You are on page 1of 149

วิชา การข่าวกรอง

ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของภารกิจนั้น
ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพ
ของการดาเนินงานด้านการข่าวกรองเป็นสาคัญ
ยุทธศาสตร์ข่าวกรองแห่งชาติ
(พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๔)
ยุทธศาสตร์ข่าวกรองแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๔)

นิยามศัพท์

 ข่าวกรอง (Intelligence) : ข่าวสาร ข้อมูล ที่มีความสาคัญ และได้ผ่านการดาเนิน


กรรมวิธี ตามกระบวนการข่าวกรองเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใช้ข่าว/ผู้กาหนด
นโยบาย

 งานข่าวกรอง (Intelligence Functions) : กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ


ข่าวกรอง อันประกอบด้วย การกาหนดความต้องการข่าวสาร การรวบรวมข่าวสาร
การดาเนินกรรมวิธี การวิเคราะห์ข่าวสาร การกระจายข่าวกรอง และการต่อต้านข่าวกรอง

 ความต้องการข่าวกรอง (Intelligence Requirements) : ความต้องการข่าวกรอง


ของผู้ใช้ข่าว/ผู้กาหนดนโยบายเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจดาเนินการในด้านต่าง ๆ
ข่าวกรอง - INTELLIGENCE
 ข่าวสาร ข้อมูล ที่มีความสาคัญ และได้ผ่านการดาเนินกรรมวิธีตามกระบวนการข่าวกรอง
เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใช้ข่าว/ผู้กาหนดนโยบาย
ยุทธศาสตร์ข่าวกรองแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๔)

นิยามศัพท์

 การต่อต้านข่าวกรอง (Counter-Intelligence) : กิจกรรมทางข่าวกรอง


ที่มุ่งปกป้องและรักษาพลังอานาจของฝ่ายตนจากการจารกรรม บ่อนทาลาย และ
กิจกรรมในทางลับอื่น ๆ จากฝ่ายตรงข้ามที่มุ่งบั่นทอนหรือสร้างความเสียหายต่อฝ่ายตน

 ประชาคมข่าวกรอง (Intelligence Community) : การรวมตัวของหน่วยงาน


ด้านข่าวกรองต่าง ๆ ของประเทศ เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือและพิทักษ์รักษาความ
มั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ข่าวกรองแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๔)

วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ข่าวกรองแห่งชาติ

“ประชาคมข่าวกรองมีศักยภาพอย่างเป็นเอกภาพ
รวมทั้งมีเครือข่ายข่าวกรองที่เข้มแข็ง เพื่อรับมือภัยคุกคาม
ด้านความมั่นคงและเสริมสร้างผลประโยชน์ของชาติ”
ประชาคมข่าวกรองด้านความมั่นคง

สขช.
มท. สมช.

DSI กต.

สขว.กอ.รมน. ตร.ส.

ศรภ. ปปส.

ขว.ทอ. ขว.ทหาร

ขว.ทร. ขว.ทบ.
ยุทธศาสตร์ข่าวกรองแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๔)

นิยามศัพท์

 ข่าวกรองยุทธศาสตร์ (Strategic Intelligence) : ข่าวกรองที่เกี่ยวข้องกับ


ขีดความสามารถ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคามของประเทศที่จัดทาขึ้นเพื่อ
สนับสนุนการวางแผนยุทธศาสตร์ และนโยบายในระดับชาติ

 พลังอานาจแห่งชาติ (National Power) : ขีดความสามารถของชาติในด้าน


การเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพลังงาน
สิ่งแวดล้อม ฯ ล ฯ ในการดาเนินการตามนโยบายของรัฐเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของชาติ
ที่กาหนดไว้
วิสัยทัศน์ ทบ. ปี ๒๕๖๕

“เป็นกองทัพที่มีความพร้อม มีศักยภาพ และทันสมัย


ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”
นโยบายเฉพาะ (ด้านการข่าว)
 พัฒนาระบบงานด้านการข่าวอย่างต่อเนื่อง ทั้งข่าวกรองทางยุทธศาสตร์
ข่าวกรองทางยุทธวิธี และข่าวกรองความมั่นคง
 เสริมสร้างความสัมพันธ์กับหน่วยข่าวกรองมิตรประเทศ และขยาย
ความสัมพันธ์กับหน่วยงานด้านความมั่นคงที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการ
แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ข่าวกรองที่เป็นประโยชน์
นโยบายเฉพาะ (ด้านการข่าว)
 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสนับสนุนงานด้านการข่าวเพือ่
ความมั่นคง ตามโครงการแหล่งข่าวประชาชน
 พัฒนาระบบข่าวกรองภูมิสารสนเทศ (GEOINT) ข่าวกรองทางการภาพ
(IMINT) ข่าวกรองการลาดตระเวนและเฝ้าตรวจ (Airborne ISR) ข่าวกรอง
จากแหล่งข่าวเปิด (OSINT) และนาระบบสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการ
ปฏิบัติงานด้านการข่าว เพื่อมุ่งไปสู่ระบบ e – intelligence
นโยบายเฉพาะ (ด้านการข่าว)
 พัฒนาระบบเฝ้าตรวจชายแดน เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของ
กองกาลังป้องกันชายแดน ศปก.ทภ. ศปก.ทบ.
 เพิ่มพูนความรู้และขีดความสามารถของกาลังพลในการ
ปฏิบัติงานด้านการข่าว โดยมุ่งเน้นพัฒนาการเรียนการสอนหลักสูตร
ด้านการข่าวอย่างต่อเนื่อง
นโยบายเฉพาะ (ด้านการข่าว)
 ดาเนินการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล เอกสาร และสถานที่
ให้เป็นไปตามระเบียบฯ การ รปภ. แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๒ และระเบียบฯ
การรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.๒๕๔๔
 เสริมสร้างความสัมพันธ์ และความร่วมมือกับกองทัพบกประเทศเพื่อน
บ้าน และมิตรประเทศ
ระดับของงานข่าวกรอง
รัฐบาล
สมช./สชช. ข่าวกรองยุทธศาสตร์
กระทรวงกลาโหม
กองทัพไทย
ข่าวกรองระดับยุทธการ กองทัพบก
กองทัพภาค
กองพล
ข่าวกรองยุทธวิธี กรม
กองพัน
กองร้อย
การจัดฝ่ายอานวยการในกองทัพบก

กองทัพบก

สานักงานผู้บังคับบัญชา

กรมฝ่ายอานวยการ
กพ.ทบ. ขว.ทบ. ยก.ทบ. กบ.ทบ. กร.ทบ. สปช.ทบ.
ความรับผิดชอบงานข่าวกรองของกองทัพบก

ทบ.
ศปก.ทบ.
ขว.ทบ.
ขว.ทบ. ทภ.
ทภ. นสศ. ขกท.
รับผิดชอบการข่าวกรอง กขว.ทภ. กขว.นสศ. ดาเนินการข่าวกรองทางยุทธวิธี และ
ต่อต้านข่าวกรองในสนาม
ยุทธศาสตร์ ของ ทบ.และ ศปก.ทภ.
การต่อต้านข่าวกรองในการ ฝขว.ศปก.ทบ. (ฝขว.ศปก.ทภ./กกล.)
ป้องกันประเทศ
หน่วยข่าวกรอง ขกท.สนับสนุน ทภ. / นสศ
พิเศษอื่นๆ เช่น ศปก.นสศ.
พัน.ขกท. ขกท.สนับสนุนกองพล (ฝขว.ศปก.นสศ.)
กรมข่าวทหารบก

สานักข่าวกรอง สานักวิเทศสัมพันธ์
กองธุรการ
สานักงานปฏิบัติการข่าว กองการต่างประเทศ
กองแผนและฝึก
กองข่าว กองการทูตฝ่ายทหารบก
กองรักษาความปลอดภัย
กองข่าวกรองทางการภาพ สานักงานผู้ช่วยทูตฝ่ายทหารก
กองโครงการและงบประมาณ

กองสารสนเทศ
แผนกการเงิน โรงเรียนข่าวทหารบก

อัตราเฉพาะกิจหมายเลข ๑๒๐๐
คาสั่ง ทบ. (เฉพาะ) ลับ ที่ ๓๗/๕๗ ลง ๗ ต.ค.๕๗
คาสั่ง ทบ. (เฉพาะ) ลับ ที่ ๓๗/๕๗ ลง ๗ ต.ค.๕๗

ฝ่ายข่าว ศูนย์ปฏิบัติการ
กองทัพบก

ส่วนอานวยการและรวบรวมข่าวสาร ส่วนปฏิบัติการ

แผนกแผนและอานวยการ แผนกต่อต้านข่าวกรอง

แผนกรวบรวมข่าวสารและผลิต แผนกข่าวด้านความมั่นคง
ข่าวกรอง ภายใน

สานักงาน ๓๒๒

ศูนย์ข่าวยาเสพติด
กองกาลังป้องกันชายแดน
หน่วยข่าวกรองทางทหาร
หน่วยข่าวกรองทางทหาร
ภารกิจ : ดาเนินการข่าวกรองและการต่อต้านข่าวกรอง สนับสนุนหน่วย
ปฏิบัติการทางยุทธวิธี และดาเนินงานข่าวกรองอื่นๆ ให้แก่ กองทัพบก
ตามที่ได้รับมอบหมาย
การจัด หน่วยข่าวกรองทางทหาร อจย.๓๐-๒
(๑๙ ม.ค.๕๐)
ขกท.
บก. ฝอ.ฯ กองซักถาม แผนก ตข. กอง ทกร.

แผนกข่าวกรองการภาพ แผนกกรรมวิธีข้อมูล แผนกรวบรวมและวิเคราะห์ข่าว

หน่วย ขกท.ทภ. และ นสศ. หน่วย ขกท.กองพล

พัน.ขกท.
ขกท. อัตราเต็ม ๙๔๖ อัตรา อัตราอนุมัติ ๗๐๓ อัตรา บรรจุจริง ๕๘๘ อัตรา
พัน.ขกท. อัตราเต็ม ๗๑๗ อัตรา อัตราอนุมัติ ๕๖๔ อัตรา บรรจุจริง ๔๔๕ อัตรา
การปฏิบัติงานสนับสนุน ศปก.ทบ. ในภารกิจป้องกันชายแดน
ขกท.ศปก.ทภ.๓
นฝด.๑ ศปก.ทภ.๓
ขกท.กกล.สุรศักดิ์มนตรี
ขกท.กกล.ผาเมือง ขกท.ศปก.ทภ.๒
ขกท.กกล.นเรศวร ขกท.กกล.สุรนารี
มว.ขกส.กกล.นเรศวร มว.ขกส.กกล.สุรนารี

ขกท.กกล.สุรสีห์ ขกท.กกล.บูรพา
ขกท.ศปก.ทภ.๑
ขกท.ศปก.นสศ.
สปข.ขกท.
ขกท.กกล.เทพสตรี
ขกท.ศปก.ทภ.๔
นฝด.๒ ศปก.ทภ.๔ ๔๙๑ อัตรา
กองพันข่าวกรองทางทหาร
 ปฏิบัติการข่าวกรอง การต่อต้านข่าวกรอง และสงคราม
อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสนับสนุนกองทัพบก
มีขีดความสามารถในการรวบรวมข่าวสาร/ข่าวกรองทางบุคคล ข่าวกรองทาง
สัญญาณ ข่าวกรองทางการภาพ และข่าวกรองทางเทคนิคด้วยอุปกรณ์และ
เครื่องมือทันสมัย
เพื่อให้ ทบ. มีขีดความสามารถในการเฝ้าตรวจชายแดนในยามปกติ และการ
ปฏิบัติด้านการข่าวในยามสงคราม
โครงสร้าง พัน.ขกท. (อจย. ๓๐-๑๖๕ : ๙ ก.พ. ๕๐ )

กองพันข่าวกรองทางทหาร

กองบังคับการและ กองร้อยข่าวกรองทางทหาร กองร้อยข่าวกรองทางทหาร


กองร้อยกองบังคับการ ( อจย.๓๐ – ๑๖๗ ) สนับสนุนทั่วไป
( อจย.๓๐ – ๑๖๖ ) ( อจย.๓๐ – ๑๖๘ )

พัน.ขกท. อัตราเต็ม ๗๑๗ อัตรา อัตราอนุมัติ ๕๖๔ อัตรา บรรจุจริง ๔๔๕ อัตรา
การจัดฝ่ายอานวยการในกองบัญชาการกองทัพภาค

มทภ.

รอง มทภ.
เสธ.ทภ.

ฝ่ายอานวยการประสานงาน รอง เสธ.ทภ.

กองกาลังพล กองข่าว กองยุทธการ กองส่งกาลังบารุง กองกิจการพลเรือน กองปลัดบัญชี


การจัดฝ่ายอานวยการในกองบัญชาการกองพล

ผบ.พล.

รอง ผบ.พล.
เสธ.

ฝ่ายอานวยการประสานงาน รอง เสธ

ฝ่ายกาลังพล ฝ่ายข่าวกรอง ฝ่ายยุทธการ ฝ่ายส่งกาลังบารุง ฝ่ายกิจการพลเรือน


การจัดฝ่ายอานวยการในกรมทหารราบ

ผบ.กรม

เสธ.กรม

รอง เสธ.
ฝ่ายอานวยการประสานงาน

ฝ่ายธุรการและกาลังพล ฝ่ายการข่าว ฝ่ายยุทธการและการฝึก ฝ่ายส่งกาลังบารุง


การจัดฝ่ายอานวยการในกองพันทหารราบ

ผบ.พันน..
ผบ.พั

รอง ผบ.พั
รอง ผบ.พันน..
ฝ่ายอานวยการประสานงาน

ฝ่ายธุรการและกาลังพล ฝ่ายการข่าว ฝ่ายยุทธการและการฝึก ฝ่ายส่งกาลังบารุง


การวาดภาพ
สถานการณ์
งานข่าวกรอง

เชิงรุก
ข่าวกรอง

เชิงรับ ข่าวกรอง ข่าวกรอง ข่าวกรอง

ข่าวกรอง ข่าวกรอง ข่าวกรอง?

ข่าวกรอง? ข่าวกรอง ข่าวกรอง

ข่าวกรอง ข่าวกรอง ข่าวกรอง

ข่าวกรอง
ความสัมพันธ์ระหว่างวงรอบข่าวกรองกับ IPB

วงรอบ
ข่าวกรอง

IPB
การปฏิบัติการ
ต่าง ๆ
การจัดเตรียมสนามรบด้านการข่าว (IPB)

 กระบวนในการวิเคราะห์ ภัยคุกคาม/ฝ่ายตรงข้าม และ สภาพแวดล้อม ในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง


 เพื่อพิจารณา หนทางปฏิบัติ (ห/ป) ที่เป็นไปได้ ทั้งสิ้นของภัยคุกคาม/ฝ่ายตรงข้าม

FIRE SAC
แผ่นภาพหลักนิยม

สภาพแวดล้อม

หนทางปฏิบัติของ
ภัยคุกคาม
FIRE SAC
IPB ในสถานการณ์ก่อความไม่สงบ

แผ่นบริวารสถานภาพประชากร

+ แผ่นบริวารแหล่งส่งกาลังบารุง

+ แผ่นบริวารสถานะทางกฎหมาย

+ แผ่นบริวารที่ตั้ง ร.ร.ปอเนาะ

+ แผ่นบริวารเป้าหมายการก่อความไม่สงบ

+ แผ่นบริวารพื้นที่ซุ่มโจมตี
คาสั่งยุทธการ IPB AO, AI, ข้อมูลพื้นที่ปฏิบัติการ(เพิ่มเติม) IPB วิเคราะห์ภูมิประเทศ วิเคราะห์สภาพ
(หน่วยเหนือ) #1 #2 (แผ่น MCOO) ลมฟ้าอากาศ

ข้อ 2 ภารกิจ
แผนรวบรวมข่าวสาร หขส./ตขอ. ผลกระทบของสภาพแวดล้อม
เพิ่มเติม ที่มีต่อขีดความสามารถ
ข้อ 3 การปฏิบัติ
และ ห/ป.ของทั้งสองฝ่าย
การให้ข่าวสารขั้นต้น หขส./ตขอ.
1.ข้อมูลพื้นที่ปฏิบัติการ
- ผนวกข่าวกรอง จนท.รวบรวม ขส.
2.สถานการณ์ภัยคุกคาม แหล่งข่าว
- ประมาณการณ์ ขก. 1.หน่วยรอง(สมทบ/สน.) IPB
1.บุคคล
2.หน่วยเหนือ #3
- สรุปข่าวกรอง 2.วัตถุ
3.หน่วยข้างเคียง
3.พฤติกรรม
(หน่วยเหนือ)
- ข้อมูลพื้นที่ปฏิบัติการ
- สถานการณ์ภัยคุกคาม ขีดความสามารถ แผ่นภาพหลักนิยม
หขส./ ตขอ. เพื่อยืนยันหรือปฏิเสธ ห/ป.
โดยใช้ตาบลเฉพาะจง NAI
ภารกิจ เหมาะสม
สมดุล ยุทธวิธีที่ ฝตข.จะนามาใช้
เพียงพอ
ผนวกข่าวกรอง HVTs
คาสั่งยุทธการ บันทึก
ของหน่วย ประมาณการณ์ ขก. 1.บันทึกประจาวัน
2.เอกสารแยกเรื่อง
แผน ลว.และเฝ้าตรวจ 3.แผนที่สถานการณ์
ประเมินค่า 4.แฟ้มข่าวกรอง
ฯลฯ 1.ความเกี่ยวข้อง
NAIs 2.ความเชื่อถือได้ (ก-ฉ)
แผ่นภาพสถานการณ์ ตีความ
TAIs ห/ป ขศ. 3.ความแน่นอน (1-6)
แผ่นภาพเหตุการณ์
IPB อนุมาน สนธิ วิเคราะห์
DPs
#4
IPB 2 + 3
งานข่าวกรอง

วงรอบข่าวกรอง
เชิงรับ
การวาดภาพ
เชิงรุก สถานการณ์
 การรายงานเหตุการณ์
ล่วงหน้า
 การขยายผล : การวิเคราะห์
การซักถาม, นิติวิทยาศาสตร์  การวิเคราะห์สิ่งบอกเหตุและการแจ้ง
 การจัดทาเป็นฐานข้อมูล, ทกร. เตือน (I&W)
 IPB – ประมาณการข่าวกรอง
 หนทางปฏิบัติของ ฝตข.
หลักพื้นฐานของการปฏิบัติการด้านการข่าว
 งานข่าวกรอง & ยุทธวิธี ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน
 ข่าวกรองต้องใช้ประโยชน์ได้
 ข่าวกรองจะต้องทันเวลา
 การปฏิบัติงานด้านการข่าวจะต้องมีความอ่อนตัว
 ต้องใช้จินตนาการและมองการณ์ไกล
 ต้องมีมาตรการ ตข. อย่างต่อเนื่อง
 แลกเปลี่ยนข่าวสารและข่าวกรองอย่างเสรีให้มากทีส่ ุด
ความรับผิดชอบงานข่าวกรองของหน่วย

มีหลักกาหนดไว้ว่า
“หน่วยทหารทุกหน่วย ทหารทุกคน
ถือเป็นเจ้าหน้าที่รวบรวมข่าวสารทั้งสิ้น”
ความรับผิดชอบงานข่าวกรองของหน่วย
ผบ.หน่วย เป็นผู้รับผิดชอบต่อกิจกรรมข่าวกรองทั้งปวง
รวมทั้ง การต่อต้านข่าวกรองภายในหน่วย ทั้งนี้เพราะ

“ ผู้บังคับบัญชา แต่เพียงผู้เดียวเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ
ต่อความสาเร็จหรือความล้มเหลวของภารกิจ”

นายทหารฝ่ายข่าวกรอง (สธ.๒/ฝอ.๒ ) เป็น ฝอ.หลัก


ซึ่งได้รับมอบหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือ ผบ.หน่วย
ในด้านการข่าวและการต่อต้านข่าวกรอง
การต่อต้านการข่าวกรอง

การปฏิบัติการเพื่อขัดขวาง ล้มล้าง หรือทาลาย


ระบบงานข่าวกรองของฝ่ายตรงข้าม ที่ดาเนินการต่อฝ่ายเรา
ด้วยการดาเนินการทั้งในทางป้องกันและตอบโต้
เพื่อให้พ้นจากการจารกรรม การก่อวินาศกรรม
การบ่อนทาลาย และการก่อการร้าย จากฝ่ายตรงข้าม
การต่อต้านการข่าวกรอง

เพื่อทาลายประสิทธิภาพการข่าวกรองของ ฝตข.
 ป้องกันความลับของฝ่ายเราให้พ้นจากการจารกรรม
 ป้องกันบุคคลให้พ้นจากการบ่อนทาลาย
 ป้องกันสถานที่ บุคคล หรือวัสดุให้พ้นจากการก่อวินาศกรรม
การปฏิบัติตามวงรอบข่าวกรอง

การวางแผน
รวบรวม
ข่าวสาร

1.การวางแผนรวบรวมข่าวสาร
การใช้/ 2. การรวบรวมข่าวสาร
การกระจาย ภารกิจ การรวบรวม
ข่าวกรอง
ข่าวสาร
3. การดาเนินกรรมวิธี
4. การใช้และการกระจายข่าวกรอง
การดาเนิน
กรรมวิธี
ขั้นที่ 1 การวางแผนรวบรวมข่าวสาร
1. การวางแผนรวบรวมข่าวสาร (Directing)

การวางแผน
รวบรวม
ข่าวสาร
ความต้องการข่าวกรอง (Intelligence Requirements) :
• ภารกิจของหน่วย
ภารกิจ • ความต้องการข่าวกรองของผู้ใช้ข่าว
การใช้/ การ
การรวบรวม
กระจายข่าว
ข่าวสาร
กรอง

• ผู้บังคับบัญชา/ฝ่ายอานวยการ
• ผู้กาหนดนโยบายเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจดาเนินการ
การดาเนิน
กรรมวิธี

ในด้านต่าง ๆ

เป็นการวางแผน
 เพื่อกาหนดว่าต้องการรู้ข่าวในเรื่องอะไร
 จัดลาดับความเร่งด่วน : หขส. (หัวข้อข่าวสารสาคัญ)
 พิจารณาเลือก จนท. รวบรวมข่าวสาร (ขีดความสามารถและความเหมาะสม)
การวางแผนรวบรวมข่าวสาร
 ใครต้องการข่าวสาร/ข่าวกรอง บ้าง
(ผบ.หน่วย / ฝอ.)

ข่าวกรอง  เราจะรวบรวมข่าวสาร อะไร


 เราจะรวบรวมข่าวสาร ที่ไหน
ข่าวกรอง ข่าวกรอง?
 เราจะรวบรวมข่าวสาร เมื่อใด
ข่าวกรอง
 ใคร/เป้าหมายอะไร ที่เราจะรวบรวมข่าวสาร
ข่าวกรอง ข่าวกรอง
 ทาไม เราจะต้องรวบรวมข่าวสาร
ข่าวกรอง?

 หน่วยไหน/เครื่องมือไหน จะเป็นผู้รวบรวม
ข่าวสาร
การวางแผนรวบรวมข่าวสาร
 เพื่อกาหนดว่า “ต้องการรู้ข่าวในเรื่องอะไร” โดยกาหนดออกมา
ในรูปของความต้องการข่าวกรองของ ผบ.หน่วย
 จัดลาดับความเร่งด่วน เป็น หขส. และ ตขอ. แล้วแปลงออกมา
เป็น คาสั่ง-คาขอ
 จากนั้นก็เป็นการพิจารณาเลือก จนท.รวบรวมข่าวสาร โดย
คานึงถึงขีดความสามารถ ความเหมาะสม และความเพียงพอ
เป็นหลัก
การวางแผนรวบรวมข่าวสาร จะประสบผลสาเร็จได้
จะต้องมีความรอบรู้อย่างดีในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้

 ภารกิจ
 พื้นที่ปฏิบัติการ
 จนท.รวบรวมข่าวสาร/ แหล่งข่าว
 ขั้นตอนการวางแผนรวบรวมข่าวสาร
 วิธีการรวบรวมข่าวสาร
 สถานการณ์ฝ่ายตรงข้าม
 ประชากรในท้องถิ่น
แผนรวบรวมข่าวสาร

 การวางแผนรวบรวมข่าวสาร หากไม่มีเวลาเพียงพอ อาจไม่ทาเป็นลาย


ลักษณ์อักษรได้
 หากทาเป็นลายลักษณ์ หรือทาเป็นแผนรวบรวมข่าวสารจะเกิดความง่าย
และสะดวกในการใช้งาน
 ง่ายต่อการปรับปรุงแก้ไขตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
 เป็นเครื่องช่วยจา และลดข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น
 ขึ้นอยู่กับขนาดหน่วย และ ความต้องการของ ฝอ.

** ไม่จากัดแบบฟอร์ม เป็น กระดาษ หรือ กระดาน เขียน**


แบบฟอร์มแผนรวบรวมข่าวสาร
(1) (2) (3) (4) (5) ((6)
ความต้องการ จนท.รวบรวม
ข่าวกรอง สิ่งบอกเหตุ คาสั่ง/คาขอ ข่าวสาร ตาบลและเวลา หมายเหตุ
(หขส./ตขอ.) ก ข ค ง จ รายงาน

X หน่วยที่มีขีดความสามารถ/ต้องการให้รวบรวมข่าวสาร

X หน่วยที่มีขีดความสามารถ/แต่ยังไม่ต้องการให้รวบรวมข่าวสารในขณะนี้
ลาดับงานการวางแผนรวบรวมข่าวสาร

1. การกาหนดความต้องการข่าวกรอง
2. การกาหนดความเร่งด่วน (หขส.-ตขอ.)
3. การกาหนดสิ่งบอกเหตุ
4. การกาหนดรายการข่าวสารเฉพาะเจาะจง (คาสั่ง-คาขอ)
5. การกาหนด จนท.รวบรวมข่าวสาร
6. การกากับดูแล (ตาบลและเวลาให้รายงาน)
1. การกาหนดความเร่งด่วน

 ผบ.หน่วย มีความต้องการข่าวกรองทั้งปวงเพื่อสาเร็จภารกิจ
 การตอบสนองความต้องการฯ ทั้งปวงไม่สามารถกระทาพร้อมกันได้
เนื่องจาก จนท. + เครื่องมือ ไม่เพียงพอ
 เพื่อให้เกิดเป้าหมายข่าวกรองที่เจาะจง
 ไม่มีกฎเกณฑ์ กาหนดความเร่งด่วน ** เป็นเรื่องดุลพินิจ **
การกาหนดความต้องการข่าวกรอง
ความต้องการข่าวกรอง
 หัวข้อข่าวสารสาคัญ (หขส.)
 ความต้องการข่าวกรองอื่น ๆ (ตขอ.)

หขส.
 ความต้องการข่าวกรอง ที่มีความเร่งด่วนอันดับสูงสุด
 เป็นข่าวกรอง/ข่าวสารเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่เกี่ยวกับฝ่ายตรงข้ามและ
ลักษณะพื้นทีป่ ฏิบัติการ
 ผบ.หน่วยมีความต้องการทราบก่อนที่จะทาการตกลงใจอย่างมีเหตุผล
การกาหนดความต้องการข่าวกรอง
ความต้องการข่าวกรอง
 หัวข้อข่าวสารสาคัญ (หขส.)
 ความต้องการข่าวกรองอื่น ๆ (ตขอ.)

ตขอ.
 ข่าวสารเกี่ยวกับฝ่ายตรงข้าม หรือพื้นที่ปฏิบัติการที่อาจกระทบ
แต่ไม่ถึงกับขัดขวาง ความสาเร็จในการปฏิบัติภารกิจโดยตรง
 ความต้องการที่มีความเร่งด่วนอันดับรอง
2.การกาหนดสิ่งบอกเหตุ

 เป็นสิ่งที่บ่งชีก้ ิจกรรมของฝ่ายตรงข้ามหรือลักษณะพื้นที่ปฏิบัติการ
 ชี้ให้เห็นถึงขีดความสามารถ, จุดล่อแหลม หรือเจตนารมณ์
 นามาสนธิเข้ากับเหตุการณ์ หรือสิ่งบอกเหตุอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 เพื่อกาหนดว่าฝ่ายตรงข้ามจะทาอะไร
 การกาหนดสิ่งบอกเหตุจะพิจารณาได้ โดย
- ประสบการณ์ และความชานาญของเจ้าหน้าที่
- ลักษณะพื้นที่ปฏิบัติการ
3.การจัดทา คาสั่ง-คาขอ

เป็นการเตรียมคาสั่ง/คาขอ
ส่งให้กับหน่วยหรือเจ้าหน้าที่รวบรวมข่าวสาร

สิ่งบอกเหตุ
เป็นมูลฐานในการจัดทาคาสั่ง -คาขอ
4.การกาหนด จนท.รวบรวมข่าวสาร

เป็นการกาหนดหน่วยรองหรือเจ้าหน้าที่ที่จะใช้ในการรวบรวม
ข่าวสารโดยพิจารณาจาก
 ขีดความสามารถ : ภารกิจ ขีดความสามารถของหน่วย
 ความเหมาะสม : การเข้าถึงเป้าหมาย
 เพียงพอ : อย่างน้อย 2 หน่วยในข่าวเดียวกันเพือ่ การตรวจสอบ
 สมดุล : อย่าใช้หน่วยใดหน่วยหนึ่งมากเกินไป
5.การกาหนดตาบลและเวลารายงาน

 เป็นการกาหนดเวลาหรือห้วงเวลา และวิธีการรายงานข่าวสาร
 อาจจะกาหนดเป็น รปจ., ตามเหตุการณ์
 เพื่อเป็นการยืนยันในกรณีที่เมื่อถึงเวลานั้นแล้วเกิด
หรือไม่เกิดเหตุการณ์
6.การกากับดูแล

หมายเหตุ
เพื่อให้ จนท.ทาการบันทึกการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมข่าวสาร
ตามคาสั่ง/คาขอ
 เพื่อใช้ในการช่วยความจา
 เพื่อใช้ในการปรับปรุงแผนรวบรวมข่าวสาร ว่าข้อมูลใดที่หน่วย
รายงานมาแล้วหรือยังไม่รายงาน ยืนยันหรือไม่ยืนยัน
ขั้นที่ 2 รวบรวมข่าวสาร
ขั้นที่ 2 การรวบรวมข่าวสาร
คือ การแสวงประโยชน์จากแหล่งข่าว
จากเจ้าหน้าที่รวบรวมข่าวสาร และรายงานข่าวสาร
มายังเจ้าหน้าที่ด้านการการข่าว อย่างมีระเบียบ

องค์ประกอบในการรวบรวมข่าวสาร
 แหล่งข่าว
 เจ้าหน้าที่รวบรวมข่าวสาร
 วิธีรวบรวมข่าวสาร
แหล่งข่าวสาร
คือ ต้นตอ/แหล่งกาเนิดของข่าวสาร
 บุคคล
 วัตถุ
 พฤติกรรม/การปฏิบัติ
แหล่งข่าวสาร
 แหล่ ง ข่ า วสาร : บุ ค คล วั ต ถุ หรื อ การปฏิ บั ติ ต่ า ง ๆ ที่ จ ะให้ ข่ า วสารส าหรั บ
นามาใช้เป็นประโยชน์ในด้านการข่าว ซึ่งอาจจะอยู่ในความครอบครองของฝ่าย
เราหรือไม่กต็ าม
 แหล่ ง ข่า วสาร อาจเป็น เชลยศึ ก บุค คลในท้ องถิ่น ผู้ลี้ ภัย ผู้ อพยพ ผู้พ ลัด ถิ่ น
สายลับพลเรือน ทหารที่คืนกลับหน่วย เอกสารยุทโธปกรณ์ที่ยึดได้ พยากรณ์
อากาศ แผนที่ ภาพถ่าย รายงานต่าง ๆ และการปฏิบัติของฝ่ายตรงข้าม
ปัจจัยการเลือก จนท.รวบรวมข่าวสาร
 ขีดความสามารถ : พิจารณาว่าแต่ละรายการคาสั่งคาขอข่าวสารหน่วยใดบ้างที่มีขีด
ความสามารถรวบรวมข่าวสารมาได้ในขณะนั้น
 ความเหมาะสม : พิจารณาจากภารกิจ/ที่ตั้งของหน่วย/เครื่องมือที่หน่วยมีอยู่ ว่ามี
ความเหมาะสมที่จะหาข่าวสารนั้นหรือไม่
 ความเพียงพอ : ในแต่ละรายการคาสั่งคาขอข่าวสาร จะต้องพิจารณาใช้ จนท.
รวบรวมข่าวสารมากกว่า ๑ หน่วย
 ความสมดุล : ให้กระจายการแบ่งมอบงานการรวบรวมข่าวสารอย่างทั่วถึง ในแต่ละ
รายการคาสั่งคาขอข่าวสาร
วิธีรวบรวมข่าวสาร
ข่าวกรองทางยุทธศาสตร์
 การรวบรวมข่าวสารทางเปิด
 การรวบรวมข่าวสารโดยวิธีพิเศษ
ข่าวกรองทางยุทธวิธี
 การเฝ้าตรวจสนามรบ
 การลาดตระเวน /การต่อต้านการลาดตระเวน
 การค้นหาเป้าหมาย
 วิธีการอื่นๆ
ประเภทของการดาเนินงานข่าวกรอง
ประเภทของการดาเนินงานข่าวกรอง

ข่าวกรองทางบุคคล HUMINT - HUMAN INTELLIGENCE


ข่าวกรองทางสัญญาณ SIGINT - SIGNAL INTELLIGENCE
ข่าวกรองทางการภาพ IMINT - IMAGERY INTELLIGENCE
ข่าวกรองจากเครื่องมือวัดและสัญญาณแสดง
MASINT - MEASUREMENT AND SIGNATURE INTELLIGENCE
ข่าวกรองทางเทคนิค TECHINT - TECHNICAL INTELLIGENCE
ข่าวกรองจากแหล่งข่าวเปิด
OSINT - OPEN SOURCE INTELLIGENCE
ข่าวกรองทางบุคคล

HUMINT เป็นวิธีการที่ใช้คนเข้าไปทาการรวบรวมข่าวสาร มักใช้เพื่อ


ยืนยัน/ปฏิเสธ หรือ เพิ่มเติมข่าวสารที่ได้รับมาจากแหล่งข่าวอื่น ตัวอย่างเช่น
การซักถาม, การลาดตระเวน, การเฝ้าตรวจด้วยคน, การข่าวลับ ฯลฯ
ข่าวกรองทางสัญญาณ
SIGINT เป็นผลผลิตที่ได้มาจากการรวบรวม, กาหนดที่ตั้ง, วิเคราะห์
และรายงานการดักรับสัญญาณ ทั้งที่เป็นสัญญาณการสื่อสาร
และที่มิใช่สัญญาณการสือ่ สาร สามารถรวบรวมข่าวสารได้ใกล้เคียง
กับเวลาที่เกิดขึ้นจริง

แบ่งออกเป็น 2 ประเภทย่อย คือ


- งานข่าวกรองทางการสื่อสาร COMINT
COMMUNICATION INTELLIGENCE
- งานข่าวกรองทางอิเล็กทรอนิกส์ ELINT
ELECTRONIC INTELLIGENCE
ข่าวกรองทางการภาพ
IMINT
เป็นผลผลิตที่ได้จากการวิเคราะห์และตีความภาพถ่าย
ช่วยให้มองภาพพื้นที่ปฏิบัติการได้อย่างชัดเจน และรวดเร็ว
เป็นแหล่งข้อมูลที่สาคัญในการนาไปใช้ในการทา IPB
กาหนดเป้าหมาย ฯลฯ มักใช้เพื่อตรวจสอบข่าวสารที่ได้รับมา
จากแหล่งข่าวอื่น
ตัวอย่างของเครื่องมือ
เช่น UAV, บ.ถ่ายภาพทางอากาศ, กล้องอินฟราเรด,
สถานีดาวเทียมถ่ายภาพ, กล้องวงจรปิด
ข่าวกรองจากเครื่องมือวัดและสัญญาณแสดง

MASINT : MEASUREMENT AND SIGNATURE INTELLIGENCE


 เป็นการรวบรวมมาได้จากเครื่องมือเทคนิคด้วยการค้นหา, กาหนดที่ตั้ง,
ติดตาม, พิสูจน์ทราบ และตรวจจับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แพร่ออกมาจากวัตถุ
 ตัวอย่าง เช่น เครื่องเฝ้าตรวจระยะไกล REMBASS
ข่าวกรองทางเทคนิค

TECHINT
 เป็นการพิสจู น์ทราบต่อเทคโนโลยีทางด้านยุทโธปกรณ์ของข้าศึก
 เพื่อนามาลบล้างหรือต่อต้าน รวมถึงผลที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับการใช้
วัตถุดิบ และขีดความสามารถในการใช้วัตถุดิบของต่างชาติ
 ตรวจสอบ พิสูจน์ทราบ อาวุธยุทโธปกรณ์ ที่ยึดได้จากข้าศึก
ข่าวกรองจากแหล่งข่าวเปิด

OSINT
 เป็นการรวบรวมข่าวสารจากเอกสารเปิด ที่ไม่มีการจัดชั้นความลับ
 บางส่วนอาจมีคุณค่าทางการข่าวกรองที่สามารถนามาขยายผลได้ และ
ได้มาด้วยวิธีที่ง่าย เช่น โทรทัศน์, อินเตอร์เน็ต, วิทยุกระจายเสียง, สื่อสิ่งพิมพ์
ต่าง ๆ, วิทยานิพนธ์, เอกสารวิจัย
 การใช้ประโยชน์จะต้องนามาประสานเข้ากับข่าวสารที่รวบรวมมาได้จาก
วิธีอื่น วิธีนี้มีความถูกต้องถึง 80%
การรวบรวมข่าวสารจากแหล่งข่าวเปิด (Open Sources Intelligence)
3. การดาเนินกรรมวิธี (Processing)
การวางแผน
รวบรวม
ข่าวสาร

ภารกิจ
การใช้/
การรวบรวม
การกระจาย
ข่าวสาร
ข่าวกรอง

การดาเนิน
กรรมวิธี
การดาเนินกรรมวิธีต่อข่าวสาร
บันทึก ประเมินค่า ตีความ
• บันทึก • ความเกี่ยวข้อง • การวิเคราะห์
ประจาวัน ของข่าวสาร • การสนธิ
ข่าวสาร • เอกสารแยก • ความเชื่อถือได้ • การอนุมาน ข่าวกรอง
เรื่อง ของแหล่งข่าว
• แผนที่ • ความแน่นอน
สถานการณ์ ของข่าวสาร
• แฟ้มข่าวกรอง
ขั้นที่ 3 การดาเนินกรรมวิธีต่อข่าวสาร
เป็นการทาให้ข่าวสารเป็นข่าวกรอง ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
 การบันทึก – ลดรูป แยกแยะข้อมูล และเรียงลาดับ ทาเป็นประจาวัน
ช่วยให้ง่ายในการประเมินค่า ตีความ
 การประเมินค่า - พิจารณาข่าวสารที่ได้รับมาในเรื่อง ความเกี่ยวข้อง
ความถูกต้อง และความเชื่อถือได้
 การตีความ - ทาให้ข่าวสารเป็นข่าวกรอง มี 3 ขั้นตอนย่อย คือ
 การวิเคราะห์ – กลั่นกรอง, คัดเลือก
 สนธิ - รวบรวมเรื่องที่มีความสัมพันธ์กัน สร้างสมมุติฐาน
 อนุมาน - ตรวจสอบ/ลงความเห็นสมมุติฐาน
กระบวนการในการดาเนินกรรมวิธีต่อข่าวสาร
เก็บไม่ต้อง
ดาเนินการต่อ
ไม่เกี่ยวข้อง
ข่าวเข้า

ข่าวสารนั้น เกี่ยวข้อง
เกี่ยวข้องกับ
รับข่าว บันทึก การปฏิบัติการ
หรือไม่

ต้องทาเป็นข่าวกรอง ข่าวสารนั้น ไม่ต้องการในทันที


ข่าวสารนั้น
ข่าวสารนั้น น่าเชื่อถือได้ แหล่งข่าวเชื่อถือ มีความต้องการ
ถูกต้อง ต้องนาไปทาเป็น
ถูกต้องแน่นอน ได้เพียงใด ในทันทีหรือไม่
เพียงใด ข่าวกรองหรือไม่

* ต้องการ
ไม่ถูกต้อง เชื่อถือไม่ได้ ไม่
กระจายข่าวสาร
เก็บเข้าแฟ้ม เก็บเข้าแฟ้ม เก็บเข้าแฟ้มหรือ
ไปยังหน่วยที่เกี่ยวข้อง
ทาลาย

บันทึกลงแผนที่สถานการณ์
และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข่าวสาร ผลิตเป็นข่าวกรอง กระจายข่าวกรอง หน่วย

* ถ้าข่าวสารที่มีความต้องการในทันทีนั้น กระจายไปยังหน่วยที่เกี่ยวข้องแล้ว จะต้องนากลับไปดาเนินกรรมวิธีต่อ เนื่องจากข่าวสารนั้น อาจจะมีผลต่อการปฏิบัติในอนาคต


เครื่องมือในการบันทึก

 บันทึกประจาวัน
 เอกสารแยกเรื่อง
 แฟ้มข่าวกรอง : แฟ้มบันทึกประจาวัน แฟ้มข่าวสาร
แฟ้มทาเนียบกาลังรบ
 แผนทีส่ ถานการณ์
บันทึกประจาวันฝ่ายการข่าว หน้า จานวนหน้า

หน่วย ที่ตั้ง ห้วงเวลา


จาก ถึง
ม.พัน 7 บ.นาหวาย ต.เมืองนะ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ พิกัด_ _ _
100001ก.ค.45 102400ก.ค.45
_
ลาดับ เวลา สาส์น-เหตุการณ์ การปฏิบัติ หมายเหตุ
เข้า ออก

1 เปิดบันทึกประจาวัน
2 080 ร้อย ม.072 จับกุมชนกลุ่มน้อยสัญชาติพม่าน่าสงสัย2คน ผบ. ผท.
0 และได้ส่งตัวให้ชุดซักถามเชลยศึก(ขกท.)ทาการซักถาม อย.
ต่อไป
3 140 ชุด ซถ. ชนกลุ่มน้อยสัญชาติพม่า2คนที่ร้อยม.072จับกุมรับ ผบ. ฝอ.
0 สารภาพว่า ทพม.ได้สั่งให้มาหาข่าวเกี่ยวกับทหารไทย เพื่อ ผท. ฟ.
แลกเปลี่ยนกับความปลอดภัยของครอบครัวที่ถกู จับเป็นตัว
ประกัน
4 160 ร้อย ม.071,072 ให้กวดขันมาตรการ ตข.อย่างเคร่งครัด ผบ. ฝอ. ฟ.
5 0 ปิดบันทึกประจาวัน
สรุป-จับกุมผู้ต้องสงสัยได้ 2 คน ,ไม่มีการปะทะ

ยศ ชื่อ นามสกุล(ตัวบรรจง) ตาแหน่ง__________________ ลายเซ็น


เอกสารแยกเรื่อง
ลับมาก
แผนที่สถานการณ์
มาตราส่วน 1 : 50,000
ระวาง..............................

ขีดความสามารถข้าศึก หมายเหตุข่าวกรอง

ทาเนียบกาลังรบ
จนท.รวบรวมข่าวสาร
ข้าศึก

ลับมาก
แผนที่สถานการณ์
3. การดาเนินกรรมวิธี (Processing)
1.การวางแผน
รวบรวมข่าวสาร

4. การใช้และการ
กระจายฯ ภารกิจ 2.การรวบรวม
ข่าวสาร

3.การดาเนิน
กรรมวิธี
การประเมินค่า
 การกาหนดความเกี่ยวข้องของข่าวสาร
 ความน่าเชื่อถือได้ของแหล่งข่าว/จนท.รวบรวมข่าวสาร
 ความแน่นอนของข่าวสาร

 การรายงานข่าวกรองไปยังหน่วยเหนือ หน่วยรอง และหน่วยข้างเคียง


ควรจะต้องแสดงผลการประเมินค่าของข่าวสารด้วย
 ค่าตัวเลขและตัวอักษร เป็นอิสระแก่กัน
ความเกี่ยวข้องของข่าวสาร
 เกี่ยวข้องกับ ขศ./ฝ่ายตรงข้าม หรือไม่ ?
 เกี่ยวข้องกับลักษณะพื้นที่ปฏิบัติการหรือไม่ ?
 ต้องการในทันทีหรือไม่ ? หากมี ใครต้องการ?
 อาจจะเป็นประโยชน์ในปัจจุบันหรืออนาคตหรือไม่ ?
จะมีคุณค่าแก่ใคร?

** ข่าวสารที่พิจารณาแล้วว่า เกี่ยวข้อง
จึงจะนาไป ประเมินค่า และ ตีความ ต่อไป**
การประเมินค่า
ใช้การกาหนดคะแนนเป็นมาตรฐาน คือ…
 ความเชื่อถือได้ ของแหล่งข่าว/จนท.รวบรวมข่าวสาร )
ตัวอักษร ก - ฉ
 ความแน่นอนของข่าวสาร

ตัวเลข 1 - 6
3. การดาเนินกรรมวิธี (Processing)
ความน่าเชื่อถือของแหล่งข่าว/จนท.รส.
1.การวางแผน ก : เชื่อถือได้เต็มที่ (A-Completely reliable)
รวบรวมข่าวสาร
ข : เชื่อถือได้ (B-Usually reliable)
ค : พอเชื่อถือได้ (C-Fairly reliable)
4. การใช้และการ
กระจายฯ ภารกิจ 2.การรวบรวม
ข่าวสาร
ง : ไม่น่าเชื่อถือ (D-Not usually reliable)
จ : เชื่อถือไม่ได้ (E-Unreliable)
ฉ : ไม่สามารถกาหนดความเชื่อถือได้ (F-Reliability Truth
3.การดาเนิน cannot be judged )
กรรมวิธี

ความแน่นอนของข่าวสาร
1.ได้รับการยืนยันจากแหล่งข่าวอื่นๆ (Confirmed by other source)
การประเมินค่า 2.น่าจะเป็นข่าวจริง (Probably True)

ค-3 3.อาจจะเป็นข่าวจริง (Possible True)


4.สงสัยว่าจะเป็นจริง (Doubtfully True)
5.ไม่น่าจะเป็นไปได้ (Improbable)
6.ไม่สามารถตัดสินความจริงได้ (Truth cannot be judged)
การตีความ
 เป็นการกาหนดความสาคัญของข่าวสารที่ได้รับมาใหม่กับข่าวสาร/ข่าวกรองที่ได้
ทราบแล้ว
 เป็นการหาข้อสรุปความหมายที่น่าจะเป็นไปได้ของข่าวสารที่ประเมินค่าแล้วนั้น

ประกอบด้วยงาน 3 ขั้น คือ…


 การวิเคราะห์ (แยกออก)
 การสนธิ (รวมเข้าด้วยกัน)
 การอนุมาน (ทาเป็นข้อสรุป)
การวิเคราะห์ (Analysis)
 การกรอง และ แยก ข่าวสารที่ประเมินค่าแล้ว เพื่อแยกเอาส่วนสาคัญ
ออกมาต่างหาก
 ต้องอาศัยการวินิจฉัยที่ดี และความรู้อย่างถ่องแท้ ในหลักพื้นฐานการ
ปฏิบัติทางทหาร/พื้นที่ปฏิบัติการ และ สถานการณ์ของ ฝตข.
เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ข่าวกรอง
 แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
 ตารางกิจกรรม (Activities Matrix)
 ตารางความสัมพันธ์ (Association Matrix)
 แผ่นภาพความเชื่อมโยง (Link Diagram)
 แผ่นวิเคราะห์รปู แบบการปฏิบัติ
 แผ่นการบันทึกเหตุการณ์ (พิกัด) ในพื้นที่
 แผนภาพความคิด (Mind Map)
 การเก็บสถิตในรูปแบบต่าง ๆ
 การวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)
เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ข่าวกรอง
 แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
 ตารางกิจกรรม (Activities Matrix)
 ตารางความสัมพันธ์ (Association Matrix)
 แผ่นภาพความเชื่อมโยง (Link Diagram)
 แผ่นวิเคราะห์รปู แบบการปฏิบัติ
 แผ่นการบันทึกเหตุการณ์ (พิกัด) ในพื้นที่
 แผนภาพความคิด (Mind Map)
 การเก็บสถิตในรูปแบบต่าง ๆ
 การวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)
แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)

 เป็นการบันทึกกิจกรรมของกลุ่มหรือบุคคลตามลาดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อแสดง
ข้อมูลปริมาณมากโดยใช้พื้นที่น้อยที่สุด
 เป็นเครื่องมือที่ทาความเข้าใจและนาไปใช้ได้ง่าย สัญลักษณ์ที่ใช้ไม่ซับซ้อน

 เป็นเครื่องมือในการบรรยายสรุปที่ดี
 เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ที่มีความยืดหยุ่น
 เป็นเทคนิคที่นิยมนามาใช้ในฐานข้อมูล
 เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ดี ใ นการวิ เ คราะห์ รู ป แบบการปฏิ บั ติ
(Pattern Analysis)
แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
1 2 3
2560 18 ม.ค.60 22 ม.ค.60 26 ม.ค.60
เหตุการณ์สาคัญในพื้นที่ เหตุการณ์สาคัญ เหตุการณ์สาคัญ เหตุการณ์สาคัญ

4 5 6 7

9 ก.พ.60
เหตุการณ์สาคัญ เหตุการณ์สาคัญ เหตุการณ์สาคัญ เหตุการณ์สาคัญ

8
9 10

เหตุการณ์สาคัญ เหตุการณ์สาคัญ เหตุการณ์สาคัญ


แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
1 2
2560 18 ม.ค.59 22 ม.ค.59
เหตุการณ์สาคัญในพื้นที่ เหตุการณ์สาคัญ A เหตุการณ์สาคัญ B เหตุการณ์สาคัญ

5 6

เหตุการณ์สาคัญ เหตุการณ์สาคัญ B เหตุการณ์สาคัญ A เหตุการณ์สาคัญ

8
10

เหตุการณ์สาคัญ B เหตุการณ์สาคัญ เหตุการณ์สาคัญ A


เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ข่าวกรอง
 แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
 ตารางกิจกรรม (Activities Matrix)
 ตารางความสัมพันธ์ (Association Matrix)
 แผ่นภาพความเชื่อมโยง (Link Diagram)
 แผ่นวิเคราะห์รปู แบบการปฏิบัติ
 แผ่นการบันทึกเหตุการณ์ (พิกัด) ในพื้นที่
 แผนภาพความคิด (Mind Map)
 การเก็บสถิตในรูปแบบต่าง ๆ
 การวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)
ตารางความสัมพันธ์
ตารางกิจกรรม
ตารางความสัมพันธ์
(Activities Matrix)
(Association Matrix)
ใช้เพื่อแสดงความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับองค์กร
ใช้เพื่อแสดงความสัมพันระหว่างบุคคลแต่ละบุคคล
เหตุการณ์ที่เป็นอยู่ กิจกรรมหรือเหตุการณ์อย่าง
อื่นที่ไม่ใช่บุคคล
 การหาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มก่อเหตุรุนแรงกับ
ผู้นาฯ และองค์กรนา จะทาได้ยาก
เพราะกลุ่มก่อเหตุรุนแรงจะใช้วิธีการแบ่งส่วนงาน  แสดงให้เห็นบุคคลสาคัญในพื้นที่ปฏิบัตกิ าร ซึ่งมี
(Compartmentation) เพื่อตัดตอนความสัมพันธ์ ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันกับแต่ละองค์กรหรือแต่ละ
ระหว่างกัน กิจกรรมต่างๆ
 ตารางแสดงความสัมพันธ์ใช้ในการกาหนดว่า “ใคร  ทาให้เราสามารถแสดงภาพจุดเด่นต่างๆ ของรายงาน
รู้จักกับใคร” หรือ “ใครเคยไปที่ใดหรือเคยทาอะไร” ข่าวกรองที่ทาให้มองเห็นภาพกลุ่มก่อความไม่สงบ
 สามารถสร้างได้ง่ายๆ และเป็นที่เข้าใจได้ง่าย สมาชิก และกิจกรรมที่กลุ่มปฏิบัติ
 สามารถใช้ในการนาเสนอการบรรยายสรุป เหตุการณ์
หรือเก็บรักษาข้อมูลในฐานข้อมูลอย่างย่อ
แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่มี
ระหว่างสมาชิกภายในกลุ่มหรือ
กิจกรรมที่ทาให้บุคคลเกี่ยวข้อง
กัน
วัตถุประสงค์ในการสร้างตาราง
ความสัมพันธ์ เพื่อแสดงให้ผู้ทา
การวิเคราะห์ทราบว่าใครมี
ความสัมพันธ์กับใคร

ยืนยัน
สงสัย

ตารางความสัมพันธ์ : Association Matrix


ตารางกิจกรรม (Activities Matrix)

มัสยิดบ้านต้นมะขาม
ปอเนาะเจริญศาสน์
มัสยิดบาโงกาบู
ร้านน้าชานายอาแซ
การประชุมแกนนาฯ

ยืนยัน
สงสัย
เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ข่าวกรอง
 แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
 ตารางกิจกรรม (Activities Matrix)
 ตารางความสัมพันธ์ (Association Matrix)
 แผ่นภาพความเชื่อมโยง (Link Diagram)
 แผ่นวิเคราะห์รปู แบบการปฏิบัติ
 แผ่นการบันทึกเหตุการณ์ (พิกัด) ในพื้นที่
 แผนภาพความคิด (Mind Map)
 การเก็บสถิตในรูปแบบต่าง ๆ
 การวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)
การจัดทา Link Analysis

แสดงคน (ระบุชื่อ)

หน่วย, หน่วยงาน องค์การ สถานที่ (ระบุชื่อพฤติการณ์ ที่


อยู่ ฯลฯ

ความสัมพันธ์/เกี่ยวข้องชัดเจนแน่นอน

ความสัมพันธ์/เกี่ยวข้องไม่แน่นอน, ยังสงสัย
แผ่นภาพความเชื่อมโยง
คณะกรรมการ ......
นาย C นาย D นาย E

นาย A นาย B

สถานที่ ..... กลุ่ม ......


นาย ช. กลุ่ม a
เหตุการณ์ .......
นาย ก นาย ข นาย ค นาย ง นาย จ

เส้นทึบใช้แสดงความสัมพันธ์ที่ทราบ เส้นประแสดงความสัมพันธ์ทสี่ งสัย


แผ่นภาพความเชื่อมโยง
Social Network Analysis of Terrorist Networks
social network analysis of Al-Qaeda
เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ข่าวกรอง
 แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
 ตารางกิจกรรม (Activities Matrix)
 ตารางความสัมพันธ์ (Association Matrix)
 แผ่นภาพความเชื่อมโยง (Link Diagram)
 แผ่นวิเคราะห์รปู แบบการปฏิบัติ
 แผ่นการบันทึกเหตุการณ์ (พิกัด) ในพื้นที่
 แผนภาพความคิด (Mind Map)
 การเก็บสถิตในรูปแบบต่าง ๆ
 การวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)
24 1
23

22 2 แผ่นวิเคราะห์รูปแบบการปฏิบัติ
21
3

วันที่ 1 2 3 4
20
4

5 6 7 8 9 10 11
19 5

12 13 14 15 16 17 18

1 2 3 4 56 7 8 9 01 2 3 4 5 6 7 8 9 01 2 3 4 56 7 8 9 01 6
18

19 20 21 22 23 24 25
17 7

26 27 28 29 30 31
8
16

อา จ อ พ พฤ ศ ส
9
15
การลอบยิง
10 การลอบวางระเบิด
14
13 เหตุการณ์อื่น ๆ
11
12
เหตุการณ์ระเบิดในแต่ละประเภท 1
ในพื้นที่ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี 2300 2400 0100

2200 31
0200
วิธีการจุดชนวนระเบิด 30
29
28
27
2100 26
25
โทรศัพท์มือถือ 24
23 0300
22
21
รีโมทคอนโทรล (5) 20
19
18
2000 17
ไม่ทราบวิธีการจุด (1) 16
15 0400
14
13
ระเบิดขว้าง 12
11
10
9
ลากสายไฟฟ้า (6) 1900
8
7 0500
6

ตั้งเวลา 5
4
3
2
1

1800 31 30 29 28 27 26 25 24 23 22 21 20 19 18 17 16 15 14 13 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1

1
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
0600
2

ระดับความรุนแรง 4
5
6
3

มาก 1700 7
8
9 0700
10

ปานกลาง 11
12
13
14
1600 15
น้อย 16
17
18
19 0800
20
21
22
1500 23
24
25
26 0900
27
28
1400 29
30
31
1000

1200
1300
1100
เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ข่าวกรอง
 แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
 ตารางกิจกรรม (Activities Matrix)
 ตารางความสัมพันธ์ (Association Matrix)
 แผ่นภาพความเชื่อมโยง (Link Diagram)
 แผ่นวิเคราะห์รปู แบบการปฏิบัติ
 แผ่นการบันทึกเหตุการณ์ (พิกัด) ในพื้นที่
 แผนภาพความคิด (Mind Map)
 การเก็บสถิตในรูปแบบต่าง ๆ
 การวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)
แผ่นการบันทึกเหตุการณ์ (พิกัด) ในพื้นที่
ถ.สาย
ที่ตั้ง มว.ปล.ที่ 2 ร้อย.ร.1611
410 (พิกัด คิวเอช 542394)
บริเวณที่เกิดเหตุ
บ ต้นมะขาม ต เมาะมาวี บริเวณที่เกิดเหตุ
(พิกัด คิวเอช 548379) (พิกัด คิวเอช 548371)

ที่ตั้ง ร้อย.ร.1611
3 (พิกัด คิวเอช 562364)
1

บริเวณที่เกิดเหตุ
(พิกัด คิวเอช 548368)
เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ข่าวกรอง
 แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
 ตารางกิจกรรม (Activities Matrix)
 ตารางความสัมพันธ์ (Association Matrix)
 แผ่นภาพความเชื่อมโยง (Link Diagram)
 แผ่นวิเคราะห์รปู แบบการปฏิบัติ
 แผ่นการบันทึกเหตุการณ์ (พิกัด) ในพื้นที่
 แผนภาพความคิด (Mind Map)
 การเก็บสถิตในรูปแบบต่าง ๆ
 การวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)
แผนผังความคิด (Mind Map)
เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ข่าวกรอง
 แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
 ตารางกิจกรรม (Activities Matrix)
 ตารางความสัมพันธ์ (Association Matrix)
 แผ่นภาพความเชื่อมโยง (Link Diagram)
 แผ่นวิเคราะห์รปู แบบการปฏิบัติ
 แผ่นการบันทึกเหตุการณ์ (พิกัด) ในพื้นที่
 แผนภาพความคิด (Mind Map)
 การเก็บสถิตในรูปแบบต่าง ๆ
 การวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)
800

700

600

500

400 3,760
300
5,672
200

100
583
0
ปี 47 ปี 48 ปี 49 ปี 50 ปี 51 ปี 52 ปี 53 ปี 54 ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58
เหตุระเบิด 98 284 347 541 286 299 263 330 313 348 311 340
บาดเจ็บ 213 501 427 724 656 537 374 539 596 554 319 232
เสียชีวิต 8 27 47 100 26 41 28 74 64 93 52 23

กราฟสถิติเหตุการณ์ระเบิดและการสูญเสียในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2547-2558


ที่มา : กองวิเคราะห์ความเชื่อมโยง สานักอานวยการข่าวกรอง กอ.รมน.ภาค 4 สน., 2559.
400
350
ผลรวมเปอร์เซ็นต์แต่ละปี
300
250
200
150
100
50
0
กล่อง กระป๋อง ท่อพีวีซี ท่อโลหะ กล่อง หม้อโลหะ ถังน้้ามัน ถัง ถังแก๊ส ถังน้้ายา อื่นๆ ตรวจ
พลาสติก โลหะ เหล็กขึ้น จยย. ดับเพลิง แอร์ ไม่ได้
รูป
ปี 58 0 21 1 34 10 0 0 5 24 0 1 4
ปี 57 1 9 3 16 25 1 0 9 31 1 0 4
ปี 56 3 8 2 10 34 0 1 9 29 3 0 1
ปี 55 0 0 10 5 24 0 0 8 19 0 0 4
ปี 54 2 21 11 9 33 1 1 7 14 0 1 3
ปี 53 1 4 17 14 36 2 1 8 16 0 1 0
ปี 52 0 2 7 14 50 0 0 17 7 0 2 3
ปี 51 5 4 1 9 62 1 1 15 2 0 1 0
ปี 50 1 4 5 13 56 2 1 13 0 0 0 5
ปี 49 0 4 7 11 46 6 2 12 0 0 0 9
ปี 48 13 7 4 3 21 10 0 21 0 0 2 17
ปี 47 14 3 7 0 2 0 3 0 0 0 2 68
ผลรวมเปอร์เซ็นต์แต่ละปี 350
300
250
200
150
100
50
0
06.00-09.00 09.00-12.00 12.00-15.00 15.00-18.00 18.00-21.00 21.00-24.00 00.00-03.00 03.00-06.00
ปี 58 16 13 6 4 46 9 4 2
ปี 57 25 6 8 14 34 9 2 2
ปี 56 21 21 13 15 12 4 4 10
ปี 55 17 19 15 16 17 2 11 3
ปี 54 23 20 10 12 19 10 3 3
ปี 53 32 26 14 14 8 4 1 1
ปี 52 23 18 15 15 16 6 1 6
ปี 51 29 20 17 13 8 7 3 3
ปี 50 34 17 11 10 18 6 1 3
ปี 49 40 21 11 9 10 6 1 2
ปี 48 35 17 10 8 22 0 0 0
ปี 47 23 14 1 18 19 23 1 1
800
700
ผลรวมเปอร์เซ็นต์แต่ละปี
600
500
400
300
200
100
0
ANFO Power gel ไดนาไมท์ C4 PETN Chlorate Black/Flash Pyrotechnic ตรวจไม่ได้
Powder
ปี 58 74 0 0 0 0 0 26 0 0
ปี 57 91 0 0 0 0 0 8 0 1
ปี 56 69 0 0 0 0 9 40 2 8
ปี 55 56 0 0 0 0 1 34 6 3
ปี 54 62 2 0 0 1 4 23 2 6
ปี 53 58 9 0 1 0 11 19 0 2
ปี 52 65 20 0 1 0 9 0 2 3
ปี 51 78 12 0 0 0 7 1 0 2
ปี 50 65 14 0 0 0 2 1 0 18
ปี 49 50 5 2 0 0 13 4 0 26
ปี 48 98 1 0 0 0 0 0 0 1
ปี 47 16 1 0 0 0 0 0 0 83
ผลรวมเปอร์เซ็นต์แต่ละปี 300
250
200
150
100
50
0
โทรศัพท์มือถื นาฬิกาตั้งเวลา โทรศัพท์ตั้ง IC Timer ลากสายไฟ แบบเหยื่อ รีโมท วิทยุสื่อสาร ชนวนดินด้า ตรวจไม่ได้
อ เวลา
ปี 58 1 5 50 1 3 5 0 28 1 6
ปี 57 12 7 17 15 6 9 0 32 0 2
ปี 56 11 7 15 2 15 3 0 30 4 13
ปี 55 11 7 0 7 16 16 0 22 15 6
ปี 54 10 22 0 3 14 18 0 19 6 8
ปี 53 25 5 0 3 14 27 4 18 0 4
ปี 52 24 15 0 9 27 7 9 5 0 4
ปี 51 30 15 0 0 18 5 26 0 0 6
ปี 50 12 29 0 0 13 1 35 0 0 9
ปี 49 45 24 0 0 15 3 1 0 0 12
ปี 48 54 9 0 0 18 0 0 0 0 19
ปี 47 42 11 0 1 1 3 0 0 0 42
600
500
ผลรวมเปอร์เซ็นต์แต่ละปี

400
300
200
100
0
เส้นทาง แหล่ง ร้านค้า กิจการ ฐาน/จุด สถานที่ สถานที่ สถาน ธนาคาร ศาลาพัก สวน ศาสน เสาไฟฟ้า ราง ตู้เอทีเอ็ม อื่น
ชุมชน เอกชน ตรวจ ราชการ สาธารณ บันเทิง เกษตร สถาน รถไฟ

ปี 58 33 6 21 1 2 1 2 0 0 0 1 0 32 0 1 0
ปี 57 51 5 10 3 1 5 1 1 0 0 5 0 17 1 1 0
ปี 56 61 5 7 0 4 3 0 1 0 1 3 1 3 0 10 2
ปี 55 50 6 7 5 12 4 1 1 0 1 8 0 1 1 1 0
ปี 54 43 8 10 2 9 7 2 2 0 2 14 0 6 0 0 0
ปี 53 47 7 5 0 1 3 2 2 3 5 22 0 2 0 0 1
ปี 52 53 7 14 1 4 7 0 3 1 2 3 0 4 0 0 1
ปี 51 66 6 7 2 0 6 1 4 0 3 1 0 4 0 0 0
ปี 50 53 5 18 3 0 5 1 7 0 2 0 0 6 0 0 0
ปี 49 39 5 12 3 3 15 0 3 7 4 1 0 1 2 0 5
ปี 48 44 5 13 2 4 0 13 3 1 4 0 0 4 3 0 2
ปี 47 22 15 9 4 7 13 6 0 0 0 4 0 0 0 20
เครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ข่าวกรอง
 แผ่นภาพเหตุการณ์ – เวลา (Time Event Charts)
 ตารางกิจกรรม (Activities Matrix)
 ตารางความสัมพันธ์ (Association Matrix)
 แผ่นภาพความเชื่อมโยง (Link Diagram)
 แผ่นวิเคราะห์รปู แบบการปฏิบัติ
 แผ่นการบันทึกเหตุการณ์ (พิกัด) ในพื้นที่
 แผนภาพความคิด (Mind Map)
 การเก็บสถิตในรูปแบบต่าง ๆ
 การวิเคราะห์ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)

 วิเคราะห์บุคคล/องค์กร ที่มีผลกระทบ
จากเหตุการณ์ทั้งทางบวกและทางลบ
 ผลกระทบต่อผู้เกี่ยวข้อง (ผู้ส่งผลต่อ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
อิทธิพล) ทั้งทางตรงและทางอ้อม
 ผู้ได้ประโยชน์ ผู้เป็นกลาง และผู้เสีย  กาหนดปัญหา
ประโยชน์  กาหนดผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมดที่เป็นไปได้
 ทั้งในพื้นที่ปฏิบัติการ/นอกพื้นที่  รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย
ปฏิบัติการ  จัดลาดับผู้มีส่วนได้เสีย
 สรุปผลการประเมินผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)

สูง A. High importance, low influence B. High importance, high influence

แจ้งเตือน จาเป็นต้องเข้าไป เป็นผู้มีส่วนได้เสียสาคัญยิ่ง


เกี่ยวข้อง หรือเข้าถึง ต้องเข้ากากับดูแลอย่างใกล้ชิด
ความสาคัญ

D. Low importance, low influence C. Low importance, high influence


- ต้องแล เพื่อให้มั่นใจว่าเรา
กากับดูแล สามารถทาให้พวกเขาพอใจ
(ด้วยความพยายามขั้นต่า) - ทาให้พวกเขาเป็นฝ่ายเรา เพื่อให้
มั่นใจว่าพวกเขาจะไม่กระทาการ
ต่า อันส่งผลในแง่ลบต่อเรา
ต่า อิทธิพล สูง
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis)

Imams UN

Known relationship
Weak relationship
Hamas PA
Unknown relationship

People Local Government


Social Network Analysis of Terrorist Networks
Social network analysis of Al-Qaeda
การสนธิ (Integration)
การรวมส่วนต่าง ๆ ของข่าวที่ได้แยกออกจากกัน ในขั้นการวิเคราะห์แล้ว
นาไปรวมกับข่าวสารอื่น ๆ เพื่อแสดงให้เห็นภาพข่าวกรองทีส่ มเหตุผลหรือ
ให้ได้สมมติฐานเกี่ยวกับการปฏิบัติของ ฝตข.

 อาจกาหนดสมมุติฐานขึ้นมามากกว่าหนึ่งข้อ โดยอาศัยพื้นฐาน
ข่าวกรองที่มีอยู่
 การกาหนดสมมุติฐาน ฝอ.2 ต้องคิดว่าตนเป็น ผบ.ของหน่วย
ทหาร ฝตข.
การอนุมาน
คือ การพิจารณาเหตุผลจากสมมุติฐานที่ได้จากการสนธิ แล้ว
จัดทาเป็นข้อสรุปที่ให้ความหมายในเรื่องของ สถานการณ์ ขศ.
และ พื้นที่ปฏิบัติการ

กระทาเพื่อ
 กาหนด ห/ป ของ ขศ. ในอนาคต
 ปรับประมาณการข่าวกรองให้ทันสมัย
ขั้นที่ 4 การกระจาย และการใช้ข่าวสาร/ข่าวกรอง
การวางแผน
รวบรวม
ข่าวสาร

ภารกิจ
การใช้/
การรวบรวม
การกระจาย
ข่าวสาร
ข่าวกรอง

การดาเนิน
กรรมวิธี
4. การใช้และกระจายข่าวสาร/ข่าวกรอง
(Disseminating and Using)

วิธีในการกระจายข่าวกรอง
การกระจาย คือ การส่งข่าวสารและ
ข่าวกรอง ในแบบฟอร์ม เครื่องมือ และ  การประชุมและการบรรยายสรุป
วิธีที่เหมาะสม ไปยังผู้ที่ต้องการข่าว  การส่งข่าว
ทั้งปวงได้ทันเวลา  เอกสาร และรายงานข่าวกรองต่าง ๆ
เครื่องมือในการกระจายข่าวกรอง

ที่สาคัญ คือ
 รายงานด่วน
 รายงานข่าวกรอง  วิเคราะห์พนื้ ทีป่ ฏิบัติการ
 รายงานข่าวกรองเพิ่มเติม  ประมาณการข่าวกรอง
 รายงานข่าวกรองตามระยะเวลา  ผนวกข่าวกรอง
 สรุปข่าวกรอง
ฯลฯ
ประมาณการข่าวกรอง

ถือเป็นงานหลักและสาคัญที่สุด ของงานด้านการข่าวกรอง
ที่นายทหารฝ่ายการข่าวกรองรับผิดชอบ

คือ การพิจารณา/วิเคราะห์ พื้นที่ปฏิบัติการและสถานการณ์ขา้ ศึก เพื่อให้ทราบถึง

 ผลของพื้นทีป่ ฏิบัติการต่อ ห/ป. ของฝ่ายเรา


 ลาดับขีดความสามารถที่ขา้ ศึกน่าจะปฏิบัติ
 ความล่อแหลมของข้าศึก
ผนวกข่าวกรอง
คือ คาสั่งการข่าวกรองอย่างเป็นทางการแบบหนึ่ง และทาขึ้นในลักษณะ
ผนวก ประกอบคาสั่งยุทธการ เพื่อให้คาสั่งสั้น ประหยัดเวลาในการศึกษา
และ ง่ายต่อการทาความเข้าใจคาสั่ง

 เพื่อกระจายข่าวกรองที่จาเป็นในการปฏิบัติการยุทธ
 เพื่อประกาศ ความต้องการข่าวกรองของ ผบช.
 เพื่อมอบความรับผิดชอบในการรวบรวมข่าวสาร
 เพื่อร้องขอข่าวสารทีต่ ้องการจากหน่วยเหนือและหน่วยข้างเคียง
แบบฟอร์มผนวกข่าวกรอง
( หัวเรื่อง )
1. สรุปสถานการณ์ 4. มาตรการดาเนินการต่อ เอกสาร,
ก.สถานการณ์ทั่วไป
กาลังพล, และยุทโธปกรณ์ที่ยึดได้
ข.สถานการณ์ ฝตข.
ค.สรุปข่าวกรองในห้วงเวลา 5. เอกสาร และ ยุทธภัณฑ์ ที่ต้องการ
2. ความต้องการข่าวกรอง 6. การต่อต้านข่าวกรอง
ก.หขส.
7. การรายงาน และ การแจกจ่าย
ข.ตขอ.
3. คาสั่งและคาขอข่าวสาร 8. เบ็ดเตล็ด
ก.คาสั่งการรวบรวมข่าวสาร
ข.คาขอข่าวสาร
( ท้ายเรื่อง )
ระบบสารสนเทศด้านการข่าว กองทัพบก

รวดเร็ว ถูกต้อง ทันเวลา


งานในหน้าที่ของฝ่ายข่าวกรอง
สธ.๒/ฝอ.๒
การต่อต้านการข่าวกรอง
ความรับผิดชอบหลักทางฝ่ายอานวยการของ สธ.๒

 การผลิตข่าวกรอง
 การต่อต้านการข่าวกรอง
 การฝึก – ศึกษา ด้านข่าวกรอง
* งานเบ็ดเตล็ด
การต่อต้านการข่าวกรอง

การวางแผน ประสานงาน และกากับดูแล


การปฏิบัติการ เพื่อค้นหาทาลาย และ/หรือ ลวง
ต่อการปฏิบัติการด้านการข่าวกรองของฝ่ายตรงข้าม
รวมถึงการป้องกัน
การจารกรรม การก่อวินาศกรรม และการบ่อนทาลาย
การต่อต้านการข่าวกรอง
 การกาหนดขีดความสามารถของฝ่ายตรงข้ามในการรวบรวมข่าวสาร
โดยกรรมวิธีต่างๆ เช่น

 ข่าวกรองบุคคล
 ข่าวกรองทางการภาพ
 ข่าวกรองทางการสือ่ สาร
 การปฏิบัติภารกิจข่าวกรองของฝ่ายตรงข้ามที่มุ่งต่อหน่วยเรา
การต่อต้านการข่าวกรอง
 การประเมินความล่อแหลมของหน่วยเรา ต่อการปฏิบัติการด้าน
ข่าวกรองของฝ่ายตรงข้าม
 การประเมินวิเคราะห์ เพื่อกาหนดความล่อแหลมด้านการข่าวกรอง
ของระเบียบปฏิบัติ คาสั่ง แผน และคาสั่งชี้แจง การปฏิบัติทางการ
สื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ และเอกสารต่างๆ ของฝ่ายเรา เพื่อการ
ปฏิบัติการระวังป้องกัน
การต่อต้านการข่าวกรอง
 ช่วย สธ.3 วางแผนปฏิบัติการลวง โดยจัดทารายงานสรุปเกี่ยวกับ
 วิธีต่างๆ ของ ฝตข. ในการดาเนินกรรมวิธีต่อข่าวสาร รวมถึง เรื่องหรือการ
ปฏิบัตติ ่างๆ ที่ ฝตข.ถือว่าเป็นสิ่งบอกเหตุ
 หน่วยของ ฝตข. ระดับใดปฏิบัติการลวงต่อหน่วยเรา
 บุคลิกของ น.ข่าวกรอง และ ผบ.หน่วย ของฝ่ายตรงข้าม
 ปฏิกิริยาตอบโต้ของ ฝตข.ต่อการลวง สาหรับนามาใช้ในการปฏิบัติการใน
อนาคต
การต่อต้านการข่าวกรอง
 การกากับดูแลงานด้านการ รปภ. บุคคลของหน่วย
 การกากับดูแลงานด้านการรักษาความลับข้อมูลข่าวสารของหน่วย
 การให้ข้อเสนอแนะเรือ่ งนโยบายการปิดข่าว หากมีความจาเป็น
 การดาเนินการทางฝ่ายอานวยการ ในการกากับดูแลการปฏิบัติการของ
หน่วยต่อ ฝตข. และในการรวบรวมข่าวสาร รวมถึงการดารงรักษาการ
ประมาณการ ฝตข.ให้ทันสมัยอยู่เสมอ
 การตรวจสอบ แผน/คาสั่ง และ รปจ. ของหน่วยรอง เกี่ยวกับด้านการ
ปฏิบัติการรวบรวมข่าวสารและการเฝ้าตรวจ
 การประเมินความล่อแหลมในการวางกาลังของหน่วย ต่อการใช้อาวุธ
นชค. ร่วมกับ น.เคมี
“การข่าวกรองเป็นกุญแจไปสู่ความสาเร็จ”
Intelligence is the key to success.

You might also like