You are on page 1of 9

การพิจารณาเลือกใช้ระบบโครงสร้าง

จากข้อมูลของอาคารโคลอน (Colon Tower) หรื อที่เรี ยกว่า Torres de Colón ตั้งอยูท่ ี่มุมตะวันตกเฉียง
เหนือของ Colon Square ในกรุ งมาดริ ด ประเทศสเปน ติดกับถนน Castellana และ Genova ประกอบด้วยสาม
ส่ วนที่แตกต่างกัน โดยแบ่งออกเป็ น ส่ วนพื้นที่ใ ต้ดินของอาคารมีจาํ นวน 6 ชั้นใต้ดิน และ 3 ชั้นในพื้น ระดับดิน
และสองอาคารแฝดความสู ง 21 ชั้น ความสู งรวมเหนือพื้นดิน 110 ม. ในขณะที่ดา้ นล่างมี 24.75 ม. ชั้นใต้ดินและ
พื้นที่สวนมีพ้นื ที่ใ ช้สอยทั้งหมดประมาณประมาณ 1,700 ตารางเมตรในขณะที่ อาคารทั้งสองมีพ้นื ที่โ ดยรวม
ประมาณ 700 ตร.ม.รู ปแบบระบบโครงสร้างของอาคารเป็ นแบบระบบแขวน (Suspended or Hanging Structure)

เป็ นลักษณะเป็ นการถ่ายนํ้าหนักจากพื้นไปยังจุดรองรับคาน เสา และถ่ายนํ้าหนักจากเสาลงสู่ ฐานรากซึ่งรู ปแบบ


ที่นาํ เสนอจะเป็ นระบบโครงสร้างจําพวก TRANSFER BEAM หรื อ คานที่มีไ ว้รับนํ้าหนักจากเสาชั้นบนแทนที่
เสาต้นล่างโดยจะถ่าย นํ้าหนักลงไปยังเสาชั้นล่างถัดไป (พฤติกรรมการถ่ายแรงคล้าย Suspended) หรื อ อาจลงไป
ยังฐานรากก็ไ ด้ โดยสามารถดูรูปที่ 1 ประกอบ

รู ปที่ 1 การถ่ายนํ้าหนักลงไปยังเสาชั้นล่างถัดไป
โดยการที่เลือกการออกแบบด้วย TRANSFER BEAM ก็อาจเนื่องด้วยหลายๆ สาเหตุ เช่น ในงาน
ออกแบบพวกงานจําพวกหอประชุมสถาปนิกต้องการออกแบบให้พ้นื ที่โ ถงชั้นล่างให้มีความโล่งมากกว่าชั้น
อื่นๆ เช่นเดียวกับความต้องการอาคาร Colon Towe คือต้องจัดการพื้นที่ของชั้นเหนือพื้นดินและพื้นที่จอดรถ
ดังนั้น นํ้าหนัก จากชั้นอื่นๆ ที่ถูกถ่ายลงมาก็จะถูกถ่ายลงไปที่ TRANSFER BEAM ที่บริ เวณด้านบนโถงของชั้น
นี้, ในงานออกแบบต่อเติมอาคารจําพวกตึกแถวหรื อทาวน์เฮ้าส์กรณี ที่ทาํ การต่อเติมแค่หลังเดียว หรื อ ไม่ไ ด้ทาํ
การก่อสร้างต่อเติมไปพร้อมๆ กันทุกหลัง ซึ่งแนวของเสาต้นเดิมจะอยูช่ ิดริ มกําแพงบ้าน ดังนั้นเสาต้นใหม่ตอ้ ง
ทําการ OFFSET ระยะเข้ามาในบริ เวณของบ้านส่ วนต่อเติม แต่ สถาปนิกต้องการออกแบบให้ตวั บ้านต้องการ
พื้นที่ใ ช้สอยที่มากที่สุดจึงจําเป็ นต้องถ่าย นํ้าหนัก ของเสาลง TRANSFER BEAM เป็ นต้น

รู ปที่ 2 TRANSFER BEAM ขนาดใหญ่


รู ปที่ 3 TRANSFER BEAM
โดยเราจะเห็นได้จากรู ปที่ 2 และรู ปที่ 3 ว่าขนาดของคานประเภท TRANSFER BEAM นี้จะมีขนาดที่ใ หญ่มาก
เมื่อเทียบกับขนาดของคานประเภทอื่นๆ สาเหตุเพราะคานชนิดนี้จะต้องทําหน้าที่รับ นํ้าหนัก จากองค์อาคารทาง
ด้านบนที่ตอ้ งถูกถ่ายลงมายังโครงสร้างส่ วนนี้นนั่ เอง โดยในการออกแบบโครงสร้างคาน TRANSFER BEAM
นี้เราสามารถที่จะออกแบบให้เหมือนโครงสร้างคานอื่นๆ ได้นะครับ มีเพียงข้อพึงระวังอยูบ่ างประการ เช่น กรณี
ที่ขนาดของ TRANSFER BEAM นี้มีขนาดที่ใ หญ่มากๆ และ สัดส่ วนของระยะการรับนํ้าหนัก จากเสาด้านบน
นั้นมีขนาดน้อยมากๆ ด้วยเหตุน้ ีกอ็ าจทําให้การออกแบบ TRANSFER BEAM นั้นเข้าข่ายกรณี เป็ น DEEP
BEAM อีกด้วย ซึ่งคานประเภทนี้จะมีพฤติกรรมที่ผอู ้ อกแบบจําเป็ นต้องคํานึงถึงหลายๆเรื่ องนอกเหนือจาก
นํ้าหนักปกติใ นคานทัว่ ๆ ไป เช่น SHEAR DEFORMATION เป็ นต้น
หลักการก่ อสร้ าง (Design Concept and Construction Sequence)
Stage Post-Tensioning คือการก่อสร้างโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กอัดแรงโดยการอัดแรงเป็ นช่วงๆ เพื่อไม่ใ ห้
แรงอัดมากเกินพิกดั ที่หน้าตัดคานจะรับได้และให้สามารถรองรับนํ้าหนักของโครงสร้างของชั้นบนและนํ้าหนัก
การใช้งาน ซึ่งจะถ่ายลงบนองค์อาคารในช่วงนั้น ๆ ตามขั้นตอนการก่อสร้าง การทํา Stage Post-Tensioning
จะต้องแบ่งนํ้าหนักที่จะถ่ายลง Transfer Girder เป็ นช่วง ๆ ให้เหมาะสมจึงจะสามารถออกแบบหน้าตัดของ
Transfer Girder ได้อย่างประหยัด ขั้นตอนการทํา Post-Tensioning และหลักการออกแบบเป็ นดังนี้
สรุ ป
สําหรับโครงสร้างที่ออกแบบให้รับ Super Imposed Dead Load สู ง ๆ จําเป็ นจะต้องทํา Stage Post-Tensioning
โดยแบ่งนํ้าหนักและการดึงออกเป็ นช่วง ๆ ให้เหมาะสมจึงจะประหยัด มิฉะนั้นจะใช้หน้าตัดคานใหญ่มากจนทํา
ให้ระบบ Post-Tensioned ไม่เหมาะที่จะใช้สาํ หรับโครงสร้างประเภทนี้
ตัวอย่ างอาคาร

Palestra Building in London

You might also like