You are on page 1of 119

คํานํา

เอกสารฉบับนี้เกิดจากการรวบรวมบทบรรยายของวิทยากร เพื่อประกอบการอบรม
เชิงปฏิบัติการ เรื่อง “เคล็ดลับในการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสใหงาย” จัดโดยภาควิชาพยาธิโปร
โตซัว คณะเวชศาสตรเขตรอนมหาวิทยาลัยมหิดล จํานวน 2 รุน ระหวางวันที่ 18 - 20 มีนาคม
2552 และวันที่ 25 - 27 มีนาคม 2552
โดยปกติ พยาธิลําไสสามารถกอโรคในผูปวยที่มีภูมิคุมกันปกติโดยทั่วไปได ทั้งในเด็ก
และผูใหญ และยังมีกลุมพยาธิลําไสบางกลุมที่กอโรครุนแรงและเรื้อรังในกลุมผูปวยภูมิคุมกัน
บกพรอง ทํ าใหผู ปวยกลุมดั งกลาวเจ็บปวย สง ผลเสียตอ สุ ขภาพ และมีค วามสูญ เสียทาง
เศรษฐกิจดวย จึงถือเปนเรื่องเรงดวนของสังคมที่จะตองจัดการแกไขเรื่องนี้ใหดขี ึ้น
ภาควิชาพยาธิโปรโตซัว คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิด ล ถื อวาเป น
หนาที่และความรับผิดชอบที่จะตองมีสวนในการจัดการปญหาดังกลาวขางตน ภาควิชาฯ จึง
ดําริจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการขึ้นตั้งแต ป พ.ศ. 2542 และจัดตอเนื่องมาเปนประจําทุกป โดย
มีวัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารวมประชุมไดรับความรูเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยหาเชื้อพยาธิลําไส
ทั้งเชื้อปรสิตหนอนพยาธิและพยาธิโปรโตซัว ในผูปวยทั่วไปและโดยเฉพาะในกลุมผูปวยโรค
เอดส ซึ่งมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอการวินิจฉัยโรค เนื่องจากความรูดังกลาวยังไม
แพร ห ลายเพราะเป น เชื้ อ ที่ แ ทบไม พ บในสิ่ ง ส ง ตรวจจากผู ป ว ยทั่ ว ไป และต อ งใช เ ทคนิ ค ที่
แตกตางจากงานประจําที่ดําเนินอยู รวมทั้งเทคนิคพิเศษตางๆ เชน เทคนิคการยอมสีพิเศษ
หรือเทคนิคทางอณูชีววิทยา เชน PCR เปนตน
ดังนั้น บุคลากรที่เกี่ยวของควรไดรับความรูเกี่ยวกับเชื้อพยาธิลําไสเหลานี้เพิ่มเติม
เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการทํ า งาน และนํ า ความรู เ หล า นี้ ไ ปใช ใ ห เ ป น ประโยชน ต อ การ
ปฏิบัติงานและเพื่อสังคมตอไป
คณะผู จั ด การอบรมขอขอบคุ ณ วิ ทยากรทุก ท า น ผู ส าธิ ต หั ว หน า ปฏิ บัติ ก าร และ
คณะอนุกรรมการทุกทานที่ไดรวมกันจัดทําเอกสารนี้สําเร็จไดดวยดี และหวังวาเอกสารฉบับนี้จะ
เปนประโยชนสําหรับผูสนใจแสวงหาความรูเกี่ยวกับเชื้อพยาลําไสที่พบในผูปวยทั่วไปและผูปวย
เอดสทุกทาน

คณะกรรมการจัดการอบรม
10 มีนาคม 2552

Intestinal Protozoa : Simple Diagnostic Tips


2

สารบัญ

คํานํา 1
กําหนดการอบรมเชิงปฏิบัติการ 3
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “เคล็ดลับในการตรวจ 6
วินิจฉัยพยาธิลําไสใหงาย”
คณะกรรมการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ 9
พยาธิลําไสมีความสําคัญอยางไรในชีวติ ประจําวัน 11
รูจัก-รูจริง พยาธิลําไส 27
เคล็ดลับการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไส ดวยวิธี Direct Simple Smear 71
เคล็ดลับการตรวจพยาธิลําไสดว ยวิธีทําใหเขมขน (Concentration Techniques) 75
เคล็ดลับการตรวจวินิจฉัย Cryptosporidium parvum และ
Microsporidium spp. ดวยวิธียอมพิเศษ 79
การตรวจพยาธิโปรโตซัวทีพ่ บในลําไสโดยวิธี PCR ไมยากอยางที่คิด 88
เคล็ดลับการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสดวยวิธี Kato’s Thick Smear Method 94
รูปพยาธิโปรโตซัวและคําบรรยาย 98
รายชื่อผูเขาอบรม 102
ชุดสียอมพิเศษสําหรับเชื้อพยาธิโปรโตซัวแบบสําเร็จรูป 112

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


3

กําหนดการอบรมเชิงปฏิบัติการ
เรื่อง
เคล็ดลับในการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสใหงาย
Intestinal Parasites: Simple Diagnostic Tips
จัดโดย
ภาควิชาพยาธิโปรโตซัว คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล
รุนที่ 1 วันที่ 18 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2552
รุนที่ 2 วันที่ 25 - 27 มีนาคม พ.ศ. 2552
--------------------------------
รุนที่ 1 วันพุธที่ 18 มีนาคม 2552
รุนที่ 2 วันพุธที่ 25 มีนาคม 2552
08.30 – 08.45 ลงทะเบียน (ชั้น 3 ตึกจําลอง หะริณสุต)
08.45 -- 09.00 พิธีเปด
ประธานโครงการจัดการอบรมกลาวรายงาน
รองศาสตราจารย พ.ญ.เยาวลักษณ สุขธนะ
คณบดีคณะเวชศาสตรเขตรอนกลาวเปดการอบรม
รองศาสตราจารยนายแพทยประตาป สิงหศิวานนท
09.00 – 10.00 การบรรยายเรื่อง พยาธิลําไสมีความสําคัญอยางไรในชีวิตประจําวัน
รองศาสตราจารยแพทยหญิงเยาวลักษณ สุขธนะ
10.00 – 10.15 รับประทานอาหารวาง
10.15 – 12.00 การบรรยายเรื่อง รูจัก-รูจริง พยาธิลําไส
รองศาสตราจารยแพทยหญิงเยาวลักษณ สุขธนะ
12.00 – 13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.00 การแสดงสาธิต เชื้อโปรโตซัวในลําไส และไขพยาธิที่สามารถตรวจพบ
ไดในหองปฏิบัติการ
ผูชวยศาสตราจารยวราภรณ ศุภพัฒนพงศ และคณะฯ
14.00 – 14.15 รับประทานอาหารวาง
14.15 – 15.30 Simple Diagnostic Tips Part 1 : การฝกเคล็ดลับการตรวจวินิจฉัย
พยาธิลําไส ดวยวิธี Direct Simple Smear
อาจารยรชตวรรณ เฉียบฉลาด และคณะฯ
15.30 – 16.15 การฝกการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสดว ยตนเอง
อาจารยรชตวรรณ เฉียบฉลาด และคณะฯ
16.15 – 16.30 สูตรเด็ด เคล็ดลับ ตอนที่ 1
อาจารยรชตวรรณ เฉียบฉลาด และคณะฯ

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


4

รุนที่ 1 วันพฤหัสบดีที่ 19 มีนาคม 2552


รุนที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม 2552

09.00 – 10.00 การบรรยายเรื่อง การตรวจพยาธิลําไสดวยวิธีทําใหเขมขน


[Concentration Techniques: Floatation and Sedimentation]
รองศาสตราจารยแพทยหญิงเยาวลักษณ สุขธนะ
10.00 – 10.15 รับประทานอาหารวาง
10.15 – 12.00 Simple Diagnostic Tips Part 2 : การฝกเคล็ดลับการตรวจวินิจฉัย
พยาธิลําไสดวยวิธี Floatation [Zinc Sulfate and Sodium Nitrate
floatation]
นายอมร เหล็กกลา และคณะฯ
12.00 – 13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.00 การบรรยาย เรื่อง การตรวจพยาธิลาํ ไสโดยวิธี PCR ไมยากอยางที่คิด
รองศาสตราจารย ดร.พรทิพย เพ็ชรมิตร
14.00 – 14.15 รับประทานอาหารวาง
14.15 – 16.00 Simple Diagnostic Tips Part 3 : การฝกเคล็ดลับการตรวจวินิจฉัย
ดวยวิธี Sedimentation [Formalin-acetate sedimentation]
นายอมร เหล็กกลา และคณะฯ
16.00 – 16.15 สูตรเด็ด เคล็ดลับ ตอนที่ 2
อาจารยรชตวรรณ เฉียบฉลาด และคณะฯ

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


5

รุนที่ 1 วันศุกรที่ 20 มีนาคม 2552


รุนที่ 2 วันศุกรที่ 27 มีนาคม 2552
09.00 – 10.00 การบรรยายเรื่อง การตรวจพยาธิลําไสดวยวิธีพิเศษ [Special
Methods]
รองศาสตราจารยแพทยหญิงเยาวลักษณ สุขธนะ
10.00 – 10.15 รับประทานอาหารวาง
10.15 – 12.15 Simple Diagnostic Tips Part 4 : การฝกเคล็ดลับการตรวจวินิจฉัย
Cryptosporidium parvum และ Microsporidium spp. ดวยวิธียอม
พิเศษ
อาจารยรชตวรรณ เฉียบฉลาด และคณะฯ
12.15 – 13.15 รับประทานอาหารกลางวัน
13.15 – 14.15 การบรรยาย เรื่อง การตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสดวยวิธี Kato’s Katz
ผูชวยศาสตราจารยโชติชวง พนโสภณกุล
14.15 – 14.30 รับประทานอาหารวาง
14.30 – 15.30 Simple Diagnostic Tips Part 5 : การฝกเคล็ดลับการตรวจวินิจฉัย
พยาธิลําไสดวยวิธี Kato’s Katz
นายอมร เหล็กกลา และคณะฯ
15.30 – 15.45 สูตรเด็ด เคล็ดลับ ตอนที่ 3
อาจารยรชตวรรณ เฉียบฉลาด และคณะฯ
15.45 – 16.00 Discussion และ พิธีปด การอบรม
รองศาสตราจารยแพทยหญิงเยาวลักษณ สุขธนะ และคณะฯ

----------------------------------------------

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


6

โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร
เรื่อง เคล็ดลับในการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสใหงาย
Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips

1. หลักการและเหตุผล
เป น ที่ ท ราบกั น โดยทั่ ว ไปแล ว ว า พยาธิ ลํ า ไส ทั้ ง เชื้ อ พยาธิ โ ปรโตซั ว และปรสิ ต
หนอนพยาธิ มีความสําคัญทางการแพทยและมีผลตอสุขภาพของคนเรา โดยสามารถกอใหเกิด
โรคตา งๆ ทั้ ง ในบุค คลที่ มีภูมิคุ มกั นปกติ และมี อาการรุ น แรงมากขึ้ นในบุค คลที่ มี ภูมิคุ มกั น
บกพรอง ตัวอยางเชนเชื้อพยาธิที่ฉวยโอกาสในกลุมผูปวยเอดส
ดังนั้นการตรวจวินิจฉัยและการจําแนกพยาธิลําไส ทั้งเชื้อพยาธิโปรโตซัว และปรสิต
หนอนพยาธิทางหอง ปฏิบัติการไดถูกตองและแมนยํา จึงมีความจําเปนและสําคัญอยางยิ่ง
เพราะจะทําใหการรักษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเชื้อฉวยโอกาสซึ่งพบไดไม
บอยในผูปวยทั่วไป จึงจําเปนตองใชเทคนิคพิเศษในการตรวจวินิจฉัย ซึ่งความรูเหลานี้ยังไม
แพร หลาย ดังนั้น บุคลากรทางการแพทยที่เกี่ ยวข องควรไดรับความรู เกี่ยวกับเทคนิคการ
ตรวจหาเชื้อพยาธิเหลานี้ เพื่อเสริมประสิทธิภาพในการทํางาน
นอกจากนี้ ยังเปนการฟนฟูและทบทวนความรูเกี่ยวกับเชื้อพยาธิล้ําไสที่กอโรคใน
คนปกติที่สามารถพบไดบอยในอุจจาระของผูปวย และยังไดเรียนรูถึงหลักการวินิจฉัยโรคทั้งวิธี
ที่ใชโดยทั่วไป เชน Direct Simple smear, Concentration Techniques และเรียนรูวิธีที่
ทันสมัย เชน การยอมสีพิเศษและวิธีทางอณูชีววิทยา เพื่อเปนประโยชนตอสุขภาพและคุณภาพ
ชีวิตของคนไทย ซึ่งจะเปนผลโดยตรงตอสังคมไทยโดยรวม
2. วัตถุประสงค
เพื่อใหผูเขารวมอบรม
2.1 ไดรับความรูพ ื้นฐานเกี่ยวกับพยาธิลําไสทั้งเชื้อพยาธิโปรโตซัว และปรสิต
หนอนพยาธิ ที่พบในผูปวยทั่วไปและผูปวยโรคเอดส
2.2 ทราบถึงวิธีการตรวจวินิจฉัยทั้งวิธีปกติและวิธีพิเศษเพือ่ ตรวจหาพยาธิลําไส
ชนิดตางๆ ในหองปฏิบัติการ
2.3 ทราบถึงวิธีการวินิจฉัยพยาธิลําไสโดยวิธที างอณูชีววิทยา
2.4 มีการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณดานการตรวจหาพยาธิลําไสที่มี
ความสําคัญทางการแพทย
2.5 ไดฝกปฏิบัติจนเกิดความมั่นใจในการวินจิ ฉัยการติดเชื้อพยาธิที่พบบอยๆ ใน
ลําไส
3. ระยะเวลาและสถานที่
รุนที่ 1 วันที่ 18 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2552 และรุนที่ 2 วันที่ 25 - 27 มีนาคม พ.ศ.2552
ณ หองประชุมชั้น 3 อาคารจําลอง หะริณสุต คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


7

4. กลุมผูเขาฝกอบรม
ผู เ ข า ร ว มอบรมเป น ผู ป ฏิ บั ติ ง านในห อ งปฏิ บั ติ ก าร นั ก วิ ช าการ บุ ค ลากรทาง
วิทยาศาสตรการแพทย และผูสนใจจากหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
5. สาระสําคัญของการอบรม
ประกอบดวยการบรรยายและปฏิบัติ ในหัวขอตาง ๆ ดังนี้
- การบรรยายเรื่อง พยาธิลําไสมีความสําคัญอยางไรในชีวิตประจําวัน
- การบรรยายเรื่อง รูจัก – รูจริง พยาธิลําไสทั้งเชื้อพยาธิโปรโตซัว และปรสิต
หนอนพยาธิ
- การบรรยายเรื่อง การตรวจการตรวจพยาธิลําไสดว ยวิธีทําใหเขมขน
[Concentration Techniques]
- การบรรยายเรื่อง การตรวจพยาธิลําไสดวยวิธีพิเศษ [Special Methods]
- การบรรยายเรื่อง การตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสดวยวิธี Kato’s Katz
- การบรรยาย เรื่อง การตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสดวยวิธี PCR ไมยากอยางที่คิด
- การฝกเคล็ดลับในการตรวจเชื้อโปรโตซัวดวยวิธี Direct Simple smear
- การฝกเคล็ดลับการตรวจวินจิ ฉัยดวยวิธี Concentration (Sedimentation &
floatation)
- การฝกเคล็ดลับการตรวจวินจิ ฉัย Cryptosporidium parvum และ
Microsporidium spp. ดวยวิธียอมพิเศษ
- การฝกเคล็ดลับการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสดว ยวิธี Kato’s Katz
- การแสดงสาธิต พยาธิลําไสชนิดตาง ๆ
6. จํานวนผูเขารับการอบรม
การฝกอบรมประกอบดวย ภาคบรรยาย การแสดงสาธิต และภาคปฏิบัติ รุนละ
ประมาณ 50 คน จํานวน 2 รุน โดยเสียคาใชจายในการลงทะเบียน คนละ 3,800.- บาท
7. ผลที่คาดวาจะไดรับ
7.1 ทําใหบุคลากรทางหองปฏิบัติการ และผูสนใจไดรับความรูเกี่ยวกับพยาธิลําไส
ชนิดตางๆ ที่พบไดในผูปวยทั่วไปและผูปวยโรคเอดส ทั้งในดานรูปรางลักษณะ
วงจรชีวิต และการกอใหเกิดโรค
7.2 ทําใหบุคลากรทางหองปฏิบัติการ และผูสนใจไดรับความรูพื้นฐานและหลักการ
ในการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสโดยวิธีปกติและวิธใี หม เชน การตรวจโดยวิธีทาง
อณูชีววิทยา
7.3 ทําใหบุคลากรทางหองปฏิบัติการ และผูสนใจสามารถตรวจหาพยาธิลําไสชนิด
ตางๆ ที่พบไดในผูปว ยทั่วไปและผูปวยโรคเอดส ดวยความถูกตองและแมนยํา
7.4 เปนการกระตุน ใหบุคลากรทางหองปฏิบัติการ มีความสนใจ และมองเห็น
ความสําคัญของพยาธิลําไสที่สามารถพบไดในผูปว ยทั่วไปและผูปวยโรคเอดส

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


8

7.5 เปนประโยชนตอการเรียน การสอน การวิจัย และงานในหองปฏิบัติการ โดย


นําไปปรับใชไดตามความเหมาะสม
7.6 เพื่อใหบุคลากรทางหองปฏิบัติการ ไดแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน ทําให
เพิ่มพูนความรู เพื่อประโยชนตอการตรวจวินิจฉัย
8. หนวยงานที่รับผิดชอบ
ภาควิชาพยาธิโปรโตซัว คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล โทร.
0-2354-9100-19 ตอ 1830 – 1832 โทรสาร 0-2643-5601

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


9

รายชื่อคณะกรรมการ
ที่ปรึกษาคณะกรรมการจัดการอบรม
รองศาสตราจารยนายแพทยประตาป สิงหศิวานนท
ราชชื่อคณะกรรมการจัดการอบรม
1. รองศาสตราจารยเยาวลักษณ สุขธนะ ประธานกรรมการ
2. ผูช วยศาสตราจารยวราภรณ ศุภพัฒนพงศ กรรมการ
3. รองศาสตราจารยพรทิพย เพ็ชรมิตร กรรมการ
4. นายอมร เหล็กกลา กรรมการ
5. นางสาวสมศรี ขจรเดชาเกียรติ กรรมการ
6. นางสาวกัณฐินิษฐ ทิมา กรรมการ
7. นางสาวรชตวรรณ เฉียบฉลาด กรรมการ
8. นางสาวสุภลัคน โพธิ์พฤกษ กรรมการ
9. นายพงษรุจน รัฐประเสริฐ กรรมการ
10. นางสาวรื่นฤทัย อุดรโสม กรรมการ
11. นางสาวจันทิรา สุทธิกรชัย กรรมการ
12. นางสําราญ คําจันทราช กรรมการ
13. นางนนทิยา เซ็นศิรวิ ัฒนา กรรมการและเลขานุการ
รายชื่ออนุกรรมการฝายวิชาการ
1. รองศาสตราจารยเยาวลักษณ สุขธนะ ประธานอนุกรรมการ
2. ผูชวยศาสตราจารยวราภรณ ศุภพัฒนพงศ อนุกรรมการ
3. รองศาสตราจารยพรทิพย เพ็ชรมิตร อนุกรรมการ
4. นางสาวรชตวรรณ เฉียบฉลาด อนุกรรมการ
5. นายอมร เหล็กกลา อนุกรรมการ
6. นางสาวจันทิรา สุทธิกรชัย อนุกรรมการ
7. นางนนทิยา เซ็นศิรวิ ัฒนา อนุกรรมการและเลขานุการ
รายชื่ออนุกรรมการฝายหองปฏิบัติการ
1. นางสาวรชตวรรณ เฉียบฉลาด ประธานอนุกรรมการ
2. ผูช วยศาสตราจารยโชติชวง พนโสภณกุล อนุกรรมการ
3. นายอมร เหล็กกลา อนุกรรมการ
4. นายพงษรุจน รัฐประเสริฐ อนุกรรมการ
5. นายสีสุชาติ มงคลหมู อนุกรรมการ
6. นายรังสรรค แพรวานิชย อนุกรรมการ
7. นางสาวสมศรี ขจรเดชาเกียรติ อนุกรรมการ
8. นางสาวกัณฐินิษฐ ทิมา อนุกรรมการ

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


10

9. นางสาวรืน่ ฤทัย อุดรโสม อนุกรรมการ


10. นางจุฑามาศ ชัยวรพร อนุกรรมการ
11. นางสาวจันทิรา สุทธิกรชัย อนุกรรมการ
12. นางสาวสุภลัคน โพธิ์พฤกษ อนุกรรมการ
13. นางนนทิยา เซ็นศิรวิ ฒ
ั นา อนุกรรมการและเลขานุการ
รายชื่ออนุกรรมการฝายประชาสัมพันธ
1. นางสาวรชตวรรณ เฉียบฉลาด ประธานอนุกรรมการ
2. รองศาสตราจารยเยาวลักษณ สุขธนะ อนุกรรมการ
3. นายพงษรจุ น รัฐประเสริฐ อนุกรรมการ
4. นางสาวรืน่ ฤทัย อุดรโสม อนุกรรมการ
5. นางนนทิยา เซ็นศิรวิ ฒั นา อนุกรรมการและเลขานุการ
รายชื่ออนุกรรมการฝายโสตทัศนูปกรณและสถานที่
1. นายอมร เหล็กกลา ประธานอนุกรรมการ
2. นายรังสรรค แพรวานิชย อนุกรรมการ
3. นางนนทิยา เซ็นศิรวิ ฒ
ั นา อนุกรรมการและเลขานุการ

รายชื่ออนุกรรมการฝายบรรณาธิการ
1. รองศาสตราจารยเยาวลักษณ สุขธนะ ประธานอนุกรรมการ
2. นางสาวรชตวรรณ เฉียบฉลาด อนุกรรมการ
3. นายพงษรุจน รัฐประเสริฐ อนุกรรมการ
4. นางสาวรืน่ ฤทัย อุดรโสม อนุกรรมการ
5. นางนนทิยา เซ็นศิรวิ ฒ
ั นา อนุกรรมการและเลขานุการ

รายชื่ออนุกรรมการฝายธุรการและ การเงิน
1. รองศาสตราจารยเยาวลักษณ สุขธนะ ประธานอนุกรรมการ
2. นางสาวรืน่ ฤทัย อุดรโสม อนุกรรมการ
3. นางสําราญ คําจันทราช อนุกรรมการ
4. นางนนทิยา เซ็นศิรวิ ฒั นา อนุกรรมการและเลขานุการ

________________________

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


11

พยาธิลําไสมีความสําคัญอยางไรในชีวิตประจําวัน

รศ. พญ. เยาวลักษณ สุขธนะ


ภาควิชาพยาธิโปรโตซัว คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหา
- พยาธิคืออะไร? ลักษณะสําคัญของพยาธิแตละชนิด
- Classification of Intestinal Parasites
- โรคที่เกิดจากการติดเชื้อพยาธิลําไส

ในโลกนี้มีพยาธิอยูประมาณ 3,200 ชนิด สามารถแยกไดเปนกลุมใหญ 2 กลุมคือ


พยาธิโปรโตซัว และปรสิตหนอนพยาธิ ซึ่งกลุมหลังนี้ แยกยอยออกไดอีกเปน พยาธิตัวกลม
(Nematode) พยาธิตัวแบน ซึ่งแบงยอย เปนพยาธิใบไม (Trematode) และพยาธิตัวตืด
(Cestode)
พยาธิโปรโตซัว
Protozoa คือหรือสัตวเซลลเดียวที่ภายในหนึ่งเซลลประกอบดวย สิ่งที่สามารถทําหนาที่
หลายๆ อยางเพื่อการดํารงชีวติ เชน สําหรับปรุงอาหาร ขับถาย หายใจ และขยายแพรพันธ เปน
ตน สวนกลุม Metazoa จะประกอบดวยหลายเซลลที่ทําหนาที่ในการดํารงชีวิต
คําวา “Protozoa” มาจากภาษากรีก proto หมายถึง first หรือ primary และ zoa ซึ่ง
หมายถึง animal ดังนั้นรวมความแลว protozoa ก็คือ first animal หรือ primary animal มีความ
หมายถึงสัตวที่กําเนิดมานานเปนอันดับแรกๆ ในโลก และมีโครงสรางที่ไมสลับซับซอน ดังจะเห็น
ไดในรูปที่ 1 ที่แสดง molecular phylogenic tree วา protozoa เปนกลุมแรกที่สุดของพวก
unicellular eukaryotes เซลลพวก eukaryotic cell เปนเซลลที่มี DNA อยูภายใน membrane-
bound nucleus ซึ่งแตกตางจากเซลลของเชื้อแบคทีเรียที่เปนพวก prokaryotic cell ซึ่งจะมี
nucleic material อยูกับ cell membrane และลักษณะอื่นๆ ที่ตางกัน ดังแสดงในตารางที่ 1
ในโลกนี้มีโปรโตซัวชนิดตางๆ อยูถึง 50,000 ชนิด เนื่องจากวาโปรโตซัว มีหนาที่เปนผูจัด
สมดุลยของโลก เพราะคอยกําจัดแบคทีเรีย เชื้อรา หรือแมแตตัวโปรโตซัวเอง เพื่อไมใหจุลินทรีย
ชนิดใดชนิดหนึ่งมากเกินสมดุลยไป ดังนั้น บางที่โปรโตซัวจึงถูกเรียกวา “Micro-organisms
Consumer”
โปรโตซัวมีความหลากหลาย และแตกตางกันทั้งขนาด รูปราง แหลงที่อยูอาศัย รูปที่ 2
แสดงชนิดตางๆ ของโปรโตซัว ทั้งที่อยูไดเองเปน Free-living Protozoa และเปนปรสิตตองอาศัย
ในโฮสตเทานั้น ขนาดของโปรโตซัวแตกตางกัน ตั้งแตขนาดเล็กมากไม
สามารถมองเห็นดวยตาเปลา จนถึงขนาดโต โดยมีขนาดตั้งแต 1 µm – 10 cm

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


12

Phylogenic Tyree of Life


Bacteria Arachaea Eukaryotes

รูปที่ 1 แสดง molecular phylogenic tree ของโปรโตซัวซึ่งเปนสิง่ มีชีวิตกลุมแรก และมี


สิ่งมีชีวิต อื่นๆ ที่จัดอยูในพวก eukaryotic cell เชน เชื้อรา และพืชบางชนิด

ดังที่กลาวมาแลววาในโลกนี้ มีโปรโต การยอมสีพิเศษ การใชกลองจุลทรรศน


ซัวถึว 50,000 ชนิด แตมีโปรโตซัวเพียง อิเลคตรอน หรือ การใชวิธที างซีโรโลยี หรือ
1/5 เทานั้นที่เปนปรสิตที่ตองการโฮสต และ ทางอณูวิทยา เปนตน
มีประมาณ 20 ชนิดที่กอโรคในคนและสัตว
จึงเรียกโปรโตซัวที่กอโรควา “พยาธิโปรโต
ซัว” หรือ Pathogenic Protozoa ซึ่งมี
แหลงที่อยูของพยาธิเต็มวัย (Habitat)
หลายแหงในรางกายของโฮสต เชน ที่ระบบ
ทางเดินอาหาร จึงเรียกพยาธิโปรโตซัวกลุม
นี้วาพยาธิโปรโตซัวในลําไส หรือ Gastro-
intestinal Pathogenic สวน Protozoa
หากอยูที่ระบบทางเดินปสสาวะ และระบบ
สืบพันธุ เรียกวา Uro-genital Pathogenic
Protozoa หรือพยาธิที่อยูที่ระบบไหลเวียน
โลหิต เรียกวา Hemato-pathogenic รูปที่ 2 แสดงความหลากหลาย ของโปรโต
Protozoa ซัว ทั้งที่เปนปรสิตตองอาศัยโฮสต
โดยทั่วไป พยาธิโปรโตซัวที่กอโรค เชน Entamoeba histolytica,
มักจะมีขนาดเล็กไมเกิน 50 µm ดังนั้น Plasmodium, และที่เปน Free-
การศึกษาเกี่ยวกับพยาธิโปรโตซัวเหลานี้ living Protozoa เชน Euglena เปน
มักตองอาศัย กลองจุลทรรศนเสมอ และ ตน และ ยังแสดงขนาดที่แตกตาง
บางครั้ง อาจตองการวิธีพิเศษอื่นดวย เชน กันตั้งเล็กมากจนถึง 10 ซม.

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


13

ตารางที่ 1 แสดงลักษณะของ Eukaryotic cell และ Prokaryotic cells

ลักษณะของเซลล Eukaryotic cells Prokaryotic Cells


1. nuclear body • ลอมรอบดวย nuclear membrane และ • ไมมี nuclear membrane ลอมรอบ
มีรูติดตอกับ endoplasmic reticulum
• มี linear chromosomes หนึ่งหรือหลาย • มี circular chromosome
คู ประกอบดวย DNA ที่เปน histone ประกอบดวย DNA ที่เปน
proteins histone-like proteins
• มีนิวเคลีนส • ไมมีนิวเคลียส
2. cell division • โดยวิธี mitosis และไดผลจากการ • โดยวิธี binary fission, ไมมี
แบงตัวเปนเซลลเพศที่เปน diploid mitosis และได haploid,
Organisms
3. cell membrane, • เปน fluid phospholipid bilayer • เปน phospholipid bilayer ที่ไมมี
plasma membrane ประกอบดวย sterols และ carbohydrates และ sterols
carbohydrates
• สามารถ endocytosis และ exocytosis • ไมสามารถ endocytosis และ
ไดทั้งของแข็งและน้ํา (phagocytosis, exocytosis
pinocytosis)
4. cytoplasmic • ประกอบดวย 60S และ 40S subunit • ประกอบดวย 50S และ 30S
structures Ribosomes subunit Ribosomes
• มี mitochondria, endoplasmic • ไมมี mitochondria, endoplasmic
reticulum, Golgi apparatus, vacuoles reticulum, Golgi apparatus,
และ lysosomes vacuoles และ lysosomes
• มี Chloroplasts ที่ทําหนาที่สังเคราะห • ไมมี chloroplasts สังเคราะหแสง
แสง ในcytoplasmic membrane
5. respiratory enzymes • อยูใน mitochondria • อยูใน cytoplasmic membrane
and electron
transport chains
6. cell wall • พืช รา และ สาหรายจะมี cell walls ที่ • พวก Eubacteria และ
เปน cellulose หรือ chitin แตจะโปรโต Archaebacteria จะมี cell walls ที่
ซัวไมมี เปน peptidoglycan
7. locomotor • มี flagella, Pseudopodia หรือ cilia • มีแต flagella ไมมี cilia
organelles

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


14

ลักษณะสําคัญของโปรโตซัว (Key Features of Protozoa)

โปรโตซัวเปนสัตวเซลลเดียวที่มี ยังที่ที่ตองการ เชน เพื่อกินอาหาร


ลักษณะเฉพาะตัวหลายอยาง กลาวคือ Pseudopodia นี้ก็คือสวน ecto-cytoplasm
1. Motility การเคลื่อนไหวทําให ของพยาธิโปรโตซัวนั่นเอง เมื่อขาเทียม
โปรโตซัวถูกจัดใหเปนสัตว และแตกตาง (Pseudopodia) ขยับไปทางใดทางหนึ่งที่
จากพืชซึ่งไมสามารถเคลื่อนไหวได การ พยาธิตองการจะเคลื่อนไป สวน cytoplasm
เคลื่อนไหวจึงถือเปนคุณสมบัติที่สําคัญมาก และสวนอื่นๆ ของเซลลพยาธิก็จะคอยๆ
อันหนึ่งในหลายอยางของโปรโตซัว ที่ เคลื่อนตามไปในทิศทางนั้นๆ ตัวอยาง
นักวิทยาศาสตรใชคุณสมบัติขอนี้ ในการจัด พยาธิโปรโตซัวที่เคลื่อนไหวแบบนี้ ไดแก
แยกหมวดหมูของพยาธิโปรโตซัว ดังนี้ กลุม Amoebae เชน Entamoeba
1.1 กลุม Amoeboid movement histolytica, E.. coli, E. nana เปนตน (รูปที่
คือกลุม ที่มีการเคลื่อนไหวโดยการใชขา 3)
เทียม (Pseudopodia) มุงหนาเคลื่อนที่ไป

Pseudopodia

รูปที่ 3 แสดงตัวอยางพยาธิโปรโตซัวที่มีการเคลื่อนไหวแบบ Amoeboid movement

1.2 กลุม Flagellated movement คือ Protozoa เชน Giardia intestinalis กลุม
กลุมที่มีการเคลื่อนไหวโดยใชแสในการโบก Vaginal Flagellated เชนTrichomanas
พัดตามแนวยาว (longitudinal) ทําใหพยาธิ vaginalis กลุม Hemo-flagellated
โปรโตซัวชนิดนี้เคลื่อนที่ไปตามทางยาวได Protozoa เชน Trypanosoma (รูปที่ 4 A)
ตัวอยาง เชน กลุม Intestinal Flagellated

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


Flagella

Cilia

รูปที่ 4 แสดงตัวอยางพยาธิโปรโตซัวที่มีการเคลื่อนไหวแบบ Flagellated movement (A) และ


แบบ Ciliated movement (B)

1.3 กลุม Ciliated movement เปน มองเห็นชัดเจนเหมือนกลุมที่ผานมา แต


เชื้อในกลุมที่มีการเคลื่อนไหวโดยอาศัยการ เนื่องจากพยาธิกลุมนี้ เปนชนิดที่ตองอาศัย
พัดโบกของเซลลขน (cilia) ซึ่งเปนเสนสั้นๆ ในเซลลเสมอ (Intra-cellular Protozoa)
จํานวนมากรอบตัวพยาธิ ตัวอยางการ ดังนั้น เชื่อจึงตองเคลื่อนเขาไปในเซลลของ
เคลื่อนไหวแบบนี้พบในเชื้อพยาธิโปรโตซัว โฮสต ดวย organelles 3-4 อยางของพยาธิ
ที่กอโรคเพียงชนิดเดียว คือ Balantidium (Apical organelles) เชนเชื้อ
coli (รูปที่ 4 B) Cryptosporium, Cyclospora, Toxoplasma
1.4 กลุม Gliding motility เปนเชื้อ และ Microsporidium group (รูปที่ 5)
ในกลุมที่ไมมีอวัยวะที่ใชในการเคลื่อนไหวที

Host cells

Toxoplasma tachyzoites

รูปที่ 5 แสดงภาพจากกลองจุลทรรศนอิเลคตรอน ขณะที่เชื้อพยาธิโปรโตซัว Toxoplasma


กําลังเคลื่อนตัวเขาไปในเซลลของโฮสต

Intestinal Protozoa : Simple Diagnostic Tips


14

2 Digestion ดังที่กลาวมาแลว ผสมพันธกัน ไดเซลลตัวออน (zygote) ที่มี


พยาธิโปรโตซัว มีทั้งกลุมที่สามารถอยูไดใน ยีนสคู (diploid)
ธรรมชาติ และตองอาศัยอยูในโฮสต ดังนัน้ หลังจากนั้นพยาธิจะมีการแบงตัว
การกินอาหารของพยาธิโปรโตซัวจึงมีหลาย แบบไมอาศัยเพศอีกครั้ง
แบบ (heterotrophy) คือ สามารถกินอาหาร 4 ระยะ (stage) ของพยาธิโปรโต
แข็ง (absorb solutes) ได เรียกวา ซัว โดยปกติจะแบงเปนระยะที่สําคัญ 2
osmotrophy ยอย particulate เชน สามารถ ระยะ คือ ระยะ trophozoite และระยะ cyst
ยอยแบคทีเรีย หรือโปรโตซัวชนิดอื่นได ระยะ trophozoite เปนระยะที่เชื้อ
เรียกวา phagotrophy แตหากยอย พยาธิโปรโตซัวใชในการดํารงชีวิต ในภาวะ
ของเหลวเรียกวา pinocytosis นอกจากนี้ ปกติที่มีอาหารสมบูรณ และเหมาะกับการ
พยาธิโปรโตซัวยังสามารถสังเคราะหอาหาร แพรพันธุ แตหากภาวะแวดลอมไมปกติ
ไดเองดวย (photosynthetic) เรียกวา เชื้อพยาธิโปรโตซัว จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง
autotrophy ไปอยูในระยะ cyst ที่ทนทานตอภาวะ
3 Reproduction การขยายและแพร แวดลอม ระยะ cyst พยาธิจะไมตอง
พันธุของพยาธิโปรโตซัว มีไดทั้งแบบอาศัย สิ้นเปลืองพลังงาน ในการดํารงชีวิตมากนัก
เพศและไมอาศัยเพศ ดังนี้ ดังนั้น cyst จะสามารถมีชีวติ อยูไดนาน แม
การสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ ซึ่ง ภาวะตางๆ ไมเหมาะสมก็ตาม และสวน
แบงออกได ใหญ cyst จะเปนระยะติดตอของพยาธิโปร
1. Binary fission คือ การแบงตัว โตซัวที่สามารถติดตอไปสูโฮสตใหมได (รูป
ของเชื้อพยาธิเปน 2 ตัว โดยเริ่มจากการ ที่ 6 )
แบงนิวเคลียสกอน แลวตามดวยการแบงตัว
ของ cytoplasm ผลจาการแบงตัวแบบนี้ จะ
ไดเซลลพยาธิ 2 ตัว ที่มีลักษณะทุกอยาง
เหมือนกัน และขนาดเทากัน พยาธิบางชนิด
มีการแบงตัวแบบนี้หลายครั้ง เรียกวา
multiple fission
2. Budding เปนการแบงตัวแบบ
แตกหนอ เซลลที่เกิดจากการแบงตัวแบบนี้
จะไมเทากัน เซลลลูกจะเล็กกวาเซลลแม
การสืบพันธุแบบอาศัยเพศ มี
การแบงยีนสของพยาธิ จากคูออกเปนเดีย่ ว
(diploid เปน haploid) อยูในเซลลตัวผู รูปที่ 6 แสดงระยะ trophozoite และระยะ
(macro gametocyte) และเซลลตัวเมีย cyst ของ E. histolytica
(micro gametocyte) กอน แลวจึงมีการ

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


Classification of Pathogenic Protozoa and AIDS-related Protozoa
นักวิทยาศาสตรแบงกลุมพยาธิโปรโตซัวตามการเคลื่อนไหว (motility) ออกเปน 4 กลุม
ตามตารางที่ 2 ดังนี้
ตารางที่ 2 แสดงการแบงจําพวก (Classification) ของเชื้อพยาธิโปรโตซัว
Phylum Subphylum Genera
Sarcodina (amoeba) Entamoeba
Sarcomastigophora Mastigophora Trypanosoma, Leishmania
(mastigo=whip=flagellates) Giardia, Dientamoeba
Trichomonas
Ciliophora Ciliophora Balantidium
Apicomplexa Sporozoa Plasmodium, Toxoplasma
Cryptosporidium,
Cyclospora, Isospora
Microspora Microsporidia Enterozytozoon
Encephalitozoon

ปรสิตหนอนพยาธิลําไส (Intestinal Helminths)


หนอนพยาธิเป นกลุ มสั ตวหลาย ร า งกายคน แต ใ นการอบรมครั้ ง นี้ จ ะ
เซลล บางชนิดดํารงชีวิตอิสระ (free living) กลาวถึงเฉพาะกลุมที่อยูในลําไส อยางไรก็
บางชนิ ด เป น ปรสิ ต ของพื ช และบางชนิ ด ตาม บางครั้ ง พยาธิ ตั ว โตเต็ ม วั ย อาจอยู
เปนปรสิตของสัตวที่ไมมีกระดูกสันหลังและ อาศัยที่อวัยวะอื่นๆ เชน ตับ ถุงน้ําดี หรือ
สัตวมีกระดูกสันหลังรวมทั้งคนดวย พยาธิ ปอด แต มีไขพยาธิเหลานั้ นปนออกมากั บ
เหลานี้อาศัยอยูในหลายอวัยวะทั่วไปตาม อุจจาระที่พบไดบอยก็จะกลาวถึงเชนกัน

Intestinal Nematode
ตัวเต็มวัยที่อยูในลําไสเล็ก
♦ Ascaris lumbricoides*
♦ Capillaria philippinensis
♦ Hookworm: Ancylostoma duodenale / Necator americanus*
♦ Strongyloides stercoralis*
♦ Trichostrongylus orientalis

ตัวเต็มวัยที่อยูในลําไสใหญ

Intestinal Protozoa : Simple Diagnostic Tips


16

♦ Enterobius vermicularis*
♦ Trichuris trichiura*

Intestinal (fluke) Trematode


♦ Fasciolopsis buski*
♦ Echinostoma ilocanum*
♦ Heterophyes heterophyes
♦ Gastrodisdes hominis
♦ Misellaneous intestinal fluke
Liver (fluke) Trematode
♦ Opisthochis viverini*
♦ Clonorchis sinensis
♦ Fasciolopsis hepatica
Lung (fluke) Trematode
♦ Paragonimus westermani
♦ Paragonimus heterotremus
Intestinal Cestode
♦ Taenia solium*
♦ Taenia saginata
♦ Hymenolepis nana
♦ Dipylidium caninum
♦ Diphyllobothium latum
* พยาธิที่จะกลาวรายละเอียดในที่นี้

ลักษณะทั่วไปของปรสิต
หนอนพยาธิตัวกลม
1. ลําตัวกลมยาวปลายสองขางมักจะ เปลาไมเห็น เชน Stringyloides หรือ
แหลม หรืออาจแหลมขางเดียวก็พบได ยาวมาก เชน Ascaris
ลําตัวไมแบงเปนปลอง ไมมีระยางยื่ยอ 3. Cuticle เปนสวนผิวนอกปกคลุมลําตัว
อกจากลําตัว 4. มีชองวางในลําตัว ซึ่งมีระบบทางเดิน
2. ขนาดและความยาวแตกตางกันไปใน อาหารแบะระบบสืบพันธุบรรจุอยู
แตละชนิด ตั้งแตเล็กมากมองดวยตา 5. แยกเปนเพศผูและเพศเมียคนละตัว

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


17

6. ระบบขับถายและรบบประสาทยังไม อวัยวะสืบพันธุยังไมเจริญ มักอยู


เจริญเต็มที่ ไมมีระบบไหลเวียนโลหิต สวนที่ติดกับคอ 2) ปลองแก
ลักษณะพยาธตัวแบน จะมีลําตัวแบน (mature segment) เปนปลองที่
ดานหนาและดานหลัง (dorsoventrally) อวัยวะสืบพันธุเจริญแลว มักอยู
โดยซีกซายและขวาจะมีลักษณะคลายคลึง บริเวณกลางลําตัว 3) ปลองสุก
กัน ไมมีชองวางในลําตัวที่แทจริง มีสอง (gravid segment) คือปลองที่
เพศอยูในตัวเดียวกัน มีระบบขับถาย สวน มดลูกเจริญเต็มที่และมีไขอยูเต็ม
ระบบทางเดินอาหารไมสมบูรณ อาจมี 2. Integument เปนสวนปกคลุมรางกาย
หรือไมมีระบบหายใจและระบบไหลเวียน เปนสวนบางๆ เหนียว ยือหยุนไดดี
โลหิต และสามารถสรางเอนไซย เชน
ATPase เพื่อทําลายเอนไซยของโฮสต
ลักษณะทั่วไปของพยาธิตืด ไมใหยอยตัวพยาธิได
1. ตัวเต็มวัยเปนพยาธิตัวแบนคลายริบบิน 3. มีระบบกลามเนื้อที่เจริญมาก หลายชั้น
ยืดหยุนได ขนาดแตกตางกันตั้งแต 2-4 ทําใหปลองของพยาธิสามารถ
mm จนกระทั่งยาว 25 เมตร มี เคลื่อนไหวไดในหลายทิศทาง
สวนประกอบ ดังนี้ 4. ระบบขับถาย แตละปลองจะขับถายเขา
♦ สวนหัว (head or scolex) รูปราง สูเซลลเล็กๆ และรวมกันขับสูทอขนาด
กลมหรือรี หนาและแข็งแรงใชหยึด เล็ก ไปยังทอขนาดใหญ และเปดออกที่
เกาะผนังลําไส ปลองสุดทาย
♦ คอ (neck) เปนสวนตอจากหัว จะ 5. ระบบสืบพันธุ ทุกปลองจะเปนกระเทย
สั้นและแคบ ตอไปจะเจริญไปเปน คือมีทั้งสองเพศอยูในปลองเดียวกัน
ปลอง อยางนอยหนึ่งชุด บางชนิดมีมากกวา
นั้น
♦ ปลอง (segment หรือ proglottid)
6. มีระบบประสาทที่เจริญมาก เชื่อมโยง
บางชนิดมีเพียง 3-4 ปลอง บาง
จากสวนหัวและทุกปลอง
ชนิดอาจมีมากถึง 3,000 ปลอง
แบงไดเปน 1) ปลองออน
(immature segment) เปนปลองที่

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


18

เชื้อพยาธิที่สามารถตรวจพบไดในอุจจาระ

โดยปกติ ป รสิ ต หนอนพยาธิ แ ละ กันทั่วไป คือ การตรวจหาเชื้อดวยกลอง


พยาธิ โ ปรโตซั ว ที่ ต รวจพบในอุ จ จาระมั ก จุลทรรศน โดยดูจากรูปรางลักษณะ การ
อาศัยอยูที่ลําไสหรือทางเดินอาหาร อยางไร เคลื่อนไหว และคุณสมบัติในการติดสียอม
ก็ตาม เพื่อใหงายและสั มพันธกับอาการที่ เชื้อโปรโตซัวเหลานี้ อาจแบงออกเปนกลุม
เกิดขึ้น อาจแบงแยกเปน Nematode ที่อยู ตางๆ ไดดังนี้
เฉพาะในลําไส คือ Entrobus vermicularis, Pathogenic Protozoa คือ พยาธิ
Trichuris trichiura และ Capillaria โปรโตซัว ที่กอโรคในคนที่มีภูมิตานทาน
phillipinensis หรือ Nematode ที่มีการ ปกติ ประกอบดวยเชื้อหลายกลุม ตาม
เคลื่อนที่ (migrate) ไปที่ปอดดวย คือ ตารางที่ 3
Ascaris lumbricoides และ Nematode ที่มี Opportunistic Protozoa เชื้อ
การเคลื่อนที่ (migrate) ไปที่ปอดและ กลุม Coccidia ที่อยูใน Phylum
ผิ ว หนั ง คื อ Hookworm (Necator Apicomplexa คือเชื้อ Cryptosporidium
americana, Ancylostoma duodenale) parvum, Cyclospora cayetanensis,
และ Strongyloides, stercoralis Isospora belli และกลุม Microsporidia เชน
เชนเดียวกับพยาธิใบไม ก็มีทั้งพยาธิใบไม เชื้อ Enterozytozoon bienusi, และเชื้อ
ในลําไส ที่พบบอย เชน Fasciolopsis buski Encephalitozoon intestinalis สวนใหญ
และ Echinostoma ilocanum และพบบอย เปนเชื้อฉวยโอกาสในผูปวยเอดส ระยะที่
และมี ค วามสํ า คั ญ ทางคลิ นิ ก มากกว า คื อ พบในอุจจาระคือ ระยะ oocyst หรือ spore
Liver fluke คือ Opisthochis viverini หรือ ซึ่งสามารถตรวจวินิจฉัยไดจาก ลักษณะที่
พยาธิใบไมปอดพวก Paragonimus พยาธิ แตกตางกันของ oocyst หรือ spore
ที่กลาวมานี้ สามารถตรวจพบไขในอุจจาระ เชื้อพยาธิโปรโตซัว สวนใหญจะมี
ไดทั้งหมด 2 ระยะ คือระยะ (oo)cyst และระยะ
พยาธิตืดที่พบในลําไสและตรวจพบ trophozoite ยกเวน Dientamoeba fragillis
ไขในอุจจาระ ไดกลาวไวแลวขางตน ที่มีแตระยะ trophozoite เทานั้น สวนเชื้อ
พยาธิโปรโตซัว ที่อาศัยอยูในลําไส Iodamoeba butchlii มีเฉพาะระยะ cyst
บางชนิดไมกอโรค เพียงแตอาศัยอยูเทานั้น การตรวจวินิจฉัย เชื้อพยาธิในลําไส
บางชนิดทําใหเกิดอาการอุจจาระรวง ดังนั้น มักตรวจจากอุจจาระ ทําไดทั้งจากการดูสด
จึงจําเปนที่ ผูที่ทํางานดานการตรวจวินิจฉัย การดวยดวยวิธีทําใหเขมขน และการยอมสี
โดยตรวจอุจจาระของผูปวย จะตองรูจักเชื้อ พิเศษ เพื่อดูขนาด รูปราง ลักษณะภายใน
เหลานี้ทั้งที่กอโรคและไมกอโรค เพื่อที่จะ นิวเคลียส และภายในเซลลของเชื้อชนิด
สามารถแยกเชื้อ ที่กอใหเกิดโรคออกจาก ตางๆ ซึ่งจะกลาวรายละเอียดตอไป
เชื้อที่ไมไดกอใหเกิดโรค วิธีที่งายๆ และใช

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


ตารางที่ 3 แสดงกลุมพยาธิโปรโตซัว ที่กอโรคและไมกอโรคในคนปกติ

Protozoa Pathogenic Protozoa Non-pathogenic Protozoa


Amoebae Entamoeba histolytica Entamoeba dispar
Blastocystis hominis Entamoeba moshkovskii,
Entamoeba coli
Endolimax nana
Iodamoeba butchlii
Flagellates Giardia intestinalis Chilomastix mesnili
Dientamoeba fragillis Trichomonas hominis
Cilliate Balantidium coli -
Uncertain classification Blastocystis hominis Questionable

ตารางที่ 4 แสดงกลุมพยาธิโปรโตซัวฉวยโอกาส (Opportunistic Protozoa)

Protozoa Pathogenic Protozoa Non-pathogenic Protozoa


Coccidia Cryptosporidium parvum -
Cyclospora cayetanensis -
Isospora belli -
Microspora Enterozytozoon bieneusi -
Encephalitozoon intestinalis -

โรคที่เกิดจากการติดเชื้อพยาธิโปรโตซัวกอโรคและเชื้อฉวยโอกาส
เชื้อพยาธิโปรโตซัวในลําไสชนิดที่กอ โฮสตเชนกัน ดังนั้น ลักษณะอุจจาระก็จะ
โรค มักทําใหเกิดอาการในระบบทางเดิน คลายกัน คือ มีน้ําปนมาก มักไมมีมูกปน
อาหารในคนปกติทั่วไป และในกลุมผูปวย (หากมีมูกปน ก็ไมมาก)
ภูมิคุมกันบกพรองก็ได โดยปกติแลว กลุม พยาธิทั้ง 3 ตัว ก็ไมเจาะไชเซลลบุ
ผูปวยภูมิคุมกันบกพรองมักจะติดเชื้อฉวย ทอลําไส เพียงแตดูดอาหารเทานั้น ดังนั้น
โอกาสกลุม pathogenic protozoa บอยกวา อุจจาระก็จะไมมีเลือดปน อาการอื่นๆ เชน
อาการที่เกิดก็คือ อาการอุจจาระรวง และ ปวดทอง ทองอืด ทองเฟอ จะพบได
เนื่องจากวา พยาธิกลุม flagellates คือ เชนกัน แตอาการเหลานี้ไมใชอาการเฉพาะ
Giardia intestinalis และ Dientamoeba อยางไรก็ตาม มีอาการเฉพาะที่พบไดเสมอ
fragillis เปนเชื้อที่มีถิ่นอาศัยที่ลําไสเล็กของ ในกลุมผูปวยที่ติดเชื้อ Giardia intestinalis

Intestinal Protozoa : Simple Diagnostic Tips


20

คือ อาการที่อุจจาระมีไขมันปนออกมามาก และดูดซึมไขมัน รูปที่ 8 แสดงเชื้อพยาธิ


ทั้งนี้ เกิดจากที่เชื้อพยาธิขัดขวางการยอย และ host interaction

รูปที่ 8 แสดงการติดเชื้อพยาธิ Giardia intestinalis และ host interaction โดยปกติเชือ้ เพียง


10-100 cysts ก็สามารถทําใหเกิดอาการไดภายใน 6-15 วัน Source: Trends in
Parasitology 2006; 22 (1): 26-31)

พยาธิ Entamoeba histolytica และ อาการ เรียกวา asymptomatic cyst


Balantidium coli ทําใหเกิดอาการอุจจาระ passer มีเพียงรอยละ 10 เทานั้นที่จะเกิด
รวงเชนกัน แตเนื่องจากเปนพยาธิที่มี อาการบิด (dysentery) ดังที่กลาวมาแลว
ถิ่นอาศัยอยูที่ลําไสใหญของโฮสต และ นอกจากนี้ผูปวยที่ติดเชื้อ E. histolytica ยัง
พยาธิทั้ง 2 ตัวนี้มักจะเจาะไชเซลลเยื่อบุทอ อาจเกิดอาการที่ระบบอื่นๆ ไดอีก เชน ฝใน
ลําไสเปนแผลลึก และกนกวาง (flask- ตับ ซึ่งพบบอยกวา ฝในปอด หรือในสมอง
shape ulcer รูปที่ 9 A) ดังนั้น ลักษณะ (รูปที่ 9 B)
อุจจาระ ที่เกิดจากการติดเชื้อพยาธิทั้งสอง สวนเชื้อ Blastocystis hominis
มักจะออกมาไมมาก มีมูกปนมาก และมักมี เมื่อกอนไมถือวาเปนเชื้อกอโรค แตปจจุบัน
เลือดปนเสมอ อุจจาระจะมีกลิ่นเหม็น พบวาเชื้อตัวนี้ ทําใหเกิดอุจจาระรวงไดบอย
เหมือนหัวกุงเนา ผูปวยจะปวดเบงเวลาจะ ขึ้นทั้งในผูปวยปกติ และผูปวยภูมิคุมกัน
ถายเสมอ พบวาการติดเชือ้ Entamoeba บกพรอง ดังนั้น เมื่อตรวจอุจจาระของ
histolytica จะพบไดบอยกวาการติดเชื้อ ผูปวยทองเสียแลวไมพบสาเหตุอื่นๆ พบแต
Balantidium coli มาก เชื้อ B. hominis มากวา 5 ตัว/HF ก็ใหถือ
อยางไรก็ตามผูปวยสวนใหญ รอยละ วาเชื้อนี้ เปนสาเหตุของอาการอุจจาระรวง
90 ที่ติด E. histolytica มักจะไมแสดง ครั้งนั้น

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


A B

รูปที 9 แสดงการเจาะไชของเชื้อ E. histolytica ซึ่งทําใหเกิดแผลกนกวาง (A) และแสดง


ตําแหนงตางๆ ที่อาจเกิดโรคจาก E. histolytica (B)

Intestinal Opportunistic Protozoa สาเหตุของเชื้อฉวยโอกาส ที่กอให


ในกลุมผูปวยที่มีภูมิคุมกันบกพรอง เกิดอาการอุจจาระรวง ในกลุมผูปวยพวกนี้
เชน ผูปว ยเลือดบวกเอชไอวี/เอดส เมื่อ อาจเปนเชื้อฉวยโอกาสจําพวก เชื้อพยาธิ
ภูมิคุมกันถูกกดจนต่ําลงมากๆ มักจะติด โปรโตซัว เชน Cryptosporidium parvum,
เชื้อฉวยโอกาสชนิดตางๆ ทําใหผปู วย Cyclospora cayetanensis, Isospora belli,
เหลานั้น แสดงอาการรุนแรงหรือเจ็บปวย Microsporidia, เชื้อปรสิต เชน
เรื้อรังเสมอ เชน เกิดอาการอุจาระรวงซึ่ง Strongyloides stercolaris หรือเชื้อบักเตรี
เปนอาการที่พบบอยมากในกลุมผูปวยเอดส เชน Salmonella, Mycobacterium
อุจจาระรวงมักเปนติดตอกันนานหรือเปนๆ tuberculosis, M. aviaum complex (MAC),
หายๆ เรื้อรัง โดยสวนใหญมักจะนานกวา 3 Campylobacter jejuni หรือเกิดจากเชื้อรา
เดือน ลักษณะอุจจาระสวนใหญจะเหลว เชน Candida albicans หรืออาจจะเกิดจาก
หรือมีน้ําปน บางครั้งจะมีมูกปนเล็กนอย เชื้อไวรัส เชน Herpes type I และ II หรือ
การถายอุจจาระแตละครั้งจะออกมาก ถาย พบวา แมแตเชื้อไวรัสเอชไอวีเองก็ทําให
วันละ 3-6 ครั้ง หรือมากกวานั้น จึงเปน ผูปวยกลุมนี้ เกิดอาการอุจจาระรวงได
สาเหตุใหผูปว ยขาดน้ํา ขาดอาหารจนผอม เชนกัน
แหง และน้ําหนักลดมาก

Intestinal Protozoa : Simple Diagnostic Tips


22

นอกจากนี้ ผูปวยกลุมที่มีภูมิคุมกัน ทางภาคเหนือของประเทศไทย หรืออาจ


บกพรอง ยังอาจเกิดการติดเชื้อฉวยโอกาส เกิดงูสวัดขนาดใหญ และรุนแรงกวาคนที่
ในระบบอื่นๆ ได เชน ตอมน้ําเหลืองโตจาก ภูมิคุมกันปกติ เปนตน (ตารางที่ 5 และ 6)
การติดเชื้อวัณโรคตามอวัยวะทั่วไป หรือ ในการอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ จะ
วัณโรคปอด ปอดอักเสบจากเชื้อ ขอกลาวเฉพาะเชื้อฉวยโอกาสจําพวกพยาธิ
Pneumocystis carineii (PCP), เยื่อหุม โปรโตซัวในลําไส (Intestinal Opportunistic
สมองอักเสบจากเชื้อรา (Cryptococcal Protozoa) ที่ทําใหเกิดอาการอุจจาระรวง
meningitis), ฝในเนื้อสมองหรือเนื้อสมอง เทานั้น ซึ่งประกอบดวย Cryptosporidium
อักเสบจากเชื้อ Toxoplasma gondii parvum, Cyclospora cayetanensis,
(Toxoplasmic encephalitis), หรือโรคติด Isospora belli แลเชื้อกลุม Microsporidia
เชื้อ Penicillium marnrffei ซึ่งพบเฉพาะ

ตารางที่ 5 อาการที่พบในผูปวย 205 ราย ที่เกิดโรค Cryptosporidiosis เมื่อคราวเกิดการระบาด


ที่เมือง Milwaukee (Wiser, 2006)

SYMPTOMS %
Watery Diarrhea 93
med=9d (1-55d), 39% recurred after
days free
Abdominal Cramps 84
Weight Loss 75
med=10lb (1-40lb)
Fever 57
med=38.3 (37.2-40.5)
Vomiting 48

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


23

ตารางที่ 6. จํานวนผูปวยเอดสที่ตดิ เชื้อฉวยโอกาสชนิดตางๆ (Opportunistic Infection


in HIV/AIDS)
ป พ.ศ. Cryptococcal Tuberculosis Pneumocystis Penicilium Toxoplasmosis
meningitis pneumonia manefii (PM)
(PCP)
2535 2 11 2 2 0
2536 122 64 82 32 7
2537 196 157 282 80 40
2538 217 239 279 70 20
2539 310 292 302 82 108
2540 398 401 351 149 196
2541 435 386 373 145 152
แหลงขอมูล: สาธารณสุขจังหวัดเชียงราย

ตารางที่ 7. แสดงคาภูมิคุมกันที่อาจทําใหเกิด Opportunistic Infection in HIV/AIDS

CD4+ cell/micro liter Organism

< 500 Epstein Bar virus


Human pappilloma virus
Mycobacterium tuberculosis
< 200 P. carinii
T. gondii
C. parvum, microsporidia, I. Belli

เชื้อ Cryptosporidium parvum, ถึงแมวาเชื้อ 2 กลุมดังกลาวจะถูกจัด


Cyclospora cayetanensis, Isospora belli, ใหอยูคนละ phylum แตเชือ้ ทั้ง 2 กลุมก็กอ
เปนเชื้อพยาธิโปโตซัวที่จัดอยูใน phylum โรคเหมือนกัน คือทําใหเกิดอาการอุจจาระ
Apicomplexa ซึ่งบางครั้งเรียกรวมกันวา รวง ดังนั้น บางครั้งจะมีผูที่เรียกเชื้อ 2 กลุม
กลุม coccidia สวนเชื้อกลุม Microsporidia รวมกันวา spore-forming protozoa ก็มี
จัดอยูใน phylum Microspora และมีเชื้อตัว เนื่องจากวาเชื้อทั้ง 2 กลุมนี้มี
ที่กอใหเกิดอาการอุจจาระรวง 2 ตัวคือ ถิ่นอาศัยอยูในลําไสเล็กของโฮสต (intra-
Enterozytozoon และ Encephalitozoon cellular organisms) และจะไชเขาไปใน
เซลลลําไสเสมอ อยางไรก็ตามมักไมไชลึก

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


24

ลงไปมากกวาชั้น epithelium ของเซลลบุ เปนเรื้องรัง เปนติดตอกันนานมากกวา 3


ลําไส ดังนั้น อาการทองเสียของผูปวยกลุม เดือน ดังนั้นผูปวยมักจะขาดน้ํา ขาดอาหาร
ที่ติดเชื้อพวกนี้ มักจะมีอาการของการ และผอมแหง ประกอบกับผูปวยภูมิคุมกัน
รบกวนหนาที่ของลําไสเล็ก กลาวคือทําให บกพรองมักจะเบื่ออาหารดวย จึงทําใหผอม
การดูดซึมน้ํา และอาหารไมไดดีเทาที่ควร จนหนังหุมกระดูกได
จึงทําใหลักษณะของอุจจาระของผูปวย จะมี ในคนปกติหากติดเชื้อกลุมนี้ก็จะเกิด
น้ําออกมามาก ไมมีเลือดปน ไมคอยมีมูก อาการอุจจาระรวงเชนกัน แตอาการมักไม
นัก ผูปวยมักจะมีอาการปวดทองขณะที่จะ รุนแรงเทากลุมผูปวยที่ภูมิคุมกันบกพรอง
ถาย ทองอืด มีลมในทองมาก อาการมักจะ และอาจหายไดเองโดยไมตอ งรักษา

โรคที่เกิดจากการติดเชื้อปรสิตหนอนพยาธิ
โรคพยาธิลําไสนับเปนปญ หาของ ละ 33.71 พยาธิ Strongyloides stercolaris
ประเทศตางๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะอยางยิ่ง รอยละ 0.02 พยาธิตัวตืด (Taenia spp.)
ประเทศที่กําลังพัฒนา องคการอนามัยโลก รอยละ 0.02 พยาธิตืดแคระ (Hymenolepis
ประมาณการวาประชากรทั่วโลกประมาณ nana) รอยละ 0.04 สวนการศึกษาความชุก
3,500 ลานคน ติดเชื้อพยาธิลําไส และ ของพยาธิลําไสใน 3 จังหวัดของ ภาคอีสาน
ประมาณ 450 ลานคน แสดงอาการปวย ในป พ.ศ. 2536 พบวา ประชาชนเปน
ออกมา มี ร ายงานถึ ง ความชุ ก การติ ด เชื้ อ พยาธิ ช นิด ใด ชนิ ด หนึ่ งหรื อหลายชนิ ด ใน
พยาธิลําไสในประเทศตางๆ ในแถบเอเชีตะ คนเดียวกันเฉลี่ยรอยละ 38 โดยมีความชุก
วันออกเฉียงใต ไดแก ประเทศมาเลเซีย มี ของพยาธิใบไมตับสูงสุด การสํารวจความ
ความชุกของพยาธิลําไสรอยละ 18-91 ชุกในจังหวัดสุรินทร พบอัตราความชุกของ
ประเทศฟลิปปนส รอยละ 61-99 และ พยาธิปากขอรอยละ 15.54 ชวงอายุที่พบ
ประเทศอินโดนีเซีย รอยละ 96 มาก ไดแก 15-94 ป สวนการสํารวจในเด็ก
ส ว นในประเทศไทยมี ก ารสํ า รวจ นักเรียนโรงเรียนชาวเขา อําเภอเมือง
หนอนพยาธิลําไสใน 14 จังหวัดภาคใตของ จังหวัดเชียงใหม พบความชุกถึงรอยละ
ประเทศไทยในป พ.ศ. 25328 พบวามี 48.9 พยาธิที่พบ ไดแก Entamaeba coli
ประชาชนถึงรอยละ 77 เปนโรค รอยละ 40.9 Giadia lamblia รอยละ 49.2
หนอนพยาธิ ลํ า ไส ช นิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง หรื อ พยาธิปากขอ รอยละ 13.5 พยาธิไสเดือน
หลายชนิ ด ในคนเดี ย วกั น หนอนพยาธิ ที่ รอยละ 8.0 พยาธิแสมา รอยละ 6.6 และ
ตรวจพบ ไดแก พยาธิปากขอ (Hookworm) พยาธิใบไมตับ รอยละ 1.4 โดยเพศชายและ
รอยละ68.78 พยาธิไสเดือน (Ascaris หญิ ง มี อั ต ราการติ ด เชื้ อ ใ กล เ คี ย งกั น
lumbricoides) รอยละ 10.38 พยาธิ แสมา นอกจากนี้ ก ารสํ า รวจในอํ า เภอน้ํ า โสม
(Trichuris trichiura) รอยละ 33.71 พยาธิ จังหวัดอุดรธานี พบอัตราการติดเชื้อรอยละ
เข็มหมุด (Enterobius vermicularis) รอย 26.4 โดยพบวารายได ลักษณะสวม และ

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


25

พฤติกรรมการบริโภคอาหารสุกๆ ดิบๆ มี หลายระบบ อาการที่พบบอย คือ อุจจาระ


ผลตอการติดเชื้อพยาธิลําไส อัตราความชุก รวง ทองอืด คลื่นไส อาเจียน ปวดทอง เรอ
ของโรคพยาธิลําไสในประเทศไทยนับวายัง เหม็นเปรี้ยว ทองผูก ลําไสอุดตัน เปนตน
คอ นขางสูง และเปน ปญ หาสําคัญทางด าน ส ว นในเด็ ก โดยเฉพาะเด็ ก เล็ ก ๆ อาจไม
สาธารณสุขของประเทศ สามารถบอกถึงอาการบางอยางได ตองดู
โ ด ย ป ก ติ ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ป ร สิ ต จากผลขางเคียง เชน มีแผลรอนในในปาก
หนอนพยาธิอาจเกิดอาการไดหลากหลาย คัน เลื อดกํ าเดาออก ก็ ได อาการที่ พบได
ตั้ ง แต ไ ม มี อ าการอะไรจนกระทั่ ง มี อ าการ นอยลง เชน หอบหืด โลหิตจาง ภูมิแพ

รูปพยาธิ A lumbricoides จํานวนมากที่พบในลําไสเล็กของผูปวย

รูปการตรวจ ultrasound ลําไสเล็กของผูปวย พบพยาธิซึ่งตอมาวินจิ ฉัยวาเปน


พยาธิ A. lumbricoides

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


26

รูปการตรวจเอกซเรยปอดของผูปวย พบพยาธิซึ่งตอมาวินิจฉัยวาเปนพยาธิ A lumbricoides

เอกสารอางอิง

Ashiford R. 2001. Current usage of Heelan J, Ingersoll F. 2002. Essentials


nomenclature for parasitic disease, of Human Parasitology. . Heelan J,
with special reference to those Ingersoll F, editors. United States:
involving arthropods. Med Vet Delmar Thomson Learning.
Entomol 15:121-5. Markell E, Coge M, John D. 1999.
Baldauf S. 1999 A Search for the Immunodiagnostic Techniques.
Origins of Animals and Fungi: Markell E, Coge M, John D, editors.
Comparing and Combining 8 ed. Philadelphia: WB. Saunder
Molecular Data. Am Nat 154:S178- Company.
S88. Patterson D. 1999. The Diversity of
Gutierrez Y. 2000. Diagnostic Pathology Eukaryotes. . Am Nat 154::96-124.
of Parasitic Infections with Clinical Wiser M. 2006. Medical Protozoology.
Correlations. Y G, editor. 2nd ed. Tulane University.
Oxford: Oxford University Press.

---------------------------------------------

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


27

รูจัก – รูจริง พยาธิลําไส

รศ. พญ. เยาวลักษณ สุขธนะ


ภาควิชาพยาธิโปรโตซัว คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล

เนื้อหา
- เชื้อพยาธิโปรโตซัวในกลุม Intestinal Pathogenic and Opportunistic Protozoa
o Life cycle and morphology of Amoebae, Flagellate, Ciliate,
Coccidia and Microsporidia
o ลักษณะของเชื้อโปรโตซัวที่พบในอุจจาระโดยการใชกลองจุลทรรศน
- เชื้อปรสิตหนอนพยาธิในกลุม Nematode, Trematode และ Cestode
o Life cycle and morphology พยาธิที่พบบอยกลุม Nematode,
Trematode และ Cestode
o ลักษณะของเชื้อโปรโตซัวที่พบในอุจจาระโดยการใชกลองจุลทรรศน

Intestinal Pathogenic and Opportunistic Protozoa

Intestinal Pathogenic Protozoa กลุม Ciliate


เชื้อพยาธิโปรโตซัวกลุม Intestinal - Balantidium coli*
Pathogenic Protozoa อาจแบงเปนกลุม กลุม Flagellates
ใหญได 3 กลุม คือกลุม Amoebae, - Giardia intestinalis*
Flagellate และ Ciliate โดยมีเชื้อในกลุม - Dientamoeba fragillis*
ตางๆ ดังนี้
- Chilomastix mesnili
กลุม Amoebae
- Trichomonas hominis
- Entamoeba
o E. histolytica* (pathogen)
Intestinal Opportunistic Protozoa
o E. coli (big sister)
เชื้อพยาธิโปรโตซัวกลุม Intestinal
o E. hartmani (little brother)
Opportunistic Protozoa อาจแบงเปนกลุม
o E. gingivalis (oral)
ใหญได 2 กลุม คือ เชื้อกลุม coccidia และ
- Endolimax nana Microspora ดังนี้
- Iodamoeba butschlii

Intestinal Parasites : Simple Diagnostic Tips


28

กลุม Coccidia * เชื้อที่กอใหเกิดโรคในคน


- Cryptosporidium parvum*
- Cyclospora cayetanensis* สวนเชื้อ Blastocystis hominis
- Isospora belli* เมื่อกอนไมไดจัดเปนพยาธิที่กอโรค แต
กลุม Microspora ขณะนี้พบวาบอยครั้งที่พบในอุจจาระผูปวย
และเปนสาเหตุของอาการอุจจาระรวงได
- Enterozytozoon bieneusi*
- Encephalitozoon intestinalis*

วงจรชีวิตของอะมีบา

ระยะ cysts และ trophozoites จะ หลังจากนั้นจะได trophozoite ออกมาและ


ถูกขับออกมากับอุจจาระ โดยปกติพบ trophozoite จะเคลื่อนตัวไปอยูที่ลําไสใหญ
cysts ในอุจจาระที่คอนขางแข็ง แต trophozoite จะแบงตัวแบบ binary fission
trophozoites มักจะพบในอุจจาระเหลว การ และผลิตทั้ง trophozoite และ cyst และเชื้อ
ติดเชื้ออะมีบาเกิดจากอาหาร และดื่มน้ําที่มี ทั้งสองระยะก็ปนออกมากับอุจจาระ โดย
การปนเปอนของ cysts เมื่อ cysts เขาไป ปกติระยะ trophozoite จะตายงาย แต cyst
แลวจะเกิด excystation ที่ลําไสเล็ก จะทนสิ่งแวดลอมไดนานหลายสัปดาห

รูปที่ 1 วงจรชีวติ ของ E. histolytica

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


29

ลักษณะของเชื้อโปรโตซัวกลุมอะมีบาที่พบในอุจจาระโดยการใชกลองจุลทรรศน

รูปที่ 2 แสดงไดอะแกรมเชื้อกลุม Amoebae

โดยปกติการวินิจฉัยเชื้อกลุมอะมีบาโดยกลองจุลทรรศน มีหลักโดยอาศัยสิ่งตอไปนี้
- ขนาด trophozoite และ cyst
- จํานวน และลักษณะของนิวเคลียส
- Inclusion in cytoplasm
ขนาด trophozoite และ cyst
ตารางที่ 1 แสดงขนาดของ trophozoite และ cyst ของพยาธิกลุม Amoebae
Amoebae Trophozoite Cyst ขนาด
E. coli 15-50 µm 10-35 µm ขนาดใหญ
E. histolytica 10-60 µm 10-20 µm ขนาดกลาง
E. hartmani 5-12 µm 5-10 µm ขนาดเล็ก
E. nana 6-12 µm 5-10 µm ขนาดเล็ก
I. butschlii 8-20 µm 5-20 µm ขนาดเล็ก

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


30

จํานวน และลักษณะของนิวเคลียส โดยดูสิ่งตอไปนี้


• จํานวนและลักษณะของนิวเคลียส
• การมีหรือไมมีของ chromatin และตําแหนงที่อยู
• ขนาดและที่อยูของ karyosome

รูปที่ 3 แสดงไดอะแกรมลักษณะแตละแบบของนิวเคลียสของพยาธิโปรโตซัว

Nuclear structure ชนิดที่ 1: Small central karyosome with fine regular peripheral
chromatin granule
Nuclear structure ชนิดที่ 2: Small eccentric karyosome with irregular peripheral
chromatin granule
Nuclear structure ชนิดที่ 3: Large central karyosome without peripheral chromatin
granule
Nuclear structure ชนิดที่ 4: Large central karyosome with diffuse chromatin granule

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


31

Nuclear structure ชนิดที่ 5: Checker-board like karyosome without peripheral


chromatin granule
Nuclear Structure

Small karyosome Large karyosome


with peripheral without peripheral
chromatin granules chromatin granules

fine, regular coarse, irregular round shape irregular shape

E. histolytica E. coli I. Butschlii E. nana


E. hartmanni

จํานวนของนิวเคลียส
ตารางที 2 แสดงจํานวนของนิวเคลียสของพยาธิกลุมอะมีบา
Amoebae Number of nuclei
E. histolytica 4
E. coli 8
E. hartmanni 4
E. nana 4
I. Butschlii 1

Inclusion in cytoplasm

Karyosome

Nucleus

Chromatiod bar

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


32

รูปที่ 4 แสดง Inclusion ใน cytoplasm

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


33

ตารางที่ 3 แสดงลักษณะระยะ trophozoite และ cyst ของเชื้อกลุม Amoebae

ระยะ ใน N.S.S ใน 1% Iodine solution


E. histolytica
Trophozoite - รูปรางไมแนนอน (amoeboid shape) - มี 1 นิวเคลียส รูปรางกลม ผนังบางไม
- เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียว ดวย เรียบ มี food vacuoleจํานวนมาก
pseudopodia คอนขางเร็ว
Cyst - รูปรางกลม ขนาดเสนผาศูนยกลาง - มีนิวเคลียส 1-4 ภายในเซลลมี
10-15 µm ลักษณะเรียบเนียน ไมมี food
- chromatiod bar รูปรางคลายมวนบุหรี่ particle
ไมเห็นนิวเคลียส
Entamoeba coli
Trophozoite - Trophozoite รูปรางไมแนนอน - ลักษณะเชนเดียวกันกับ
- เคลื่อนที่ดวย pseudopodia หลาย E. histolytica
ทิศทาง ไมแนนอน
Cyst - Cyst รูปรางกลม ขนาด 16-20 µm - มีนิวเคลียส 1-8 ลักษณะภายในเซลล
- chromatoid bar รูปรางคลายเข็ม เห็น เหมือน E. histolytica
นิวเคลียสรางๆ
Endolimax nana
Trophozoite - Trophozoite รูปรางไมแนนอน - ลักษณะเชนเดียวกันกับ
- ขนาดเล็กกวา E. histolytica เคลื่อนที่ E. histolytica แตขนาดเล็กกวา
เหมือน amoeba
Cyst - Cyst รูปรางกลม หรือ รูปไข ขนาด 8-10 - ลักษณะเชนเดียวกันกับใน N.S.S
µm
- ภายในเซลลเรียบ ไมมีชองวางภายใน
เซลล ไมเห็นนิวเคลียส
Iodamoeba butchlii
Trophozoite - Trophozoite รูปรางไมแนนอน - ลักษณะเชนเดียวกันกับ
- ขนาดเทากันกับ E. nana E. histolytica แตขนาดเล็กกวา
Cyst - Cyst รูปรางกลม หรือ รูปไข ขนาด 8-10 - มี glycogen mass ยอมติดสีน้ําตาล
µm ออน มีขอบเขตชัดเจน
- มีชองวางขนาดใหญภายในเซลล มี
ขอบเขตชัดเจน อาจเห็นนิวเคลียส 1 อัน

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


34

Life cycle and morphology of Balantidium coli

วงจรชีวิตของ Balantidium coli

ระยะ cyst เปนระยะติดตอโดยการ


กินอาหารหรือดื่มน้ําที่ปนเปอน เมื่อ cyst - Trophozoite รูปรางกลมรี ขนาด
เขาสูรางกายจะเกิด excystation ที่ลําไส ใหญมาก 40-70 µm มีขนสั้นๆ
เล็กและได trophozoite ออกมาและไป รอบตัว เห็นนิวเคลียสขนาดใหญ
รวมกันอยูที่ลําไสใหญ และแบงตัวแบบ รูปรางคลายเม็ดถั่ว มี cytostome
binary fission และบางครั้งอาจเกิดการ
conjugate กันได trophozoite มีการ - ขนสั้นๆ อยูดานใน นิวเคลียส
encystations และไดผลผลิตเปน cyst
ออกมากับอุจาระ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


วงจรชีวิตของ Giardia intestinalis

ในอุจจาระพบไดทั้งระยะ trophozoite trophozoite ออกมา 2 ตัว และมีถิ่นอาศัย


และ cyst ระยะ cyst จะทนทานไดนาน อยูที่ลําไสเล็ก trophozoite จะแบงตัวแบบ
หลายเดือนในน้ําเย็น การติดตอก็โดยการ binary fission และมีการ encystations ได
กินอาหารหรือดื่มน้ําที่ปนเปอน cyst การ ระยะ cyst
excystation จะเกิดที่ลําไสเล็กและใหระยะ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


36

วงจรชีวิตของ D. fragillis
พยาธิตัวนี้มีเพียงระยะ trophozoite คาดวาจะติดตอโดยการติดไปกับพยาธิตัว
ยังไมพบระยะ cyst วงจรชีวิตของ อื่น เชน Ascaris, Enterobius spp.
D. fragillis ก็ยังเปนเพียงการตั้งสมมุตฐิ าน

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


37

ลักษณะของเชื้อโปรโตซัวกลุม flagellates ที่พบในอุจจาระโดยการใชกลองจุลทรรศน

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


38

ตารางที่ 4 แสดงลักษณะระยะ trophozoite และ cyst ของเชื้อกลุม Flagellates


ระยะ ใน N.S.S ใน 1% Iodine solution
Giardia intestinalis
Trophozoite - รูปรางคลายชอน มีหนวด 8 เสน และมี นิวเคลียส 2 อัน มี - ลักษณะเชนเดียวกันกับใน
แกนกลาง (axoneme) แบงครึ่งลําตัวตามยาว median N.S.S
body รูปโคงพาดขวาง
- ใช axoneme และ sucking disc สําหรับดูดเกาะที่ผนังลําไส
เคลื่อนที่โดยการพลิกตัวคลายใบไมรวง (falling leaf)
Cyst - รูปรางรี หรือ รูปไข ขนาด 8-10 µ มีนิวเคลียส 2-4 อัน มี - ลักษณะเชนเดียวกันกับใน
axoneme และ median body N.S.S
Dientamoeba fragillis
Trophozoite - Trophozoite รูปรางไมแนนอน - กลม มีลักษณะภายใน
- ลักษณะเชนเดียวกันกับ amoeba แยกไดดวยการยอมสีดู เหมือน amoeba
ลักษณะนิวเคลียส
Cyst - ไมมี cyst - ไมมี cyst
Chilomastix mesnili
Trophozoite - Trophozoite รูปรางเหมือนกรวย - ลักษณะเชนเดียวกันกับ ใน
- มีนิวเคลียส 1 อัน และมีหนวด 2-3 เสน ทางดานหัว มี N.S.S
ชองวางรูปรางคลายลูกโบลิ่ง (cytostome) อยูที่สวนหัว
เคลื่อนไหวดวยการหมุนรอบตัวเอง (spiral movement)
Cyst - Cyst รูปรางคลายผลสมจุก ขนาด 8-10 µm - ลักษณะเชนเดียวกันกับใน
- มี 1 นิวเคลียส และมี cytostome N.S.S
Trichomonas hominis
Trophozoite - รูปรางเหมือนลูกแพร - มีลักษณะกลม มีชองวาง
- มีหนวด 3-4 เสนอยูทางดานหัว มีนิวเคลียส 1 อัน มี ภายใน (food vacuole)
แกนกลาง (axostyle) แบงครึ่งตามยาวและโผลยื่นออกไป จํานวนมาก เห็นหนวด
ภายนอกทางสวนทาย บางสวน
- ดานขางมีแผนบางๆที่มีลักษณะคลายครีบปลาแผออกตลอด
ความยาวของลําตัวพริ้วไปมาขณะเคลื่อนไหว
- มีหนวดอีก 1 เสนทอดยาวไปตามขอบของแผนบางนีหนวด
เสนนี้จะยาวออกไปพนลําตัว คลายหางเรียก trailing
flagellum เคลื่อนไหวแบบกระตุก (Jerking movement)
Cyst - ไมมี cyst - ไมมี cyst

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


39

Life cycle and morphology of Blastocystis hominis

วงจรชีวิตของ Blastocystis hominis

วงจรชีวติ ของ B. hominis เปน จะพัฒนาเปน multi vacuolar และ


เพียงการตั้งสมมุติฐานเทานั้น โดยปกติจะ ameboid forms ตอจากนั้น multi
ตรวจพบระยะ cyst ในอุจจาระของคน และ vacuolar จะพัฒนาเปน thin-wall cyst และ
นาจะเปนสาเหตุ ของการติดตอไปยังผูอื่น ทําใหเกิด autoinfection สวน ameboid
โดยทางอาหารและน้ํา cysts จะแบงตัวแบบ form จะพัฒนาเปน thick-walled cyst และ
ไมมีเพศที่ผนังลําไสเล็ก Vacuolar forms ปนออกมากับอุจจาระ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


40

ลักษณะของเชื้อ B. hominis ที่พบในอุจจาระโดยการใชกลองจุลทรรศน

- Vacuolated form รูปรางกลม


ขนาดไมแนนอน ผนังมี 2 ชั้นและ มีนิวเคลียสอยูรอบๆ เซลล
จํานวนหลาย 5-7 อัน ไมเคลื่อนที่
- Granular form รูปรางกลม ผนังบาง ชั้นเดียว ขนาดไมแนนอน
ภายในเซลลมี granules ขนาดตางๆกันกระจายอยูทั่วไป

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


41

Intestinal Opportunistic Protozoa

เชื้อ Cryptosporidium parvum, กอโรคเหมือนกัน และมีลักษณะหลายอยาง


Cyclospora cayetanensis, Isospora belli, ที่คลายคลึงกัน (ตารางที่ 5) ดังนั้นบางครั้ง
เปนเชื้อพยาธิโปรโตซัวที่จัดอยูใน phylum จึงมีผูเรียก เชื้อพยาธิโปรโตซัวฉวยโอกาส
Apicomplexa สวนเชื้อกลุม Microsporidia กลุมนี้วา Spore-forming Protozoa ก็มี
จัดอยูใน phylum Microspora และมีเชื้อตัว อยางไรก็ตาม เชื้อแตละชนิดก็มีลักษณะ
ที่กอใหเกิดอาการอุจจาระรวง 2 ตัวคือ เฉพาะตัวและมีความแตกตางกันสามารถใช
Enterozytozoon และ Encephalitozoon เปนขอวินิจฉัยแยกชนิดกันไดดังแสดงไวใน
(รูปที่ 6) ถึงแมวาจะถูกจัดใหอยูคนละ ตารางที่ 6
phylum แตเชื้อทั้ง 2 กลุม ดังกลาวขางตน

ตารางที่ 5. แสดงลักษณะที่คลายคลึงกันของเชื้อฉวยโอกาสกลุม Intestinal spore-forming


protozo

1. เชื้อกลุมนี้จะติดเชื้อที่เซลลบุลําไสเล็ก และมักไมไชลึกลงไปมากกวาเซลลเยื่อบุ
2. เชือ้ เหลานี้เปนกลุมที่ตอ งอาศัยในเซลล (intracellular) และเจริญเติบโต แบงตัวจนครบ
วงจรที่เซลลเยื่อบุนั้น
3. ผลจากการแบงตัวจะได oocyst หรือ spore ซึ่งหลุดปนออกมากับอุจจาระ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


42

รูปที่ 6 แสดงการจําแนกชนิดของเชื้อใน Phylum Apicomplexa และ phylum Microspora

Subkingdom Protozoa

Phylum Apicomplexa Microspora

Class Sporozoea Microsporidea

Subclass Coccidia

Order Eucoccidiida Microsporidia

Suborder EimeriinaHaemosporina Apansporoblastina Pansporoblastina

Genus Cryptosporidium Plasmodium Enterocytozoon Pleistophora


Cyclospora Encephalitozoon Pleistophora
Isospora Nosema
Sarcocystis Trachipleistophora
Toxoplasma Vittaforma

ลักษณะของเชื้อโปรโตซัวกลุม coccidia ที่พบในอุจจาระโดยการใชกลองจุลทรรศน

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


43

ตารางที่ 6. แสดงลักษณะเฉพาะของเชื้อ Spore-forming Protozoa แตละชนิด

พยาธิโปรโตซัว รูปรางและขนาด ในอุจจาระสด เมื่อยอมสีพิเศษ


ของ oocyst
Cryptosporidium รูปกลม รูปรางกลม วาวๆ และมี - Oocyst ติดสีแดง กลม
ขนาด 4-6 µm dark granules 6 อัน ขณะที่พื้นลางติดสีเขียว
หรือ ฟา
- ภายในมี sporozoites 4
อัน(ไมมี sporocyst)
Cyclospora รูปกลม Unsporulated oocyst จะ - Oocyst ติดสีแดง กลม
ขนาด 8-10 µm มี morula ติดสีเขียวและ และเมื่อแก จะเห็นชอง
globules วาวๆ หาก แบง 2 ชอง (sporocysts)
oocyst แกจะเห็นแบงเปน ภายในมี sporozoites 2
ชอง 2 ชอง ตัว ในแตละ sporocyst
Isospora รูปรางรี อาจเห็น oocysts ที่แก - oocysts ที่แก จะมี
ขนาด 20-30 x และออนปนกัน หากแกจะ sporozoites 4 ตัว ในแต
12-30 µm เห็น sporocysts 2 อัน ละชองของ sporocyst
Microsporidia rod shape มองเห็นคลายแบคทีรีย - ติดสีชมพู มวง
ขนาด 1-2 µm cytoplasm ติดสีไม
สม่ําเสมอ มองเห็น polar
or central belt สีเขม

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


44

Life cycle and morphology of Cryptosporidium

คนไดรับเชื้อ C. parvum โดยการกิน เมื่อเจริญเติบโตแบบ schizogony ไป


อาหารหรือดื่มน้ําที่ปนเปอนดวย oocyst ซึ่ง สัก 2-3 รอบ merozoites บางตัวจะเจริญ
พรอมจะติดตอไดทันที ที่ปนออกมากับ เปน microgametocyte และ
อุจจาระ หรือในชายรักรวมเพศจะไดรับเชื้อ macrogametocyte และจะเจริญเติบโตแบบ
จาก oral-anal sex practice oocyst จะถูก มีเพศ เกิดเปน zygote และพัฒนาเปน
ยอยที่ลําไสเล็ก เชื้อ sporozoites จะออกมา oocyst ตอไป ประมาณรอยละ 80 ของ
แลวเขาไปเจริญเติบโตใน microvilli ของ zygote จะสรางผนังหุมเซลลแลวเจริญเปน
เซลลบุลําไสเล็ก จะมีการแบงตัวเพิ่มจํานวน oocyst ผนังหนา (thick-wall oocyst) อีก
แบบไมอาศัยเพศ (schizogony) ไดเปน รอยละ 20 จะถูกพัฒนาเปน thin-wall
merozoites 8 ตัว merozoites จะแตกออก oocyst
และเขาไปในเซลลบุลําไสเซลลอื่นๆ อีก สําหรับ oocyst ของเชื้อ
เปนการขยายการติดเชื้อไปเรื่อยๆ Cryptosporidium จะมีกระบวนการสราง

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


45

sporozoites ที่เสร็จสมบูรณตั้งแตอยูใน หนา ภายในประกอบดวย sporozoites 4


เซลลบุผนังลําไสเลย ดังนั้น thin-wall ตัว (ไมมี sporocyst) ซึ่งมีรูปรางโคงเรียว
oocyst ก็สาสมารถเกิดการติดเชื้อไดตอไป คลายพระจันทรเสี้ยว มีนิวเคลียส 1 อัน
เลย (auto infection) เพิ่มจํานวนเชื้อตอไป หากตรวจอุจจาระดวยวิธี simple
อีก สวน thick-wall oocyst จะหลุดปน smear พบวาภายใน oocyst จะมึ granule
ออกมากับอุจจาระ และสามารถติดตอได วาวๆ จํานวน 1-6 อัน ซึ่งใหการวินิจฉัย
ในทันที คอนขางยาก ตองใชวิธียอมพิเศษเขาชวย
ในผูปวยภูมิคุมกันบกพรอง พบวา วิธีที่นิยมใชคือ modified acid fast stain
จะมี thin-wall oocyst จํานวนมาก ทําใหมี เชน Rapid DMSO Modified Acid-Fast
จํานวนเชื้อมากจึงเปนเหตุใหผูปวยมีอาการ stain พบวา oocyst จะติดสีแดง บนพื้นสี
หนัก อุจจาระรวงรุนแรงและเรื้อรัง สวนใน เขียวหรือน้ําเงิน oocyst บางตัวอาจจะพบ
คนปกติ อาการมักไมรุนแรงและหายเองได sporozoites เรียงตัวที่ขอบ จึงมีลักษณะ
เนื่องจากเชื้อเจริญและแบงตัว ในเซลลบุ การติดสีเหมือนเม็ดเลือดแดง โดยบริเวณ
ลําไสไปสักระยะ merozoites จะกลายเปน ขอบจะติดสีเขม และตรงกลางจะติดสีจาง
microgamete และ macrogamete และ แต sporozoites อาจหลุดออกจาก oocyst
zygote ก็จะสราง thick-wall oocyst ดังนั้นเวลายอมสีจะพบวามีเพียงชองวาง
ทั้งหมด จึงถูกขับออกมากับอุจจาระจนหมด กลมๆ เทานั้น และมักจะพบลักษณะตางๆ
โดยไมมีการ auto infection ตอไปอีก กันหลายๆ แบบในสไลดแผนเดียวกัน
oocyst ที่ตรวจพบในอุจจาระจะมี
รูปรางกลม ขนาด 4-6 ไมโครเมตร ผนัง

Cryptosporidium parvum

Cryptosporidium เปนเชือ้ โปรโต โรค cryptosporidiosis เปนโรคที่


ซัวจําพวก Apicomplexa ซึ่งถือเปน ติดตอจากสัตวสูคน โดยมีสัตวหลายชนิด
intracellular protozoa ที่อาศัยในลําไสของ เปนแหลงเพาะโรค (reservoir host) ไดแก
สัตวเลี้ยงลูกดวยนม สัตวปก วัว หมู แมว หนู แพะ ไก เปนตน โดย
สัตวเลื้อยคลาน และ ปลา เชื้อที่กอโรคใน พบวาการระบาดของโรคนี้ในพื้นที่ชนบทที่
คนมีเพียง คือ C. parvum และ C. hominis คนอยูไมมาก มักจะเกิดจากเชื้อชนิดที่มา
โดยมีรายงานการกอโรคในคนครั้งแรกเมื่อ จากสัตว ซึ่งติดตอปนเปอนมาทางน้ําดื่ม
ป ค.ศ. 1976 ปจจุบันพบวาเชื้อ C. parvum แตหากระบาดในที่ที่อยูกันแออัด เชน ใน
และ C. hominis เปนสาเหตุสําคัญอยาง เมืองมักจะเกิดจากเชื้อชนิดที่มาจากคน
หนึ่งของอาการอุจจาระรวงเรื้อรัง ในผูปว ย นอกจากนี้ พบวามีการติดตอ
ภูมิคุมกันบกพรอง/เอดส ระหวางคนถึงคนได เชน ในกลุมคนรักรวม

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


46

เพศและในเด็กที่อยูกันแออัด เชน ในสถาน นานหลายเดือน ที่อุณหภูมิสูงกวา 60° ซ.


เลี้ยงเด็กกําพรา เปนตน ความชุกของการ หรือต่ํากวา -20° ซ. oocyst จะตายภายใน
เกิดโรคนี้ ในประชากรทั่วไปเปนรอยละ 1- 30 นาที
10 แตความชุกของโรคในผูปวยเอดสสูงถึง ในสัตวเลี้ยงที่อายุนอย เชน ลูก
รอยละ 20-50 ในประเทศไทยพบความชุก สุนัข และลูกแมวพบวาเปนแหลงเพาะโรค
ในผูปวยเอดสรอยละ 20-25 (ดูรายละเอียด มากกวาสัตวที่แกกวา เชนเดียวกัน วาเด็ก
บทแรก) วัยกําลังหัดคลาน จะพบเชื้อไดมากกวา
เชื้อ Cryptosporidium เปนเชื้อที่ ผูใหญ ดังนั้น หากจะแนะนําใหผปู วย
ทนทานตอสารเคมีที่ใชเปน antiseptic ภูมิคุมกันบกพรอง หลีกเลี่ยงการติดเชื้อนี้ก็
หลายตัว เชนคลอรีน ดังนั้น มักพบการ ตองแนะนําใหดื่มน้ําตมเสมอ ลางผักผลไม
ระบาดบอยครั้ง เกิดเนื่องจากการปนเปอน ใหสะอาด ไมควรคลุกคลีกบั เด็กที่อาจมีเชื้อ
ในน้ําดื่มสมอ นอกจากนี้บางครั้งในสระวาย หากจะเลี้ยงสัตวควรเลี้ยงสัตวที่โตแลว ไม
น้ําที่มีคนใชมากๆ เชน ในฤดูรอน ก็พบเปน ควรเลี้ยงลูกสัตว หากจะไปวายน้ําหรือเลน
แหลงระบาดของเชื้อนี้เหมือนกัน ในสภาพ กีฬาทางน้ําตองหลีกเลี่ยงที่ที่มีคนหนาแนน
แวดลอมที่เย็นและชื้น oocysts จะมีชีวิตได

Cyclospora cayetanensis

Cyclospora cayetanensis เปน เชื้อราจึงถูกเรียกวา Blue-green algae or


เชื้อที่กอใหเกิดอาการอุจจาระรวงในคนทีม่ ี cyanobacterial like bodies ตอมา
ภูมิคุมกันปกติแตมักไมมีอาการรุนแรง สวน เนื่องจากลักษณะหลายอยางเขาไดกับกลุม
ในผูปวยภูมิคุมกันบกพรอง จะมีอาการ พยาธิโปรโตซัว จึงถูกจัดไวใน phylum
รุนแรงกวา เชื้อนี้มีระยะ oocyst ที่มี Apicomplexa ในป ค.ศ. 1994 Ortego
รูปรางและลักษณะการติดสีคลายคลึง กับ และคณะไดตงั้ ชื่อเชื้อนี้วา Cyclospora
oocyst ของ C. parvum แตมีลักษณะ cayetanensis โดยอิงตามชื่อของ
เฉพาะที่แตกตางกันดังที่แสดงไวตารางที่ 6 มหาวิทยาลัย Cayetino University ซึ่งเปน
ซึ่งจะชวยในการชวยวินิจฉัยแยกสาเหตุของ ที่ที่รายงานเชื้อตัวนั้เปนครั้งแรก
โรคได เพราะการรักษาการติดเชื้อ 2 ชนิดนี้ ในประเทศไทย มีรายงานผูปวยติด
แตกตางกัน โดยเชื้อ C.parvum ยังไมมียา เชื้อนี้ครั้งแรกเมื่อ ป พ.ศ. 2538 อัตราการ
รักษาที่ไดผลในขณะที่การติดเชื้อ ติดเชื้อนี้ในกลุมผูปวยอาการอุจจาระรวงพบ
Cyclospora มียารักษาที่ไดผลดี ไดรอยละ 2.5-7 ในกลุมผูปวยเด็กพบได
เชื้อ Cyclospora ในระยะแรกที่พบ รอยละ 6-18 ในผูปว ยเอดสที่มีอาการ
ในป ค.ศ. 1979 นักวิทยาศาสตรคิดวาเปน อุจจาระรวงเรื้อรังเกิดจากเชื้อนี้รอยละ 1-2

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


Life cycle and morphology of Cyclospora

วงจรชีวติ ของ C. cayetanensis ยัง เมื่อนําไปตรวจดวย กลองอัลตราไวโอเล็ต


ไมรูแนชัด แตคดิ วานาจะคลายคลึงกับของ จะเห็นผนังของ oocyst เรืองแสงเปนวงสี
C. parvum แตมีบางจุดที่แตกตางกัน คือ ฟา (neon-blue autofluorescence) จาก
C. cayetanensis ไมมีการ auto infection การยอมสีพิเศษ modified acid fast stain
และ oocyst ที่ปนออกมากับอุจจาระของ C. จะเห็น oocyst ติดสีแดงบนพื้นสีน้ําเงิน
cayetanensis ยังเปน unsporulated ภายใน oocyst อาจมีจุดแดงเขมหลายจุด
oocyst ดังนั้นยังไมสามารถติดตอไดทันที (mottled appearance) บาง oocyst อาจติด
ตองใชเวลาในการเจริญเติบโต ในสิ่งแวด สีชมพู หรือ ลักษณะคลายฟองอากาศ
ลอมอีก 15 วัน จึงจะเปน Sporulated (bubbled appearance) หรือเปนวงใสๆ ไม
oocyst และสามารถติดตอได ติดสี
Unsporulated oocyst ที่ออกมากับ Sporulated oocyst ภายในจะมี
อุจจาระมีรูปรางกลม ขนาด 6-8 sporocysts 2 อัน รูปรางเปนวงรี แตละ
ไมโครเมตร มีผนัง 2 ชั้น ภายใน oocyst มี sporocyst จะมี sporozoites 2 ตัว ซึง่ มี
granule กลมๆ เล็กๆ สีเขียวออนวาวๆ รูปรางเรียวคลายพระจันทรเสี้ยว
จํานวน หลายอัน
Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips
Isospora belli

Isospora belli เปนเชื้อพยาธิโปรโต ผนังหุมเซลล oocyst ของ I.belli


ซัวที่กอโรคทั้งในคนปกติ และในผูปวย ประกอบดวยโปรตีนและไคติน ดังนั้น
ภูมิคุมกันบกพรอง โดยกอใหเกิดอาการ oocyst คอนขางทนทานตอสภาพแวดลอม
อุจจาระรวงเรื้อรัง ความชุกของการติดเชื้อ นอกโฮสตและมีชีวติ อยูไดนาน ที่อุณหภูมิ
นี้ในผูปวยเอดสพบรอยละ 0.2-2 ใน 4° ซ. อาจอยูไดนานถึง 2 เดือน พยาธิตัวนี้
ประเทศไทยพบรอยละ 8 ก็ติดตอไดทาง fecal-oral route

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


49

วงจรชีวิตของ Isospora belli


Oocyst ของเชื้อ I.belli ที่ปน sporocysts แตละ sporocysts จะมี
ออกมากับอุจจาระจะเปน unsporulated sporozoites 4 ตัว ซึ่งเปนระยะติดตอ
oocyst ดังนัน้ จะยังไมติดตอ ตองการเวลา Oocyst ของ I.belli ที่ตรวจพบใน
ในการเจริญเปน sporulated oocyst ใน อุจจาระจะมีรูปรางเปนวงรี ขนาด 20-30 x
สิ่งแวดลอมอีก 5-6 วัน เมื่อติดเขาไป 10-20 ไมโครเมตร ผนัง 2 ชั้น เรียบบางใส
sporocysts จะออกมาในลําไสเล็กและเจริญ และไมมีสี ภายในจะมี sporoblast 1-2 ตัว
ใน cytoplasm ของเซลลเยื่อบุลําไส เขื้อจะ รูปรางกลม เมือ่ เวลาผานไปจะพบ
แบงตัวเพิ่มจํานวน โดยไมอาศัยเพศ sporocyst ซึ่งมีขนาด 12-14 x 7-9
(schizogony) ได merozoites หลายตัว ไมโครเมตร แตละ sporocyst บรรจุ
merozoites จะติดเขาไปในเซลลบุลําไสตัว sporozoites จํานวน 4 ตัว รูปรางเรียว
อื่นๆ เปนการขยายขอบเขตของการติดเชื้อ คลายพระจันทรเสี้ยวและมี 1 นิวเคลียส
ออกไปใหกวางขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 1 การตรวจอุจจาระดวยวิธี simple
สัปดาห merozoites จะเจริญเปน smear ตองปรับแสงของกลองใหมีความ
microgamete และ macrogamete เพื่อสืบ เขมนอย เนื่องจากผนังหุม oocyst บางและ
พันธแบบใชเพศ (sexual reproductive) ได ใส หากความเขมของแสงมากไปอาจจะทํา
ผลผลิตเปน zygote ซึ่งจะเจริญตอเปน ใหเห็นแต sporocyst ไมเห็นผนังoocyst
oocyst แตจะเปน unsporulated oocyst ถนัด จะทําใหวินิจฉัยผิดไปได
และมีเพียง sporoblast อยูภายในเทานั้น การยอมดวย Iodine solution จะ
และ หลุดปนออกมากับอุจจาระแลวเจริญ ทําใหเห็น oocyst ชัดขึ้น สวนการยอมสี
ตอไปในสิ่งแวดลอมจนกลายเปน พิเศษอื่นๆ นั้นไมจําเปนสําหรับเชื้อนี้ แต
sporulated oocyst หากวายอมสี modified acid fast stain จะ
ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม oocyst เห็น sporoblast ติดสีแดงเขม ผนังหุม
ที่มี sporoblast 1 ตัว ก็จะแบงตัวเปน oocyst ไมติดสี แตจะเห็นขอบเขตไดจาก
sporoblast 2 อัน และมีผนังหุมกลายเปน ตะกอนสีหรือเศษอุจจาระติดสีอยูรอบๆ

Microsporidia

เชื้อกลุม Microsporidia ที่เปน ในประเทศไทยมีรายงานพบเชื้อนี้ใน


สาเหตุของอาการอุจาระรวงเรื้องรังในผูปวย ผูปวยครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2538 ปจจุบัน
เอดส คือ Enterocytozoon bieneusi และ ความชุกของการติดเชื้อนี้ในผูปวยเอดสที่มี
Encephalitozoon intestinalis เชื้อนี้มี อาการอุจจาระรวงในประเทศไทย พบได
ผูรายงานในผูปวยครั้งแรกเมื่อป ค.ศ. 1985 รอยละ 7-50

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


50

ผูปวยเอดส รอยละ 29 - 33 มีอัตรา ตามรูปที่ 7 ซึ่งเปนไดอะแกรม ของเชื้อเมื่อ


การเปนโรค intestinal microsporidiosis ดูดวยกลองจุลทรรศนอิเลคตรอน พบวา
จากเชื้อ Enterocytozoon bieneusi ภายใน spore ประกอบดวย attachment
ระยะ spore (oocyst) ของเชื้อกลุม disc ที่ยึดติดกับขั้วของ spore ทาง
Microsporidia มีขนาดเล็กมาก ประมาณ ดานหนาและตอกับ polar filament ซึ่งเปน
1.5 x 0.8 ถึง 2.0 x 1.2 ไมโครเมตร มีผนัง ทอนยาวบิดเปนเกลียว สําหรับเชื้อ E.
หนา 2 ชั้น ดังนั้น spore จะไมถูก bieneusi, polar filament จะมีจํานวน 4-8
ทําลายโดยกระบวนการทําใหแข็งดวยความ เกลียวและเรียงกันเปนสองแถว ปลายอีก
เย็นแลวทําใหละลาย (freezing and ขางหนึ่งจะตอกับ sporoplasm จะมี
thawing) หรือที่อุณหภูมิ 56°C ใน นิวเคลีสอยู 2 อัน สวนเชื้อ E.
เวลา 1 ชั่วโมง แตตองใชเวลานานถึง 2 intestinalis จะมี polar filament ขดเปน
ชั่วโมงและโดยการ autoclave ที่อุณหภูมิ เกลียวเรียงเปนแถวเดียว และมีนิวเคลียส
120°C นาน 10 นาที เพียง 1 อันใน sporoplasm
เนื่องจาก spore ของ Microsporidia
มีขนาดเล็กมากตองใชกลอง electron
microscope จึงจะสามารถแยก speciesได

Attachment disc
Polar filament

Sporoplasm

Cell wall

รูปที่ 7 แสดงไดอะแกรมของเชื้อกลุม Microsporidia เมื่อดูดวยกลองจุลทรรศน

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


51

Life Cycle of Microsporidia

วงจรชีวิต
คนติดเชื้อ Microsporidia โดยกิน เซลลของโฮสตเลย ขญะที E. intestinalis
อาหารหรือดื่มน้ําที่มี spore ของเชื้อ จะเจริญใน parasitophorus vacuole เมื่อ
ปนเปอนอยู spore จะแตกออกแลวดีด เซลลของโฮสตแตก oocysts จะปนออกมา
polar filament ออกมาเพื่อปลอย กับอุจจาระและติดตอไดแบบ fecal-oral
sporoplasm เขาไปใน cytoplasm ของ route
เซลลบุลําไส จากนั้นเชือ้ จะแบงตัวแบบไม จากการตรวจอุจจาระ โดยวิธี
อาศัยเพศ และตอมาก็เกิดการเจริญแบบ simple smear จะไมสามารถวินิจฉัยเชือ้ นี้
sporogony จนได mature spore โดยปกติ ไดเลย ตองอาศัยการยอมพิเศษเทานั้น เชน
เชื้อ E. bieneusi จะเจริญแบบไมมทีเพศใน ใช Gram-Chromotope stain จะพบ spore

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 52 -

ติดสีแดงปนมวงบนพื้นสีฟา มีรูรางรี และมี มีแถบใสบริเวณขั้วใดขั้วหนึง่ ของ spore


ลักษณะเฉพาะคือ บริเวณกลาง spore จะมี (polar clearing zone) หรือมีแถบพาดเฉียง
แถบสีแดงพาดขวาง (central belt, belt-like (diagonal band, oblique band)
strip, central band, horizontal band) หรือ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


53

Intestinal Helminth
Ascaris lumbricoiddes

วงจรชีวิต

พยาธิตัวเต็ม ① วัยอาศัยใน ไชผาน alveolar ของปอดลงมาที่หลอดลม


ลําไสเล็ก พยาธิตัวเมีย 1 ตัวผลิตไข ลวถูกกลืนลงปในทางเดินอาหารอีกครั้ง⑦
ประมาณ 200,000 ฟองตอวันปะปนออกมา ครั้ ง นี้ พ ยาธิ จ ะกลายเป น ตั ว เต็ ม วั ย ทั้ ง นี้
กั บ อุ จ จาระ ② ระยะนี้ เ รี ย ก unfertilized ระยะเวลาตั้ ง แต ไ ข ที่ ถู ก กลื น เข า ไปแล ว
egg จะไมติดตอ สวน fertilized egg ใช พั ฒ นาเป น ตั ง เต็ ม วั ย และวางไข ใช เ วลา
เวลาประมาณ 18 วัน ถึงหลายอาทิตยกวา ทั้งสิ้น 2-3 เดือน และพยาธินี้มีอายุยืนยาว
จะติดตอ โดยจะเริ่มมีตัวออนอยูภายใน③ ถึง 1-2 ป
เมื่ อ ระยะนี้ ถู ก กลื น เข า ไปในโฮสต ④ ตั ว
ออนจะฟกออกมา⑤ และไชเขาไปในผนัง ผู ที่ ติ ด พยาธิ นี้ อ าจไม มี อ าการ
ลํ า ไ ส เ ล็ ก จ า ก นั้ น โ ด ย อ า ศั ย portal อะไร หรือขณะเกิดการเคลื่อนที่ของตัวออน
circulation และระบบ lymphatic พยาธิจะ (larva migrant) จะทําใหเกิดเยื่อบุชองทอง
ไปที่ปอด⑥ อยูที่ในปอด 10-14 วัน แลวก็ อักเสบ หรือเกิดปฏิกริยาภูมิแพ อาจพบตับ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


54

โต สวนในรายที่ติดพยาธิจํานวนมากจะทํา ไข A. lumbricoides ที่ปนออกมา


ใหขาดอาหาร ลําไสอุดตัน มีรายงานวา ใน กับอุจจาระจะมีทั้งที่เปน Fertilized และ
การผาพิสูจนศพเด็กหญิงชาวอัฟริกัน อายุ unfertilized edd ขนาดของ Fertilized egg
2 ขวบ พบพยาธิ Ascaris ถึง 796 ตัวรวม ประมาณ 45-75 µm รูปรางจะกลมและมี
น้ําหนักถึง 550 กรัม ในลําไสเล็กของเธอ เปลือกหนาเนื่องจาก mammmilated layer
ซึ่งทําใหลําไสบิดและขาดเลือด จนกระทั่ง สวน unfertilized egg จะยาวกวา มีขนาด
เปนสาเหตุการตายของเด็กคนดังกลาว ประมาณ 90 µm ไขบางอันจะไมเห็นขั้น
นอก เรียกวา decorticaticated egg

ไขปรสิตหนอนพยาธิที่ตรวจไดดวยกลองจุลทรรศน

A. lumbricoides unfertilized, corticated egg

ขยาย 200 เทา


A. lumbricoides fertilized, corticated egg

ขยาย 200 เทา


A. lumbricoides fertilized, decorticated egg

ขยาย 200 เทา

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


55

Hookworm (Necator americana, Ancylostoma duodenale)

Hookworm ในคนมี 2 ชนิด คือ เจริญเติมโตจนเต็มวัย และมักทําใหเกิด


Necator Americana และ Ancylostoma Laeva migrant ตามผิวหนัง บางครั้ง A.
duodenale ซึง่ มี 2 เพศ ตัวเมียขนาด 10 - caninum ซึ่งเปนพยาธิปากขอในสุนัข เมื่อ
13 mm (A. duodenale) และ 9 to 11 mm ติดตอมายังคน อาจทําใหเกิดอาการ แพ
(N. americanus) ตัวผูขนาด 8 to 11 mm eosiniphilic enteritis ไดแตมักเกิดจากการ
(A. duodenale), 7 to 9 mm (N. กินไขพยาธินี้เขาไปแทนที่จะเกิดจาการไช
americanus) สวน Hookworm ในสัตว เขาทางผิวหนัง
บางอยางอาจติดตอมายังคนได แตมกั ไม

วงจรชีวิต

ไขปนออกมากับอุจาระ① หาก เปน filariform (3rd stage) larva ซึ่งเปน


สิ่งแวดลอมเหมาะสม คือชื้นๆ เปยกๆ และ ระยะติดตอ③ พยาธิตัวออนระยะติดตอนี้จะ
รม ตัวออนจะไชออกมาใน 1-2 วัน ตัวออน อยูได 3-4 อาทิตยหากสิ่งแวดลอมเหมาะสม
ระยะ Rhabdiform larva เติบโตไดใน และสามารถไชเขาทางผิวหนังคนได④ และ
อุจจาระ/ดิน② ตอจากนั้น 5-10 วันจะกลสย ไปที่หั วใจและปอด จากนั้ นจะไชขึ้นไปยั ง

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


56

หลอดลมแลวถูกโฮสตกลืนลงไปในทางเดิน ชัด ปกติมักไมพบ Rhabditiform larvae ใน


อาหาร พยาธิ ตั ว อ อ นจะไปอยู ที่ ลํ า ไส เ ล็ ก อุจจาระ แตหากทิ้งอุจจาระไวนานกอนจะ
และเติบโตที่นั่น⑤ โดยปกติพยาธิเต็มวัยจะ ตรวจก็อาจพบได ซึ่งตองพยายามแยกจาก
ถูกขับออกมาจากรางกายโฮสต 1-2 ป แต L1 larvae ของ Stronyloides stercoralis
อาจอยูไดหลายป Filariform larvae หรือ third-stage
ไขของ Ancylostoma และ Necator ไม (L3) เปนระยะติดตอ รูปรางยาวประมาณ
สามารถแยกกันไดดวยกลองจุลทรรศน 500-600 µm มีหางยาวแหลมและพบ
ลักษณะกลมรี เปลือกบาง ขนาดของไข striated sheath.
ประมาณ 60-75 µm x 35-40 µm พยาธิปากขอโตเต็มวัยตัวผูย าว
Rhabditiform (L1) larvae ยาว ประมาณ 8-12 mm long สวนปลายจะมี
250-300 µm กวาง 15-20 µm มี buccal spicules 2 อัน ตัวเมียยาว 10-15 mm ทั้ง
canal ยาว และมี genital primordium ที่ไม สองเพศจะมี buccal capsule ที่มีฟนแหลม

การวินิจฉัยดวยกลองจุลทรรศน
Hookworm egg (ขยาย 400 เทา)

Rhabditiform (L1) larvae

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


57

Filariform (L3) larvae

Adult hookworm

Ancylostoma duodenale Necator americanus Posterior end of Ancylostoma

รูปแสดงอาการตางๆ ที่เกิดจากการไชของพยาธิปากขอ ในระยะตัวออน ทําใหเกิดอาการแพ


ตามผิวหนัง หรือเกิดรอยจากการเคลื่อนที่ของพยาธิ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


58

Strongyloides stercoralis

วงจรชีวิต
พยาธิ Strongyloides stercoralis larvae⑤ จะฟกออกมา และอาจเจริญเปน
มีวงจรชีวิตซับซอนกวาพยาธิตัวกลมอื่นๆ พยาธิตัวโตเต็มวัย free living② รุนไหม
เพราะมีทั่งวงจร free living และวงจรที่ตอง หรื อ เจริ ญ เป น infective filariform
อาศัยโฮสต (parasitic cycle) และยัง larvae⑥ ซึ่งระยะ filariform larvae นี้
สามารถเกิด auto infection ไดดวย สามารถไชเขาสูรางกายคนไดทางผิวหนัง
วงจร Free-living cycle: ระยะ วงจร Parasitic cycle: ตัวออน
rhabditiform larvae ปนออกมากับอุจจาระ ระยะ filariform larvae⑥ที่อยูในดินไชเขา
① จะลอกคราบ 2ครั้ ง แล ว กลายเป น ผิ ว หนั ง คน จะไปที่ ป อดและไชไปทั่ ว เนื้ อ
infective filariform larvae⑥โดยตรง หรือ ปอด แลวไปยังหลอดลม คอหอย แลวถูก
ลอกคราบเพิ่มอีก 4 ครั้งจนกลายเปนพยาธิ กลืนลงทางเดินอาหาร⑦ ที่ลําไสเล็กพยาธิ
เต็มวัย free living ตัวผูและตัวเมีย② ซึ่งจะ จะลอกคราบ 2 ครั้งกลายเปนตังเต็มวัยเพศ
ผสมพั นธ และวางไข③ จากembryonated เมีย⑧ พยาธิตัวเมียอยูในลําไสเล็กและสืบ
egg④ ตั ว อ อ น ร ะ ย ะ rhabditiform พั นธ โดยไมอ าศั ยเพศ (parthenogenesis)

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


59

ผ ลิ ต ไ ข ⑨ซึ่ ง จ ะ ไ ด ตั ว อ อ น ร ะ ย ะ autoinfection ก็ได จากนั้นพยาธิตัวออนก็


rhabditiform larvae ซึ่งจะออกมากับ ไชไปตามอวั ย วะต า งๆ ตามที่ ก ล า วถึ ง
อุจจาระ① หรือทําใหเกิด autoinfection⑩ ขางตนกอนไปยังลําไสเล็ก หรืออาจไชไป
โดยกลายเปน filariform larvae ซึ่งอาจไช ทั่วตามรางกายก็ได
เยื่อบุลําไสเกิด internal autoinfection หรือ
ไชบริเวณ perianal area เกิด external

Enterobius vermicularis

วงจรชิวิต
ไขที่อยูบริเวณรอบๆ ทวารหนัก เข า สู ป าก ② และยั ง ติ ด ต อ จากคนหนึ่ ง สู
perianal① ทําใหคันจึงตองเกา เกิดการติด ผู อื่ น ได จ ากการที่ ไ ข ติ ด อยู ที่ ผ า ปู ที่ น อน
เชื้อเขาไปใหมไดงายเพราะติดตามนิ้วมือ เสื้อผา เมื่อติดเขาไปตัวออนจะฟกออกมาที่

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


60

ลําไสเล็ก③ พยาธิเต็มวัยจะอยูที่ลําไสใหญ ไข Enterobius vermicularis


สวนปลาย (caecum)④ ระยะเวลตั้งแตติด ขนาด50-60 µm x 20-30 µm ดานหนึ่งจะ
เชื้อจนกระทั่งวางไขประมาณ 1 เดือน ตัว แ บ น มั น มั ก จ ะ เ ป น ร ะ ย ะ partially
เต็มวัยมีอายุไขประมาณ 2 เดือน ตัวเมียที่มี embryonate เมื่อออกมา การตรวจจะทําได
ไขจะไตออกมาวางไขตอนกลางคืนบริเวณ งายตอนเชาดวย scote tape technique
รอบๆทวารหนั ก⑤ ตั วอ อนในไข จ ะเจริ ญ ตัวผูเ ต็มวัยของ E. vermicularis
จนเป น ระยะติ ด เชื้ อ ในเวลาประมาณ 4-6 ขนาดยาว x กวาง = 2.5 x 0.1-0.2 mm ตัว
ชั่ ว โมง ① อาจเกิ ด การไต ก ลั บ เข า ไปใน เมียขนาด 8-13 x 0.3-0.5 mm สวนปลาย
ทวารหนักเปนการติดเชื้อไดอีก ของตัวผูจะไมแหลมและ spicule อัเดียว ตัว
เมียมีหางยาว

การวินิจฉัยดวยกลองจุลทรรศน
Enterobius vermicularis egg

Adult

พยาธิเพศผู สวนหัวและสวนปลาย
เพศผู เพศเมีย

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


61

Trichuris trichiura

มีการประมาณการวาประชากร ตามลําดับ กินเวลาประมาณ 15-30 วัน เมื่อ


โลก 800 ลานคน ติดเชื้อพยาธิ Trichuris ไขพยาธิปนเปอนไปกับอาหารถูกโฮสตกิน
trichiura หรือพยาธิแสมา ซึ่งตัวโตเต็มวัย เขาไปจะฟกเปนตัวออนที่ลําไสเล็ก⑤ แต
ตัวเมียขนาด 35-50 มม. ตัวผูขนาด 30-45 ตัวเต็มวัยจะอยูอาศัยที่ลําไสใหญ⑥สวน
มม. ไขพยาธิระยะ umebryonated จะ ปลาย พยาธิตวั เมียจะออกไขหลังจากติด
ปะปนออกมากับอุจจาระ① เมื่ออยูในดินไข เชื้อประมาณ 60-70 วัน จํานวน 3,000-
จะแบงตัวออกเปนระยะ 2-cell② และระยะ 20,000 ฟองตอวัน พยาธิตัวนี้มีชว งอายุไข
advance cleavage③ และระยะ ประมาณ 1 ป
embryonate④ ซึ่งเปนระยะติดตอ

ลักษณะไขทตี่ รวจพบในอุจจาระ
ไข Trichuris trichiura eggs มี ไขออกมากับอุจจาระเปน unembryonated
ขนาด 50-55 x 20-25 µm รูปรางคลายถัง ขนาดตัวผูเ ต็มวัยของ Trichuris trichiura
เบียร เปลือกหนาและมีจุกอยู 2 ปลาย เมื่อ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


62

ยาว 30-45 มม. สวนทายแหลม ตัวเมีย ขนาดยาว 35-50 มม. แตสว นทายจะแหลม

การวินิจฉัยดวยกลองจุลทรรศน
Trichuris trichiura egg (ขยาย 400 เทา)

เปรียบเทียบกับ E. coli cyst


Adult Trichuris trichiura

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


63

Fasciolopsis buski

วงจรชีวิต
Immature eggs ปนออกมากับ mm) ภายใน 3 เดือน ตัวเต็มวัยจะอยูที่
อุจจาระ① และไขเริ่มกลายเปน ลําไสคนหรือหมู⑧และมีอายุขัยประมาณ
embryonated egg เมื่ออยูในน้ํา② และ 1 ป
ปลอย miracidia③ซึ่งจะไชเขา snail ไข Fasciolopsis buski อยูใน
intermediate host④ ในหอยพยาธิจะเจริญ ระยะ unembryonated รูปรางกวางและรี มี
หลายระยะ (sporocysts, rediae and ฝา (operculum) ขนาด 130-150 µm x 60-
cercariae 4a, 4b, 4c) cercariae จะถูก 90 µm ไข F. buski แยกจาก Fasciola
ปลอยออกมาจากหอย⑤ และ encyst บน hepatica ยาก อาจใชลักษณะ operculum
พืชน้ํากลายเปน metacercariae⑥ โฮสต ของตัวหลังที่หยาบ ขรุขระ สําหรับการแยก
เลี้ยงลูกดวยนมจะติดโดยการกิน พยาธิเต็มวัย F. buski ยาว 20-
metacercariae ที่อยูบนพืชน้ําเขาไปและไป 75 mm สวนปากและ ventral sucker
พัฒนาไมมาก
excyst ที่ลําไสเล็ก⑦ และติดอยูที่ผนังลําไส
เติบโตเต็มวัย (20 to 75 mm x 8 to 20

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


การวินิจฉัยดวยกลองจุลทรรศน
Fasciolopsis buski egg (ขยาย 200 เทา)

Adult Fasciolopsis buski

Intermediate host

Snail in the genus Hippeutis Snail in the genus Segmentina

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


65

Echinostoma spp

วงจรชีวิต

สัตวหลายชนิดเปน definitive host ของพยาธิ สวน definitive host becomes


แกพยาธิ echinostome species รวมทั้งนก ติดพยาธิดวยการกิน 2nd intermediate
น้ํา สัตวกินเนื้อ สัตวแทะและคน ไขระยะ host⑥ Metacercariae จะ excyst ในลําไส
Unembryonated eggs ปนมากับอุจจาระ เล็กสวนตน (duodenum)⑦ ตัวเต็มวัยอยูที่
① และเติบโตในน้ํา② miracidium ในไขใช ลําไสเล็ก⑧
เวลาประมาณ 10 วันจึงฟกออกมา③ และ ไข Echinostoma spp. ขนาด
ไชเขาหอยที่เปน 1st intermediate host④ แตกตางกันแลวแตชนิดของพยาธิ ประมาณ
ในหอยมีการเปลียนแปลงหลายระยะ คือ 80-135 µm x 55-80 µm มี operculum ที่
sporocyst, 1-2 generations of rediae ไมเดนชัดและสวนปลายจะหนา ตัวเต็มวัย
และ cercariae (4a, 4b และ 4c) cercaria Echinostoma spp. ขนาด 2-10 mm x 1-2
อาจencyst เปน metacercariae ในหอยที่ mm สวน oral sucker ลอมรอบดวย collar
เปน 1st intermediate host หรือไชเขา 2nd of spines ไขจะมีอันเดียวอยูกับ testis อัน
intermediate host⑤ซึ่งมีสัตวหลายชนิด ใหญที่อยูเปนคู
เชน หอย ปลา หรือลูกออต แลวแตชนิด

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


การวินิจฉัยดวยกลองจุลทรรศน
Echinostoma spp. egg (ขยาย 200 เทา)

Adult Echinostoma spp.

oral sucker (OS), armed collar (CL), cirrus sac (CS), ventral sucker, or acetabulum (AC), uterus
containing eggs (UT), ovary (OV), paired testes (TE), and vitelline glands (VT).
Intermediate host

1st intermediate host

2nd intermediate host


Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips
67

Opisthorchis viverrini

วงจรชีวิต
พยาธิใบไมที่โตเต็มวัยวางไขระยะ ไชเขาปลาที่เปน 2nd intermediate
ติดตอปนออกมากับอุจจาระ① เมื่อติดไป host และ encyst อยูในกลามเนื้อใต
ยังหอยซึ่งเปน 1st intermediate host② ไข เกล็ดปลา④ สัตวเลี้ยงลูกดวยนมหลาย
ก็จะปลอย metacercaria (2a) และ ชนิด เชน สุนัข แมว รวมทั้งคน ติดเชื้อ
เจริญเติบโตอยูในหอยหลายระยะ พยาธิตัวนี้จากการกินปลาสุกๆ ดิบๆ
[sporocysts (2b), rediae (2c), cercariae metacercaria จะexcyst ที่ลําไสเล็ก⑤ และ
(2d)] metacercaria จะออกจากหอย③และ เคลื่อนที่ไปอยูที่ทอน้ําดีเติบโตเปนพยาธิ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


68

เต็มวัยและวางไข หลังจากนั้น 3-4 อาทิตย เชื้อนานๆ อาการจะรุนแรงขึ้น พบตับโต


⑥ พยาธิ O. viverrini ตัวเต็มวัยมีขนาด 5- ขาดอาหาร ถุงน้ําดีอักเสบ และมัก
10 มม. X 1-2 มม. พบมากทางภาค กลายเปนมะเร็งถุงน้ําดี
ตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลาว และ (chlolangiocarcinomar) ไข Opisthochis
กัมพูชา มีขนาด 19-30 x 10-20 µm มีฝาเปดและมี
ผูติดเชื้อพยาธิตวั นี้มักไมมีอาการ opercular shoulder และ opercular knob
หรือถามีอาการก็ไมรุนแรง เขน ทองอีด ตัวเต็มวัย Opisthorchis ขนาด 7 mm x
ปวดทอง ทองเสีย หรือทองผูก แตการติด 1.5 mm

การวินิจฉัยดวยกลองจุลทรรศน
Opisthorchis viverini egg (ขยาย 400 เทา)

Adult Echinostoma spp.

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


69

Taenia solium

วงจรชีวิต
คนเทานั้นที่เปน definitive host ในสัตว คนติดไดดว ยการกินเนื้อที่ติดเชื้อ
ของ Taenia saginata และ Taenia solium แบบสุกๆ ดิบๆ④ ในลําไสของคน ภายใน
ไขหรือปลองสุกปนออกมากับอุจจาระ① ไข เวลา 2 เดือน cysticerci จะกลายเปนพยาธิ
สามารถทนทานในสิ่งแวดลอมไดนานหลาย เต็มวัย และมีชีวิตอยูไดหลายป โดยเกาะ
เดือน วัว (T. saginata) และหมู (T. solium) ผนังลําไสดวย scolex⑤ อยูที่ลําไสเล็ก⑥
ติดเชื้อดวยการกินหญา/ผักที่ปนเปอนดวย คนอาจกินไข⑦พยาธิเขาไปจาการ
ไขหรือปลองสุก② ในลําไสของสัตว ปนเปอนของอาหารหรือน้ํา หรืออาจไดจา
oncospheres จะฟกออกมา③ และไชเขา การขยอนไขจากปลองสุกที่แตกได
ผนังลําไสและไปตามกลามเนื้อลายแลวฝง oncospheres จะฟกออกมา⑧และไชเขา
ตัวเปน cysticercus ที่สามารถอยูไดหลายป ผนังลําไสและไปตามกลามเนื้อลายแลวฝง

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


70

ตัวเปน cysticercus⑨ ไดเชนกัน ซึ่ง เจริญเติบโตจนสุก จะหลุดออกไปทางทวาร


กอใหเกิดอาการรุนแรงทางสมอง หนักปนออกมากับอุจจาระ ไข Taenia
(cysticercosis) เนื่องจากไปอุดตันน้ําไขสัน solium และ. T.saginata แยกกันไมได ไข
หลัง หรือทําใหชักได รูปรางกลม ขนาด 30-35 µm มีลักษณะ
พยาธิเต็มวัยขนาด 5 เมตร หรือ รัศมีโดยรอบ (radially-striated) มี hook 6
ยาวกวานั้น อาจถึง 25 เมตร เมื่อปลอง อัน

การวินิจฉัยดวยกลองจุลทรรศน
Taenia spp. egg และ Adult Taenia spp.

Scoleces of Taenia spp

----------------------------------------------------

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


71

References
Essentials of Human Parasitology. In Herwaldt BL, Beach MJ. The return of
Heelan JS, Ingersoll FW, eds. United Cyclospora in 1997: another outbreak
States; Delmar Thomson Learning. of cyclosporiasis in North America
2002. associated with imported raspberries.
Tropical Medicine and Parasitology. In Cyclospora Working Group. Ann Intern
Peters W, Pasvol G, eds. London; Med 1999 Feb 2;130(3): 210-20.
Mosby International Limited. 2002. Corinne SO, Diane LE, Swee HG, et al.
Medical Parasitology. In Markell EK, Molecular epidemiology of
Coge M, John DT, eds. Philadelphia; cryptosporidiosis outbreaks and
WB. Saunder Company. 1999. transmission in British Columbia,
Goodgame RW. Understanding Canada. Am J Trop Med Hyg 1999; 61
Intestinal Spore-Forming Protozoa: 91): 63-9.
Cryptosporidia Microsporidia, Isospora Diagnostic Pathology of Parasitic
and Cyclospora. Ann Intern Med Infections with Clinical Correlations.
1996; 124: 429-41. In Gutierrez Y. 2nd ed. Oxford; Oxford
Huang P, Weber JT, Sossin DM et al. University Press 2000.
The first report outbreak of diarrheal Wanachiwanawin D, Manatsathit S,
illness associated with Cyclospora in Lerttaituan P, Thakerngpol K,
the United States. Ann Intern Med Suwanagool P. Intestinal parasitic
1995;123: 409-14. infections in HIV and non-HIV infected
Orterga YR, Sterling CR, Gilman RH, patients with chronic diarrhea in
Cama VA, Diaz F. Cyclospora Thailand. Siriraj Hosp Gaz
species-A new protozoan pathogen of 1999;51:147-52.
humans. New Eng J Med ตําราปรสิตวิทยาทางการแพทย พิมพครั้งที่
1993;328(18):1308-12. 2 ชูเกียร ศิริวชิ ยกุล ศรชัย หลูอารีย
Asmuth DM, DeGirolami PC, Fedrman สุวรรณ ประยงค ระดมยศ บรรณาธิการ
M, et al. Clinical feature of กรุงเทพมหานคร สํานักพิมพเมดิคลั
microsporidiosis in patients with AIDS. มีเดีย 2549
Clin Infect Dis 1994;18(5): 19-25.

------------------------------

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


72

เคล็ดลับในการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไส ดวยวิธี Direct Simple Smear

รศ. พญ. เยาวลักษณ สุขธนะ


อาจารยรชตวรรณ เฉียบฉลาด
อาจารยสุภลัคน โพธิ์พฤกษ
นายอมร เหล็กกลา
นางสาวจันทิรา สุทธิกรชัย
นางสาวกัณฐินิษฐ ทิมา
ภาควิชาพยาธิโปรโตซัว คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหา
- หลักการวินิจฉัยเชื้อพยาธิในลําไส
- เคล็ดลับในการตรวจโดยวิธี Direct Simple Smear
- เคล็ดลับในการตรวจโดยวิธี Concentration
- เคล็ดลับในการตรวจโดยวิธยี อมสีพิเศษ
- การตรววินิจฉัยดวยวิธีอื่นๆ

หลักการวินจิ ฉัยเชื้อพยาธิโปรโตซัวในลําไส

การตรวจวินิจฉัย การติดเชือ้ พยาธิใน เราควรตองพยายามตรวจอุจจาระสด


ลําไสทั้งชนิดกอโรค และชนิดฉวยโอกาส มี โดยเร็วที่สุด เพื่อดูการเคลือ่ นไหว แตหาก
หลักการเหมือนกัน คือ ตรวจวินิจฉัยเชื้อ ไมสามารถดูไดภายใน 30 นาที ก็ควรจะ
จากการดูสด ดวย Normal Saline Solution ดองอุจจาระไวดว ย 10% formalin เพื่อวา
(NSS) ซึ่งจะทําใหเห็นการเคลื่อนไหวของ เชื้อพยาธิจะไมถูกทําลายไป จนไมสามารถ
trophozoites และสารละลาย Iodine ซึ่งจะ ใหการวินิจฉัยได
ทําใหนับจํานวนนิวเคลียสใน cyst ไดงาย โดยปกติ แนะนําใหตรวจอุจจาระ
ขึ้น และการยอมสีเพื่อดูลักษณะภายใน อยางนอย 3 ครั้ง โดยเวนระยะเวลา 1-3 วัน
นิวเคลียส และสิ่งตางๆ ภายในเซลลของ ระหวางการตรวจแตละครั้ง และใหใชวิธี
เชื้อทั้งระยะ cyst และระยะ trophozoite ตรวจ ดังนี้
ทั้งนี้ สําหรับการดูสดเชื้อโปรโตซัวจะตอง Wet mount preparation
ปรับแสงของกลองจุลทรรศนใหหรี่ลง 1. Simple smear
พอเหมาะ ไมสวางเกินไปจึงจะเห็นเชื้อได a. NSS preparation จุดประสงค
ชัดเจน เพื่อดูไขพยาธิและเชื้อโปรโตซัวระยะ cyst

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


73

และ trophozoite พรอมทั้งดูการเคลื่อนไหว กวาอุจจาระ ตกเปนตะกอน วิธีที่นิยมใช คือ


ของระยะ trophozoite ดวย วิธี formalin-acetate sedimentation สวน
b. Iodine preparation เพื่อดู วิธี Flotation นั้น ใชหลักที่วา พยาธิโปรโต
ขอบเขตของนิวเคลียส จํานวนนิวเคลียส ซัวที่เบากวา อุจจาระที่ปนกับสารละลายที่
หรือ organ อื่นๆ ของพยาธิโปรโตซัว เติมลงไปก็จะลอยขึ้น วิธีที่แนะนําคือ Zinc
2. Concentration procedures sulfate flotation ดังแสดงไวในตาราง 2, 3
บางครั้งการติดเชื้อพยาธิโปรโตซัวมีจํานวน และ 4
นอย การตรวจอุจจาระดวยวิธี direct wet
mount อาจใหผลลบ ดังนั้น การทําให การยอมสีพิเศษ
จํานวนเชื้อเขมขนขึ้นดวยวิธี concentration เพื่อดูความแตกตางของนิวเคลียส
procedures จะชวยทําใหการตรวจพบมาก และส วนต างๆภายในเซลล เชน การยอ ม
ขึ้น เนื่องจากการทํา concentration ดวยสี Iron haematoxyline (I&H), สี
procedures จะไปทําใหเศษสิ่งของที่ปะปน Trichrome เปนตน นอกจากนี้ เชื้อกลุม
ในอุจจาระถูกกรองออกไป เสร็จแลวก็นําไป coccidia และกลุม microspore มีขนาดเล็ก
ตรวจดวย NSS หรือ Iodine solution wet มาก การดูดวย wet preparation โดยผูที่ไม
mount ตอไปได วิธี concentration มี ค วามชํ า นาญ อาจจะทํ า ให ไ ม ส ามารถ
procedures ที่นิยมใช มี 2 วิธี คือ ตรวจพบเชื้อได ดังนั้น ตองอาศัยการยอมสี
Sedimentation และ Flotation techniques พิเศษชวยดวย เชน Modify acid fast
วิธี Sedimentation ทําไดโดยละลาย stain, gram chromotope
อุจจาระที่จะตรวจในสารละลาย NSS แลว
ปนตก จะทําใหเชื้อพยาธิโปรโตซัวที่หนัก

ไมวาจะเปนการดูสด หรือการยอมสีพิเศษ มีหลักวา

• ดูตองดูรูปรางของพยาธิ วารูปรางอยางไร เชน รูปรางกลม รี หรือ รูปรางไม


แนนอน เปนตน
• วัดขนาด หากรูปรางกลมก็วัดขนาดเสนผาศูนยกลาง หากรูปรางรีตองวัดทั้งขนาด
กวางและยาว
• ดูลักษณะเฉพาะของพยาธิ เชน มีจํานวนนิวเคลียสเทาไร รูปรางของนิวเคลียสเปน
อยางไร มี chromatin granule หรือไม หากมี มีการเรียงตัวอยางไร มี cytoplasm
organelles เชน เม็ดเลือดแดงที่ถูกกิน chromatiod body หรือไม ฯลฯ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


74

การวัดขนาดพยาธิ
การวัดขนาดพยาธินั้นจําเปนมากสําหรับการวินิจฉัยเชื้อโปรโตซัว ทั้งระยะ cysts และ
ระยะ trophozoite เปนสิ่งที่ละเลยไมได เพราะอาจทําใหการวินิจฉัยผิดได โดยปกติวดั ไดดวย
การนับชองวาวัตถุที่ตองการวัดมีขนาดกีช่ องของ ocular lens (OL) แลวคํานวณคาที่มีหนวย
เปน µm ดวยการคูณดวยเลข ตามขนาดของ objective lens ดังนี้

objective lens คูณดวย ขนาด OL (ชอง) วัตถุขนาด (µm)


10 x 10 8 80
40 x 2.2 5 11.0
100 x 1 15 15

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


75

เคล็ดลับในการตรวจพยาธิลําไสโดยวิธี Direct Simple Smear

ตารางที่ 1 การตรวจอุจจาระดวยวิธดี ูสดดวย NSS และ Iodine solution

Direct Wet Mount by Normal Saline Solution (NSS) และ Iodine Solution

จุดมุงหมาย 2. ปายอุจจาระประมาณเทาเม็ดถัว่ เขียว


• การทํา direct wet mount ดวย NSS แลวละเลงลงบน NSS กอนแลวคนให
เพื่อตรวจหาไขพยาธิตางๆ และเชื้อ ทั่ว จากนั้นละเลงใน Iodine solution
โ ป ร โ ต ซั ว โ ด ย เ ฉ พ า ะ ร ะ ย ะ แลวคนใหทั่ว เมื่อทําเสร็จแลว ไม
trophozoite ของเชื้อโปรโตซัวเพราะ ควรหนา หรือบางเกินไป
สามารถดูการเคลื่อนไหวของเชื้อได 3. ใช cover slide ปดที่ดาน NSS และ
• สวนการทํา direct wet mount ดวย Iodine solution โดยระมัดระวังไมให
Iodine solution จะทําใหเห็นลักษณะ มีฟองอากาศ
ของ nucleus และ cytoplasm 4. ดูใตกลองจุลทรรศน ดวยขนาด
organells ของพยาธิโปรโตซัวไดดี กําลังขยายต่ํา (10 x objective lens)
ขึ้น แตมักไมนิยมใชในการตรวจหา โดยใหดูตั้งแตขอบ cover slide แลว
ปรสิตหนอนพยาธิ ไลขึ้นลงเปนระบบจนทั่วทั้งแผน หรี่
อุปกรณ ไฟใหแสงนอย trophozoite จะ
• ตัวอยางอุจจาระสด เคลื่อนไหว ขณะที่ cyst วาวๆ ขอบ
กลมเรียบ เมื่อสิ่งที่สงสัยวาจะเปน
• แผนสไลดที่สะอาดพรอม cover slide
พยาธิ ใหขยายเลนสไปที่ 40x แลวดู
• 0.75% Normal saline รายละเอียด
• 0.5% Iodine solution
วิธีการ
1. หยด NSS และ Iodine solution
อยางละ 1 หยด ลงบนแผนสไลดคน
ละขาง 5. โดยปกติหากตัวอยางอุจจาระที่สงมา
ตรวจไมสด ดองไวดว ย 5% formalin
solution หรือ preservative solution
อื่นๆ การตรวจดวย NSS จะไมเห็น
NSS Iodine solution การเคลื่อนไหวของ trophozoite แต
ยังใชตรวจปรสิตหนอนพยาธิได

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


76

เคล็ดลับในการตรวจเชื้อโปรโตซัวโดยวิธี Concentration
ตารางที่ 2 การตรวจอุจจาระดวยวิธี Formalin-acetate Sedimentation Technique

จุดมุงหมาย
เพื่อทําใหพยาธิจํานวนนอย ที่อยูใน 6. นําไปปนใหตกตะกอน ดวยความเร็ว
อุจจาระที่จะนํามาตรวจ มีความเขมขนมาก 2,000 รอบ/นาที นาน 2 นาที
ขึ้น จะไดมีโอกาสตรวจพบมากขึ้น วิธีนใี้ ชได 7. เ มื่ อ นํ า ห ล อ ด อ อ ก ม า จ ะ พ บ ว า
ทั้งอุจจาระสด หรือ อุจจาระที่เก็บไวใน สารละลายที่ อ ยู ใ นหลอดแบ ง เป น 4
preservative solutions ตางๆ เปนวิธีที่ดี ชั้น ตามรูป
สําหรับการตรวจหาซีสตของโปรโตซัว ไข
และตัวออนของพยาธิชนิดตางๆ
อุปกรณ
1. เครื่องปน (Centrifuge)
2. หลอดแกวหรือหลอดพลาสติกที่มี
กนแหลมที่มีฝาปดขนาด 15 ml
3. ผากอสเปยก
4. กรวยพลาสติก หรือ ถวยพลาสติก 8. ใชไมเขี่ยไปรอบๆผนังหลอดดานในชั้นที่
6. ไมคนอุจจาระ 2 ซึ่งเปนชั้นของกากอาหารใหหลุดออก
7. 10% ฟอรมาลิน แลวเช็ดรอบๆ ใหสะอาด จึงเทชั้นตางๆ
8. Ethyl acetate ทิ้งไป จะเหลือชั้นลางสุดที่เปนตะกอนไว
วิธีการ 9. หยดน้ําเกลือลงไป 1-2 หยด ผสมตะกอน
1.นําอุจจาระประมาณ 1 g (ประมาณปลาย ใหเขากัน แลวใชปเ ปตดูดตะกอนลงบน
นิ้วกอย) ผสมกับน้ําเกลือ ประมาณ 10 ml สไลด แลวนําไปดูดวยกลองจุลทรรศน
2. กรองดวยผากอสเปยก 2 ชั้น ใสในหลอด ขอดี วิธีนสี้ ามารถตรวจไดทั้ง cyst ของโปร
พลาสติกกนแหลม โตซัว ไข และ ตัวออนของพยาธิทุก
3.นําไปปนดวยความเร็ว 2000 รอบ/นาที นาน ชนิด อุจจาระที่มีไขมันมากก็สามารถ
2 นาที เทน้ําสวนบนทิ้งไป ตรวจได เพราะมีacetate เปนตัว
4.เติม 10% ฟอรมาลินลงไป 8 ml ผสมใหเขา ละลายไขมัน ฟอรมาลินชวยรักษา
กั บ ตะกอนที่ ไ ด จ ากการป น ล า งโดยเขย า รูปรางของ cyst ไข และ ตัวออนของ
เบาๆ (หากอุจจาระที่ใชเปนอุจจาระใหม ให พยาธิ สามารถเก็บตัวอยางไวไดนาน
ใชไมคนใหตะกอนกระจายกอน) ตั้งทิ้งไว 10 ขัอเสีย การใช ethyl acetate แทนอีเทอร
นาที เพราะอันตรายนอยกวา และ ไมมี
5. เติม ethyl acetate ลงไปประมาณ 2 ml ปด ความแตกตางกัน ในการตรวจพบ
ฝาหลอดใหแนน เขยาแรงๆ นาน 30 วินาที พยาธิ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


77

เคล็ดลับในการตรวจเชื้อโปรโตซัวโดยวิธี Concentration
ตารางที่ 3 การตรวจอุจจาระดวยวิธี Zinc Sulfate Flotation Technique

จุดมุงหมาย
เพื่ อ ทํ า ให ป รสิ ต หนอนพยาธิ แ ละ 5. นําไปปนที่ 500 g (2000 rpm) นาน 2
พยาธิโปรโตซัวในอุจจาระที่จะนํามาตรวจ นาที แลวปลอยใหเครื่องปนหยุดปนเอง
แยกออกจากเนื้ออุจจาระ หรือกากอาหาร เชื้ อ โปรโตซั ว ที่ เ บากว า จะลอยอยู ที่ ผิ ว
เพื่อจะไดตรวจพบงายขึ้น เปนวิธีที่ดีสําหรับ ดานบน
การตรวจหา cyst ของโปรโตซัว ไข และ
ตัวออนของพยาธิชนิดตางๆ โดยอาศัย
ห ลั ก ก า ร ที่ ว า เ ชื้ อ ป ร สิ ต ที่ มี ค ว า ม
ถวงจําเพาะ (sp. gr.) ต่ํากวาน้ํายาจะลอย
ขึ้น วิธีนี้ใชไดทั้งอุจจาระสด หรืออุจจาระที่
เก็บไวใน preservative solutions ตางๆ
อุปกรณ
• ตัวอยางอุจจาระที่จะตรวจและไมคน
อุจจาระ
• ผากอสเปยกและกรวยกรอง
6. ใช wire loop แตะสารละลายดานบนใน
• เครื่องปนพรอมหลอดแกวหรือหลอด
พลาสติกที่มีกนแหลมขนาด 15 ml หลอดแล ว นํ า สารละลายได แ ตะลงบน
• 0.75% NSS สไลด แลวปดดวย เพื่อดูสด หรือ หยด
• Zinc Sulfate ที่มี sp. gr. 1.18 – 1.20 Iodine แลวปดดวย cover slide
• ลวดที่เปนวง (wire loop)
วิธีการ
1. นํ า อุ จ จาระประมาณ 1 g (ประมาณ
ปลายนิ้วกอย) ผสมกับน้ําเกลือประมาณ
10 ml
2. กรองดวยผากอสเปยก 2 ชั้น ใสในหลอด
กนแหลม 7. นําไปตรวจใตกล องจุล ทรรศนด วย
3. นํ า ไปป น ด ว ยความเร็ ว 500 g (2000 กําลังขยาย 10X กอน เมื่อสงสัยใหขยาย
rpm) นาน 2 นาที เทน้ําสวนบนทิ้งไป ขึ้นดวย 40X เพื่อดูรายละเอียด
4. คอยๆ เติม Zinc Sulphate จนถึงบริเวณ หมายเหตุ: อุจจาระใหมใช Zine Sulfate ที่
ขีดที่ 10 ml มี Sp Gr. 1.18 หากอุจจาระดอง ใช 1.20

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


78

เคล็ดลับในการตรวจเชื้อโปรโตซัวโดยวิธี Concentration
ตารางที่ 4 การตรวจอุจจาระดวยวิธี The Willis – Malloy Brine Floatation Method

จุดมุงหมาย อีก ตั้งทิ้งไวใหเย็น กรองเอาสวนใสๆ มา


เปนวิธีการตรวจแบบเขมขน โดยใช ใช เพื่ อ ให แ น ใ จว า ได ค วามถ ว งจํ า เพาะ
น้ําเกลืออิ่มตัวทําใหไขลอยตัวขึ้นสูผิวของ (sp.gr.) 1 . 2 0 ค ว ร ต ร ว จ เ ช็ ค ด ว ย
น้ําเกลือ นิยมใชตรวจหาไขพยาธิพวกที่ติด hydrometer
จากดิน (Soil-transmitted helminthic
eggs) เชน พยาธิปากขอ พยาธิไสเดือน วิธีทํา
พยาธิแสมา แตใชไมไดผลกับพวกไขที่มีฝา 1. ตั ก อุ จ จาระประมาณ 1 กรั ม ใส ล งใน
ของพยาธิ ใ บไม ต า งๆ รวมทั้ ง พยาธิ ใ บไม หลอดแกว
เลือด และ unfertilized Ascaris eggs 2. เติ ม น้ํ า เกลื อ อิ่ ม ตั ว ลงไปประมาณ ¼
หลักการ ของหลอด
ใ ช น้ํ า เ ก ลื อ อิ่ ม ตั ว (Saturated 3. ใชไมกวนอุจจาระคนจนอุจจาระละลาย
Sodium Chloride solution) ซึ่งมีความ เขาเปนเนื้อเดียวกัน
ถวงจําเพาะ (specific gravity) 1.20 เปนตัว 4. เติ ม น้ํ า เกลื อ อิ่ ม ตั ว ลงไปจนเกื อ บเต็ ม
ละลายอุ จ จาระ ไข ข องพยาธิ ที่ มี ค วาม หลอดแกว แลวใช pipette คอยๆ หยด
ถวงจําเพาะนอยกวา 1.20 ก็จะลอยตัวแยก น้ําเกลืออิ่มตัวเติมลงไปอีกจนเต็มปริ่ม
ออกจากอุจจาระขึ้นไปรวมตัวกันที่ผิวของ หลอดแกว
น้ําเกลือ ซึ่งนํามาตรวจหาไดงายขึ้น 5. คอยๆ วาง cover slip ปดทับลงไปบน
ปากหลอดแกว โดยให cover slip แตะ
วัสดุและอุปกรณ ส นิ ท กั บ น้ํ า เ ก ลื อ ที่ ป ริ่ ม อ ยู ป า ก
1. หลอดแกวกลม (tube) ขนาดความจุ 20 หลอดแกว และไมเกิดมีฟองอากาศหรือ
มล. ปากกวาง 20 มม. พรอม rack วาง ลนหกออกมา
tube 6. ตั้งทิ้งไวประมาณ 10-15 นาที
2. น้ําเกลืออิ่มตัว ความถวงจําเพาะ 1.20 7. คอยๆ ยก cover slip ขึ้น แลววางลง
3. ไมกวนอุจจาระ บนแผน slide นําไปตรวจดวยกลอง
4. แผนกระจกสไลด (slide) และ cover จุลทรรศน
slip ขนาด 22 x 22 มม.
การรายงานผล
การเตรียมน้าํ เกลืออิ่มตัว (Saturated ก็เปนแบบเชิงคุณภาพ
Sodium Chloride solution) (Qualitative method) คือบอกวาพบไข
ต ม เกลื อ แกงในน้ํ า เดื อ ดให ล ะลาย หรือ cyst อะไรบางเทานั้น
และเติมเกลือแกงลงไปเรื่อยๆ จนไมละลาย

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


รูปแสดงการตรวจอุจจาระดวยวิธี The Willis – Malloy Brine Floatation Method

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


80

เคล็ดลับในการตรวจเชื้อโปรโตซัวโดยวิธียอมสีพิเศษ

ดังที่กลาวมาแลววา Intestinal เลือกวิธีที่งาย รวดเร็ว และอานผลไดชัดเจน


Opportunistic Protozoa ประกอบดวยกลุม ดังนี้
coccidian คือ Cryptosporidium parvum, 1. Rapid DMSO Modified Acid-Fast
Cyclospora cayetanensis, Isospora belli stain (Bronsdon, 1984) ใชสําหรับ
และกลุม Microsporidia ซึ่งประกอบดวย ยอม oocyst ของCryptosporidium
เชื้อ 2 ตัวที่ทําใหเกิดอาการอุจจาระรวง คือ parvum, Cyclospora cayetanensis
Enterozytozoon bieneusi และ และ Isospora belli
Encephalitozoon intestinalis เชื้อทั้งหมด 2. Gram-Chromotrope (Moura, 1996)
ที่กลาวมานั้น ตัวเล็กมาก ดังนั้น การ ใชสําหรับยอม oocyst ของ
วินิจฉัยโดยการตรวจอุจจาระสด (Wet Microsporidia spp.
preparation) ทําใหไมสามารถวินิจฉัยได สําหรับ Cryptosporidium parvum นั้น
หากผูตรวจไมชํานาญพอ ดังนั้น จึงตอง มีอีก 2 วิธีที่มีผูนิยมใชกันบางคือ Acid-fast
อาศัยการยอมสีพิเศษซึ่งมีหลายวิธี ควร Trichrome stain (Ignatius,1997) และ
Modified Ziehl-Neelsen (Fleck,1988)

ขั้นตอนการเตรียม slide และการทํา smear จากอุจจาระ


1) นําสไลดแชใน 70% alcohol และเช็ดใหแหง เพื่อใหแนใจวาสไลดสะอาดปราศจากคราบ
ไขมัน ฝุน และรอยขีดขวน
2) ปายอุจจจาระลงบนแผนสไลด ดังนี้
‰ ถาอุจจาระแข็ง มีเนื้อมากกวาน้ํา ใชไมจมิ้ ฟนจิ้มอุจจาระเพียงเล็กนอยปายบาง ๆ บน
แผนสไลด
‰ ถาอุจจาระมีมูก เลือกจิ้มบริเวณที่มีมูก

‰ ถาอุจจาระมีน้ํามากกวาเนื้อ ใช ไมพันสําลี จิ้มอุจจาระทาบาง ๆ บนแผนสไลด

3) ทิ้งไวใหแหงที่อุณหภูมิหอง (air dry)


4) หากอุจจาระมีกากมาก ควรกรองกากออกดวยผากอส 2-3 ชั้น กอนกรองควรดองดวย
formalin เพื่อความปลอดภัย อุจจาระมีมูกปนมาก เมื่อกรองกากอาจกรองเอามูกที่มี oocyst
ออกไปได
5) นําไปยอมสีตามที่ตองการ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


81

Rapid DMSO Modified Acid-Fast Stain


สวนประกอบของสียอม
A. Carbol Fuchsin DMSO stain
Basic fuchsin crystals 4.0 g
Ethyl alcohol 25.0 ml
Phenol crystal (แชในน้ําอุน ใหละลายกอนใชผสม) 12.0 g
ผสมสารทั้ง 3 ใหเขากันดีแลวเติมสารละลายตอไปนี้
Glycerol 25.0 ml
DMSO (Dimethyl sulfoxide) 25.0 ml
น้ํากลั่น 75.0 ml
กวนสารทั้งหมดใหเขากัน แลวตั้งทิ้งไว 30 นาที กรองใสขวดสีชา เก็บไวที่อุณหภูมิหอง
B. Decolourizer-counterstain
Malachite green 2% 220.0 ml
Glacial actic acid 30.0 ml
ผสมใหเขากันดี เก็บใสขวดไวที่อุณหภูมิหอง

วิธียอม Rapid DMSO Modified Acid Fast


1. นําสไลดที่ปายอุจจาระไวแลวผานเปลวไฟเร็ว ๆ หรือวางไวบนถาดอุน ๆ ใหแหง
2. fixed ใน absolute methanol นาน 10 วินาที
3. ยอมดวย Carbol fuchsin DMSO นาน 5 นาที
4. ลางเบา ๆ ดวยน้ําประปา จนกระทั่งสีรอบ ๆ บริเวณที่ smear สะอาด (ประมาณ 10-30
วินาที)
5. ยอมดวย Decolourizer-counterstain (malachite green) นาน 3 นาที หรือจนกวาสีพื้น
จะเปนสีเขียว
6. ลางเบา ๆ ดวยน้ําประปาประมาณ 10 วินาที
7. ซับใหแหงหรือวางบนถาดอุน ๆ จนแหง (ประมาณ 5-10 นาที)

หมายเหตุ ถาตองการเก็บสไลดที่ยอมแลวไวใหไดนาน ควรทําการ mount โดยการไลน้ําออก


ดวยการจุมใน absolute ethanol นาน 30 วินาที 2 ครั้ง แลว clear ดวย xylene อีก 2
ครั้ง ๆ ละ 30 วินาที แลวจึง mount ดวย permount

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


82

Rapid DMSO Modified Acid Fast Stain

Smear 1

Absolute Methanol
Fixed 2 10 sec

Stain 3 Carbol Fuchsin DMSO


5 min

Wash 4

Decolorize & 5 Malachite Green


Couterstain 3min

Wash 6

Air Dry 7

นําแผนสไลดที่ยอม
ไปตรวจดูดวย lens
8
40x หากสีที่ยอมดี
แลวใหนําไป mount

Absolute Ethanol
Dehydrate 9 30 sec for 2 times

Xylene
Clear 10 30 sec for 2 times

Mount with
Premount 11

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


83

Gram-Chromotrope Stain
สวนประกอบของสียอม
A. Gram-stain
1. 1% Crystal violet หรือ gentain violet
2. Gram’s iodine
Iodine 1.0 g
Potassium iodide 2.0 g
น้ํากลั่น 300.0 ml
3. Decolourizer
Ethyl ether 50.0 ml
Acetone 50.0 ml
B. Chromotrope stain
Chromotrope 2 R 6.0 g
Fast green 0.15 g
Phosphotungstic acid 0.7 g
Glacial acetic acid 3.0 ml
น้ํากลั่น 100.0 ml
C. 90% acid alcohol
acetic acid 4.5 ml
95%ethyl alcohol 995.5 ml
หมายเหตุ อาจจะใช gentian violet แทน crystal violet ได

วิธียอม Gram Chromotrope


แบงออกเปน 4 ขั้นตอน
A. เตรียมสไลดโดยการทํา smear เชนเดียวกันกับการยอม Cryptosporidium parvum
B. Fix ดวยความรอนจากเปลวไฟ 3 วินาที หรือวางบนแผนความรอนประมาณ 60oC นาน 5
นาที ทิ้งไวใหเย็นกอนยอม แลว fix ดวย absolute methanol นาน 5 นาที
C. ยอม Gram-stain โดยวิธดี ังนี้
1. ยัอมดวย Cystal violet นาน 1นาที (หรืออาจใช gentian violet แทนได)
2. ลางน้ําจนสีจางลง ทิ้งไว 1 นาที
3. แลวยอมตอดวย Gram’s iodine ทิ้งไวนาน 1 นาที
4. ลางออกดวยน้ําประปา

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


84

5. ลางเบา ๆ อยางเร็ว ดวย decolourizer (ethyl ether acetate) โดยถือ slide เอียง
ใหน้ํายาไหลผาน
6. ลางอีกครั้งดวยน้ําประปา
D. ยอมดวย Chromotrope stain
1. จุมสไลดใน Chromotrope stain นาน 5 นาที (ทั้งนี้เวลาในการยอมขึ้นกับ lot ของ
การเตรียมสียอม)
2. ลางดวย 95% Ethanol นาน 3 วินาที (จุมผาน)
3. ทิ้งไวใหแหง
4. นําไป mount

หมายเหตุ ควรทําการ mount slide เพราะจะทําใหการอานผลงายขึ้น เนื่องจากเชื้อ


Microsporidium spp. มีขนาดเล็ก (ประมาณ 1-3 ไมครอน) จําเปนตองใชัหวั oil
กําลังขยายสูงถึง 1,000 เทา (10x100) การ mount จะเปนการไลน้ําออกจากสียอม
และชวยใหฟองอากาศนอยลงการติดสียอมจึงชัดขึ้น ทําการ mount โดยการไลน้ํา
ออกดวยการจุมใน absolute ethanol นาน 30 วินาที 2 ครั้ง แลว clear ดวย xylene
อีก 2 ครั้ง ๆ ละ 30 วินาที แลวจึง mount ดวย permount

สรุปการยอมสีเชื้อกลุม Coccidia และ Microspora

วิธีการยอม Stain โดย Counterstain โดย


Carbol-Fuchsin Malachite green
Modified Ziehl-Neelson
Rapid DMSO modified Carbol-Fuchsin ผสม DMSO Malachite green
acid-fast
Gram Chromotrope Crystal violet Chromotrope
หรือ Gentian violet
Acid-Fast Trichrome Carbol-Fuchsin Didier’s trichrome
Chromotrope & Aniline blue

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


85

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


86

สรุปลักษณะของ Coccidia ระยะ oocyst หลังจากการยอมสี


เชื้อ Isospora belli
‰ ขนาด 20x30 ไมครอน

‰ รูปรางยาวรี ติดสีชมพู

‰ มีระยะ unsporulated oocyst ภายในยังไมแบงตัว

‰ sporulated oocyst มี 2 sporocyst

เชื้อ Cyclospora cayetanensis


‰ ขนาด 10 ไมครอน

‰ รูปรางกลม ติดสีชมพู

‰ มีระยะ unsporulated oocyst ภายในติดสีออนแกไมสม่ําเสมอ

‰ ระยะ sporulated oocyst ติดสีชมพูเขม บางครั้งเห็นมี 2 sporocyst

เชื้อ Cryptosporidium parvum


‰ ขนาด 5 ไมครอน

‰ รูปรางกลม ติดสีชมพู

‰ มีระยะ sporulated oocyst ภายในมี 1-4 sporozoite เปนรูปเคียว บาง oocyst ไมติด

สี
เชื้อ Microsporidium spp.
‰ ขนาด 1-2 ไมครอน

‰ รูปรางรี

‰ มีระยะ spore ติดสีมวงแดง มีสายคลายเข็มขัดสีน้ําเงินเขมคาดที่ตําแหนงตางๆกัน

ภายในติดสีไมสม่ําเสมอ และจะไมมีเชื้อในระยะแบงตัวเหมือนแบคทีเรียออกมากับ
อุจจาระ

ขอควรสังเกต
1. ขนาด oocyst ของ coccidia และ spore ของ Microsporidia จะใกลเคียงกันทุกตัว
(เปน uniform pattern) ดังนั้นจะไมเหมือนกันกับ cyst ของ amoeba ซึ่งอาจจะไม
เทากันทีเดียว
2. ในกรณีรีบดวน oocyst ของ Cryptosporidium parvum สามารถดูสดได (ใชกําลังขยาย
400 เทา) หลังจากการทํา concentration โดยสังเกตการเรียงตัวของ sporozoite
ภายใน และ residum โดยจะเห็นเปน 4 จุดเล็กเรียงกันเปนแนวโคง และอีก 1 จุดใหญ
กวาเล็กนอยอยูภายในวงจุดเล็ก แตทั้งนี้ตองแยกใหไดจากเชื้อราระยะ budding ที่มี
ผนังเซลลหนากวาและมีชองวาง (vacuole) อยูภายใน

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


87

การตรวจดวยวิธีอื่น
บางครั้งแมวาจะดูสด หรือยอมพิเศษ เฉพาะในหองปฏิบัติการเพือ่ การวิจัยเทานั้น
แลว ก็ตรวจไมพบพยาธิ ทั้งนี้ เนื่องจาก ยังไมแพรหลายในเวชปฏิบัติ
พยาธิสวนใหญจะถูกขับออกมาไมสม่ําเสมอ การตรวจทางนําเหลืองวิทยาในผูที่
บางครั้งทิ้งชวงนาน จนเราไมสามารถตรวจ ติดเชื้อกลุม Giardia duodenalis โดย
พบได แมจะทําตามวิธีตางๆ อยางถูกตอง ตรวจหาแอนติบอดียังใหผลไมพอใจ เนื่อง
แลวก็ตาม ดังนั้น จึงใชวิธอี ื่นๆ มาชวยใน จากวา immune response ยังผันแปรไม
การวินิจฉัย เชน วิธที างน้ําเหลืองวิทยา แนนอน โดยเฉพาะในกลุมชนที่อยูตางถิ่น
หรือ วิธีทางอณูวิทยา เปนตน กัน
ในผูปวยที่ติดเชื้อ E. histolytica การ การตรวจหาแอนติเจน ใหผลเปนที่
ตรวจทางน้ําเหลืองวิทยาจะมีประโยชนมาก นาพอใจมากกวา แมในรายที่ติดเชื้อนอยๆ
ในรายที่เกิด extra-intestinal infection ซึ่ง ก็ตรวจพบได มีความไวและความจําเพาะ
มักตรวจไมพบเชื้อพยาธิในอุจจาระอีกแลว ถึง รอยละ 98 และรอยละ 100 ตามลําดับ
เปนการตรวจเพื่อหา antibody อยางไรก็ดี มี commercial kits จําหนายหลายชนิด
แอนติบอดีมักจะสูงอยูนานเปนป ทําใหการ เชน IFA, EIA techniques การตรวจดวย
ตรวจหาแอนติบอดี มักไมสัมพันธกับอาการ วิธีการทางอณูวิทยาก็ใหผลไว และมี
ทางคลินิก แพทยมักใชการตรวจนี้เพื่อ ความจําเพาะเปนที่นาพอใจเชนกัน
ติดตามผลการรักษา เนื่องจากวาระดับ ในกลุมผูปวยที่ติดเชื้อ C. parvum
แอนติบอดีมักจะต่ําลงมาก เมื่อการรักษา ก็ตรวจหาแอนติเจน ใหผลแมนยําถึงรอยละ
ไดผลดี 94 ซึ่งนาพอใจ และนาเชื่อถือกวาการ
มี commercial kits เชน EIA, IFA ที่ ตรวจหาแอนติบอดี และยังมี commercial
ใชตรวจหาแอนติเจนในอุจจาระได โดย kits ขายตามทองตลาดแลว มีผลิตภัณฑ
สามารถแยก E. histolytica และ E. dispar จากหลายบริษัทที่สามารถตรวจไดทั้ง เชื้อ
ที่ไมสามารถแยกกันไดดวยกลองจุลทรรศน Giardia และ Cryptosporidium การตรวจ
หรือ อาจตองใชวธิ ีทางอณูวิทยาจะแมนยํา ทางอณูวิทยายังไมแพรหลายในทองตลาด
กวา อยางไร ก็ตามวิธีทางอณูวิทยายังมีใช

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


88

เอกสารอางอิง
1. Bronsdon M.A. Rapid DMSO Specimens. J Clin Microbiol. 1997;
Modified Acid-fast stain of 35(2): 446-449.
Cryptosporidium Oocysts in Stool 4. Moura H et al. Gram-Chromotrope:
Specimens. J Clin Microbiology. A New Technique that Enhances
1984,19(6): 952-953. Detection of Microsporidial Spores
2. Fleck S.L and Moody A.H. in Clinical Samples. J. Euk.
Diagnostic Techniques in Medical Microbiol. 1996; 43(5): 94S-95S.
Parasitology. Butterwoth Co. Ltd. 5. Heelan J, Ingersoll F. 2002.
Cambridge. 1988:22-25. Essentials of Human Parasitology. .
3. Ignatius R et al. A New Acid-fast Heelan J, Ingersoll F, editors.
Trichrome Stain for Simultaneous United States: Delmar Thomson
Detection of Cryptosporidium pavum Learning.
and Microsporidial Species in Stool

-----------------------------------------------

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


89

การตรวจพยาธิโปรโตซัวที่พบในลําไสโดยวิธี PCR ไมยากอยางที่คิด

รองศาสตราจารย ดร.พรทิพย เพ็ชรมิตร


ภาควิชาพยาธิโปรโตซัว คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล

เชื้อพยาธิโปรโตซัวที่พบไดในลําไส 1.3 Immunofluorescence microscopy


นั้ นมี อยูห ลายชนิ ด ด วยกัน ทั้ง ชนิด ที่ทํ าให 1.4 ยอมดวยสีฟลูออเรสเซนต เชน
เกิดโรคและไมทําใหเกิดโรคในคน ซึ่งในที่นี้ auramine O, auramine-rhodamine,
จะขอกล า วถึ ง การตรวจหาเชื้ อ สํ า คั ญ ที่ acridine orange
กอใหเกิดโรคไดแก Entamoeba histolytica 2. การตรวจดวยวิธีทางภูมิคุมกันวิทยา
โดยแยกจากเชื้ออมีบาที่ไมกอใหเกิดโรคอีก (Immunoassays)
สองชนิดคือ Entamoeba dispar และ ตรวจหา antibody และ
Entamoeba moshkovskii ซึ่งเชื้ออมีบาทั้ง antigen โดยวิธี Enzyme
สามชนิดนี้มีรูปรางลักษณะที่เหมือนกันและ immunoasaays หรือ ELISA
ไมสามารถแยกไดดวยการตรวจดูดวยกลอง 3. การตรวจดวยวิธีทางอณูชีววิทยา
จุลทรรศน และการตรวจหาเชื้อฉวยโอกาส (Molecular biology method)
ที่สําคัญคือ Crytosporidium parvum โดย โดยวิธี Polymerase chain
วิธี PCR ซึ่งในปจจุบันนี้เราสามารถตรวจ reaction (PCR) ซึ่งวิธีนมี้ ีความไวสูง
วิ นิ จ ฉั ย เชื้ อ เหล า นี้ ใ นห อ งปฏิ บั ติ ก ารได ซึ่งในการตรวจหาเชื้อ Crytosporidium
หลายวิธีดวยกันคือ parvum นั้นสามารถแยก genotype
1. การตรวจหาเชื้อโดยใชกลอง ของเชื้อไดดวยวาเปน genotype I
จุลทรรศน (Microscopy) human genotype หรือ genotype II
1.1 ดูสด (Wet mounts) animal (cattle) genotype
1.2 ยอมสี (Stained smears) เชน
Giemsa, Trichrome, modified-
acid fast stain

ปฏิกิริยาลูกโซโพลีเมอเรส (Polymerase chain reaction; PCR)

ขบวนการสั ง เคราะห ดี เ อ็ น เอใน ไทดแตละชนิดเขากับ RNA สายสั้นๆที่ทํา


สิ่ ง มี ชี วิ ต เกิ ด ขึ้ น ได โ ดย อาศั ย การทํ า งาน หนาที่เปน specific primers ที่เกาะติดกับ
ของเอนไซม DNA Polymerase ซึ่งจะเรง สายดีเอ็นเอแมพิมพ (template) สายเดี่ยว
ปฏิกิริยา การเชื่อมตอโมเลกุลของนิวคลีโอ แต ละเส น ลํ า ดั บ นิ ว คลี โ อไทด บนดี เ อ็ น เอ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


90

แมพิมพแตละเสน จะเปนตัวกําหนดวาจะ 5. เอนไซม DNA polymerase ที่ทน


เปนการเติมนิวคลีโอไทดใหมชนิดใดเขาไป ตออุณหภูมิสูงๆได (thermostable DNA
บ า ง โดยที่ นิ ว คลี โ อไทด ที่จ ะเชื่ อ มต อ นั้ น polymerase)
จะต อ งมี เ บสเป น คู ส ม (complementary) เ มื่ อ นํ า ห ล อ ด ท ด ล อ ง ที่ มี ส ว น
กับลําดับเบสของนิวคลีโอไทด ที่ปรากฏอยู ป ร ะ ก อ บ ทั้ ง ห ม ด นี้ ไ ป อุ น ที่ อุ ณ ห ภู มิ
บนสายดี เ อ็ น เอแม พิ ม พ เมื่ อ ปฏิ กิ ริ ย า เหมาะสม ปฏิ กิ ริ ย าจะดํ า เนิ น ไป อย า ง
ดําเนินไปจนเสร็จสมบูรณแลว จากดีเอ็นเอ สมบู ร ณ ใ ห ผ ลิ ต ผลเป น ดี เ อ็ น เอสายใหม
แมพิมพเกลียวคู 1 สาย จะไดผลิตผลเปนดี ที่มีลําดับนิวคลีโอไทดตามตองการ
เอ็นเอเกลียวคู 2 สาย ซึ่ง แต ละสาย ดัง นั้น ปฏิ กิ ริยาลูกโซโพลีเมอเรส
ประกอบดวยดีเอ็นเอสายเดี่ยวที่สรางใหม (Polymerase chain reaction; PCR) จะทํา
หนึ่งเสน รวมกับดีเอนเอแมพิมพสายเดี่ยว ให มี ก ารเพิ่ ม จํ า นวนของสายดี เ อ็ น เอที่
อีกหนึ่งเสน ตองการจากเดิมที่มีอยูจํานวนนอยมากใหมี
การสังเคราะหดีเอ็นเอในหลอดทด ปริมาณมากขึ้นจนกระทั่งสามารถมองเห็น
ลองสามารถกระทําได โดยการเลียนแบบ ไดหลังจากการทํา gel electrophoresis
ในสิ่งมีชีวติ สารละลายผสมที่จะใชทํา และยอมดวย ethidium bromide
ปฏิกิริยาในหลอดทดลองนั้นประกอบดวย การสั ง เคราะห ดี เ อ็ น เอแต ล ะรอบ
1. ดีเอ็นเอแมพิมพ ซึ่งเปนดีเอ็นเอที่ ของการทําปฏิกิริยา PCR นั้นประกอบดวย
สกัดมาจากเซลลของสิ่งมีชีวิตที่สนใจจะ ขั้นตอน 3 ขั้นตอนตามลําดับดังนี้คือ
ทําการศึกษา สวน specific primers เปนนิ 1. Denaturation การใหความรอน
วคลีโอไทดสายสั้นๆ (oligonucleotides) ที่ กั บ ของผสมทั้ ง หมดที่ ก ล า ว ข า งต น ที่
มีความยาวพอเหมาะ 2 สาย แตละสายจะมี อุณหภูมิสูง (90-95oC) เพื่อใหดีเอ็นเอ
เบสที่เปนคูสมสอดคลองกับลําดับเบสของดี แมพิมพเกลียวคูแตกตัวเปนสายเดี่ยว
เอ็นเอแมพิมพสายเดี่ยวแตละสาย ที่อยู 2. Primer annealing ลดความรอน
บริเวณริมนอกสุดของดีเอ็นเอ ที่จะทําการ กั บ ของผสมที่ อุ ณ หภู มิ จํ า เพาะ (Tm-2oC)
สังเคราะห เพื่อให primers เกาะกับดีเอ็นเอแมพิมพ
2. primer แตละสายจะจับกับดีเอ็น สายเดี่ยวแตละสาย ตรงบริเวณจําเพาะได
เอแมพิมพสายเดี่ยวแตละเสน ตรงบริเวณ 3. Extension เพิ่มอุณหภูมิไปที่
ปลาย 3' ของดีเอ็นเอที่ตองการสังเคราะห o
75 C เพื่อทําให thermostable DNA
3. deoxyribonucleoside-5'- polymeraseสามารถสรางดีเอ็นเอสายใหม
triphosphate ทั้ง 4 ชนิด (dATP, dGTP, ได
dCTPและdTTP) เมื่ อ ทํ า ปฏิ กิ ริ ย าการสั ง เคราะห
4. สารละลายบัฟเฟอร ที่มี ตามลําดับ 3 ขั้นตอนแลวถือวาครบการทํา
องคประกอบของอิออนตางๆที่พอเหมาะ Polymerase chain reaction ครบ 1 รอบ
โดยทั่วไปจะทําปฏิกิริยานี้ประมาณ 20-30

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


91

รอบซึ่งจะไดผลผลิตเปนดีเอ็นเอสายใหมใน ตางๆ มากมาย รวมทั้งพยาธิโปรโตซัวชนิด


ปริมาณมากมาย (รูปที่ 1) ตางๆ เชน Entamoeba histolytica และ
ปจจุบันนี้ไดมีการนําเทคนิค PCR มาใช Cryptosporidium parvum ดวยเชนกัน
ประโยชนในการตรวจวินิจฉัยหาเชื้อพยาธิ

รูปที่ 1. ภาพแสดงขั้นตอนของการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอโดยวิธี PCR

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


92

ปริมาณผลผลิตดีเอ็นเอหลังการทําปฏิกิริยา PCR

จํานวนรอบ ปริมาณผลผลิต
0 1
1 2
2 4
3 8
4 16
5 32
6 64
7 128
8 256
9 512
10 1,024
20 1,048,576
30 1,073,741,824
n
ปริมาณผลผลิต = 2 , n = จํานวนรอบ

846 bp

รูปที่ 2. การตรวจวินิจฉัยหา E. histolytica and E. dispar โดยวิธี PCR. Lane 1-4 เกิดจาก
การใช E.histolytica specific primers สวน Lane 6-9 เกิดจากการใช E. dispar
specific primers แลวนํา products มา run บน 2% agarose gel electrophoresis.
Lane 1 และ 6: E. histolytica positive controls; Lane 3 และ 8: E. histolytica
positive fecal specimens; Lane 2 และ 7 : E. dispar positive controls; Lane 4
และ 9: E. dispar positive fecal specimens; Lane 5: DNA markers.

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


รูปที่ 3. การตรวจวินิจฉัยหา Cryptosporidium parvum DNA โดยวิธี PCR แลวนํามา run
บน 2% agarose gel electrophoresis. Lane S: Molecular base pair standard
(100-bp ladder). Lane 1: C. parvum (cattle genotype) positive fecal
specimen

นอกจากนี้ เ ราสามารถที่ จ ะใช ถา product band มีขนาด 411 bp เชื้อที่


primers ที่จําเพาะกับสายพันธุเพื่อชวยใน ตรวจพบจะไดแก human genotype แตถา
การจํ า แนกสายพั น ธุ ข องเชื้ อ ว า เป น C. ได product band ขนาด 312 bp จะเปน
parvum ชนิด cattle genotype หรือ เชื้อชนิด cattle genotype
human genotype โดยวิธี PCR ไดอีกดวย

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


94

References

1. Deng MQ, Cliver DO. Differentiation of Cryptosporidium parvum isolates by simplified


randomly polymorphic DNA technique. Appl Environ Microbiol 1998;64:1954-7.
2. Morgan UM, Constantine CC, Forbes DA, Thompson RCA. Differentiation between
human and animal isolates of Cryptosporidium parvum using rDNA sequencing and
direct PCR analysis. J Parasitol 1997;83:825-30.
3. Morgan UM, Sargent KD, Deplazes P, et al. Molecular characterisation of
Cryptosporidium from various hosts. Parasitology 1998;117:31-37.
4. Xiao L, Escalante L, Yang CF, et al. Phylogenetic analysis of Cryptosporidium
parasites based on the small subunit ribosomal RNA gene locus. Appl Environ
Microbiol 1999a;65:1578-3.
5. Xiao L, Morgan U, Limor J, et al. Genetic diversity within Cryptosporidium parvum
and related Cryptosporidium species. Appl Environ Microbiol 1999b;65:3386-91.
6. Morgan UM, Weber R, Xiao L, et al. Molecular characterisation of Cryptosporidium
isolates obtained from HIV-infected individuals living inSwitzerland, Kenya and the
USA. J Clin Microbio 2000;38:1180-3.
7. Hamzah Z, Petmitr S, Mungthin M, Leelayoova S, Chavalitshewinkoon- Petmitr P.
Differential detection of Entamoeba histolytica, Entamoeba dispar and
Entamoeba moshkovskii by a single-round PCR assay. Journal of Clinical
Microbiology 2006; 44: 3196-3200.

-------------------------------------

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


เคล็ดลับการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสดวยวิธี Kato’s Thick Smear Method

ผศ. ดร. โชติชวง พนโสภณกุล


ภาควิชากีฏวิทยาการแพทย คณะเวชศาสตรเขตรอน

เปนวิธีตรวจพิเศษที่ใหผลดีกวาการ วัสดุและอุปกรณ
ตรวจแบบ Simple Direct Smear Method 1. แผนกระจกสไลด (microscope slide)
เพราะใช จํ า นวนอุ จ จาระมากกว า 30-50 2. ไมตักอุจจาระ (applicator)
เทา เปนวิธีที่นิยมใชตรวจหา ไขพยาธิ 3. ปากคีบ (forcep)
โดยเฉพาะพยาธิ ก ลุ ม ที่ ติ ด จากดิ น (Soil- 4. จุกยาง
transmitted helminths) แตใชไมไดกับตัว 5. แผนกระดาษซับกวางยาวประมาณ 7 x
ออนของพยาธิ และพวกโปรโตซัว 9 ซม.
น้ํ า ยาที่ ใ ช อ าจทํ า ให ลั ก ษณะของไข 6. แ ผ น ก ร ะ ด า ษ แ ก ว ช นิ ด ดู ด ซั บ น้ํ า
พยาธิเปลี่ยนแปลงไปบางจนอาจทําใหการ (cellophane, wettable type) ความ
แยกชนิดยากขึ้น ดังนั้นผูที่จะใชวิธีตรวจนี้ ห น า ป า น ก ลา ง ป ร ะ ม า ณ 4 0 -5 0
ควรไดรับการฝกฝนเพื่อใหมีประสบการณที่ ไมครอน ตั ด เป น แผ น ขนาดประมาณ
จะสามารถแยกไขของพยาธิที่เปลี่ยนแปลง 22 x 30 มม.
ไปได 7. Glycerin – malachite green solution
- glycerin (pure) 100 ml.
หลักการ - 6% phenol (หรือน้ํากลั่น)100 ml.
ก า ร ต ร ว จ ด ว ย วิ ธี นี้ จ ะ ใ ช - 3% malachite green 1 ml.
แผนกระดาษแกว (cellophane) ที่แชใน - ผสมสวนประกอบตางๆ ใหเขากัน
น้ํายา malachite green และ glycerin เปน เก็บในขวดปดฝาเกลียว
ตัวปดทับกอนอุจจาระแลวกดใหแผกระจาย - นําแผนกระดาษแกวที่ตัดไวแชลงใน
ออกเปนแผนฟลม อุจจาระซึ่งคอนขางหนา น้ํายานี้อยางนอย 24 ชม. ควรปดฝา
โดย glycerin จะเปนตัวทําใหแผนฟลม ใหแนนเพื่อเก็บไวใชไดนานๆ
อุ จ จาระใสขึ้ น เพื่ อ ทํ า ให เ ห็ น ไข พ ยาธิ ไ ด วิธีทํา
ชัดเจนขึ้น และ malachite green จะเปนตัว 1. ตั ก อุ จ จาระประมาณ 50-60 มก.
กรองแสง (ประมาณเมล็ ด ถั่ ว แดงขนาดเล็ ก )
วางลงบนกลางแผนกระจกสไลด

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 96 -

2. ใช forcep คีบแผนกระดาษแกวที่แช 4. วางทิ้งไวที่อุณหภูมิหองประมาณ 30


ในน้ํายา 1 แผน ปดทับลงบนกอน – 60 นาที
อุจจาระ 5. นําไปตรวจดูดวยกลองจุลทรรศน
3. ใชจุกยางกดเพื่อใหอุจจาระแผ 6. การรายงานผลก็เพียงบอกวา พบไข
กระจายออกไปอยางสม่ําเสมอ และ ของพยาธิอะไรบาง เปนการตรวจ
บางพอควร หรือจะใชวิธีกลับแผน เชิงคุณภาพ (Qualitative method)
สไลดแลวกดลงบนแผนกระดาษซับ เทานั้น
เพื่อใหอุจจาระแผกระจายเปนวงรัศมี
ตามขนาดของกระดาษแกว

Kato-Katz Thick Smear Method (Katz modified thick smear method)

วิธีนี้คุณ Katz และคณะ ดัดแปลงมา 5. แผนกระดาษซับ ประมาณ 7 x 9


จากการตรวจฟ ล ม อุ จ จาระหนาแบบของ ซม.
Kato (Kato’s thick smear method) โดย 6. แผนกระดาษแข็งขนาดมาตรฐาน 30
ทํ า ใ ห เ ป น ก า ร ต ร ว จ เ ชิ ง ป ริ ม า ณ x 40 x 1.37 มม. และเจาะรูตรงกลาง
(Quantitative method) คือ การนับจํานวน ใหมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 6 มม.
ไข 7. ตะแกรงลวดขนาด 105 ช อ งต อ
ตารางนิ้ว ตัดใหเปนแผนขนาดพอๆ
หลักการ กับแผนกระดาษแข็ง
เหมื อ นกั บ วิ ธี ข อง Kato เพี ย งแต 8. แ ผ น ก ร ะ ด า ษ แ ก ว ที่ แ ช ใ น น้ํ า ย า
กรองและตวงเอาปริมาณของอุจจาระที่จะ glycerine-malachite green เหมือนกับที่
ใช แ ล ว นั บ จํ า นวนไข เพื่ อ ให ส ามารถ ใชในวิธีของ Kato
คํานวณปริมาณไขตอน้ําหนักอุจจาระ หรือ
จํานวนพยาธิในรางกายเพื่อวิเคราะหความ วิธีทํา
รุนแรงของโรคและผลการรักษา 1. ใชไมเขี่ยอุจจาระจากหลายๆ จุด ตัก
ใสลงบนแผนกระดาษซับ
วัสดุและอุปกรณ 2. ว างต ะแก รงลวด ทั บ ลงบนก อ น
1. แผนกระจกสไลด (microscope อุจจาระ และกดใหอุจจาระผานขึ้นมา
slide) บนตะแกรงลวด
2. ไมตักอุจจาระ (applicator) 3. ตักอุจจาระสวนที่อยูบนตะแกรงนี้ ไป
3. ปากคีบ (forcep) ตวงใสในรูชองของกระดาษแข็ง ซึ่ง
4. จุกยาง วางบนแผนสไลด ใสใหเต็ม และปาด
ใหเสมอพอดีกับรูชองกระดาษ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 97 -

4. คอยๆ ยกกระดาษแข็งออก จะได รัศมีตามขนาดของกระดาษแกว


กอนอุจจาระบนแผนสไลดประมาณ (ระวังอยาใหลนเกินออกมานอก
43.7 มก. แลวทําตอเหมือนวิธีของ แผนกระดาษแกว)
Kato 7. วางทิ้งไวที่อุณหภูมิหอง ประมาณ
5. ใช forcep คีบแผนกระดาษแกวที่แช 30-60 นาที
ในน้ํายา 1 แผน ปดทับลงบนกอน 8. นําไปตรวจนับไขทั้งหมดในแผนฟลม
อุจจาระ อุจจาระนี้ดวยกลองจุลทรรศน
6. ใชจุกยางกดเพื่อใหอุจจาระแผ
กระจายออกไปอยางสม่ําเสมอ และ การรายงานผล
บางพอควร หรือจะใชวิธีกลับแผน จํานวนไขตออุจจาระ 1 กรัม
สไลดแลวกดลงบนแผนกระดาซับ (NEPG) = จํานวนไขที่นับได x 23
เพื่อใหอุจจาระแผกระจายออกเปนวง

รูปแสดงการตรวจวินิจฉัยพยาธิลําไสดวยวิธี Kato’s Thick Smear Method

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 98 -

รูปไขพยาธิที่ตรวจในอุจจาระพบเสมอ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 99 -

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 100 -

บรรยายรูปพยาธิโปรโตซัว
Amoebae
A01 Entamoeba histolytica ระยะ trophozoite smear จาก culture
A02 Entamoeba histolytica ระยะ trophozoite ยอมดวยสี trichrome มีเม็ดเลือด
แดงที่ถูกกินเขาไปภายใน cytoplasm ของเชื้อ
A03 Entamoeba histolytica ระยะซีสต นิวเคลียส 1 อัน ยอมดวยสี trichrome
และมี chromatoid body ที่มีปลายมน
A04 Entamoeba histolytica ระยะซีสต นิวเคลียส 8 อันยอมดวยสี trichrome
A05 Entamoeba coli ระยะ trophozoite ยอมดวยสี trichrome
A06 Entamoeba coli ระยะซีสต ยอมดวยสี trichrome และมี chromatoid
body ที่มีปลายแหลม
A07 Entamoeba coli ระยะซีสต ยอมดวยสี trichrome นิวเคลียส 8 อัน
A08 Blastocystis hominis ระยะ vacuolated form สังเกต peripheral nuclei 4-
8 อัน (บน) จากอุจจาระสดในน้ําเกลือ และ (ลาง)
ยอมดวยสี trichrome
A09 Entamoeba histolytica ระยะซีสตใน iodine solution
A10 Entamoeba histolytica ระยะซีสตใน Normal saline solution
A11 Entamoeba coli ระยะซีสตใน iodine solution
A12 Idamoeba butschlii ระยะซีสตใน iodine solution

Malaria
B01 Plasmodium falciparum ระยะ ring form
B02 Plasmodium falciparum ระยะ gametocyte รูปรางคลายกลวยหอม
B03 Plasmodium vivax ระยะ growing trophozoite (amoeboid form)
B04 Plasmodium vivax ระยะ late trophozoite สังเกต infected RBC ขนาด
โตขึ้นและจุดขนาดเล็กติสีชมพูจํานวนมาก เรียกวา
Schuffner’s dots
B05 Plasmodium vivax ระยะ mature schizont สังเกต malarial pigment
ตรงกลาง
B06 Plasmodium vivax ระยะ macrogametocyte สังเกต chromatin จะเกาะ
กลุมคอนไปอยูขางใดขางหนึ่ง malarial pigment
กระจายอยูทั่วไป
B07 Plasmodium malariae ระยะ growing trophozoite (band form)
B08 Plasmodium malariae ระยะ growing trophozoite (compact form)

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 101 -

B09 Plasmodium malariae ระยะ growing schizont


B10 Plasmodium malariae ระยะ mature schizont มักเรียงตัวเปนดอกกุหลาบ
(rosette formation)
B11 Plasmodium malariae ระยะ microgametocyte chromatin กอนโต ขรุขระ
ขอบเขตไมชัดเจน กระจายหลวมๆ เขาไปในสวน
cytoplasm
B12 Plasmodium ovale ระยะ growing trophozoite สังเกต infected RBC ที่
มีขนาดโตขึ้น และ รูปรางคลายหยดน้ํา
B13 Plasmodium ovale ระยะ mature schizont
B14 Plasmodium ovale ระยะ macrogametocyte
B15 Plasmodium ovale ระยะ microgametocyte

Flagellates & Ciliate


C01 Trypanosoma cruzi ระยะ trypomastigote จากกระแสเลือด ยอมสี
Giemsa
C02 Trypanosoma gambiense ระยะ trypomastigote จากกระแสเลือด
C03 Trypanosoma cruzi ระยะ epimastigote จากลําไสสวนลางของมวน
เพชฌฆาต (triatomid bug)
C04 Leishmania donovani ระยะ promastigote จากอาหารที่เพาะเลี้ยงเชื้อใน
หองปฏิบัติการ
C05 Leishmania donovani ระยะ amastigote จากการ smear เลือดของผูปวย
ยอมดวยสี Giemsa
D01 Giardia intestinalis ระยะ trophozoite ยอมดวยสีGiemsa
D02 Giardia intestinalis ระยะซีสต ยอมดวยสี trichrome
D03 Giardia intestinalis ระยะซีสตใน normal saline solution
D04 Trichomonas vaginalis ระยะ trophozoite ยอมดวยสี Giemsa
D05 Dientamoeba fragilis ระยะ trophozoite ยอมดวยสี trichrome
D06 Balantidium coli ระยะ trophozoite ยอมดวยสี iron-hematoxylin
D07 Balantidium coli ระยะซีสต ยอมดวยสี iron-hematoxylin
D08 Trichomonas vaginalis ระยะ trophozoite จากอาหารที่เพาะเลี้ยงเชื้อใน
หองปฏิบัติการ

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 102 -

Coccidia
E01 Cryptosporidium parvum ระยะ mature oocyst ยอมดวยสี DMSO
E02 Cyclospora cayetanensis ระยะ mature oocyst ยอมดวยสี DMSO
E03 Isospora bellu ระยะ immature oocyst (บน) และระยะ mature
oocyst (ลาง) ใน normal saline solution
E04 Toxoplasma gondii ระยะ trophozoites จาก peritoneal fluid ของหนู
ทดลอง ยอมดวยสี Giemsa
E05 Toxoplasma gondii ระยะ pseudocyst ในตับของหนูทดลอง ยอมดวยสี
Giemsa
E06 Microsporidium ระยะ oocyst ยอมดวยสี Gram Chromotope
E07 Sarcocystis sp. ระยะ oocyst ใน normal saline solution
E08 Sarcocystis sp. ระยะ cyst ในกลามเนื้อลาย

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 103 -

รายชื่อผูเขารับการอบรมฯ (รุนที่ 1)

No. ชื่อ - นามสกุล สถานที่ทํางาน โทรศัพท

งานหองปฏิบัติการเทคนิคการแพทย โรงพยาบาล
02-9269117
1 นายกฤษฎา ศิริสภาภรณ ธรรมศาสตร-เฉลิมพระเกียรติ ตําบลคลองหนึ่ง
081-7115834
อําเภอคลองหนึ่งจังหวัดปทุมธานี 12120
โรงพยาบาลปากน้ําหลังสวน ตําบลปากน้ํา อําเภอ 077-551249
2 นางทัศพร บุญนํา
หลังสวนจังหวัดชุมพร 084-6891566
077-503672-4
โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ตําบลทาตะเภา
3 นางรุงอรุณ รอดประเสริฐ ตอ 149
อําเภอเมืองจังหวัดชุมพร 86000
086-5931648
งานโลหิตวิทยาและจุลทรรศาสตรคลินิค สถาบัน
4 นางสาวกรศิริ บุญประเทือง บําราศนราดูร ตําบลตลอดขวัญ อําเภอเมือง 02-5903543
จังหวัดนนทบุรี 11000
งานโลหิตวิทยาและจุลทรรศาสตรคลินิค สถาบัน
5 นางสาวเตือนใจ ขันรักษา บําราศนราดูร ตําบลตลอดขวัญ อําเภอเมือง 02-5903543
จังหวัดนนทบุรี 11000
งานชันสูตรโรค สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 6 043-222818-9
6 นายเสรี สิงหทอง
อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000 086-8541819
งานปรสิตวิทยา กลุมงานพยาธิวิทยา 02-207-6000
7 พ.ต.ท.หญิงสุดาวดี ระลึกฤาเดช โรงพยาบาลตํารวจ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ตอ 6428
10330 083-995-7598
โรงพยาบาลสหัสขันธ 48 หมู 10 ตําบลโนนบุรี 043-871030
8 นางสุทิน ราชสําเภา
อําเภอสหัสขันธ จังหวัดกาฬสินธุ 081-7690812
งานจุลทรรศนคลินิค โรงพยาบาลราชวิถี ถนน
9 นางจรรยา จิรพงศพิทักษ 086-5218200
ราชวิถี อําเภอพญาไท กรุงเทพฯ 10400
งานโรคโลหิตและจุลทรรศนศาสตรคลินิค
10 นายวรวัฒน ไทรทรง โรงพยาบาลราชวิถี ถนนราชวิถี อําเภอพญาไท 087-9065691
กรุงเทพฯ 10400
043-336789
โรงพยาบาลขอนแกน 56 ถนนศรีจันทร ตําบลใน
11 นางสาวจิราพร อาจวิชัย ตอ 1332
เมือง อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000
089-5138279
โรงพยาบาลบานแพว (องคการมหาชน) 198 หมู 1
12 นางสาวภัทราวดี บุญมาตย ตําบลบานแพว อําเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร 087-6822217
74120
ภาควิชาวิทยาศาสตรการแพทย คณะวิทยาศาสตร 02-9972222
13 นางสาวอินทิรา แถมพยัคฆ
มหาวิทยาลัยรังสิต ถนนพหลโยธิน เมืองเอก ตอ 1472

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 104 -

No. ชื่อ - นามสกุล สถานที่ทํางาน โทรศัพท


หองปฏิบัติการชันสูตรโรค โรงพยาบาลบางระจัน
036-544435
14 นายสมพงษ เจริญพรหม ตําบลเชิงกลัด อําเภอบางระจัน จังหวัดสิงหบุรี
081-1913384
16130
โรงพยาบาลพระนั่งเกลา 206 ถนนนนทบุรี 1 02-5284567
15 นางนันทวรรณ ศักดิ์ดี ตําบลบางกระสอ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ตอ 3141
10000 081-1559951
กลุมงานพยาธิวิทยาคลินิค โรงพยาบาล 032-601060
16 นางสาวกาญจนา สิมหาบุตร ประจวบคีรีขันธ อําเภอเมือง จังหวัด ตอ 2097
ประจวบคีรีขันธ 77000 084-0288541
032-327999
17 นางสาวสุมาลี นาคเอี่ยม โรงพยาบาลราชบุรี อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี
ตอ 1251
044-615007
โรงพยาบาลบุรีรัมย 10/1 ถนนหนาสถานี
18 นางอุไร บุราสิทธิ์ ตอ 2165
อําเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย 31000
0831428198
โรงพยาบาลปตตานี อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี 073-331335
19 นางสาวฮามีดะ แวบือราเบ็ง
94000 087-9683743
โรงพยาบาลศรีสัชนาลัย อําเภอศรีสัชนาลัย 055-673136
20 นางสาววราภรณ แดงอาจ
จังหวัดสุโขทัย 083-6757818
โรงพยาบาลชํานิ 105 หมู 8 อําเภอชํานิ จังหวัด 044-609054-7
21 นางสาวบุญรัตน ทับศรีแกว
บุรีรัมย 31110 084-8857751
053-731300
โรงพยาบาลแมสาย อําเภอแมสาย จังหวัด
22 นางสาวจุฑารัตน ติวสูงเนิน ตอ 2199
เชียงราย
086-889-6499
075-281448
โรงพยาบาลยานตาขาว ตําบลยานตาขาว อําเภอ
23 นางสาวกลิกา ยิ้วเหี้ยง ตอ 104
ยานตาขาว จังหวัดตรัง 92140
084-0532471
โรงพยาบาลบานโปง อําเภอบานโปง จังหวัด 032-222841-6
24 นางประภาพรรณ หวังสมบัติเจริญ
ราชบุรี 70110 081-407-9161
044-193117-8
25 นางสาวนาถยา ภูมิประเสริฐ โรงพยาบาลแคนดง อําเภอแคนดง จังหวัดบุรีรัมย
080-0685292
โรงพยาบาลควนขนุน อําเภอควนขนุน จังหวัด
26 นางสาววีริสา บุญโชคหิรัญเมธี 087-974-1191
พัทลุง
โรงพยาบาลเขมราฐ อําเภอเขมราฐ จังหวัด 045-491182
27 นางสาวอภิรดี มรกตเขียว
อุบลราชธานี 34170 089-054-4177

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 105 -

No. ชื่อ - นามสกุล สถานที่ทํางาน โทรศัพท

045-376097-8
โรงพยาบาลบุณฑริก 200 หมู 1 ตําบลโพนงาม
28 นายอภินันท ประเสริฐ ตอ 109
อําเภอบุณฑริกจังหวัดอุบลราชธานี 34230
085-028-3407
โรงพยาบาลเปอยนอย อําเภอเปอยนอย จังหวัด 043-494002-3
29 นางสาวพิมลพรรณ ถนอมศักดิ์
ขอนแกน 40340 086-2478171
056-720-680
โรงพยาบาลเพชรรัตน 2/1 ถนนสามัคคีชัย
30 นางสาวนัทศวรรณ โฆษิตานนท ตอ 104
อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ 67000
087-526-4490
043-877110
โรงพยาบาลทาคันโต 183 หมู 1 ตําบลนาตาล
31 นายจิรวัฒน มิ่งไชย ตอ 107
อําเภอทาคันโต จังหวัดกาฬสินธุ
083-842-2833
02-2564000
ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร
32 นายธงชัย หงศรีเมือง ตอ 3685
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยปทุมวัน กรุงเทพฯ
086-247-9216
093-591040
33 นายสิริชัย พุกกะพันธุ โรงพยาบาลบอไร อําเภอบอไร จังหวัดตราด ตอ 109
081-885-6773
แผนกชันสูตรโรค โรงพยาบาลตราด อําเภอเมือง 039-511040
34 นางสาวตรีชฎา วิจิตรสมบัติ
จังหวัดตราด 23000 ตอ 220
หองปฏิบัติการ โรงพยาบาลเกษมราษฎร ประชา
35 นางสาวสุธัญญา วะสูงเนิน ชื่น 950 ถนนประชาชื่น เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 02-910-1600
10800
081-0922299
โรงพยาบาลสตูล 55/1 ถนนหัตถกรรมศีกษา
36 นางสาวสุภลักษณ ศรีนวล 074-723505
ตําบลพิมาน อําเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000
ตอ 576
โรงพยาบาลอัมพวา อําเภออัมพวา จังหวัด 034-702112-4
37 นางสาวพิมพลักษณ ไชยเศรษฐ
สมุทรสงคราม 75110 089-6113510
056-537130
หองปฏิบัติการ โรงพยาบาลลานสัก อําเภอลานสัก
38 นางสาวจารุวัฒน อักษร ตอ 109
จังหวัดอุทัยธานี
089-8601165
039-511040
โรงพยาบาลตราด แผนกชันสูตรโรค อําเภอ
39 นางนงลักษณ บุญวาที ตอ 220
เมือง จังหวัดตราด 23000
086-8197638

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 106 -

No. ชื่อ - นามสกุล สถานที่ทํางาน โทรศัพท

054-271005-6
40 นางอัมพิกา ประทุม โรงพยาบาลแจหม อําเภอแจหม จังหวัดลําปาง 52120 ตอ 133
085-0748368
โรงพยาบาลนาดี 393 หมู 1 อําเภอนาดี จังหวัด 037-289057
41 นายศุภชัย เจริญนุช
ปราจีนบุรี 25220 085-3681202
081-6707337
โรงพยาบาลสุวรรณภูมิ ถนนปทมานนท อําเภอสุวรรณ
42 นางสาวธาดารัตน ทองพิทักษ 043-5811321
ภูมิ จังหวัดรอยเอ็ด 45130
ตอ 108
044-811005-8
หองจุลทรรศนคลินิก กลุมงานพยาธิวิทยาคลินิก
43 นายศักดิ์ชัย โมครัตน ตอ 1355
โรงพยาบาลชัยภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ
089-7219871
โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ วัดไรขิง ตําบลไรขิง
44 นางสาวทิพวรรณ เพื่อนฝูง 089-7444616
อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210
45 นางสาวสุกัลยา แสงดี โรงพยาบาลสงขลา อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90100 086-2930328
งานจุลทรรศนคลินิค กลุมงานพยาธิวิทยาคลินิก
045-244973
46 นายจารึก วงษศรีแกว โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค อําเภอเมือง
ตอ 1464
จังหวัดอุบลราชธานี 34000
053-569187
กลุมงานพยาธิวิทยาคลินิก โรงพยาบาลลําพูน อําเภอ
47 นางสาวปวีณธิดา กาวินา ตอ 13
เมือง จังหวัดลําพูน
081-8827190
037-321440
กลุมงานพยาธิวิทยาคลินิก โรงพยาบาลนครนายก
48 นางสุมณฑา สุผล ตอ 185
อําเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000
081-6496959
077-391117-8
หองปฏิบัติการชันสูตร โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคม อําเภอ
49 นายสุทธิศักดิ์ บุญมานันท ตอ 115
คีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎรธานี
085-7941662
042-721111
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสวางแดนดิน อําเภอสวาง
50 นางชุติมา มุสิกะพันธ ตอ 1302
แดนดิน จังหวัดสกลนคร
089-4223635
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห ตําบลเวียง 084-5006014
51 นายศิริชัย สิทธิประเสริฐ
อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 053-711300

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 107 -

No. ชื่อ - นามสกุล สถานที่ทํางาน โทรศัพท


043-336789
โรงพยาบาลขอนแกน 56 ถนนศรีจันทร ตําบลในเมือง
52 นางสาวศุกรภาณี วิมลกลาง ตอ 1332
อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน 40000
085-8524424
โรงพยาบาลเกษตรสมบูรณ อําเภอเกษตรสมบูรณ 044-869000
53 นายสิทธิกุล วิเศษวงศา
จังหวัดชัยภูมิ 36120 ตอ 138
081-7915348
กลุมงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลอินทรบุรี อําเภอ
54 นางวัลลภา ปญหา 036-581-993
อินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี 16110
ตอ 223
หนวยจุลทรรศนศาสตรคิลนิก ภาควิชาพยาธิวิทยา
086-2877529
55 นางสาวกุลธิดา ทีปรักษพันธ โรงพยาบาลสงขลานครินทร อําเภอหาดใหญ จังหวัด
074-451566
สงขลา 90110
หนวยจุลทรรศนศาสตรคิลนิก ภาควิชาพยาธิวิทยา
074-451566
56 นางจุไร ไฝนุย โรงพยาบาลสงขลานครินทร อําเภอหาดใหญ จังหวัด
089-4687441
สงขลา
โรงพยาบาลบานคาย 144 หมู 4 ตําบลหนองละลอก 038-641005
57 นางสาวศิรินันท พิมเสน
อําเภอบานคาย จังหวัดระยอง 21120 086-6122007
086-0061041
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช สระแกว อําเภอเมือง
58 นายอิทธิกร สังขชม 037-243018
จังหวัดสระแกว 27000
ตอ 126
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย
59 นางสาวสุธาทิพย บุญสง มหาสารคาม ตําบลขามเรียง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัด 087-6417959
มหาสารคาม 44150
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย
60 นายอนุวัฒน วันทอง มหาสารคาม ตําบลขามเรียง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัด 084-0997802
มหาสารคาม 44150
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย
61 นางสุมาลี ชัยชนะดี มหาสารคาม ตําบลขามเรียง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัด 083-7494042
มหาสารคาม 44150
หนวยคลินิคัลไมโครสโครป ภาควิชาพยาธิวิทยา
02-2011330
62 นางสิรินทร ทรงงาม คณะแพทยศาสตรรามาธิบดี พญาไท เขตราชเทวี
089-981-1217
กรุงเทพฯ 10400

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 108 -

รายชื่อผูเขารับการอบรมฯ (รุนที่ 2)

No. ชื่อ - นามสกุล สถานที่ทํางาน โทรศัพท

สถาบันบําราศนราดูร งานโลหิตวิทยา จุลทรรศนศาสตร


1 นางสาวนฤมล ทีมประโยชน คลินิก ตําบลตลาดขวัญ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 02-590-3533
11000
สถาบันบําราศนราดูร งานโลหิตวิทยา จุลทรรศนศาสตร
2 นางหัสดี ฟองสุวรรณ คลินิก ตําบลตลาดขวัญ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 02-590-3533
11000
043-771686
3 นางสุรภา ภูจอมจิตร โรงพยาบาลบรบือ อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ตอ 109
โรงพยาบาลอุตรดิตถ 38 ถนนเจษฎาบดินทร อําเภอ 055-411064
4 นางทิพวัลย เกิดมีมูล
เมือง จังหวัดอุตรดิตถ 53000 089-1637960
โรงพยาบาลงาว 230 หมู 4 อําเภองาว จังหวัดลําปาง 054-861253
5 นายอนุพงษ สุภา
52110 081-2892389
074-273100
6 นางสุภาพร อุดมผล โรงพยาบาลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ตอ 1807
086-5984667
โรงพยาบาลลาดกระบัง เลขที่ 2 ถนนออนนุช- 02-3269995
7 นายประสิทธิ์ ชมชื่น ลาดกระบัง ตอ 212
แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบังกรุงเทพฯ 085-9838425
โรงพยาบาลศิริราช แผนกหองปฏิบัติการ 2 ตึกอดุลยเดช
8 นายวิทยา กองแกว วิกรม ชั้น 7 ถนนพรานนก แขวงศิริราช เขตบางกอก 086-3789435
นอย กรุงเทพฯ 10700
055-611782
โรงพยาบาลสุโขทัย อําเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย
9 นางวิภาภรณ พุมธนวัฒน ตอ 1308
64000
086-1223762
02-6192444
นางสาวชญานันท ธนโชค โรงพยาบาลพญาไท 2 943 ถนนพหลโยธิน แขวงสาม
10 ตอ 4601
ศาตนันท เสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
081-3010137
02-6172444
โรงพยาบาลพญาไท 2 943 ถนนพหลโยธิน แขวงสาม
11 นางสาวกลอยใจ แกวเกษ ตอ 4601
เสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
081-5517250
089-8904403
โรงพยาบาลพญาไท 1 364 ถนนศรีอยุธยา แขวง
12 นางสาวศิริพร รัตนเดชากุล 02-640-1111
พญาไทเขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
ตอ 3006

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 109 -

No. ชื่อ - นามสกุล สถานที่ทํางาน โทรศัพท

โรงพยาบาลราชวีถี กรมการแพทย งานจุลทรรศน


13 นางธัญวรัตม นิ่มแกว ศาสตรคลินิก เลขที่ 2 ถนนพญาไท เขตราชเทวี 089-9926662
กรุงเทพฯ 10400
โรงพยาบาลราชวีถี กรมการแพทย งานจุลทรรศน
14 นางนพภาพร เมืองทอง ศาสตรคลินิก เลขที่ 2 ถนนพญาไท เขตราชเทวี 089-8896376
กรุงเทพฯ 10400
โรงพยาบาลลําทะเมนชัย 222 หมู 1 ตําบลขุย อําเภอ 064-694070-1
15 นายอภิสิทธิ์ รักษศรี
ลําทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา 30270 080-1617086
056-731284
งานชันสูตร โรงพยาบาลบึงสามพัน 333 ถนนสระบุรี-
16 นางสาวภาวิณี ชลูดดง ตอ 106
หลมสัก อําเภอบังสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ 67160
084-0053173
080-2517395
นางสาวรัตนา จาหมื่นปราบ บมจ. โรงพยาบาลเอกชล 68/3 ถนนพระยาสัจจา
17 038-939999
นคร อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000
ตอ 2184, 2185
042-353443-5
โรงพยาบาลศรีบุญเรือง อําเภอศรีบุญเรือง จังหวัด
18 นางภาระณี แกวชูชื่น ตอ 111
หนองบัวลําภู 39180
081-7993119
073-331335
19 นายอิสมาแอ เวาะแม โรงพยาบาลปตตานี อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี
081-8961987
035-217118
โรงพยาบาลเสนา 51 หมู 1 ตําบลเจาเจ็ด อําเภอเสนา
20 นางลําดวน ไวจิฬา ตอ 220
จังหวัดอยุธยา 13110
089
โรงพยาบาลศรีธาตุ อําเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี 042-382330
21 นางวัชรียา คุยบุตร
41230 ตอ 108
081-084-3425
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเวียงสระ อําเภอเวียงสระ
22 นางสาวสุขนิรันตร ไกรสิทธิ์ 077-361-283
จังหวัดสุราษฎธานี 84190
ตอ 112
กลุมงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลสกลนคร ถนนเจริญ 042-711615
23 นายจักรทิพย ชองวารินทร เมือง ตําบลธาตุเชิงชุม อําเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ตอ 2351
47000 085-7450303
054-533500
โรงพยาบาลแพร ถนนชอแฮ อําเภอเมือง จังหวัดแพร
24 นางพึงใจ เชื้อชาติ ตอ 2204
54000
089-7586206
โรงพยาบาลวิเชียรบุรี 227 หมู 1 ตําบลสระประดู 056-928168
25 นางสาวปราณี เทพคุณ
อําเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ 67130 084-3333024

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 110 -

No. ชื่อ - นามสกุล สถานที่ทํางาน โทรศัพท

054-269506
งานชันสูตรสาธารณสุข โรงพยาบาลหางฉัตร อําเภอ
26 นางสาววรรณิดา ระวังถอย ตอ 145
หางฉัตร จังหวัดลําปาง 521190
086-1966381
044-339083
โรงพยาบาลแกวสนามนาง ตําบลแกวสนามนาง
27 นางสาววิไล เวทไธสง ตอ 107
อําเภอแกวสนาม-นาง จังหวัดนครราชสีมา 30440
086-7196458
โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ วัดไรขิง ตําบลไรขิง
28 นางลัดดา เดชไพรชลา 089-0164301
อําเภอสาม-พราน จังหวัดนครปฐม 73210
02-5284567
โรงพยาบาลพระนั่งเกลา 206 ถนนนนทบุรี 1 ตําบล
29 นางฐิติการัตน จันทะมา ตอ 3140
บางกระสอ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 10000
081-7225122
สํานักมาตรฐานหองปฏิบัติการ 02-9510000
30 นางสาวชนากานต เลิศประเสริฐ กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ตอ 99765
ถนนติวานนท นนทบุรี 11000 084-7253711
053-569187
กลุมงานพยาธิวิทยาคลินิก โรงพยาบาลลําพูน อําเภอ
31 นางศรีพรรณ ปุรณะพรรค ตอ 13
เมือง จังหวัดลําพูน 51000
081-9923819
โรงพยาบาลเขมราฐ อําเภอเขมราฐ จังหวัด
32 นายโกศัล บุตรหา 045-491182
อุบลราชธานี 34170
โรงพยาบาลนวนคร 98 หมู 13 ถนนพหลโยธิน
086-0699006
33 นางสาวรักษิณาพรรณ สุขปญญา ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
02-9091642
12120
045-677014
โรงพยาบาลศรีรัตนะ อําเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ
34 นางสาวเยาวรา เทียมทอง ตอ 118
33240
084-6638494
086-6947376
งานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
35 นางสาลินี วงษรวยดี 075-3402150
อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ตอ 4322
045-366149
โรงพยาบาลสิรินธร อําเภอสิรินธร จังหวัด
36 นายธีรุตม จูปรางค ตอ 104
อุบลราชธานี 34350
089-0753556
กลุมงานพยาธิวิทยาคลินิก โรงพยาบาลกาฬสินธุ 043-311020
37 นายคมสันต สวัสดิ์พละ
อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ ตอ 1324

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 111 -

No. ชื่อ - นามสกุล สถานที่ทํางาน โทรศัพท

โรงพยาบาลธารโต อําเภอธารโต จังหวัดยะลา 073-297041


38 นางสาวอุษา นวลวรรณ
95150 086-2877736
036-266111
โรงพยาบาลพระพุทธบาท อําเภอพระพุทธบาท
39 นางวาสนา กันแสน ตอ 4022
จังหวัดสระบุรี
080-6613398
02-3122990
โรงพยาบาลบางพลี อําเภอบางพลี จังหวัด
40 นางสาวนิสรา เนตรจันทร ตอ 1502
สมุทรปราการ
081-5574711
074-723-500-
โรงพยาบาลสตูล 55/1 ถนนหัตถกรรมศึกษา ตําบล
41 นายบุญฤทธิ์ เรืองหิรัญ 10
พิมาน อําเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000
081-4794719
โรงพยาบาลบานฉาง อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง
42 นางนัฐชลี วงคชัย 081-7816590
21130
โรงพยาบาลหลังสวน อําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร 077-653200-4
43 นายนันทิวัฒน ผุดวรรณา
86110 084-0602225
44 นางรัชนี ตั้งสกุล โรงพยาบาลชัยภูมิ อําเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 081-760-8547
โรงพยาบาลอุทัยธานี อําเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี 056-511081
45 นางจารุวรรณ เสมากูล
61000 081-280-3720
042-779105
โรงพยาบาลพระอาจารยฝน อาจาโร อําเภอพรรณา
46 นายณัฐพงศ สิทธิไชย ตอ 115
นิคม จังหวัดสกลนคร 47130
081-0492399
งานจุลทรรศสาสตร กลุมงานพยาธิคลินิค
47 นางมลวรรณ มิตรมาตร โรงพยาบาลสรรพสิทธิ-ประสงค อําเภอเมือง จังหวัด
อุบลราชธานี 34000
โรงพยาบาลกมลาไสย อําเภอกมลาไสย จังหวัด 043-899570
48 นางสาวอมรวดี สังฆคาม
กาฬสินธุ 46130 083-3399335
036-497105
โรงพยาบาลทาหลวง 29 หมู 9 ตําบลทาหลวง อําเภอ
49 นางสาวหทัยรัตน สีเกิดพงษ ตอ 109
ทาหลวง จังหวัดลพบุรี 15230
089-676-9383
043-811020
กลุมงานพยาธิวิทยาคลินิก โรงพยาบาลกาฬสินธุ
50 นายมงคลชัย พินิจจิตร ตอ 1384
อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ
087-8577082
แผนกวิเคราะห โรงพยาบาลกรุงธนบุรี 2 216/6 หมู 4
02-8746766-7
51 นายสุรชัย ศิริชัยโชค ถนนสุขสวัสดิ์ บางประกอก เขตราษฎรบูรณะ
ตอ 4109
กรุงเทพฯ 10140

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 112 -

No. ชื่อ - นามสกุล สถานที่ทํางาน โทรศัพท

โรงพยาบาลโคกศรีสุพรรณ อําเภอโคกศรีสุพรรณ 042-766054


52 นายสมัคร ถามูลแสน
จังหวัดสกลนคร 47280 087-2131249
077-391117-8
หองปฏิบัติการชันสูตร โรงพยาบาลคีรีรัฐนิคม อําเภอคีรี
53 นายวิรุณ ชวยยิ้ม ตอ 115
รัฐนิคม จังหวัดสุราษฎรธานี 84180
081-3971029
โรงพยาบาลพัทลุง 421 ถนนราเมศวร อําเภอเมือง
54 นางรุงทิวา วิทยาลัย 074-613008
จังหวัดพัทลุง 93000
โรงพยาบาลพนัสนิคม อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
55 นางสาวมณฑา แสงจันทร 087-0411696
20140
56 นางสาวบายาน มือสะ โรงพยาบาลปตตานี อําเภอเมือง จังหวัดปตตานี 086-961-6720
โรงพยาบาลศรีนครินทร งานเวชศาสตรชันสูตร อําเภอ 043-366985-6
57 นายมังกร ศรีบุญลือ
เมือง จังหวัดขอนแกน 40002 086-2231459
081-7915348
กลุมงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลอินทรบุรี อําเภออินทร
58 นางแสงทอง บางเขียว 036-581993
บุรี จังหวัดสิงหบุรี
ตอ 223
โรงพยาบาลเจาพระยายมราช ตําบลทาสี อําเภอเมือง
59 นายทรงวุฒิ บาตรวิจิตร 084-1656320
จังหวัดสุพรรณบุรี 16110
60 นางสาวบุญฑริกา มวงสุข โรงพยาบาลสุโขทัย อําเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย 086-737-9653
086-4119328
โรงพยาบาลโนนสุวรรณ อําเภอโนนสุวรรณ จังหวัด
61 นางสาวเบญจวรรณ แปนรินทร 044-607140
บุรีรัมย 31110
ตอ 121
02-4671111
โรงพยาบาลพญาไท 3 จํากัด 111 ถนนเพชรเกษม แขวง
62 นางสาวธารารัตน ประสานวงษ ตอ 3280-5
ปากคลองภาษีเจริญ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160
086-605-0030
โรงพยาบาลพญาไท 3 จํากัด 111 ถนนเพชรเกษม 02-4671111
63 นายขจรยศ ศรีสุข แขวงปากคลองภาษีเจริญ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ ตอ 3280-5
10160 086-605-0030
ภาควิชาวิทยาศาสตรการแพทย คณะวิทยาศาสตร
02-9972222
64 นายสุชิน ไวยศิลา มหาวิทยาลัยรังสิต ถนนพหลโยธิน เมืองเอก จังหวัด
ตอ 1439
ปทุมธานี 12000

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 113 -

ชุดสียอมพิเศษ
สําหรับเชื้อพยาธิโปรโตซัวแบบสําเร็จรูป

1. ชุดยอมพิเศษ Rapid DMSO modified Acid Fast Stain


(ขนาด 25 cc./50 cc. ราคา 1,200.-/ 2,000.- บาท)

2. ชุดยอมพิเศษ Gram Chromotrope


(ขนาด 25 cc./50 cc. ราคา 3,500.-/ 6,000.- บาท)

สอบถามรายละเอียด/สั่งซื้อไดที่
ภาควิชาพยาธิโปรโตซัว
คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล
โทร. 0-2354-9100-19 ตอ 1830-33

-----------------------------------

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 114 -

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 115 -

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips


- 116 -

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

Intestinal Protozoa: Simple Diagnostic Tips

You might also like