ตัวเราและผู้อื่น แก่กาย
และจิตใจ... สิ่งนั้นคืออะไร...
แล้วมันคืออะไร? อะไรคือ
สิ่งที่มีค่ามากกว่า อะไรคือสิ่งที่มีค่า
มากที่สุด อะไรคือสิ่งที่มีความหมาย
มากกว่า อะไรคือสิ่งที่มีความหมาย
มากที่สุด อะไรคือสิ่งที่ให้ความสุขที่
ยืนยาวกว่า และอะไรคือสิง่ ทีใ่ ห้ความ มองการณ์ไกลกว่าจะได้ประโยชน์
สุขที่ถาวรที่สุด ถามเด็กก็จะได้ค�ำ มากกว่า คนที่เปิดกว้างมากกว่าก็
ตอบอย่างหนี่ง ถามวัยรุ่นก็จะได้ค�ำ จะรับรูไ้ ด้มากกว่า เพราะว่าเมือ่ เวลา
ตอบอีกอย่างหนึ่ง ถามผู้ใหญ่ก็จะได้ ผ่านพ้นไปแล้ว มันไม่สามารถย้อน
ค�ำตอบอีกอย่างหนึ่ง ถามผู้สูงอายุก็ กลับมาได้อีก ชีวิตต้องวางแผน และ
จะได้ค�ำตอบอีกอย่างหนึ่ง ค�ำตอบ การวางแผนคืออีกหนึ่งลักษณะ
ที่ต่างกันแสดงถึงมุมมองชีวิตที่แตก ของผูม้ ใี จยากจน เพราะเขารูว้ า่ ทุก
ต่างกัน ต่างกันที่ประสบการณ์ ต่าง สิง่ ทุกอย่างล้วนมีขดี จ�ำกัด การขยาย
กันที่เวลา ต่างกันที่สถานที่ และต่าง ขอบเขตจ�ำกัดคือการยอมเสียสละ
กันทีอ่ ายุ ค�ำอธิบายทีแ่ ตกต่างกันจึง เปิดช่องว่างขยายพื้นที่ให้กับตัวเอง
เป็นสาเหตุของการไม่เข้าใจ หมางใจ เปิดใจที่จะรับรู้ เปิดตัวเพื่อให้คนอื่น
กัน ทะเลาะวิวาทกัน ค�ำอธิบายอะไร รับรู้ เปิดกรุสมบัตเิ ปิดกระเป๋าสตางค์
ก็ ต ามจะไม่ มี ค วามหมาย ถ้ า การ เพื่อที่จะปล่อยวาง...แล้วท�ำอย่างไร
อธิบายนั้นไม่ได้มาจากความเข้าใจ จึงจะได้สิ่งที่มีค่ามากที่สุด?
กันและกัน ห่วงใยกันและกัน จริงใจ ตั ว อย่ า งของคนซื้ อ หวย
และหวังดีต่อกันและกัน ยอมเสียเงินเพียงสิบบาท ยี่สิบบาท
การที่จะเข้าใจได้นั้นต้องใช้ หรือหนึ่งร้อยบาทเพื่อที่จะได้มาซึ่ง
เวลา ใช้ประสบการณ์ ดังนั้นคนที่ เงิน หนึง่ พันบาท หนึง่ หมืน่ บาทหรือ

วิถีมหาไถ่ 51
มากกว่านั้นโดยที่ไม่ได้คิดว่าอาจจะ มีค่ามากกว่า แต่ก็ยังไม่เท่ากับพ่อ
ต้องสูญเสียสิ่งที่มีอยู่ไป แน่นอนว่า แม่ ที่ ย อมยกลู ก ของตนให้ กั บ พระ
เขามีความสุขที่ได้ซื้อ มีความพอใจ เป็นเจ้าโดยการให้เป็นนักบวชเพื่อ
ที่ได้ลุ้น ได้มีความหวัง แต่! หาก เห็นแก่ผลประโยชน์ของพระศาสนา
ผิดหวังทุกอย่างก็สิ้นสูญ ความสุข และคนส่วนใหญ่ เพราะเขาเห็นว่า
ความพอใจ การได้ลุ้นได้หวัง น�ำ มี ค วามหมายมากกว่ า และยิ่ ง ไม่
มาซึ่งความเศร้า เหงา หงอย อ่อน เท่ากับผู้ที่ได้สละละทิ้งน�้ำใจของตัว
แรงและเสียดาย เพราะเราคาดหวัง เองและทุกสิ่งทุกอย่างมอบตัวเอง
ในสิ่งที่ไม่แน่นอน ซึ่งต่างกับคนที่ ทั้งครบเพื่อแลกกับการเป็นผู้รับใช้
พยายามที่จะยอมใช้จ่ายน้อยกว่าใน น�้ำพระทัยของพระเป็นเจ้าแต่เพียง
แต่ละเดือนเพื่อที่จะเก็บเงินไว้ซื้อรถ ผู้เดียวเพราะเขาเห็นว่านั่นคือเป้า
หรือบ้านหรือสิ่งของที่จ�ำเป็น ที่เขา หมายของการมีชีวิตของเขา
เห็นว่ามีความส�ำคัญต่อชีวิตของเขา ไม่ มี อ ะไรที่ จ ะให้ เ ขาฟุ ่ ม -
มากกว่า และก็ยงั แตกต่างจากคนใช้ เฟือย สุรุ่ยสุร่าย ไม่มีอะไรให้เขา
รถประจ�ำทางเพื่อที่จะประหยัดเงิน สิ้นเปลือง ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของ เวลา
ไว้เพื่อเป็นเงินส�ำหรับค่าการศึกษา หรือแม้กระทัง่ ร่างกายเพราะเขารูว้ า่
ของบุตรหลานของตนที่เขาเห็นว่า นี่คือสิ่งที่เขาแสวงหา... นั่นคือ “น�้ำ
พระทัยของพระเป็นเจ้า” อันเป็นสิ่ง
ที่มีค่า มีความหมายและให้ความสุข
ที่ถาวรที่สุด
“น�ำ้ พระทัยของพระเป็นเจ้า”
เป็นสิ่งที่มีอยู่ส�ำหรับทุกคน ทุกเพศ
ทุกวัย ทุกฐานะ ทุกสาขาอาชีพ ทุก
เชื้อชาติ เพราะฉะนั้นจึงเป็นหน้าที่
ของคนที่ ป รารถนาความสุ ข ที่ จ ะ
ต้องสังเกต เรียนรู้ แสวงหา ภาวนา

52 วิถีมหาไถ่
เล็กน้อย สิ่งที่พอจะให้ความสุขได้
บ้าง เพือ่ ทีจ่ ะได้สงิ่ ทีย่ งิ่ ใหญ่กว่า มีคา่
มากกว่าและให้ความสุขถาวรที่สุด
หรือไม่? หรือถ้าหากว่า คุณยังไม่
พร้อมหรือไม่ใช่สงิ่ ทีเ่ ป็นกระแสเรียก
ของคุณ ก็จะเป็นการดีทคี่ ณ ุ จะมีสว่ น
ส่งเสริม สนับสนุนผู้ที่ได้ยอมสละตัว
เองเพื่อพระเป็นเจ้าเพื่อน�้ำพระทัย
เปิดรับและพร้อมที่จะเสียสละน�้ำใจ ของพระองค์ ไม่ว่าคนๆ นั้นอาจจะ
ของตนเอง เพื่อน�้ำพระทัยของพระ เป็นลูกของคุณ หลานของคุณ ญาติ
เป็นเจ้า ซึ่งจะท�ำให้บังเกิดความสุข ของคุณ พี่น้องของคุณหรือเพื่อน
ส�ำหรับตัวเองและส�ำหรับคนอื่นๆ ของคุ ณ ก็ ข อให้ คุ ณ สนั บ สนุ น ส่ ง
คนที่พร้อมจะมีความสุข เสริมเขา ให้ก�ำลังใจเขา สวดภาวนา
มากที่ สุ ด คื อ คนที่ พ ร้ อ มจะสละ เพื่อเขา อย่าได้ขัดขวางเขาเลย อย่า
น�้ำใจของตนเองมากที่สุด คนที่ ได้ท�ำลายกระแสเรียกของเขาเลย
พร้อมสละน�้ำใจของตนเองมากที่สุด เพราะการสนับสนุนเขาอาจจะเป็น
คือคนทีพ่ ร้อมจะละทิง้ ทุกสิง่ ทุกอย่าง น�้ำพระทัยของพระเป็นเจ้าส�ำหรับ
กลั บ กลายเป็ น คนที่ ไ ม่ มี อ ะไรเลย คุณ ให้สิ่งที่ดีที่สุดแก่คนที่คุณรัก
กลั บ กลายเป็ น คนยากจนต่ อ หน้ า เถอะครับ ยอมเสียสละคนที่มีค่า
พระเป็นเจ้า กลับกลายเป็นเครื่อง ส�ำหรับคุณ เพื่อที่เขาจะได้เป็น
มือทีจ่ ะสนองน�ำ้ พระทัยของพระองค์ คนที่มีค่ามากกว่าส�ำหรับทุกคน
กลับกลายเป็นผูท้ จี่ ะมอบความสุขให้ และเป็ น คนที่ มี ค ่ า ที่ สุ ด ส� ำ หรั บ
กับสังคมและทุกคน พระเป็นเจ้า และนั่นคือความสุขที่
ดั ง นี้ แ ล้ ว “ผู ้ ที่ ป รารถนา ทัง้ คุณและเขาต่างก็ปรารถนา มันคือ
ความสุขจะกลับกลายเป็นผู้ที่มอบ ความสุขที่สุดในชีวิต มันเป็นโอกาส
ความสุข” คุณพร้อมที่จะเสียสละสิ่ง ของคุณ...ที่จะเสียสละ...

วิถีมหาไถ่ 53
ยามเมื่อความเหงามาเยือนคุณ
เหมือนดั่งหิมะที่ปกคลุมคุณ
การเบิกตาขึ้นไปหาพระเจ้านั้น
เป็นหนทางที่ดีที่สุด
ค�ำพูดแย่แย่
สามารถท�ำให้คุณรู้สึกท้อแท้ได้
ความตึงเครียดก็ท�ำให้คุณรู้สึกท้อแท้ได้เช่นกัน
มันเป็นดั่งแพที่ล่องลอยอยู่บนเกลียวคลื่นอันเชี่ยวกราด
ความกังวลมักจะท�ำให้คุณท้อแท้และหมดหวัง
ตราบจนกระทั่งวันสุดท้ายของคุณ
บางครั้งเพื่อนของคุณเองก็ทิ้งคุณ
ให้คุณร้องไห้อยู่ตรงนั้นโดยปราศจากค�ำปลอบโยนใดใด
แต่พระเจ้าไม่เคยที่จะทอดทิ้งคุณ
พระองค์คือค�ำภาวนาที่อยู่ห่างห่าง
และความสุภาพอันงดงามของพระองค์
ก็เพียงพอที่จะเปลี่ยนแปลงชีวิตของคุณในวันนี้
ยามเมื่อความเหงามาเยือนคุณ ท�ำให้คุณสิ้นหวัง
พระเจ้าจะเป็นดั่งสมอเรือ
ที่จะช่วยให้คุณยืนหยัดมั่นคงอยู่ในท้องทะเล
ที่เต็มไปด้วยเกลียวคลื่นอันเชี่ยวกราด
เคลย์ แฮร์ริสัน

“เราอยู่กับท่าน เราจะพิทักษ์รักษาท่านทุกแห่งที่ท่านไปและจะน�ำท่านกลับมายังแผ่นดินนี้
เราจะไม่ทอดทิ้งท่าน จนกว่าเราจะได้ท�ำสิ่งที่เราสัญญาไว้กับท่าน” (ปฐก 28: 15)
ที่มา: Joy within your heart
ไอ้หนุ่มชายแดน ถอดความ
54 วิถีมหาไถ่
วิถีมหาไถ่ 55
Dharmaram Debate 2010
ในประเด็นเกี่ยวกับการอบรมในบ้านเณร
จริงหรือ???
ที่การอบรมในบ้านเณรไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชาวอินเดีย!!!
ผู้เข้าร่วมโต้วาที มาจาก 8 บ้านอบรม ดังนี้
1. St.Peter’s Malleswaram
2. Tejas Vidya peetham, Kengeri (MSFS)
3. Dharmaram College (CMI)
4. Camillian Seminary (MI)
5. Chavalier Bhavan (MSC)
6. Carmel Jyothi (O.CARM)
7. Montfort Bhavan (SMM)
8. Rosarians (CR)

ตัวแทนบ้านละ 2 คน คนหนึ่งเป็นฝ่ายเสนอ อีกคนหนึ่งเป็นฝ่ายค้าน


โดยผู้เข้าร่วมแข่งขัน จะต้องพูดในหัวข้อการเมือง-สังคม, สภาพเศรษฐกิจ, และ
ศาสนาที่หลากหลาย

กรรมการ
1. Fr. Joise Fernandes (J.F.) อดีตอธิการเจ้าคณะแขวงคณะภราดาน้อยฟรังซิสกัน
2. Fr. George Areekal, C.Ss.R. (G.A.) ศาสตราจารย์อาคันตุกะสาขาวิชากฎหมาย
พระศาสนจักร
3. Mr. Josie Peter (J.P.) เจ้าหน้าที่ทีมพัฒนา บริษัทประกันชีวิตแห่งอินเดีย อาจารย์
พิเศษวิชางานอภิบาลเยาวชน ที่ Christ University

กติกา ผู้พูดจะมีเวลาพูดคนละ 5 นาที และอีก 3 นาที ส�ำหรับตอบค�ำถามของคณะ


กรรมการ ผู้เข้าร่วมแข่งขันควรตอบค�ำถามให้กระชับและได้ใจความ

56 วิถีมหาไถ่
ฝ่ายค้านคนที่ 1

· ในทุกๆ ศาสนา พระสงฆ์เป็นคนกลางระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์


น�ำค�ำภาวนาและของถวายของประชากรไปมอบแด่พระเจ้า พร้อม
ทั้งน�ำพระพรและโอวาทของพระเจ้ากลับมา ในจดหมายของเปาโล
ถึงทิโมธีฉบับที่ 1 กล่าวว่า “พระคริสตเจ้าเพียงผู้เดียวทรงที่เป็น
คนกลาง” (2: 5) และยังทรงเป็นสงฆ์ด้วย ดังนั้นความเป็นสงฆ์ของ
พระคริสตเจ้าจึงสืบทอดต่อมายังพระสงฆ์ทุกองค์
· คุณคิดว่าระบบการอบรมในบ้านเณรมีส่วนช่วยท�ำให้บรรดาเณร
สามารถที่จะท�ำหน้าที่พระสงฆ์ได้อย่างดีหรือ ???
· ผมขอตอบอย่างชัดเจนว่า “ไม่”
· ปรั ช ญาและเทววิ ท ยาที่ เ ราเรี ย นมากมายไม่ ไ ด้ น� ำ สู ่ ก ารปฏิ บั ติ
ไม่มีความสัมพันธ์กับปัญหาของอินเดีย เช่น ปัญหาความยากจน
ปัญหาวรรณะ ปัญหาการอยู่ร่วมกัน และปัญหาเรื่องความเชื่อและ
ข้อค�ำสอนของศาสนาอื่นเลย
· ในบริบทของสังคมอินเดีย มีความจริงอยู่สองประการ คือ มีความ
หลากหลายทางศาสนา และ มีคนจ�ำนวนมากที่ยากจน
· วิชาที่พวกเราเรียนช่วยพวกเราในการวิเคราะห์ปัญหา แต่ไม่น�ำ
พวกเราเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของปัญหา วิชาที่เราเรียนเน้นไป
ด้านข้อความเชื่อ ทฤษฎี และ กฏต่างๆ และบ่อยครั้งที่มิติด้าน
การปฏิบัติไม่ได้ถูกสอนอย่างเหมาะสม วิถีชีวิตของพวกเรานั่น
แหละคือปัญหา หลายต่อหลายครั้งที่บรรดาเณรตั้งค�ำถามว่า เรา
จะเรียนวิชาพวกนี้ไปท�ำไม เพราะมันไม่สามารถน�ำไปใช้ในงาน
อภิบาลได้ หรือแม้แต่เวลาที่เราออกไปสัมผัสชีวิตภายนอก เราไม่
ได้ไปท�ำงานอภิบาล แต่เป็นการไปพักผ่อน และหลีกหนีจากชีวิต
ในบ้านเณร

วิถีมหาไถ่ 57
· ชีวิตเณรมีความมั่นคงและปลอดภัย เมื่อได้ยินเสียงกริ่งก็เข้าวัด
เข้าห้องเรียน เข้าห้องอาหาร สุดท้ายก็เข้านอน ทุกสิ่งถูกจัดวางไว้
อย่างดี เป็นระบบระเบียบ
· แต่ส�ำหรับคนส่วนมากในอินเดีย ชีวิตของพวกเขาต่อสู้ดิ้นรนเพื่อ
หาอาหารกิน หางานท�ำ พวกเขาต้องต่อสู้กับปัญหาชนชั้นวรรณะ
การทุจริตคอรัปชั่นในสังคม ทุกวันนี้มีประชากรหลายล้านคนที่
ต้องต่อสู้เพื่อจะมีชีวิตอยู่ ร้อยละสิบของประชากรอินเดียเท่านั้นที่
มีความมั่นคงในชีวิต พระสงฆ์และสามเณรเป็นส่วนหนึ่งในนั้น
· บางคนให้เหตุผลว่าบ้านเณรมีความจ�ำเป็นต้องจัดระบบโครงสร้าง
ใหม่ แน่นอนครับบ้านเณรบางแห่งถูกจัดโครงสร้างใหม่แล้ว แต่
น่าเสียดายที่บางครั้งโครงสร้างใหม่นี่แหละ ที่เป็นตัวการท�ำให้
เณรห่างไกลจากความจริงอันโหดร้ายของอินเดีย ดังนั้นสิ่งที่ควร
จะเปลี่ยนคือ วิถีชีวิตซึ่งไม่สอดคล้องกับคนหมู่มากในสังคม ไม่ใช่
ระบบโครงสร้าง
· ความจริง คือ ไม่มีเณรคนไหนตายเพราะหิวข้าว แต่เณรจะตาย
เพราะอย่างอื่น เมื่อเข้ามาในบ้านเณรครั้งแรก พวกเขาหิวกระหาย
ที่จะท�ำงานเพื่อพระเจ้า พระวรสาร พระศาสนจักร แต่เมื่อเขาเข้า
มาอยู่ในบ้านเณรได้สักพัก สิ่งเหล่านี้ก็ได้ตายจากตัวเขาไป
· หลายครั้งที่เราต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อความอยู่รอด ดังนั้นเพื่อให้
ระบบการอบรมในบ้านเณรยังคงอยู่ บ้านเณรต้องเปลี่ยนแปลง
อย่างชนิดถอนรากถอนโคน เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ของ
อินเดียในปัจจุบัน
· ทุกวันนี้ระบบการอบรมเณรทั้งมั่นคงและปลอดภัย เหมือนเรือที่
จอดเทียบท่าอยู่ แต่เรือไม่ได้ถูกสร้างมาให้จอดอยู่กับที่

J.P. นั่นหมายความว่า สิ่งที่คุณก�ำลังเป็น ก�ำลังท�ำอยู่ไร้ค่า ใช่หรือไม่

58 วิถีมหาไถ่
ฝ่ายเสนอคนที่ 1

· พระสงฆ์มีความหมายว่าผู้อาวุโส เป็นผู้ที่กราบทูลต่อพระเจ้า
โดยตรง ถวายค�ำภาวนา อีกทั้งน�ำพระพรและการเยียวยารักษา
กลับมามอบให้แก่ประชาชน เป็นคนกลางระหว่างพระเจ้ากับ
มนุษย์ เขาเป็นคนที่ท�ำให้พระคริสตเจ้าปรากฏมาโดยผ่านทาง
พระวาจาและศีลศักดิ์สิทธิ์
· เพื่อที่จะเป็นคนกลางระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ พระสงฆ์จ�ำเป็น
ต้องผูกพันกับพระเจ้ามากกว่าวัตถุฝ่ายโลก ในยุคปฏิรูปศาสนา
พระสงฆ์ผูกพันอยู่กับวัตถุและสิ่งของฝ่ายโลกจนท�ำให้เกิดการ
ทุจริตคอรัปชั่นกันในหมู่พระสงฆ์ และนี่คือสาเหตุที่ท�ำให้สภา
สังคายนาเมืองเตรนท์ แนะน�ำให้การอบรมในบ้านเณรต้องมีเครื่อง
แบบ(...ชุดเณรหรือชุดนักบวช), ระเบียบวินัยแบบนักพรต, และ
ตารางเวลาที่เคร่งครัด เพื่อผู้รับการอบรมจะได้แยกตัวเองให้ออก
ห่างจากโลก
· แต่เพราะค�ำสอนของสภาสังคายนาวาติกันที่ 2 และวิทยาการ
ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ท�ำให้เกิดมิติใหม่ในกระบวนการอบรมเณร ไม่
ว่าจะเป็นการสนับสนุนให้เณรค้นพบตนเอง, ส่งเสริมความรับ
ผิดชอบ ความคิดสร้างสรรค์, และความเข้าใจในวัฒนธรรมและ
ประเพณีท้องถิ่น
· ด้วยเหตุนี้ ระบบการอบรมในปัจจุบันจึงไม่ได้ห่างไกลจากวิถีชีวิต
ของคนอินเดียเลย ระบบการอบรมได้ปรับเข้าหาจิตวิญญาณและ
ความเป็นจริงของอินเดียแล้ว ดังนั้น ในทางปฏิบัติ บ้านเณรจึง
เป็นบ้านแห่งการฝึกจิตภาวนาและฝึกฝนคุณธรรม เช่น การอุทิศ
ตน และ ความเงียบ อย่างสมบูรณ์แบบ
· เราถูกเรียกร้องให้เป็นคนของพระเจ้า ให้สวดภาวนา ให้เป็นสงฆ์

วิถีมหาไถ่ 59
เพื่อพระคริสต์ ในพระคริสต์ และพร้อมกับพระคริสต์ ถูกเรียกร้อง
ให้ออกห่างจากโลก เพื่อที่จะได้เป็นคนงานที่มีประสิทธิภาพใน
พระอาณาจักรของพระเจ้า
· พระสงฆ์ไม่ใช่นักการเมือง ไม่ใช่นักสังคมสงเคราะห์ เขาเป็นคน
ของพระเจ้า เขาเป็นเครื่องหมายแสดงถึงพระเจ้า
· ทุกวันนี้ ชีวิตของพระสงฆ์ต้องเผชิญหน้ากับลัทธิบริโภคนิยม และ
ปัจเจกนิยม
· สามเณรทุกวันนี้ต้องมีการวิเคราะห์และไตร่ตรองถึงระบบการ
อบรมในปัจจุบัน ที่พวกเขาเรียกร้องให้เปลี่ยน แน่นอนว่าเรา
ต้องการการเปลี่ยนแปลง ไม่ใช่ในระบบการอบรมปัจจุบัน แต่
เป็นความมุ่งมั่นจากส่วนลึกของตัวสามเณรเอง เพราะการอบรม
เป็นการเปลี่ยนแปลงเพื่อบรรลุสู่ความเป็นบุคคลที่สมบูรณ์
· พระสงฆ์ที่เฉื่อยชา ขี้หงุดหงิด ไม่ซื่อสัตย์ เป็นผู้ซึ่งลืมความยิ่ง
ใหญ่และเกียรติของกระแสเรียกของเขา ใช่!! พวกเราต้องการที่จะ
เปลี่ยน แต่ไม่ใช่จากภายนอก แต่เป็นจากภายในใจเราเอง

J.P. คุ ณ หมายความว่ า เณรต้ อ งเปลี่ ย นแปลงตั ว เองจากภายใน


เพื่ อ ที่ จ ะไปเปลี่ ย นสั ง คมภายนอกแล้ ว ค� ำ ว่ า ออกห่ า งจากโลก
หมายความว่าอะไร???

ฝ่ายค้านคนที่ 2

· พระสงฆ์มีขึ้นเพื่อเป็นคนกลางระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ เพื่อที่
จะท�ำหน้าที่นี้เขาจะต้องรู้จักทั้งพระเจ้าและมนุษย์ แต่ระบบการ
อบรมในอินเดียนั้นห่างไกลจากชีวิตของประชาชน ผลการส�ำรวจ
ล่าสุด จากสามเณรกว่าหนึ่งพันคน จากบ้านเณรใหญ่ 24 แห่ง พบ

60 วิถีมหาไถ่
ว่า 58% ของบรรดาเณรไม่พอใจระบบการอบรมในปัจจุบัน
· Pastores Dabo Vobis กล่าวว่า ในการอบรมสามเณรควร
สนับสนุนให้เณรเรียนรู้ปัจจัยทางด้านศาสนา และปัจจัยทางด้าน
วัฒนธรรมของท้องถิ่น
· อินเดียเป็นแหล่งก�ำเนิดของศาสนามากมาย แต่บรรดาสามเณร
ไม่ถูกสอนให้เปิดใจต่อศาสนาอื่น พวกเขามองศาสนาอื่นว่างมงาย
สอนผิด ส�ำหรับพวกเขาแล้วความเชื่อคาทอลิกเท่านั้นที่ถูกต้อง
และความสูงส่งของข้อความเชื่อถูกเน้นย�้ำอยู่ตลอดเวลา
· การเรียนของเณรยังคงมุ่งเกี่ยวกับเรื่องของโลกหน้าและอิงกับ
วัฒนธรรมตะวันตก ทั้งๆ ที่ วิชาเทววิทยาและปรัชญา ควรจะมี
ความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของผู้ยากไร้ที่ต้องดิ้นรนต่อสู้ ในอินเดีย
มีทั้งปัญหาความยากจน, การขาดการศึกษา, การแสวงหาผล
ประโยชน์ และความรุนแรง พวกเณรควรจะถูกชักน�ำให้เปิดตัวเอง
ให้มากที่สุดต่อความเป็นจริงขั้นพื้นฐาน
· มีเณรสักกี่คนที่รู้ว่าข้าว (ซึ่งเป็นอาหารหลัก) กิโลกรัมละเท่าไหร่
มีสักกี่คนที่รู้ราคาค่าโดยสารรถไฟ รถเมล์ เขาไม่รู้ เพราะเขามี
ชาวต่างชาติใจบุญสนับสนุนพวกเขา ดังนั้นเขาจึงไม่ได้สัมผัส
กับปัญหาต่างๆ แล้วพวกเขาจะเข้าใจผู้หิวโหย ผู้ที่ต้องดิ้นรนนับ
ล้านๆ คนในประเทศนี้ได้อย่างไร
· ผู้มีอ�ำนาจในพระศาสนจักรยังคงนิ่งเฉยเมื่อเห็นพวกมุสลิมถูก
เบียดเบียน หรือเมื่อมีความอยุติธรรมเกิดขึ้นในสังคม แต่เมื่อใด
คริสตชนถูกเบียดเบียน ทุกคนจะรวมตัวกันชุมนุมประท้วง
· ภาษาเป็นลักษณะส�ำคัญที่สุดของวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้ ในก้าว
แรกพวกเราก็ควรเรียนรู้ภาษาท้องถิ่น พวกคุณรู้กันหลายภาษา
แต่มีสักกี่คนที่รู้ภาษาคานาดะ ภาษาของรัฐนี้ (คานาดะ เป็นภาษา
กลางของรัฐคานาตากะ ประเทศอินเดีย)

วิถีมหาไถ่ 61
J,P. ท�ำไมคุณต้องการให้สอนเรื่องภาษา หรือบอกราคาข้าวสาร?? คุณ
ไม่สามารถเรียนรู้ด้วยตัวเองหรือ ในเมื่อเทคโนโลยีอยู่ใกล้ตัวคุณ
เพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัส
และคุณอยู่ในกลุ่มไหน 58% หรือ 42%

ฝ่ายเสนอคนที่ 2

· ผมปรารถนาจะถามฝ่ายตรงข้ามว่า “คุณผ่านการอบรมจากที่ไหน
ไม่ใช่ในอินเดียหรือ หรือคุณไม่ได้เกิดในครอบครัวอินเดีย หรือไม่
ถูกเลี้ยงแบบคนอินเดีย??”
· ศาสนาแบบอินเดีย เน้นความเงียบและการร�ำพึงภาวนา มีใคร
สามารถบอกได้ไหมว่าในบ้านเณรไม่มีโอกาสเงียบ หรือไม่มีแม้
เวลาครึ่งชั่วโมงที่จะร�ำพึง มันขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบของแต่ละ
บุคคลที่จะใช้โอกาสนั้น
· บางคนกล่าวว่าพวกเราไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง ส�ำหรับผม การ
เมืองเป็นการยกระดับชีวิตของประชาชน หมายความว่า นักบวช
ทั้งชายและหญิงควรมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยการแสดงพลังต่อ
ต้านการกดขี่ข่มเหงและเรียกร้องสิทธิอันเท่าเทียม
· ระบบการอบรมของเราก็อยู่ในวิถีชีวิตแบบอินเดียอยู่แล้ว และ
ยิ่งชัดเจนขึ้นในกิจกรรมสัมผัสชีวิตชาวบ้าน ดังนั้นแล้วระบบการ
อบรมของเราจึงอยู่ไม่ห่างจากความเป็นจริงของสังคม
· พระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่สอง ใน Pastores Dabo Vobis
กล่าวว่า การอบรมปรัชญาและเทววิทยาจ�ำเป็นส�ำหรับชีวิตสงฆ์
เพราะจะท�ำให้ผู้รับการอบรมรู้จักความจริง และความจริงจะน�ำเขา
ไปสู่ชีวิตที่สมบูรณ์
· เราเป็นพระสงฆ์เพื่อผู้อื่น และพระสงฆ์ถูกเรียกมาเพื่อเป็นสงฆ์

62 วิถีมหาไถ่
ประกาศก นักเทศน์ ที่ปรึกษา ครู ผู้บริหาร ผู้ฝึกสอน และผู้รับใช้
· ไม่มีศาสนาใดด�ำรงอยู่ได้โดยปราศจากเอกลักษณ์ของศาสนานั้นๆ
การบูรณาการศาสนาและวัฒนธรรม ต้องเกิดขึ้นโดยคงเอกลักษณ์
ของศาสนาของตนไว้ อย่าให้สูญเสียไป

G.A. สหพันธ์สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งเอเชีย กล่าวว่า การอบรม


สามเณรต้องเกิดขึ้นในพื้นฐานของศาสนาและวัฒนธรรมเอเชีย

ฝ่ายค้านคนที่ 3

· เพื่อจะเข้าใจระยะห่างระหว่างการอบรมในบ้านเณรกับความเป็น
จริงในสังคมอินเดีย พวกเราต้องถามว่า “ท�ำไมพระสงฆ์หนุ่มยัง
คงต้องเผชิญหน้ากับความท้าทายในงานธรรมทูตอยู่ แม้จะเรียน
ปรัชญา เทววิทยา พิธีกรรม เป็นเวลายาวนานนับสิบปี”
· เราศึกษาปรัชญา (ที่มีพัฒนาการมานานหลายศตวรรษ) ในแบบ
ยุโรปตะวันตก แล้วคุณคิดว่าปรัชญานั้นช่วยเตรียมสามเณรให้
พร้อมที่จะเผชิญหน้ากับสถานการณ์ในอินเดียหรือไม่ พวกเราคุ้น
เคยกับปัญหาเชิงปรัชญา เรื่องการมีอยู่ของสิ่งโน้นสิ่งนี้ แต่อะไร
คือปัญหาของสังคมอินเดีย??
(1) ชาวนาตัดสินใจฆ่าตัวตาย เพราะหนี้สินล้นพ้นตัว
(2) เยาวชนจ�ำนวนมากหางานท�ำไม่ได้ และพวกเขาไม่รู้ว่า
ควรท�ำอะไรต่อไป
(3) คนอินเดียในออสเตรเลีย ถูกโจมตีเรื่องเชื้อชาติ
(4) เยาวชนหลายคนทิ้งพระ ไปหาโลกของวัตถุนิยม
· หลังจากที่พวกคุณเรียนปรัชญา คุณสามารถที่จะเผชิญกับความ
ท้าทายของสังคมปัจจุบันหรือไม่ วิชาเหล่านี้ไม่เพียงพอส�ำหรับ

วิถีมหาไถ่ 63
ปัญหามากมายในสังคม ซึ่งเราต้องเข้าไปมีส่วนร่วม
· มีพวกคุณสักกี่คนที่รู้ราคาข้าว น�้ำตาล ผัก ขณะเดียวกันคนทั่วไป
ต้องดิ้นรน หาเช้ากินค�่ำ พวกเราจะเป็นหนึ่งเดียวกับคนเหล่านั้น
ได้อย่างไร?? แน่นอนคุณท�ำไม่ได้ เพราะสิ่งที่คุณเรียนกับความ
จริงของอินเดียมันคนละเรื่องกัน นักปรัชญาหลายคนคงไม่ได้ช่วย
ให้คุณเข้าใจถึงความรุนแรงที่น�ำสู่การปฏิรูปของชาวเทเลกานา ใน
แคว้นอันดราประเทศ
· ในด้านเทววิทยา พวกคุณศึกษาค�ำสอนของบรรดาปิตาจารย์และ
จากบรรณฐาน คุณเทศน์เรื่องพระเยซูเจ้าทรงเป็นพระเจ้าแท้
และมนุษย์แท้ หรือเรื่องแม่พระเป็นมารดาพระเจ้า แต่เรื่องเหล่านี้
ไม่ใช่ปัญหาของกลุ่มคนที่คุณก�ำลังพูดกับเขา พวกเราไม่ได้อยู่ใน
ยุคของบรรดาปิตาจารย์ สัตบุรุษมีปัญหาหลายๆ อย่าง ซึ่งท�ำให้
เขาขาดสันติสุขในจิตใจ พวกเขาไม่มีเงินจ่ายค่าเช่าบ้าน ค่าน�้ำ ค่า
ไฟ สื่อมวลชนก�ำลังชักจูงเยาวชนให้หลงเดินทางผิด ครอบครัว
สุ่มเสี่ยงต่อการแตกแยก แต่พวกคุณกลับน�ำค�ำสอนของออกัสติน,
โทมัส อไควนัส ที่คุณเรียนในบ้านเณรมาสอนเขา เมื่อคุณสอนค�ำ
สอนเด็กคุณก็พูดเรื่องทฤษฎีเกี่ยวกับศีลมหาสนิท เมื่อเด็กๆ กลับ
บ้าน ก็จะบอกว่า “แม่ แม่ วันนี้บราเดอร์สอนอะไรก็ไม่รู้ ไม่เข้าใจ
เลย”
· เทววิทยาที่เราเรียนในบ้านเณร ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคน
อินเดีย และไม่สามารถเป็นเทววิทยาที่มีชีวิตส�ำหรับพวกเขา มัน
เป็นเพียงแค่เครื่องวัดระดับสติปัญญา การอบรมเทวศาสตร์ของ
พวกเราล้มเหลว ในอันที่จะยอมรับการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
ของสังคมมนุษย์ มันล้มเหลวในการประยุกต์ข่าวดีให้เข้ากับสังคม
อินเดีย บรรดาเณรปฏิเสธการประยุกต์พิธีกรรมและรูปแบบของ
การสวดภาวนา ให้เข้ากับวัฒนธรรมท้องถิ่น แต่ตามค�ำสอนของ

64 วิถีมหาไถ่
วาติกันที่สอง ระบุว่า “พระศาสนจักรท้องถิ่นมีหน้าที่ที่จะต้อง
ปรับกระบวนการอบรมพระสงฆ์ให้เข้ากับงานอภิบาลที่จ�ำเป็น
และเร่งด่วนในสังคมนั้นๆ” ใน Optatum Totius ข้อที่ 1 กล่าวไว้
ว่า “เนื่องจากมีชนชาติและภูมิประเทศแตกต่างกันอย่างมากมาย
ให้ตั้ง “ระบบอบรมพระสงฆ์” โดยเฉพาะขึ้นส�ำหรับแต่ละชาติหรือ
แต่ละจารีต ดังนี้ กฎทั่วๆ ไปก็จะเข้ากันได้กับสภาพแวดล้อมโดย
เฉพาะเรื่องเวลาและสถานที่ เพื่อให้การอบรมพระสงฆ์ถูกต้องตรง
กับความต้องการทางด้านการอภิบาลสัตบุรุษในท้องถิ่นที่พระสงฆ์
ต้องปฎิบัติหน้าที่” เอกสารของสภาพระสังฆราชอินเดีย ในการ
อบรมพระสงฆ์ กล่าวว่า “เณรควรที่จะได้รับโอกาส ในการพบปะ
กับชุมชนที่เขาต้องท�ำงานด้วยอย่างสม�่ำเสมอ” แต่ระบบการอบรม
ของเราไม่ได้เป็นอย่างนั้น ท�ำให้เกิดช่องว่างระหว่าง ระบบการ
อบรม กับ ชีวิตจริงของคนอินเดีย

J.P. แม้ คุ ณ จะคิ ด ว่ า การศึ ก ษาอบรมในบ้ า นเณรเป็ น เพี ย งแค่ ก าร


ทดสอบความรู้ แต่ในมุมมองของอีกหลายๆ คนที่มีต่อบ้านเณร
ชีวิตเณรเป็นแบบอย่างที่ดีมาก สถาบันอุดมศึกษาหลายต่อหลาย
แห่งข้างนอก นักเรียนมีแต่ความเดือดดาล โกรธเกลียดกัน บาง
ครั้งก็ลงเอยด้วยความเศร้าสลด เณรคาทอลิกจึงเป็นเหมือนแสง
สว่าง ระเบียบวินัยของเราเป็นภาพสะท้อนถึงพระคริสตเจ้า เพราะ
ระบบการอบรมของเราก�ำหนดให้เราท�ำอย่างนี้ แต่เราไม่ได้ถูก
สอนให้จัดการกับปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหาความเกลียดชัง ปัญหา
การฆ่าตัวตาย พวกเราควรที่จะเรียนเรื่องพวกนี้ เพราะหน้าที่ของ
เราคือการดูแลและคอยช่วยเหลือผู้อื่น

วิถีมหาไถ่ 65
ฝ่ายเสนอคนที่ 3

· เราจะพูดได้อย่างไรว่าระบบการอบรมของเราห่างเหินจากชีวิตคน
อินเดีย?? พวกเราจะพูดได้อย่างไรว่าชีวิตเณรของพวกเราถูกแยก
ออกจากบริบทของ ระบบการเมือง-สังคม สภาพเศรษฐกิจ และ
ศาสนาที่หลากหลายในอินเดีย
· พวกเราเป็นหนึ่งเดียวกับวิถีชีวิตของชาวอินเดียแล้ว เพราะไม่
ว่าจะเป็นแผ่นดินที่เราเหยียบ น�้ำที่เราดื่ม อากาศที่เราหายใจ
วัฒนธรรมที่เราเป็นอยู่ ทั้งหมดก็เป็นอินเดีย
· พวกเราไม่ต้องการการเปลี่ยนแปลงใดๆ จากภายนอก แต่การ
เปลี่ยนแปลง ต้องเกิดขึ้นจากตัวเราเอง
· พระสันตะปาปายอห์น ปอลที่ 2 ใน Pastores Dabo Vobis กล่าว
ว่า “พันธกิจของพระสงฆ์ในพระศาสนจักรก็คือการมีส่วนในชีวิต
สงฆ์ของพระคริสตเจ้า ความเป็นสงฆ์ของพระคริสตเจ้าไม่ได้อยู่ที่
พระองค์แต่ผู้เดียว แต่อยู่ที่พระสงฆ์ทุกองค์” และเณรทุกคนก�ำลัง
ถูกฝึกให้ก้าวเข้าไปสู่ชีวิตสงฆ์ของพระคริสตเจ้า
· ทุกวันนี้ เณรได้รับโอกาสเพียงพอ ที่จะสัมผัสกับสภาพสังคม
เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมอินเดียหรือไม่?? ผมขอตอบว่า “เพียง
พอ”
· ในบริบทการเมืองและสังคม : เณรมีโอกาสเพียงพอที่จะปฏิสัม-
พันธ์กับพี่น้องต่างความเชื่อ, ต่างวัฒนธรรม, ต่างเพศ กับคนยาก
จน, คนเจ็บคนป่วย, คนชายขอบ เณรใหญ่ทุกคนมีโอกาสที่จะไป
สัมผัสชีวิตคนในสังคม
· ในบริบทของเศรษฐกิจ : หลายบ้านเณร ผู้สมัครได้รับการสนับ-
สนุนในท�ำงาน เรียนรู้จักการด�ำรงชีวิต และใช้ชีวิตอยู่กับชนชั้น
กรรมาชีพบางช่วงเวลาของการอบรม ในสมณสาสน์ Ecclesia in

66 วิถีมหาไถ่
Asia พระสันตะปาปายอห์น ปอลที่ 2 กล่าวว่า “ในการอบรม เณร
จะได้รับโอกาสให้ติดต่อและสนองตอบกับการต่อสู้เพื่อศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์และสิทธิขั้นพื้นฐานของมวลชน” แล้วพวกเราจะ
พูดได้อย่างไรว่า ระบบการอบรมนั้นห่างไกลจากความจริงด้าน
เศรษฐกิจของอินเดีย
· ในบริบทของพหุศาสนา : บริบทของการอบรมก็คือการท�ำให้เณร
สามารถรู้สึกถึงความต้องการของผู้อื่น ต้องแบ่งปันของของตน
ให้คนอื่น ละทิ้งอคติ และตระหนักรู้ถึงการมีอยู่ของพระจิตเจ้าใน
ศาสนาอื่น
· โดยสรุป หลายประเด็นที่กล่าวมานั้นมีเหตุผลเพียงพอที่จะพูดได้
ว่าระบบการอบรมของเรา อยู่ไม่ห่างจากชีวิตของคนอินเดีย แล้ว
เราจะพูดได้อย่างไรว่าชีวิตเณรออกห่างจากบริบททางการเมือง-
สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมทางศาสนาของอินเดีย

J.F. ถ้าระบบการอบรมเหมาะสมแล้ว ท�ำไมพวกเราไม่เห็นผลของมัน


ในตัวของพระสงฆ์รวมทั้งในงานในอภิบาลด้วย

J.P. มหาตมะ คานธี กล่าวไว้ว่า “ฉันรักพระเยซูเจ้า แต่ฉันไม่ชอบพวก


คริสตชน เขาไม่ค่อยเหมือนพระเยซูเจ้าเลย”

ฝ่ายเสนอคนที่ 4
· “มหาสมณะทุกองค์ย่อมได้รับการคัดเลือกจากมวลมนุษย์ ได้รับ
แต่งตั้งให้เป็นผู้แทนมนุษย์ในความสัมพันธ์ติดต่อกับพระเจ้า เพื่อ
ถวายทั้งบรรณาการและเครื่องบูชาชดเชยบาป”(ฮบ 5:1)
· พระสงฆ์เป็นคนของพระเจ้า เป็นผู้รอบรู้ เป็นผู้เผยให้เราทราบถึง
คุณค่าของพระคริสต์ เขาท�ำหน้าที่ของประกาศก สร้างชุมชนแห่ง

วิถีมหาไถ่ 67
การนมัสการ ในสังคมใหญ่อย่างอินเดียยิ่งท้าทาย เพราะแต่ละ
ชุมชนก็มีแนวโน้มของปัญหาเรื่องวรรณะ ภาษา ศาสนา ศิษยา-
ภิบาลท่านหนึ่งเคยกล่าวว่า “ใครถือชนชั้นวรรณะก็ไม่ใช่คริสตชน”
เพื่อแก้ปัญหานี้ พระศาสนจักรต้องการผู้สอนที่ดีและเป็นประจักษ์
พยานถึงพระคริสตเจ้า คนข้างนอกเขาพูดกันว่าคาทอลิกนั้น “ดี”
เพราะเราร่วมมือกัน เราเรียนรู้ค่านิยมนี้มาจากพระศาสนจักร
· ประชากรส่วนใหญ่ในอินเดียอาศัยในหมู่บ้าน พื้นฐานทาง
เศรษฐกิจของพวกเขาคือเกษตรกรรม กระแสโลกาภิวัฒน์ท�ำให้
มาตรฐานการครองชีพของพวกเขาต�่ำ คนรวยรวยขึ้น คนจนจนลง
ช่องว่างระหว่างคนสองกลุ่มนี้เพิ่มสูงขึ้น

G.A. ระบบการอบรมของเราจั ด การกั บ ปั ญ หาเหล่ า นี้ ด ้ ว ยการสาน


เสวนากับพี่น้องต่างศาสนาหรือไม่ ตัวอย่างเช่น พระคาร์ดินัล
Varkey Vithayathl ไปร่วมงาน Kumbh Mela (เป็นเทศกาลเฉลิม
ฉลองของชาวฮินดู ที่บรรดาศาสนิกชนจะไปรวมกันที่แม่น�้ำคงคา)

J.F. มีหลายสิ่งหลายอย่างถูกป้อนเข้าไปในบ้านเณร แต่ผลลัพธ์ที่ได้


ออกมาดูเหมือนว่าไม่คุ้มกับสิ่งที่ถูกป้อนเข้าไป
เราจะอธิบายผู้ที่ประสบกับความรุนแรงในรัฐโอริสสา อย่างเช่น
คุณพ่อ อีริค ปรากาช ได้อย่างไร

ฝ่ายค้านคนที่ 4

· มีคนกล่าวว่า เมื่อพวกเราเข้าไปในสักการสถานของศาสนาอื่น
แล้ว เราก็ควรจะถอดรองเท้าออก และส�ำนึกว่าสถานที่นี้ก็เป็น
สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เพราะพระเจ้าอยู่ที่นั่นตั้งแต่ก่อนเราเกิดเสียอีก

68 วิถีมหาไถ่
· พระสงฆ์ถูกคาดหวังให้เป็นผู้ที่แก้ปัญหาการทุจริตในสังคม แต่
ปัจจุบันแนวคิดนี้เปลี่ยนไป เณรก�ำลังกลายเป็นคนช่างฝัน
มากกว่าเป็นนักปฏิบัติ
· ในปี 2006 หน้าปกนิตยสารฉบับหนึ่งพาดหัวว่า “พระสงฆ์เป็น
อาชีพหรือชีวิต” เรื่องนี้ถึงกับต้องขึ้นศาล เพราะเป็นค�ำถามที่
ท�ำให้เสื่อมเสียเกียรติ
· ผมอยากจะกล่าวว่าหลังจากหลายปีของการเรียนและการอบรม
เณรกลายเป็น คนที่ สนใจแต่เงิน สนใจแต่งาน แต่ไม่สนใจการ
บริการรับใช้
· การเมืองเป็นส่วนส�ำคัญของชีวิตคนอินเดีย แต่พวกเรากับสนใจ
การเมืองในแวดวงพระสงฆ์ – นักบวช เมื่อคนหนึ่งท�ำสิ่งที่ดีและมี
คุณค่า พวกเราก็ไปห้ามเขาไว้ไม่ให้ท�ำด้วยเหตุผลทางวัฒนธรรม
ศาสนา และการเมือง ระบบวรรณะยังคงเป็นประเด็นส�ำคัญและ
เป็นเรื่องละเอียดอ่อนในสังคมอินเดีย แต่พวกเราเลี่ยงที่จะไม่พูด
ถึง มองข้ามมัน แสดงว่าพวกเราไม่รู้วิธีการแก้ปัญหา
· ต่อไปเป็นประเด็นด้านเศรษฐกิจ ราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้น ชาว
อินเดียกว่า 70% มีรายได้ต�่ำกว่าเส้นความยากจน ส�ำหรับพวก
เขาการจะจ่ายค่าอาหารแต่ละครั้ง มันยากล�ำบากเหลือเกิน ชนชั้น
กลางที่มีรายได้น้อย ต้องปรับตัว แต่ในบ้านเณรเรามีทุกอย่าง
แสดงว่าไม่มีเณรคนไหนที่อดอยากหรือหิวโหย
· พระเยซูเจ้าเดินทางไปทั่วปาเลสไตน์ด้วยเท้าสองข้าง แต่พวกเรา
ต้องการมอเตอร์ไซค์
· ในศาสนาฮินดูมีพวกสันยาสี (SANYASA) ซึ่งหมายถึง ผู้สละโลก
· แต่พวกเราพระสงฆ์คาทอลิกกลับสะสมสิ่งของทางโลกมากมาย
พวกเราก�ำลังจะกลายเป็นเหมือนเจ้าชายหรือกษัตริย์ พระสงฆ์
ควรเป็นคนที่พร้อมเสมอเพื่อคนอื่น

วิถีมหาไถ่ 69
· ปัจจุบัน พระสงฆ์กลายเป็นคนที่พร้อมเสมอเพื่อตัวเอง
· เมือ่ พวกเราดูจ�ำนวนคนที่นับถือศาสนาต่างๆ ในอินเดียจะพบว่า
 687.6 ล้าน นับถือศาสนาฮินดู
 101.6 ล้าน นับถือศาสนาอิสลาม
 19.6 ล้าน นับถือศาสนาคริสต์
 3.3 ล้าน นับถือศาสนาเชน
· อินเดียเป็นสังคมแห่งความหลากหลาย แต่แทนที่เราจะมองว่า
ความหลากหลายเป็นของขวัญของพระเจ้า หรือ เป็นความร�่ำรวย
ทางวัฒนธรรม พวกเรากลับไม่ยอมเรียนรู้ที่จะอยู่กับความแตก
ต่าง พวกเราไม่มีปฏิสัมพันธ์กับคนต่างศาสนา พวกเราไม่สร้าง
เครือข่ายกับพวกเขา พวกเราไม่พัฒนาความสัมพันธ์กับพี่น้อง
ต่างนิกาย พวกเรามัวแต่เสพติดกับหลักการและทฤษฎี
· “เราจะปฏิบัติตามค่านิยมแห่งพระวรสาร ในเรื่องความยุติธรรม,
เสรีภาพ, และความรัก ได้อย่างไร?” นั่นเป็นความท้าทายที่ส�ำคัญ
กว่าปัญหา “คนละทิ้งความเชื่อ”
· พวกเราจะภาวนาและร�ำพึงอย่างไร พวกเราเข้าวัดเพียงเพราะเรา
ต้องเข้าใช่หรือไม่ เพราะถ้าไม่เข้า จะถูกไล่ออกจากบ้านเณร
· Vita Consecrata กล่าวว่า “กระบวนการอบรมต้องครอบคลุมทุก
มิติของชีวิตของคนๆ นั้น” แต่สิ่งนี้ยังไม่เกิดขึ้น ระบบการอบรม
ควรผลิตพระสงฆ์ที่มีเมตตา ที่เป็นห่วงเป็นใยคนอื่น มีชีวิตจิตที่ดี
อยู่ร่วมกับคนอื่นได้ รู้จักเห็นอกเห็นใจคนอื่น และประคับประคอง
ชีวิตผู้อื่นได้ นับเป็นความท้าทายที่ยากมากทีเดียว
· สหพันธ์สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งเอเชีย (FABC) กล่าวว่า
“พวกเราก�ำลังเหินห่างจากเณรของเรา” พวกเขาไม่มีปฏิสัมพันธ์
กับสภาพความเป็นจริงของสังคมอินเดีย แต่พวกเราเป็นชาว
อินเดีย

70 วิถีมหาไถ่
· ดังนั้นในการเรียนเทววิทยาก็ควรเพิ่มอัตลักษณ์ของอินเดียเข้าไป
ด้วย
· ปัญหาเรื่องระบบวรรณะได้มีอิทธิพลต่อการวางแผนการอบรม
หรือไม่ หรือเรื่องวรรณะนี้เป็นเหมือนวัว ที่เราไม่สามารถแตะต้อง
ได้

ตามข้อมูลของธนาคารโลก ประชากรอินเดีย 456 ล้านคน หรือ


42% มีรายได้ต�่ำกว่าเส้นความยากจน คือ ต�่ำกว่าวันละ 1.25
ดอลลาร์สหรัฐ (Martin Ravillion and Shaohua Chen, 2008)
หนึ่งในสามของประชากรโลก มีรายได้ต�่ำกว่าวันละ 2 ดอลลาร์
สหรัฐ ความยากจนมีสัดส่วนสูงมากแถบ ซะฮารา ทวีปแอฟริกา
ประเทศจีนมีอัตราคนยากจนลดลง เหลือเพียง 16% ในปัจจุบัน
จากเดิม 84% ในปี 1981 (WB, TOI, 27-8-08)
อิ น เดี ย มี อั ต ราคนยากจนลดลงร้ อ ยละหนึ่ ง ต่ อ ปี . ..เราจะไปใช้
ประชาธิปไตยอะไรกับคนที่ก�ำลังหิวโหย (ผู้รวบรวม)

(ติดตามต่อฉบับหน้า)

วิถีมหาไถ่ 71
Ave Maria

องค์อุปถัมภ์ของคริสตัง
บทวิงวอนข้อนีพ้ บในบทร�ำ่ วิงวอนแห่งโลเรโต
ในช่วงกลางศตวรรษที่ 16 หรือก่อนหน้านัน้ แต่กอ่ นยัง
ไม่มกี ารฉลองนามนี้ จนกระทัง่ ปี 1815 พระสันตะปาปา
ปีโอที่ 7 ได้ตงั้ วันฉลองนีข้ นึ้ และอนุญาตให้ใช้นามนีใ้ น
การฉลองในพระศาสนจักรที่อิตาลี เพื่อเป็นการฉลอง
ขอบคุณพระเจ้าเนือ่ งจากทรงช่วยให้รอดพ้นจากเงือ้ ม
มือของนโปเลียน และทรงช่วยขจัดอันตรายที่คุกคาม
อ�ำนาจของพระสันตะปาปาด้วย (และนี่ก็ถูกอ้างถึงใน
บทที่ 4 ของเพลงสวดพิเศษในท�ำวัตรเย็น)

“โอ้วันแห่งความปีติยินดี ซึ่งเราได้รู้ว่าท้ายที่สุดแล้ว
ห้าปีแห่งความทุกข์ทรมานก็ผ่านพ้นไป
เมื่อโรมได้มีผู้สืบต�ำแหน่งต่อจากเปโตร
ผู้ซึ่งนั่งบนธรรมาสน์ของเปโตร ”

การฉลองแม่พระแม่องค์อปุ ถัมภ์ของคริสตังนัน้ ได้ถกู ตัง้ ขึน้ ในวันที่ 24


พฤษภาคม การฉลองนีไ้ ด้เป็นทีน่ ยิ มในหลายทีม่ าก และชือ่ นีย้ งั เป็นทีร่ จู้ กั กัน
แพร่หลายโดย คณะซาเลเซียน ซึ่งหลังจากที่คุณพ่อบอสโกได้น�ำชื่อนี้มาใช้
เป็นองค์อปุ ถัมภ์ของพวกท่านทีเ่ มืองตูรนิ การฉลองแม่พระแม่องค์อปุ ถัมภ์ของ
คริสตังยังคงถูกรักษาไว้ในหลายแห่ง รวมถึงในทวีปออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
สังฆมณฑลชิวส์แบรี่ ในอังกฤษ และสังฆมณฑลมีนีเวีย ในเวลส์
ที่มา: A Dictionary of Mary
Compiled by Donald Attwater
แปลและเรียบเรียงโดย บราเดอร์สมชาย ช่อจันทร์

72 วิถีมหาไถ่
10 กรกฎาคม 2010
จตุรมิตรสัมพันธ์แบบทัวร์นาเมนต์ โดยผล
การแข่งขันฟุตบอลนัดเปิดสนาม คามิลเลียน
เจ้าบ้านพ่ายมหาไถ่ไป 2-1

19 มิถุนายน 2010
พิธีมอบรางวัลเรียนดีประจ�ำปีการศึกษา
2552 ทีโ่ รงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา ในปีนี้ บ้าน
เณรของเรามีนอ้ งๆ ทีไ่ ด้รบั รางวัลเรียนดี หรือ
ใบเซอร์ จ�ำนวนถึง 5 คน ได้แก่
ศรัณยู กายราช 3.50 ม.4
ณัฐชัย ธาตุทองค�ำ 3.59 ม.3
อรรถพล วรรณสวาท 3.68 ม.2
กิตติพงษ์ เตชะตานนท์ 3.54 ม.2
คชา แสนมะฮุง 3.50 ม.2
ทางพี่ๆ บก. ขอแสดงความยินดีด้วยนะครับ
วิถีมหาไถ่ 73
74 วิถีมหาไถ่
ชีวิต 3 เดือน ที่บังกาลอร์ อินเดีย
วิถีมหาไถ่ 75
4 สิงหาคม 2010
คณะพระมหาไถ่ สามพราน จัด
งานฉลองนักบุญอัลฟอนโซ ผูก้ อ่ ตัง้ คณะฯ
และองค์ อุ ป ถั ม ภ์ ข องบ้ า น มี พิ ธี มิ ส ซา
บู ช าขอบพระคุ ณ โดยคุ ณ พ่ อ สมพงษ์
เจ้าคณะฯ เป็นประธาน หลังพิธีร่วมรับ
ประทานอาหารค�่ำ และชมการแสดง

76 วิถีมหาไถ่
ปัญหาชวนคิด
เด็กผู้หญิง 5 คน จัดงานเลี้ยงฉลองวันเกิดร่วมกัน แม้แต่ละคนอายุไม่เท่า
กัน แต่เกิดวันเดียวกัน และแต่ละคนพักอยู่บ้านหลังติดๆ กัน (ดังภาพด้านล่าง) จาก
เงื่อนไขต่อไปนี้ คุณสามารถบอกได้หรือไม่ว่า เด็กผู้หญิงคนไหน มีอายุเท่าไหร่ และ
อยู่บ้านเลขที่เท่าไหร่
1. ทั้งทิพย์และลูกน�้ำมีอายุน้อยกว่าเด็กหญิงที่อยู่บ้านเลขที่ 7
2. บ้านของมินท์และทิพย์อยู่ห่างจากบ้านของเด็กผู้หญิงที่ฉลองวันเกิดครบสิบขวบ
ไปทางทิศตะวันออก
3. เด็กหญิงที่ฉลองวันเกิดอายุ 12 ขวบ ไม่ได้อยู่บ้านที่อยู่ทางทิศตะวันออกสุด และ
ทิศตะวันตกสุด
4. บ้านของพอใจและลูกน�้ำอยู่ห่างจากบ้านของหมอน (ซึ่งไม่ได้ฉลองวันเกิดอายุ
ครบ 11 ปี) ไปทางทิศตะวันออก
5. มินท์ไม่ได้อยู่บ้านเลขที่ 9 และเด็กผู้หญิงที่มีอายุ 9 และ 11 ขวบก็ไม่ได้อยู่บ้าน
เลขที่ 9 ด้วยเช่นกัน
6. บ้านของเด็กผู้หญิงอายุ 9 ขวบ อยู่ไกลกว่าบ้านของลูกน�้ำไปทางทิศตะวันออก
ชื่อ อายุ ล�ำดับบ้าน
1 3 5 7 9
หมอน
พอใจ

ลูกน�้ำ
ทิพย์
มินท์

9 10 11 12 13
บ้านเลขที่ 1

บ้านเลขที่ 3
บ้านเลขที่ ชื่อ อายุ
บ้านเลขที่ 5

บ้านเลขที่ 7

บ้านเลขที่ 9

อายุ 9 ปี

อายุ 10 ปี

อายุ 11 ปี

อายุ 12 ปี
(ดูเฉลยหน้าถัดไป)
อายุ 13 ปี

วิถีมหาไถ่ 77
เฉลย
• เด็กผู้หญิงที่อยู่บ้านเลขที่ 1 (บ้านหลังริมสุดทางทิศตะวันตก) ไม่ใช่ มินท์ และ
ทิพย์ (ตามเงื่อนไขข้อที่ 2), ไม่ใช่พอใจ และ ลูกน�้ำ (ตามเงื่อนไขข้อที่ 4) ดัง
นั้น เด็กผู้หญิงที่อยู่บ้านเลขที่ 1 คือ หมอน
• เด็กผู้หญิงที่อยู่บ้านเลขที่ 9 (บ้านหลังริมสุดทางทิศตะวันออก) ไม่ได้มีอายุ 10
ปี (ตามเงื่อนไขข้อที่ 2), 12 ปี (ตามเงื่อนไขข้อที่ 3), 9 หรือ 11 ปี (ตามเงื่อนไข
ข้อที่ 5) ดังนั้น เด็กผู้หญิงที่อยู่บ้านเลขที่ 9 มีอายุ 13 ปี และเธอไม่ใช่ ทิพย์
และลูกน�้ำ (ตามเงื่อนไขข้อที่ 1) หรือ มินท์ (ตามเงื่อนไขข้อที่ 5) ดังนั้น เด็กผู้
หญิงที่อยู่บ้านเลขที่ 9 และมี อายุ 13 ปี คือ พอใจ
• เด็กผู้หญิงที่อยู่บ้านเลขที่ 7 ไม่ใช่ ทิพย์ หรือ ลูกน�้ำ (ตามเงื่อนไขข้อที่ 1) ดัง
นั้น เด็กผู้หญิงที่อยู่บ้านเลขที่ 7 คือ มินท์ และเด็กผู้หญิงที่อายุ 12 ปี ไม่ใช่
ทิพย์ หรือ ลูกน�้ำ (ตามเงื่อนไขข้อที่ 1) หรือ หมอน (ตามเงื่อนไขข้อที่ 3) ดัง
นั้นเด็กผู้หญิงที่อายุ 12 ปี คือ มินท์
• เด็กผู้หญิงที่อายุ 9 ปี อยู่บ้านห่างจากลูกน�้ำไปทางทิศตะวันออก (ตามเงื่อนไข
ข้อที่ 6) ดังนั้น เธอไม่ใช่ หมอน
• ด้วยเหตุนี้ ทิพย์ อายุ 9 ปี อยู่บ้านเลขที่ 5, ลูกน�้ำ อยู่บ้านเลขที่ 3
• หมอน ไม่ได้อายุ 11 ปี (ตามเงื่อนไขข้อที่ 4) ดังนั้น หมอนมีอายุ 10 ปี และ
ลูกน�้ำมีอายุ 11 ปี
สรุป
บ้านเลขที่ 1 – หมอน – อายุ 10 ปี
บ้านเลขที่ 3 – ลูกน�้ำ – อายุ 11 ปี
บ้านเลขที่ 5 – ทิพย์ – อายุ 9 ปี
บ้านเลขที่ 7 – มินท์ – อายุ 12 ปี
บ้านเลขที่ 9 – พอใจ – อายุ 13 ปี
78 วิถีมหาไถ่
นักบุญออกัสติน

คุ ณ เคยเห็ น ฮิ ป โปที่ ส วนสั ต ว์ บ ้ า งมั้ ย ? ท่ า นนั ก บุ ญ องค์ นี้ ไ ด้


เป็นสังฆราชของเมืองที่มีชื่อว่า ฮิปโป (Hippo) และอย่างที่เรารู้กันดี
ฮิปโปโปเตมัสเป็นสัตว์ชนิดหนึ่งในสวนสัตว์ที่มีขนาดใหญ่มาก ท่านนัก
บุ ญ ออกั ส ติ น ก็ เ ป็ น บุ ค คลหนึ่ ง
ที่ มี ค วามยิ่ ง ใหญ่ ม ากในพระ
ศาสนจั กรโรมั นคาทอลิก ไม่ใช่
เพราะรู ป ร่ า งของท่ า น แต่ เ ป็ น
เพราะสิ่งที่ท่านได้ท�ำให้กับพระ
ศาสนจักร
แม่ของท่านนักบุญออ-
กั ส ติ น คื อ นั ก บุ ญ มอนิ ก า เป็ น
แม่ ที่ เ ป็ น แบบอย่ า ง ในความ
ศักดิ์สิทธิ์ด้านการภาวนา ท่านได้
สอนคุณธรรมต่างๆ ให้กบั ออกัส-
ติน ตั้งแต่เมื่อท่านยังเป็นเด็ก แต่
เมือ่ ออกัสตินได้โตขึน้ ออกัสตินได้
ลืมทุกสิ่งที่แม่ของท่านได้สั่งสอน
ไว้ ท่านใช้จ่ายเงินทองอย่างฟุ่มเฟือย แสวงหาความสุขฝ่ายโลกทุกอย่าง ซึ่ง
แม่ของท่านก็ได้แต่ภาวนาให้ทา่ นกลับใจ จนในทีส่ ดุ ออกัสตินก็ได้พบว่า ท่าน
ได้ท�ำผิดพลาดไป ท่านได้กลับใจและเปลี่ยนวิถีชีวิต กลายเป็นปิตาจารย์ที่
มีชอื่ เสียงท่านหนึง่ ในประวัตศิ าสตร์พระศาสนจักร ท่านเป็นนักเขียนทีย่ งิ่ ใหญ่
ท่านเขียนต�ำราศีลธรรมค�ำสอนประมาณ 200 เล่ม จดหมายอภิบาลประมาณ
300 ฉบับ บทเทศน์ที่มีชื่อเสียงอีก 400 บท หลังจากท่านเสียชีวิต ประมาณ
100 ปี งานเขียนต่างๆ ของท่านได้ถูกน�ำมาใช้ศึกษาจนถึงทุกวันนี้

วิถีมหาไถ่ 79
St. Augustine
ถึงแม้ชวี ติ ในตอนแรกของท่านจะไม่สวยงามนัก แต่ภายหลังออกัส-
ตินได้เปลีย่ นวิถชี วี ติ และใช้อดีตเป็นบทสอนตราบจนบัน้ ปลายชีวติ ของท่าน
คุณเคยบกพร่องผิดพลาด หรือ คิดท�ำสิง่ ไม่ดี บ้างหรือไม่ คณุ เคยคิด
บ้างหรือไม่วา่ คุณสามารถท�ำความดีชดเชยความชัว่ ได้ ใช่!! คุณรู!้ ! พระเจ้า
ทรงให้อภัยคุณเสมอถ้าคุณส�ำนึกผิดอย่างแท้จริงและทูลขออภัยพระองค์
ไม่ว่าคุณจะเคยท�ำผิดร้ายแรงแค่ไหน คุณก็สามารถเปลี่ยนแปลงตัวเองได้
เสมอ หากคุณสิ้นหวังหรือหมดหวังกับสิ่งไม่ดีที่คุณได้ท�ำในอดีต เพียงคุณ
บอกกับตัวคุณเองว่า คุณเสียใจและตัดสินใจว่าจะไม่ท�ำมันอีกต่อไป จาก
นั้นขอพระเจ้าได้ทรงช่วยคุณในอันที่จะเปลี่ยนแปลงตัวคุณเอง เหมือนกับ
ที่ออกัสตินได้เป็นตัวอย่างให้กับเรา

ที่มา: 115 Saintly Fun Facts


แปลและเรียบเรียงโดย: บราเดอร์ธนาวุฒิ ชมภูจันทร์

80 วิถีมหาไถ่
วิถีมหาไถ่ 81
ชายหนุ่มคนหนึง่ ถามเด็กหญิงที่ก�ำลังเล่นอยู่ข้างบ้านหลังหนึง่ ว่า
“แม่หนูอยู่บ้านไหม?”
“อยู่ค่ะ” เด็กหญิงตอบ
แล้วชายหนุ่มก็เคาะประตูบ้านหลังนั้น แต่ไม่มี ใครตอบ
เขาจึงเดินมาหาเด็กน้อยผู้นั้น แล้วก็บ่นว่า “ไหนบอกว่าแม่หนูอยู่บ้านไง”
“ใช่ค่ะ แม่หนูอยู่บ้าน แต่บ้านหนูไม่ ใช่หลังนี”้ หนูน้อยตอบอย่างซื่อๆ

“ไปดวงอาทิตย์กัน เพราะมันจะท�ำให้เรามีชื่อเสียง”
ชายหนุ่มสองคนปรึกษากัน
“เอ้า!! แล้วเราจะไม่ละลายกันก่อนถึงดวงอาทิตย์เหรอ”
ชายคนแรกถามด้วยความสงสัย
เพื่อนเขาก็อธิบายว่า “ฉลาดหน่อยสิ เราจะไปกันตอนกลางคืน”

หญิงสาวคนหนึง่ ยืนรอรถที่ป้ายรถเมล์
ขณะนั้นมีลมพัดท�ำให้กระโปรงของหล่อนเปิด
พอดี มีชายคนหนึง่ บังเอิญหันมาพอดี หญิงสาวเมื่อเห็นว่าชายคนนั้นหันมา
เธอจึงต่อว่าเขาว่า “คุณนี่ ไม่เป็นสุภาพบุรษุ เลยนะ”
“ลมเพิ่งบอกผมเหมือนกันว่า คุณก็ ไม่ ใช่สุภาพบุรษุ ” ชายคนนั้นสวนกลับ

82 วิถีมหาไถ่
“ท�ำไมคุณดูเศร้าจัง”
“ฉันเจอเงิน 500 บาท บนรถเมล์ และแชร์กับเพื่อนของฉัน”
“เอ้า! แล้วเศร้าท�ำไม?
การแบ่งปันสิ่งที่เรามีกับเพื่อนเป็นสิ่งที่ดีมิ ใช่หรื อ?”
“ก็ฉันมารู้ทีหลังว่า เงินนั้นเป็นของฉันน่ะสิ”

ผู้จัดการ: คุณอายุเท่าไหร่
ลูกน้อง: ผมอายุ 40 ปี ครับ
ผู้จัดการ: แล้วคุณท�ำงานที่นมี่ ากี่ปีแล้ว
ลูกน้อง: 50 ปี ครับนาย
ผู้จัดการ: เอ้า! คุณอายุ 40 ปี แล้วจะท�ำงาน 50 ปี ได้ยังไง??
ลูกน้อง: ^-^

ทหารนายหนึง่ ท�ำปืนไรเฟิลประจ�ำตัวเขาหาย
เขาจึงไปปรึกษากับหัวหน้าของเขา และถามว่า
“หัวหน้าครับ สมมติว่าผมท�ำแทงค์น�้ำพัง ต้องชดใช้ค่าเสียหายมั้ยครับ”
“แน่นอน” หัวหน้าตอบ “คุณต้องชดใช้มันจนกว่าชีวิตจะหาไม่”
นายทหารจึงบ่นออกมาให้หัวหน้าฟัง
“ผมว่าแล้ว ท�ำไมกัปตันเรื อถึงจมน�้ำไปพร้อมกับเรื อ”

วิถีมหาไถ่ 83
ธงชัย: หมอประจ�ำตัวของผมบอกให้ผมเลิกเล่นกอล์ฟ
แฟน: ท�ำไมล่ะ คุณเป็นโรคหัวใจเหรอ
ธงชัย: เปล่า เขาดูสกอร์บอร์ดผม

นักท่องเที่ยวชาวญี่ปุ่นคนหนึง่ เดินทางมาเมืองไทย
และได้นัง่ แท๊กซี่ตระเวนทั่วกรุงเทพฯ
ระหว่างนั้นเขาได้พูดคุยกับคนขับแท๊กซี่และโม้เรื ่ องต่างๆ ให้คนขับฟัง
“รถแท๊กซี่ ในเมืองไทยนีช้ ้ามาก ไม่เหมือนที่ญี่ปุ่น
และรถเมล์ที่เมืองไทยก็ช้ากว่าญี่ปุ่น”
พอคุยไปได้สักพัก เขาก็เหลือบไปมองที่มิเตอร์แท๊กซี่
แล้วก็อุทานขึ้นมาด้วยความตกใจ
“ท�ำไมมิเตอร์ของคุณขึ้นเร็วจัง”
“มิเตอร์มาจากญี่ปุ่นครับ” คนขับตอบ

“ตอนคุณแต่งงาน คุณเสียค่าใช้จ่ายเท่าไหร่”
“ผมไม่รู้ แต่ที่ผมรู้คือ ผมก็ยังเสียค่าใช้จ่ายอยู่เสมอๆ
หลังจากแต่งงานมา 40 ปีแล้ว”

84 วิถีมหาไถ่
ณ โรงภาพยนตร์ สามีภรรยาคู่หนึง่ เดินกลับเข้ามายังที่นงั่ ของตน
ก่อนจะนัง่ ฝ่ายสามีก็ถามชายคนที่นงั่ เบาะข้างๆ ของเขาว่า
“อืม ตอนที่ผมเดินออกไปท�ำธุระส่วนตัวกับภรรยา
มี ใครเหยียบเท้าคุณมั้ยครับ”
“ครับ” ชายคนนั้นตอบ ด้วยความหวังว่าจะได้รับค�ำขอโทษ
แต่ชายคนที่เป็นสามีไม่สนใจ แล้วหันมาบอกกับภรรยาของเขาว่า
“แถวนีแ้ หละ ที่นงั่ ของเรา เรานัง่ ถูกที่แล้ว”

ณ บ้านสามพราน
คาโป: จะมีเลี้ยงส่งพี่ปี 4 มี ใครอยากทานอะไรบ้าง
เณรบิ๊ก: ส้มต�ำ ลาบ น�้ำตก เลยพี่ เจ๋งดี
เณรโย่: พิซซ่า หรื อ KFC ก็ ได้นะพี่
เณรเมธี: ไก่ย่างดีกว่า อร่อยดี
ทุกคน: เห็นด้วยครับ จัดไป อย่าให้เสีย
เณรเมธี: เดี๋ยวก่อน ไก่ปิ้งด้วยนะ อร่อยเหมือนกัน
ทุกคน: ^-^ ? ? ?

วิถีมหาไถ่ 85
ณ เมืองมารีอาเนลลา ทางตอนใต้ของประเทศอิตาลี ใกล้เมืองเนเปิล
มีตระกูลขุนนางตระกูลหนึง่ ซึง่ มีบตุ รชายคนโตเป็นก�ำลังหลักของครอบครัว บุตร
ชายผูน้ นั้ มีอาชีพเป็นถึงทนายความ ทีเ่ ก่งกาจและมีชอื่ เสียง ชือ่ ของท่านคือ “อัล-
ฟอนโซ” แห่งตระกูล “ลิโกวรี” ท่านได้รบั การศึกษามากมาย ด้วยความทีเ่ ป็นคน
หัวดี เรียนเก่ง ท่านจึงมีงานท�ำตั้งแต่อายุยังน้อย ท่านมีความสามารถมากมาย
ไม่ว่าจะเป็นด้านดนตรี วาดภาพ ประพันธ์บทกวี และเขียนหนังสือ เพราะทุก
วินาทีคือการเรียนรู้อยู่เสมอ ท่านจึงเป็นทนายความที่มีไหวพริบสูง ท่านจึงว่า
ความชนะเสมอๆ แต่เพียงครั้งแรกและครั้งเดียวที่ท่านแพ้คดี เมื่อปี 1723 ท่าน
จึงตัดสินใจเปลีย่ นวิถชี วี ติ จากคนทีเ่ คยมีหน้ามีตาในสังคมกลายเป็นคนทีท่ มุ่ เท
ท�ำงานเพื่อผู้ยากจนและผู้ที่ถูกทอดทิ้งมากที่สุด
กว่า 314 ปี นับตั้งแต่ที่ท่านเกิด จนถึงจนถึงปัจจุบัน นักบุญอัลฟอนโซ
ได้สอนหลายต่อหลายคนว่า ความสุข ไม่ได้อยูท่ วี่ ตั ถุสงิ่ ของหรือสิง่ อ�ำนวยความ
สะดวกต่างๆ ค�ำสอนอมตะของนักบุญอัลฟอนโซทีห่ ลายคนน�ำไปใช้ คือ จงอย่า
ท�ำตัวให้เหมือนกับน�ำ้ เต็มแก้ว ท่านสอนเราให้มนี สิ ยั รักการเรียนรูอ้ ยูต่ ลอดเวลา
ทุกวินาทีมสี งิ่ ทีท่ ำ� ให้เราได้เรียนรู้ ไม่เพียงแต่การเรียนรูเ้ ท่านัน้ การสวดภาวนา

86 วิถีมหาไถ่
ก็เป็นสิ่งส�ำคัญ เพราะเราจะไม่สามารถท�ำอะไรได้เลย ถ้าปราศจากพระองค์
ฉะนัน้ ดวงวิญญาณของเราจะเข้มแข็งได้ ก็ตอ่ เมือ่ เราสวดภาวนาอย่างสม�ำ่ เสมอ
บุคคลที่พร้อม คือต้องพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ จิตใจที่ดีจะต้องอยู่ใน
ร่างกายทีแ่ ข็งแรง ร่างกายทีแ่ ข็งแรงจะต้องได้รบั ก�ำลังใจทีจ่ ะช่วยเสริมเติมพลัง
ชีวิตของนักบุญอัลฟอนโซสอนเราไม่ให้ยึดติดกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เราคือ
มิชชันนารี เราออกไปในทุกที่ ทุกหนทุกแห่ง เพื่อประกาศข่าวดีของพระเจ้าให้
ทุกคนได้รับรู้ แม้ในการเดินทางที่ยากล�ำบาก เราก็ไม่ได้ไปเพียงล�ำพัง พระเจ้า
ไปกับเราเสมอ เราภาวนา เราแพร่ธรรม เราเทศน์สอน เราแบ่งปันให้กับทุกๆ
คน เพราะไม่ว่าจะรวยหรือจนสักแค่ไหน ทุกคนก็เป็นลูกของพระ
ชีวิตของนักบุญอัลฟอนโซสอนให้เรารู้จักถ่อมตนและส�ำนึกถึงความ
อ่อนแอในฐานะมนุษย์ของเราอยู่เสมอ นักบุญอัลฟอนโซสอนว่า เมื่อใดก็ตามที่
เราท�ำบาป เราก็ควรไปสารภาพบาป เพื่อคืนดีกับพระเจ้า ท่านสอนให้เราเห็น
คุณค่าของศีลอภัยบาป ให้เรามีความสุภาพถ่อมตน มีสติ และรูจ้ กั ยอมรับความ
บกพร่องของเรา เพราะการสารภาพบาปเป็นทางเดียวที่เราจะสามารถคืนดีกับ
พระเจ้า
สุดท้ายนักบุญอัลฟอนโซสอนเราให้รู้จักเปิดใจให้พร้อมที่จะเรียนรู้สิ่ง
ต่างๆ เพราะการเรียนรู้จะท�ำให้เราเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์โดยไม่จ�ำเป็นต้องเป็นพระ
สงฆ์ เราคือผู้เดินตามรอยเท้าของนักบุญอัลฟอนโซ บิดาที่ให้ความรัก ค�ำสอน
ความอบอุ่น และคอยเตือนสติหลายๆ คนให้เลือกเดินบทหนทางแห่งความสุข
แท้จริง ทางที่จะน�ำเราไปพบพระบิดาผู้ใจดี ในบ้านแท้นิรันดรที่ทุกคนใฝ่ฝัน
และนีก่ ค็ อื นักบุญอัลฟอนโซ มารีย์ ลิโกวรี พระสังฆราชและนักปราชญ์
ของพระศาสนจักร บิดาที่ฉันรู้จักและรัก

สามเณรพีรพัฒน์ ขันละ ชั้น ม.5


(บทความชนะเลิศการประกวดเรียงความในหัวข้อ
นักบุญอัลฟอนโซ บิดาที่ฉันรู้จัก ที่บ้านเณรเล็กของคณะ ศรีราชา)

วิถีมหาไถ่ 87
ผมเกลียดแม่
แม่ผมมีตาข้างเดียว
ผมเกลียดเธอ เธอเหมือนตัวประหลาด
เธอหาเลี้ยงครอบครัวด้วยการท�ำอาหารให้คุณครูและนักเรียนทาน
มีอยู่ครั้งหนึ่งตอนที่ผมเรียนประถม จู่ๆ แม่ก็โผล่มาทักผมว่า “สวัสดีลูก”
ผมขายหน้ามาก “แม่ทำ� อย่างนี้กับผมได้ไง?”
ผมแกล้งท�ำเป็นไม่รู้จักเธอ เธอน่ารังเกียจมาก
วันรุ่งขึ้น เพื่อนๆ ผม ล้อผมว่า “อี๋!!...ลูกอีตาเดียว”
ตอนนั้นผมรู้สึกว่าตายทั้งเป็น และผมอยากให้เธอตายไปเร็วๆ
ในวันนั้นเอง ผมพบกับเธอ และผมก็พูดกับเธอว่า
“แม่ทำ� ให้เพื่อนๆ หัวเราะเยาะผม ท�ำไมแม่ไม่ตายๆ ไปซะ”
แต่เธอไม่ได้ตอบอะไร...
ผมไม่คิดเลยว่าในวินาทีนั้น ผมพูดอะไรลงไปเพราะผมโกรธมาก
ผมไม่คิดถึงความรู้สึกของแม่เลย
ผมอยากจะตัดแม่ตัดลูก และออกจากบ้านไปไกลๆ
เหตุนี้เองท�ำให้ผมตั้งใจเรียนมาก จนมีโอกาสได้ไปเรียนต่อที่สิงคโปร์
ที่นั่น ผมแต่งงาน มีครอบครัว มีลูก มีบ้าน ผมมีความสุขกับชีวิตมาก
ผมมีลูกและครอบครัวที่อบอุ่น
วันหนึ่งแม่มาเยี่ยมผม เธอไม่ได้เจอผมมา 1 ปีแล้ว
เธอไม่เคยเห็นหลานๆ ของเธอเลย
เมื่อแม่ยืนที่ประตู ลูกๆ ของผมหัวเราะเยาะเธอ ผมไล่เธอออกไป
ผมบอกเธอว่า “กล้าดียังไงถึงมาที่นี่ เด็กๆ ตกใจหมดแล้วเห็นมั้ย!!
ออกไปจากที่นี่ซะ ไป!!”
“โอ้..ฉันขอโทษจริงๆ ฉันคงได้รับที่อยู่ผิด”
แม่ตอบด้วยเสียงแผ่วเบา แล้วก็จากไป
88 วิถีมหาไถ่
I HATE MY MOTHER
วันหนึ่ง ก็มีจดหมายจากโรงเรียนเก่าของผม ส่งมาที่สิงคโปร์
เมื่ออ่านจดหมาย ผมจึงบอกภรรยาว่า ผมจะไปธุระสักพัก เสร็จธุระแล้ว
ผมจะกลับไปที่กระท่อมโทรมๆ ซึ่งเคยเป็นบ้านของผมสมัยเป็นเด็ก
เพื่อนบ้านบอกว่า แม่ของผมเสียแล้ว ผมไม่รู้สึกเสียใจแม้แต่น้อย
แล้วพวกเขายื่นจดหมายฉบับหนึ่งให้ผม มันเป็นของแม่ผมเอง

ลูกสุดที่รักของแม่
แม่คิดถึงลูกตลอดเวลา แม่ขอโทษที่วันนั้นแม่ไปหา
ลูกที่สิงคโปร์ และท�ำให้ลูกของลูกตกใจ
แม่ดีใจมาก เมื่อได้ยินว่าลูกกลับมา แต่แม่ลุกจาก
เตียงไปหาลูกไม่ได้
แม่ขอโทษ ที่แม่ไม่สามารถเปลี่ยนสภาพของตัวเองได้
และยังท�ำให้ลูกขายหน้าเวลาลูกโตขึ้น
ลูกรู้มั้ย? ตอนลูกยังเป็นเด็ก ลูกประสบอุบัติเหตุ ลูก
เสียดวงตาไปข้างหนึ่ง
ด้วยความเป็นแม่ แม่ไม่สามารถทนเห็นลูกโตขึ้นใน
สภาพนั้นได้
ดังนั้น แม่จึงให้ตาข้างหนึ่งของแม่แก่ลูก
แม่ภูมิใจมาก ที่เห็นลูกของแม่ก�ำลังมองโลกใบใหม่ที่
สวยงามแทนแม่ ด้วยดวงตาของแม่
ด้วยรัก
แม่

ที่มา: Forward Mail


บราเดอร์ธนกฤต มหาลาภชัย ถอดความ

วิถีมหาไถ่ 89
ความหวังและความฝัน
โดย แบล็ค ดาวาว

ความหวังคือเครื่องหมายหนึ่งที่ส�ำคัญในชีวิต เป็นแรงขับเคลื่อน เป็น


พลังในอันทีจ่ ะเดินตามความฝัน และเป็นองค์ประกอบทีห่ ล่อเลีย้ งชีวติ ให้กา้ วต่อ
ไปข้างหน้าอย่างมีชวี ติ ชีวา ดังนัน้ จงมีความหวังเพือ่ ให้ความฝันของคุณนัน้ ส�ำเร็จ
เวลาทีเ่ รามองชีวติ ทัง้ ครบของพระเยซูเจ้านัน้ ทัง้ ชีวติ ของพระองค์ เต็ม
ไปด้วยความหวังและความฝัน พระองค์ได้แสดงความหวังและความฝันนั้นใน
ชีวิตของพระองค์ พระองค์ได้ช่วยผู้ต�่ำต้อย ให้พวกเขารู้สึกว่าพวกเขามีชีวิตที่ดี
และมีคุณค่า เปิดตาคนตาบอด ให้มองเห็น ให้ก�ำลังใจผู้คนมากมาย พระองค์
ทรงเลือกชายชาวประมงเป็นหัวหน้าพระศาสนจักร ชวนคนเก็บภาษีมาเป็นศิษย์
มากกว่านัน้ ได้ทำ� ให้ เซาโลศัตรูของพระศาสนจักร กลับใจมาเป็นศิษย์ชอื่ เปาโล
ท�ำงานเพื่อพระศาสนจักรของพระองค์
ไม่กเี่ ดือนทีผ่ า่ นมา ประเทศของเราได้ประสบกับปัญหามากมาย หลาย
คนได้สูญเสียชีวิต บ้านช่อง ญาติพี่น้อง เช่นเดียวกันที่ฟิลิปปินส์ก็ได้รับผลกระ
ทบมากมายจากภัยธรรมชาติ หลายคนเสียชีวิต ไม่มีอาหาร ไม่มีที่อยู่อาศัย ผม
ได้มีโอกาสอ่านบทสัมภาษณ์ชายผู้หนึ่ง เขาสูญเสียสมาชิกในครอบครัว บ้าน
รถยนต์ ไม่มีอะไรเหลือเลย สิ่งเดียวที่เหลืออยู่คือความหวัง ท�ำให้เขาเลือกที่จะ
มีชีวิตอยู่ต่อไป
ไม่วา่ ประสบการณ์ทเี่ ราพบเจอ ไม่วา่ จะเป็นปัญหาอะไร ถ้าเราตระหนัก
และเชื่อว่าพระเจ้าอยู่เหนือทุกสิ่งแล้ว เราจะชนะทุกอย่างได้อย่างแน่นอน ถ้า
ประสบกับความหมดหวังหรือทนทุกข์กับสิ่งใดก็ตาม อยากท้าทายให้คุณลุกขึ้น
สูแ้ ละก้าวเดินไปข้างหน้าอย่างผูม้ ชี ยั จงเชือ่ ว่าคุณพร้อมและเป็นตัวคุณเองทีจ่ ะ
ก้าวไปหาความฝันด้วยความหวังทัง้ หมดทีพ่ ระเจ้ามีให้ จงลุกขึน้ ใช้สงิ่ ทีม่ คี ณ
ุ ค่า
ทีพ่ ระเจ้าประทานให้เรา คุณจะประสบกับปัญหาอีกครัง้ ก็ตาม หรือ เจ็ดคูณเจ็ด
สิบครั้งก็ตาม อย่าลืมที่จะเริ่มต้นใหม่อีกครั้ง

90 วิถีมหาไถ่
วิถีมหาไถ่ 91
สัมผัสชีวิตเณร 2010
กระแสเรียกส�ำหรับคริสตชน คือชีวิตที่ด�ำเนินไปหาพระเป็นเจ้า หนทาง
ที่จะด�ำเนินไปนั้นมีหลายวิธีด้วยกัน ดังนั้น ทุกคนจึงมีกระแสเรียกในการด�ำเนิน
ชีวิตของตนตามพระประสงค์ของพระเจ้า
นักบุญอัลฟอนโซ ผู้สถาปนาคณะพระมหาไถ่สอนว่า
“ถ้าท่านเป็นข้าราชการ ก็จงเป็นผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิอ์ ย่างข้าราชการ
ถ้าท่านเป็นพลเมือง ก็จงเป็นผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิอ์ ย่างพลเมือง
ถ้าท่านเป็นคนโสด ก็จงเป็นผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิอ์ ย่างคนโสด
ถ้าท่านเป็นนักบวช ก็จงเป็นผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิอ์ ย่างนักบวช”
จะเห็นได้วา่ กระแสเรียกนัน้ เป็นหนทางเพือ่ ด�ำเนินสูค่ วามศักดิส์ ทิ ธิม์ นั่ คง
และเป็นพระพรอันยิ่งใหญ่ โดยเฉพาะการเป็นนักบวช ซึ่งเป็นผู้ที่พระองค์ทรง
เลือกสรรเป็นพิเศษ เพื่อด�ำเนินชีวิตตามพระฉบับแบบขององค์พระคริสตเจ้า
สามเณราลัยพระมารดานิจจานุเคราะห์ คณะพระมหาไถ่ ได้จดั ให้มกี าร
สัมผัสชีวติ เณรขึน้ ในช่วงเดือนตุลาคมของทุกๆ ปี โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ผูส้ นใจ
จะได้เรียนรู้การใช้ชีวิตของเณร
ส�ำหรับหัวข้อหลักก็คือ Basic Six ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานของการด�ำเนิน
ชีวิตในบ้านเณร ซึ่งเณรทุกคนต้องพยายามพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเหล่านี้ให้
ก้าวหน้าและชัดเจนอยู่เสมอ ได้แก่…
1. การสวดภาวนา (Praying)
2. การเรียน (Studying)
3. การท�ำงาน (Working)
4. การอยู่ร่วมกัน (Living in Community)
5. การปรึกษากับผู้ใหญ่ (Consultation)
6. การกีฬา (Playing)
ซึง่ สิง่ เหล่านีค้ ณ
ุ พ่อและพีๆ่ เณรจะเป็นผูใ้ ห้การอบรมแก่นอ้ งๆ ในหัวข้อ
ดังกล่าวและเรือ่ งเกีย่ วกับคณะพระมหาไถ่ของเรา อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ กระแส
เรียกของน้92องๆวิถทุีมกหาไถ่
คน
Basic Six 2010
จึงขอเชิญชวนผูท้ สี่ นใจได้มาสัมผัสชีวติ เณร หรือผูป้ กครองท่านใดสนใจ
ส่งบุตรหลานมารับการอบรมก็ขอเชิญนะครับ ทีบ่ า้ นเณรเล็กของคณะ ทีศ่ รีราชา
ส�ำหรับปีนี้เราจัดขึ้นในวันที่ 11-15 ตุลาคม 2010
ณ บ้านเณรพระมารดานิจจานุเคราะห์ ศรีราชา
ลงทะเบียนก่อนเวลา 9.00 น.
และรับบุตรหลานกลับได้เวลา 9.00 น. ของวันที่ 15

สามารถสมัครได้ที่บ้านเณรของเรา และพระสงฆ์มหาไถ่ทุกองค์
ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร. 0-3832-1992
หรือ คุณพ่อเอกพล ไชยรา 08-1164-9942
คุณพ่อทวี สุวรรณสิน 08-9483-9364
คุณพ่อวัลลภ จ�ำหน่ายผล 08-1733-9680

คุณสมบัติผู้เข้ารับการอบรม
1. เยาวชนชายคาทอลิกที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้น ป.5 ขึ้นไป
2. มีความสนใจที่จะเป็นนักบวชในคณะพระมหาไถ่
3. มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
สิ่งที่ควรจะเตรียมส�ำหรับการมาเข้าค่ายกระแสเรียก
1. ชุดสุภาพ กางเกงขายาว ส�ำหรับใส่เข้าวัด 3-4 ชุด
2. ชุดส�ำหรับเล่นกีฬา 3-4 ชุด รองเท้ากีฬา
3. อุปกรณ์อาบน�้ำ และกางเกงส�ำหรับใส่อาบน�้ำ
4. ยา (ถ้ามีโรคประจ�ำตัว)
*ไม่ควรน�ำของมีค่าทุกชนิดติดตัวมา เช่น โทรศัพท์มือถือ เกมส์ ฯลฯ

***ผู้ที่จะเข้าเป็นเณรทุกคน ต้องผ่านการสัมผัสชีวิตเณร***
วิถีมหาไถ่ 93
กองทุนสนับสนุนกระแสเรียก

กองทุนวันละบาท
กองทุนสนับสนุนกระแสเรียก
คณะพระมหาไถ่แห่งประเทศไทย
กองทุนสนับสนุนกระแสเรียกเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1979 เพื่อหาทุน
สนับสนุนการศึกษาของเณรเนื่องจากคณะพระมหาไถ่เป็นธรรมทูตบุกเบิก
งานประกาศพระวรสาร และวางรากฐานตามถิ่นทุรกันดารที่ห่างไกลจาก
ความเจริญ เมื่อมีเด็กผู้สนใจบวชเข้าเป็นเณร และทางครอบครัวของเขามี
ฐานะพอกินพอใช้ ไม่สามารถสนับสนุนการศึกษาได้เต็มความสามารถ ทาง
คณะจึงต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ เพื่อให้บรรดาเด็กเหล่านี้ได้ก้าวหน้า
เดินตามกระแสเรียก เพือ่ เป็นผูร้ บั ใช้ของพระคริสตเจ้า ในฐานะนักบวชคณะ
พระมหาไถ่
กองทุนนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อขอการสนับสนุนจากผู้มีจิตศรัทธา เพื่อให้
สามเณรเหล่านี้สามารถเรียนหนังสือ และได้รับใช้พระเจ้าในอนาคตต่อไป
เพียงวันละ 1 บาท หรือ ปีละ 360 บาท หรือมากกว่านีต้ ามก�ำลังทรัพย์
ก็ได้ โดยเวลานี้เรามีสมาชิกอยู่กว่า 2,000 คน

บุญกุศลที่ท่านจะได้รับ
1. บรรดาสามเณรจะสวดภาวนาให้ท่านทุกวัน
2. คณะฯ จะประกอบพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณให้ท่านทุกเดือน
3. คณะฯ จะระลึกถึงท่านในค�ำภาวนาและในพิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ
ขณะที่ท่านมีชีวิตอยู่และแม้นล่วงลับไปแล้ว

94 วิถีมหาไถ่
คณะพระมหาไถ่แห่งประเทศไทย
ถ้าพี่น้องท่านใด มีความประสงค์จะแก้ไขสถานภาพ
และข้อมูลสมาชิกกองทุนสนับสนุนกระแสเรียก
ท่านสามารถติดต่อกับทางกองทุนฯ ได้ที่
คุณพ่อธนู กระทอง
กองทุนสนับสนุนกระแสเรียก
บ้านนักบุญยอห์น นอยมันน์
6 รามค�ำแหง 184 มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510

หากท่านใดมีความประสงค์จะช�ำระเงิน ท่านสามารถ โอนเงินผ่านธนาคาร


• ธนาคารกรุงไทย สาขาปทุมวัน
ชื่อบัญชี Co-Redemptorist
บัญชีออมทรัพย์เลขที่ 008-1-44582-2
• ธนาคารกรุงเทพ สาขาอินทรารักษ์
ชื่อบัญชีคุณพ่อวิรัช อมรพัฒนา และ คุณพ่อธนู กระทอง
บัญชีสะสมทรัพย์เลขที่ 212-0-86973-6
กรุณาส่งแฟกซ์ใบน�ำฝากพร้อมชื่อที่อยู่ มายังโทรสารหมายเลข
0-2518-0977 เพื่อทางกองทุนฯ จะได้ออกใบตอบรับให้

เขียนเช็คสั่งจ่าย หรือส่งธนาณัติ
เช็ค หรือ ธนาณัติสั่งจ่าย คุณพ่อธนู กระทอง หรือ
คุณพ่อภัทรพงศ์ ศรีวรกุล
ส่งมาที่ กองทุนสนับสนุนกระแสเรียก
6 รามค�ำแหง 184 มีนบุรี กรุงเทพฯ 10510

วิถีมหาไถ่ 95
จงเชื่อเสียงที่อยู่ภายในตัวคุณ

คุณยินยอมและเต็มใจทีจ่ ะรับการเปลีย่ นแปลงหรือไม่ หรือคุณยังคง


จมอยู่กับชีวิตแบบเก่าอยู่ ขณะที่คุณคอยร้องขอคนอื่นให้ช่วยเปลี่ยนแปลง
ตัวคุณเอง
แน่นอนว่า ล�ำพังตัวคุณเองไม่สามารถท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ในตัวคุณเองได้ และมันก็ไม่เกี่ยวข้องกับความส�ำเร็จในชีวิต คุณต้องมั่นใจ
ในเสียงซึ่งร�่ำร้องอยู่ภายในใจของคุณ ว่ามันจะช่วยชี้ทางให้คุณได้ คุณรู้จัก
เสียงนัน้ ดีอยูแ่ ล้ว ฉะนัน้ คุณควรทีจ่ ะให้ความสนใจกับมันมากขึน้ แต่หลังจาก
ที่คุณได้ยินอย่างชัดเจนแล้วว่าอะไรคือสิ่งที่คุณควรจะท�ำ คุณเริ่มตั้งค�ำถาม
เริม่ สร้างอุปสรรค และเริม่ ขอความคิดเห็นจากคนอืน่ ด้วยเหตุนจี้ ะท�ำให้เกิด
ความคิด ความรู้สึก และมุมมองที่ขัดแย้งกันในตัวคุณ จนท�ำให้คุณสูญเสีย
การสัมผัสกับพระเจ้าในตัวของคุณ
อย่างเดียวทีค่ ณ
ุ สามารถท�ำได้คอื การเอาใจใส่อย่างสม�ำ่ เสมอ
ต่อเสียงที่ดังก้องอยู่ภายในตัวคุณ ซึ่งสามารถน�ำชีวิตของคุณไปสู่
อิสรภาพและความชื่นชมยินดีได้

ที่มา: Trust in Inner Voice: The Inner Voice of Love


โดย Henri J.M. Nouwen
บราเดอร์ปฏิพล ทรัพย์อนันต์ชัย เรียบเรียง

96 วิถีมหาไถ่

You might also like