You are on page 1of 10

47

Clinical Mycology

กิณวิทยาคลินิก

อาจารย์ บาจรีย์ จันทราภาณุกร


48

เชื้อรา

ชนิดของสิ่ งส่ งตรวจ


1. Superficial & cutaneous mycoses เส้นผม เส้นขน ขุยผิวหนัง เล็บ เป็ นต้น
2. Subcutaneous mycoses เจาะหนองจากฝี ชิ้นเนื้อ เป็ นต้น
3. Deep mycoses หรื อ systemic mycoses เสมหะ เลือด ชิ้นเนื้อ เป็ นต้น

Direct examination
Saline mount เป็ นวิธีที่ง่ายและรวดเร็ ว ข้อเสี ยของวิธีน้ี คือการขาด contrast ทำให้ดูลกั ษณะเชื้อรา ได้
ยาก
Gram’s stain เชื้อราส่ วนใหญ่ติดสี น ้ำเงิน
KOH preparation ความร้อนจะช่วยเร่ งปฏิกิริยาของ KOH ในการย่อย keratin ในขุยผิวหนังรวมทั้ง
เยือ่ เมือกต่าง ๆ ให้ใสขึ้น จนสามารถเห็นเชื้อราได้ชดั เจน
Negative stain หรือ india ink preparation หรือ nigrosin preparation
เพื่อตรวจหา capsule ของเชื้อ Cryptococcus neoformans
Giemsa หรือ Wright stain โดยเชื้อราจะติดสี ฟ้าจนถึงน้ำเงินเข้ม

อาหารเลีย้ งเชื้อ
Sabouraud dextrose agar ( SDA ) หรือ Potato dextrose agar ( PDA )
เป็ นอาหารเลี้ยงเชื้อที่นิยมใช้ทวั่ ไปในห้องปฏิบตั ิการ incubate ที่อุณหภูมิหอ้ งในช่วง 26-30C
Brain heart infusion agar (BHI , เติมและไม่ เติมเลือด)
เพื่อดูวา่ เชื้อราก่อโรคเป็ น dimorphic fungi หรื อไม่จะ incubate ที่อุณหภูมิ 37C
Mycosel agar , Mycobiotic agar
จะมีการเติมยาต้านจุลชีพได้แก่ chloramphenicol และ gentamicin สำหรับยับยั้งการเจริ ญของแบคทีเรี ย
cycloheximide และ nystatin สำหรับยับยั้งการเจริ ญของ saprophytic fungi ที่เจริ ญเร็ ว

การแยกวินิจฉัยราสายและยีสต์
ราสาย (mold) ดู colony morphology, rate of growth และตรวจดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ดว้ ยวิธี
tease method , Scotch tape technique หรื อ slide culture ซึ่งเป็ นวิธีที่เห็นโครงสร้าง
และการเรี ยงตัวของ reproductive structure ได้ชดั เจน
การแยกวินิจฉัยราสายและยีสต์ (ต่ อ)
ยีสต์ (yeast) ดู colony morphology และตรวจดูภายใต้กล้องจุลทรรศน์ดว้ ยวิธี Negative stain, germ
tube test, chlamydoconidia production, sugar assimilation & fermentation

Superficial mycoses
การติดเชื้อรากลุ่มนี้มีขอบเขตเฉพาะผิวหนังชั้นตื้นที่สุดของร่ างกายคือ ผิวหนังชั้นขี้ไคล (stratum corneum) รวมทั้ง
เส้นผม ขน หู และตา โดยที่ร่างกายไม่มีการตอบสนองทางภูมิคุม้ กัน ได้แก่

1. โรคเกลือ้ น (Pityriasis versicolor)


49

รอยโรคจะเห็นเป็ นวงด่างมีสีผดิ ไปจากผิวหนังปกติ โดยสี ของผิวหนังอาจมีสีเข้มขึ้น (hyperpigmented


lesions) หรื อซีดลงจากเดิม (hypopigmented lesions) เมื่อส่ องรอยโรคด้วย Wood’s lamp จะเรื องแสงสี เหลืองทอง
หรื อสี เหลืองอ่อน เชื้อก่อโรคเกลื้อน ได้แก่ Malassezia furfur เป็ นยีสต์ที่ชอบไขมัน การตรวจวินิจฉัยทางห้อง
ปฎิบตั ิการด้วยวิธี KOH preparation จะพบ fragmented hyphae with round yeast cell หรื อ fragmented hyphae with
budding yeast cell

2. โรครอยด่างดำ ( Tinea nigra , Tinea nigra palmaris )


เชื้อก่อโรคคือ Phaeoannellomyces werneckii ( Exophiala werneckii ) เป็ นราดำ การตรวจวินิจฉัยทาง
ห้องปฎิบตั ิการด้วยวิธี KOH preparation จะพบสายราสี น ้ำตาล มีผนังกั้น ( septate hyphae ) อาจพบ ยีสต์ที่มีหรื อ
ไม่มีผนังกั้นก็ได้

3. โรคปมราดำ ( Black piedra )


รอยโรคเป็ นปุ่ มปมสี น ้ำตาลดำแข็งมาก เชื้อก่อโรคคือ Piedraia hortae การตรวจวินิจฉัยทางห้อง ปฎิบตั ิ
การด้วยวิธี KOH preparation จะพบสายราสี น ้ำตาลดำมีผนังกั้นอัดกันแน่น ระหว่างสายรานี้ จะพบ ascus แทรก
อยูภ่ ายใน แต่ละ ascus มี ascospore รู ปร่ างเรี ยวคล้ายกระสวย ( fusiform ) โค้งเล็กน้อยเรี ยงอยู่
2 - 8 เซลล์

4. White piedra หรือโรคปมราขาว


รอยโรคเป็ นปมหลวมๆ ที่ไม่แข็งมากรู ปร่ างไม่แน่นอน สี ครี ม สี น้ำตาลอ่อน หรื อสี ขาว สามารถรู ดหลุด
จากเส้นผมได้ง่าย เชื้อสาเหตุของโรคนี้ คือ Trichosporon beigelii การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการด้วยวิธี KOH
preparation จะพบสายรามีผนังกั้นจับเป็ นกลุ่มหลวม ๆ และ arthroconidia

Cutaneous mycoses
เป็ นโรคติดเชื้อราที่เกิดกับร่ างกายส่ วนที่มี keratin ได้แก่ ผิวหนัง ผม ขน และเล็บ เชื้ อก่อโรคกลุ่มนี้เรี ยก
ว่า Dermatophytes ( keratinophilic fungi ) มี 3 genus ได้แก่
1. Microsporum ติดเชื้อบริ เวณเส้นผม ขนและผิวหนัง โรคที่เส้นผมจะเป็ นแบบ ectothrix
( hyphae และ arthroconidia เจริ ญภายนอกเส้นผม )
2. Trichophyton ติดเชื้อบริ เวณเส้นผม ผิวหนังและเล็บ โรคที่เส้นผมจะเป็ นแบบ ectothrix และ
endothrix ( hyphae และ arthroconidia เจริ ญเฉพาะภายในเส้นผม )
3. Epidermophyton ติดเชื้อบริ เวณผิวหนังและเล็บเท่านั้น
โรคที่เกิดจากเชื้อรากลุ่มนี้ เรี ยกว่า โรคกลาก ( ringworm, tinea )
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการ ในกรณี ของโรคกลากที่หนังศีรษะและเส้นผม อาจส่ องด้วย
Wood’ s lamp จะเห็นการเรื องแสงเป็ นสี เขียวเหลืองเฉพาะในการติดเชื้ อ Microsporum audouinii และ
Microsporum canis เท่านั้น เมื่อนำขุยผิวหนัง เส้นผม ขน หรื อเล็บมาตรวจด้วยวิธี KOH preparation จะพบ
branching septate hyphae และ/หรื อ arthroconidia

Subcutaneous mycoses
เป็ นโรคติดเชื้อราชั้นใต้ผวิ หนัง มักมีสาเหตุจากการถูกหนามหรื อเศษไม้ที่มีเชื้ อราปนเปื้ อนอยูท่ ิ่มตำ รอย
โรคมักเกิดเฉพาะที่ หรื อกระจายไปยังบริ เวณใกล้เคียงผิวหนังที่มีการติดเชื้ อคือ ชั้น dermis หรื อ corium และส่ วน
ที่ลึกลงไปถึงเส้นเลือด ต่อมน้ำเหลือง และกระดูก
50

1. Chromoblastomycosis
รอยโรคมีลกั ษณะเป็ นก้อนเนื้อแข็งขรุ ขระ คล้ายดอกกะหล่ำสี คล้ำ เนื้อจะปูดนูนขึ้นจากผิวหนัง และมีเชื้อ
ราอยูภ่ ายใน เวลาแตกจะมีหนองไหลออกมา เชื้ อก่อโรคเป็ นราดำได้แก่ Fonsecaea pedrosoi เป็ นสายพันธุ์ที่พบก่อ
โรคบ่อยที่สุดทัว่ โลก Fonsecaea compacta , Phialophora verrucosa, Cladophialophora carrionii และ
Rhinocladiella aquaspersa
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการจะพบ Sclerotic bodies (Muriform bodies หรื อ Dark brown round
bodies)

2. Phaeohyphomycosis ( cystic chromomycosis )


เชื้อก่อโรคกลุ่มนี้ได้แก่ Exophiala jeanselmei, Wangiella dermatitidis และ Xylohypha bantiana ซึ่งเป็ น
เชื้อที่มีคุณสมบัติเป็ น neurotrophic และเป็ นสาเหตุสำคัญของ brain abscess
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการจะพบสายราสี ดำหรื อสี น้ำตาล มีผนังกั้น มีการแตกแขนง อาจพบยีสต์ที่มีหรื อ
ไม่มีการแตกหน่อ

3. Mycetoma
รอยโรคจะเริ่ มจากการเกิดบวม( Tumefaction ) โตเป็ นก้อนและแตกออก มีรูทะลุข้ ึนมาจากชั้นใต้
ผิวหนังออกมาสู่ ผวิ หนังชั้นนอกเป็ นรู เปิ ดหลายรู ( multiple sinus tract ) มีหนองไหลออกมาพร้อม grains หรื อ
granules ซึ่งก็คือเชื้อก่อโรคที่เจริ ญเติบโตอัดเป็ นเม็ดเล็ก ๆ
เชื้อราที่เป็ นสาเหตุของโรค mycetoma (Eumycotic mycetoma) ได้แก่ Acremonium sp., Curvularia
sp. และ Pseudallescheria boydii ( sexual state ) หรื อเรี ยกว่า Scedosporium apiospermum( asexual state ) ที่เป็ น
เชื้อสาเหตุของโรค mycetoma ที่สำคัญในอเมริ กา นอกจากนี้ Mycetoma อาจมีสาเหตุจาก filamentous
bacteria(Actinomycotic mycetoma) ที่ยอ้ มติดสี gram positive เช่น Nocardia sp. ,
Streptomyces sp. และ Actinomadura sp. เป็ นต้น
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการสำหรับ Eumycotic mycetoma จะพบ hyphae ขนาด 5 m ส่ วน
Actinomycotic mycetoma จะพบ hyphae ขนาดไม่เกิน 1 m

4. Entomophthoromycosis
ก่อโรคโดยมีแมลงเป็ นพาหะมี 2 genus ได้แก่ Basidiobolus และ Conidiobolus
4.1 Genus Basidiobolus
เชื้อที่ก่อโรคในคนมีเพียงสายพันธุ์เดียวคือ Basidiobolus ranarum โดยพยาธิสภาพมักเกิดบริ เวณแขน ขา
และ สะโพก แหล่งของเชื้ออยูใ่ นมูลกบ คางคก จิ้งจก กิ้งก่า ตุ๊กแก
เชื้อสร้าง globose conidia เมื่อแก่จะมีแรงดีดให้โคนิเดีย กระเด็นไปติดตามใบไม้ ใบหญ้าและด้วย
คุณสมบัติที่เป็ น adhesive conidia ที่มีเมือกเหนี ยวๆ จะเกาะติดกับใบไม้ ใบหญ้าได้ดี
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการด้วย KOH preparation จะพบสายราชนิดไม่มีผนังกั้น (Non septate
Hyphae)
การทดสอบปฏิกิริยาทางน้ำเหลืองจะพบ N แอนติเจน และ Y แอนติเจน
การตรวจชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยาพบสายราขนาดกว้างโดยรอบๆสายราจะปรากฏตะกอนสี ชมพูหุม้ อยูเ่ ป็ น
ปลอกเรี ยกว่า Splendore – Hoeppli phenomenon
51

4.2 Genus Conidiobolus


เชื้อที่ก่อโรคในคนมี 2 สายพันธุ์คือ C. coronatus และ C. incongruus มักพบรอยโรคที่รอบๆจมูกและ
ใบหน้า
เชื้อสร้าง papillae conidia (โคนิเดียกลมและมีจุก) หรื อ villose conidia (โคนิเดียเกิดขนรอบๆ) หรื อ corona
conidia เมื่อแก่จะมีแรงดีดให้โคนิเดีย กระเด็นไปติดตามใบไม้ ใบหญ้า
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการด้วย KOH preparation จะพบสายราชนิดไม่มีผนังกั้น
การทดสอบปฏิกิริยาทางน้ำเหลืองจะพบ N แอนติเจน
การตรวจชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยาพบสายราขนาดกว้างโดยรอบๆสายราจะปรากฏตะกอนสี ชมพูหุม้ อยูเ่ ป็ น
ปลอกเรี ยกว่า Splendore – Hoeppli phenomenon
ความแตกต่างระหว่าง C. coronatus และ C. incongruus

C. coronatus C. incongruus
zygospore - +
villose conidia + -

Systemic mycoses
โรคติดเชื้อราในระบบอวัยวะภายในต่างๆของร่ างกาย โดยการติดเชื้อมักเข้าทางระบบทางเดินหายใจ เชื้ อ
ราก่อโรค มีลกั ษณะเป็ นเชื้อราสองรู ป ( dimorphic fungi ) ซึ่งหมายถึงเชื้อราที่ตามธรรมชาติ ( saprophytic phase )
มีรูปร่ างเป็ นราสาย แต่เมื่อมีการติดเชื้อในเนื้อเยือ่ ของร่ างกาย ( parasitic phase ) จะเปลี่ยนรู ปร่ างเป็ น budding yeast
หรื อในกรณี ของ Coccidioides immitis จะเปลี่ยนรู ปร่ างเป็ น spherule

1. Histoplasma capsulatum ( Ajellomyces capsulatus )


เชื้ออยูใ่ นดินที่ปนเปื้ อนมูลของสัตว์ปีกเช่นมูลนกพิราบ มูลค้างคาวตามถ้ำ มูลไก่บา้ น ก่อให้เกิดโรค
ที่เรี ยกว่า Classical histoplasmosis หรื อ Darling’s disease
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการโดยการย้อมสิ่ งส่ งตรวจด้วย Wright-Giemsa, PAS, H&E หรื อ
methenamine silver จะพบยีสต์รูปลักษณะกลมรี ขนาดเล็กมีการแตกหน่อแบบฐานแคบ พบทั้งในและนอก
macrophage
การเพาะเลี้ยงที่ 25 C จะพบ tuberculate macroconidia
การตรวจทางอิมมูโนวิทยาพบ H antigen และ M antigen

2. Sporothrix schenkii
เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผลที่ผวิ หนังโดยการถูกหนามทิ่มตำหรื อหญ้าบาด ก่อให้เกิดโรคที่เรี ยกว่า
sporothricosis รอยโรคส่ วนใหญ่เกิดที่ผวิ หนังและแพร่ กระจายไปตามทางเดินน้ำเหลือง
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการโดยการย้อมสิ่ งส่ งตรวจด้วยวิธี PAS หรื อ Gomori methenamine silver
(GMS) จะพบยีสต์ลกั ษณะกลมหรื อรี ขนาดเล็ก หรื อเป็ นยีสต์ที่มีรูปร่ างคล้ายซิการ์ (cigar shaped)
การเพาะเลี้ยงที่ 25 C จะพบสายรามีผนังกั้นขนาดเล็ก สร้างโคนิเดียที่ปลายของก้านชูเรี ยวยาวที่งอกตั้ง
ฉากกับสายรา โดยโคนิเดียจะเรี ยงตัวรอบปลายก้านชูมีลกั ษณะคล้ายดอกไม้
52

3. Penicillium marneffei
เชื้อมีถิ่นระบาดของโรคอยูใ่ นบริ เวณเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ โดยแหล่งของเชื้อคือตัวอ้น (bamboo rat)พบ
อุบตั ิการณ์ติดเชื้อได้สูงในผูป้ ่ วยเอดส์
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการโดยการย้อมสิ่ งส่ งตรวจด้วยวิธี Gram’s stain, Wright’s stain,
Giemsa, PAS, H&E หรื อ Gomori methenamine silver (GMS) จะพบ pleomorphic binary fission yeast
การเพาะเลี้ยงที่ 25 C โคโลนีจะมีสีแดงปนเขียว เชื้ อสร้าง pigment สี แดงละลายในเนื้ อวุน้

4. Blastomyces dermatitidis ( Ajellomyces dermatitidis )


เชื้อก่อให้เกิดโรคที่เรี ยกว่า blastomycosis
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการโดยการย้อมสิ่ งส่ งตรวจด้วยวิธี Wright’s stain, Giemsa, PAS, H&E
หรื อ Gomori methenamine silver (GMS) จะพบ ยีสต์มีการแตกหน่อแบบฐานกว้าง
การเพาะเลี้ยงที่ 25 C จะพบสายรามีผนังกั้น และสร้างมีโคนิเดียรู ปกลมหรื อรี เกิดที่ปลายก้านชูที่ผอม
และสั้น

5. Coccidioides immitis
ก่อให้เกิดโรค coccidioidomycosis พาหะของเชื้อคือ สัตว์กดั แทะในทะเลทราย เป็ นเชื้ อที่มีความรุ นแรง
ในการก่อโรคสูง
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการโดยการย้อมสิ่ งส่ งตรวจด้วยวิธี Wright’s stain, Giemsa, PAS, H&E
หรื อ Gomori methenamine silver (GMS) จะพบ spherule ผนังหนาขนาดต่าง ๆ กัน ภายในมี endospores
การเพาะเลี้ยงที่ 25 C พบสายราแบบมีผนังกั้น และมี arthoroconidia ลักษณะคล้ายถังเบียร์ มีผนังหนา
เกิดสลับกับสายราปล้องเว้นปล้อง ( alternate arthroconidia )

6. Paracoccidioides brasiliensis
ก่อให้เกิดโรค paracoccidioidomycosis ผูป้ ่ วยติดเชื้อโดยการหายใจเอาโคนิเดียเข้าไปก่อให้เกิดโรคที่ปอด
หรื อเกิดโรคที่ผวิ หนังและเยือ่ เมือกจากการที่ผปู ้ ่ วยใช้เศษไม้หรื อกิ่งไม้แคะฟัน รอยโรคมักเกิดที่ปาก ริ มฝี ปาก
และจมูก
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการโดยการย้อมสิ่ งส่ งตรวจด้วยวิธี Wright’s stain, Giemsa, PAS, H&E
หรื อ Gomori methenamine silver (GMS) จะพบยีสต์ที่มีการแตกหน่อหลายตำแหน่ง( multiple budding ) การ
เพาะเลี้ยงที่ 25 C พบโคนิเดีย รู ปกลมหรื อรี คล้ายกับ B. dermatitidis

Opportunistic infection
การติดเชื้อราฉวยโอกาส( opportunistic fungal infections) เกิดได้เมื่อความต้านทานต่อโรคของร่ างกายลด
ลง ปั จจุบนั จัดเป็ นการติดเชื้ อที่พบได้บ่อยที่สุดในผูป้ ่ วยในโรงพยาบาล

1. Aspergillus
จัดเป็ นเชื้อราฉวยโอกาสที่พบได้บ่อยที่สุด ก่อให้เกิดโรค aspergillosis โดยเชื้อที่เป็ นสาเหตุในการก่อ
โรคมากที่สุดได้แก่ Aspergillus fumigatus
53

การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการด้วย KOH preparation จะพบสายราไม่มีสี แตกแขนงทำมุม 45


เรี ยกว่า dichotomous branching และอาจพบกระเปาะ ( vesicle ) ของเชื้อด้วย
การเพาะเลี้ยงที่ 25 C พบลักษณะเฉพาะก้านชูสปอร์ของ Aspergillus

2. Zygomycetes
เป็ นกลุ่มของเชื้อราที่ก่อให้เกิด zygomycosis ลักษณะสำคัญของเชื้อกลุ่มนี้คือสามารถบุกรุ ก ( invade )
เข้าหลอดเลือดทำให้เกิดการอุดตันและการตายของเนื้ อเยือ่ บริ เวณข้างเคียง
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบตั ิการด้วย KOH preparation พบสายราที่มีขนาดกว้างไม่มีผนังกั้น
การเพาะเลี้ยงที่ 25 C จะพบว่าเชื้อมีการเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว โคโลนีฟเู ต็มภาชนะที่ใช้เพาะเลี้ยง
ภายในไม่กี่วนั เชื้อในกลุ่มนี้เช่น Rhizopus sp., Mucor sp., Absidia sp., Syncephalastrum sp., Cunninghamella sp.

3. Dematiaceous hyphomycetes
เชื้อรากลุ่มนี้จะมี melanin pigment ที่ cell wall ทำให้เห็นสายรามีสีดำหรื อน้ำตาล โรคที่เกิดจากราดำ
กลุ่มนี้เรี ยกว่า phaephyphomycosis
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการ พบสายราสี ดำมีผนังกั้น บางครั้งผนังกั้นสายรามีความถี่มาก จะทำให้
สายราดำมีรูปร่ างคล้ายลูกประคำ ( moniliform hyphae , toruloid hyphae )
การเพาะเลี้ยงที่ 25 C พบเชื้อเจริ ญได้ดีภายใน 1 สัปดาห์ เชื้อในกลุ่มนี้เช่น Curvularia sp., Alternaria
sp., Bipolaris sp., Chaetomium sp.

4. Hyaline hyphomycetes
เชื้อรามีสายราใสไม่มีสี ก่อโรคที่เรี ยกว่า hyalohyphomycosis
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการพบสายราแตกแขนงทำมุม 45 และ 90 ซึ่งแตกต่างจากโรค
Aspergillosis ที่จะพบสายราแตกแขนงทำมุม 45 เพียงอย่างเดียว
การเพาะเลี้ยงที่ 25 C พบเชื้อเจริ ญได้ดีภายใน 1 สัปดาห์ เชื้อในกลุ่มนี้เช่น Penicillium sp., Fusarium
sp., Acremonium sp., Paecilomyces sp., Scopulariopsis sp.

5. Pneumocystis jiroveci ( Pneumocystis carinii )


ก่อให้เกิดโรคที่เรี ยกว่า Pneumocystis jiroveci pneumonia (PCP) หรื อ interstitial plasma cell pneumonia
เป็ นโรคติดเชื้อฉวยโอกาสที่พบบ่อยในผูป้ ่ วยเอดส์ ที่มีค่า CD4+ T-lymphocyte cell count น้อยกว่า 200 cells/mm3
โดยได้รับเชื้อระยะ cyst หรื อ tropozoite จากการหายใจเข้าไป เชื้อจะเคลื่อนที่ไปที่ถุงลมฝอยภายในปอด และอาศัย
อยูท่ ี่ intestinal tissue หรื อ อยูภ่ ายในช่องว่างภายในถุงลมปอด(alveolar cavity) ถ้าผนัง cysts แตก sporozoite หรื อ
intracystic body จะหลุดออกมาแล้วเจริ ญเติบโตเป็ น tropozoite มีขนาดโตขึ้นและมีรูปร่ างไม่แน่นอนคล้ายอะมีบา
ทั้งระยะ cyst และ tropozoite สามารถพบได้ในช่องว่างภายในถุงลมปอดและสิ่ งส่ งตรวจเช่น น้ำล้างถุงลมปอด หรื อ
เสมหะ เป็ นต้น
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการ
- ย้อมด้วยสี Giemsa และ polychrome methylene blue เพื่อตรวจหาระยะ tropozoite
- ย้อมด้วย methenamine silver และ toluidine blue เพื่อตรวจหาระยะ cyst

6. Rhinosporidium seeberi
54

ก่อให้เกิดโรคที่เรี ยกว่า rhinosporidiosis ซึ่งเป็ นโรคติดเชื้อราเรื้ อรังของบริ เวณเยือ่ บุโพรงจมูก การติดเชื้อ


เกิดได้จากการเล่นน้ำหรื อทำงานในน้ำนิ่งซึ่งเป็ นแหล่งเชื้อที่เป็ นสาเหตุของโรค เชื้อ Rhinosporidium seeberi ไม่
สามารถเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อได้ การวินิจฉัยจึงอาศัยการทำ direct examination จากสิ่ งส่ งตรวจเท่านั้น โดยจะ
พบ sporangium รู ปร่ างกลม ผนังหนา ขนาดใหญ่ ภายในมี endospores จำนวนมาก

ยีสต์ และโรคที่เกิดจากยีสต์
1. Cryptococcus neoformans
ก่อให้เกิดโรค Cryptococcosis ลักษณะที่สำคัญที่สุดของเชื้อนี้คือการสร้าง mucopolysaccharide capsule
รอบเซลล์ สามารถพบเชื้อปนเปื้ อนตามดินที่มีมูลนก เชื้ อเข้าสู่ร่างกายทางระบบหายใจเกิดการติดเชื้อที่ปอดเป็ น
อันดับแรก จากนั้นจึงแพร่ กระจายไปยังอวัยวะอื่น ๆ ของร่ างกาย โดยเฉพาะที่ central nervous system ก่อให้เกิด
Cryptococcal meningitis ( เยือ่ หุม้ สมองอักเสบ )
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการที่ง่ายและรวดเร็ วที่สุดจากน้ำไขสันหลังคือวิธี india ink preparation
โดยจะพบ encapsulated budding yeast cell ซึ่งเป็ นยีสต์รูปร่ างกลมมีการแตกหน่อและมี capsule ล้อมรอบ ตัวเชื้อ
การเพาะเลี้ยงอาจใช้อาหารเลี้ยงเชื้อที่มีเมล็ดพืชผสมได้แก่ Niger seed agar หรื ออาหารเลี้ยงเชื้อที่ผสม
DOPA ได้แก่ GGA-DOPA media จะพบโคโลนี ของ C.neoformans มีสีน้ำตาลซึ่งต่อมาจะมีสีดำเนื่องจากเชื้อ
สร้าง enzyme phenol oxidase
วิธี latex agglutination เป็ นการตรวจหาแอนติเจน สามารถใช้กบั สิ่ งส่ งตรวจหลายชนิดเช่น ซีรั่ม น้ำ
ไขสันหลัง น้ำเจาะจากเยือ่ หุม้ ปอด

2. Candida albicans
เชื้อก่อโรคในคนประมาณ 70% เป็ น Candida albicans นอกจากนั้นได้แก่ C. parapsilosis,
C. tropicalis, C. guillermondii, C. kruzei, C. dubliniensis และ C. glabrata
Candida albicans เป็ นสาเหตุของโรค Candidiasis ( Candidosis ) ลักษณะการเกิดโรคจะเป็ นได้กบั ทุก
ระบบได้แก่
- Cutaneous candidiasis จะมีลกั ษณะการติดเชื้อคล้ายการติดเชื้อโรคกลาก
- Mucocutaneous candidiasis ที่พบบ่อยคือการติดเชื้อที่เยือ่ บุในช่องคลอด ( vaginal candidiasis )
และที่เยือ่ บุในช่องปาก ( oral thrush ) จะเห็นลักษณะฝ้ าขาวขึ้นคลุมลิ้นและ mucous membrane
- Systemic candidiasis การติดเชื้อในกระแสโลหิ ตจะก่อให้เกิดการอักเสบของอวัยวะต่าง ๆ
การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบตั ิการนำสิ่ งส่ งตรวจมาทำ KOH preparation หรื อย้อม Gram’s stain
จะพบ pseudohyphae และ budding yeast cells
การเพาะเลี้ยงที่ 25 C หรื อ 37C โคโลนีของยีสต์เกิดขึ้นในเวลา 2-3 วัน ซึ่งโคโลนีของเชื้อที่เกิดขึ้น
สามารถนำมาทำการยืนยันผลว่าเป็ น C.albicans ได้โดย
1. Germ tube formation ( Germ tube test )
เป็ นการดูความสามารถในการงอก germ tube ของเชื้อโดยการเพาะเชื้อใน bovine serum หรื อ human
serum หรื อ plasma บ่มเชื้อไว้ที่ 37C เป็ นเวลา 1-4 ชัว่ โมง เชื้อจะสร้าง germ tube ภายใน 4 ชัว่ โมง
2. Terminal chlamydoconidia formation (Dalmau plate)
ตรวจการสร้าง chlamydoconidia ที่ปลายสายราโดยเพาะเชื้อ ( ใช้วิธี streak ) บนอาหาร
เลี้ยงเชื้อ เช่น corn meal agar ที่มี Tween 80 หรื อ glutinous rice agar ที่มี Tween 80
55

3. Sugar fermentation
เป็ นการทดสอบความสามารถของเชื้ อ Candida ในการใช้น ้ำตาลในสภาวะที่ปราศจากออกซิเจน อ่านผล
โดยดูการเกิด gas ในหลอดดักก๊าซ ( Durham tube )
4. Assimilation test
เป็ นการทดสอบความสามารถของเชื้ อ Candida ในการใช้น ้ำตาลในสภาวะที่มีออกซิเจน

3. Candida dubliniensis
เป็ น Non-albicans Candida species(NAC) ที่มีรายงานพบใหม่ โดยเกี่ยวข้องกับการเกิด recurrent
erythematous oral candidiasis ในผูป้ ่ วยเอดส์ และก่อให้เกิดการติดเชื้อแบบแพร่ กระจายในผูป้ ่ วยที่มีภูมิคุม้ กันต่ำ
และให้ผล HIV เป็ นลบ Candida dubliniensis คุณสมบัติคล้ายคลึงกับ Candida albicans มาก การแยกเชื้อทั้ง 2 สาย
พันธุ์ออกจากกันด้วยวิธีที่ใช้ในห้องปฏิบตั ิการเชื้ อรามักวินิจฉัยผิดพลาดเป็ น C. albicans  ดังนั้นการแยกวินิจฉัยเชื้อ
ทั้ง 2 สายพันธุ์ให้ถูกต้องจึงมีความจำเป็ น

Organisms Colonies on CHROM agar Growth at 42-45oC Chlamydoconidia


at 37oC at 48 h
C.dubliniensis usually dark green ; most 0 or poor usually abundant and in
distinct at 72 h pairs or small clusters
C. albicans usually light green or light + ve usually single
bluish green ; very occasionally in pairs
or small clusters

Mycotoxins
Mycotoxins คือ สารที่สร้างจากเชื้อราและก่อให้เกิดความเป็ นพิษต่อคนหรื อสัตว์ เมื่อรับเข้าสู่ร่างกาย แบ่ง
เป็ น
1. Toxic mushroom ( Toadstools หรือเห็ดเมา )
1.1 Cyclopeptides
เป็ นสารพิษกลุ่ม Amanitins ( Amanita Toxins ) และ Phallotoxins ซึ่งมีฤทธิ์ร้ายแรงมาก โดยสารพิษที่
สำคัญ และมีผลร้ายแรงต่อคนคือ Amanitin สร้างจากเห็ดในตระกูล Amanita และ Lepiota

1.2 Muscarine
เป็ นสารพิษที่ไม่ถูกทำลายด้วยความร้อนที่ใช้ในการหุงต้ม
1.3 Coprine poisoning
สร้างจากเห็ด Coprinus atramentarius ( เห็ดน้ำหมึก ) ถ้ากินร่ วมกับเหล้า coprine จะเป็ นพิษแบบ TETD-
ethanol reaction โดยสารพิษจะยับยั้งไม่ให้ acetaldehyde เปลี่ยนไปเป็ น acetate ทำให้เกิดการคัง่ ของ acetaldehyde
ส่ วนมากอาการปรากฏไม่นานและหายเองภายใน 3 – 4 ชัว่ โมง
1.4 Monomethylhydrazine ( MMH )
56

สร้างจากเห็ดเห็ดอานม้า ได้แก่ Gyromitra esculenta, Helvella brunnea มีฤทธิ์ทำลายเซลล์ตบั ไต ระบบ


สร้างเลือด และระบบประสาทส่ วนกลาง
1.5 Ibotenic acid – muscimol
Ibotenic acid ถูกทำลายได้ดว้ ยความร้อน เมื่อถูก decarboxylation จะกลายเป็ นสาร muscimol ซึ่งเป็ นพิษ
รุ นแรงขึ้น 5 – 10 เท่า มีอาการง่วง คลื่นไส้ เกิดภาพหลอน และร่ าเริ งผิดปกติ

2. Mycotoxins
หมายถึงสารพิษที่สร้างขึ้นโดยเชื้อรา เมื่อเข้าสู่ ร่างกายทำให้เกิดอาการเป็ นพิษเรี ยกว่า Mycotoxicosis
2.1 Aflatoxins
เป็ นสารพิษที่สร้างขึ้นโดยเชื้อรา Aspergillus flavus นอกจากนี้ยงั สร้างได้จาก Aspergillus และ
Penicillum species อื่น ๆ ได้อีก
Aflatoxins ที่สำคัญมี 4 ชนิด คือ B1 , B2 , G1 และ G2 โดย Aflatoxin B1 มีความเป็ นพิษรุ นแรงที่สุด
Aflatoxins ทนต่อความร้อนได้ถึง 260 ºC ดังนั้นอุณหภูมิหุงต้มธรรมดาจึงไม่สามารถทำลายสารพิษนี้ได้

You might also like