You are on page 1of 12

รายงาน

เรื่อง เครื่องมือทางการแพทย์ เครื่อง Madnetic resonance imaging MRI

เสนอ
อาจารย์ อารยา ข้อค้า

จัดทาโดย
นางสาวซีรีน ขวัญคาวิน 6611166208
นางสาวนัศซานา ยืนยงค์ 6611166211
นายภานุวฒ
ั น์ จันทร์ทรง 6611166221
นางสาวสุภาพร ผลภิญโญ 6611166230

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ฟิสิกส์สาหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ
สาขาวิชา สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566

รายงาน
เรื่อง เครื่องมือทางการแพทย์ เครื่อง Madnetic resonance imaging MRI

เสนอ
อาจารย์ อารยา ข้อค้า

จัดทาโดย
นางสาวซีรีน ขวัญคาวิน 6611166208
นางสาวนัศซานา ยืนยงค์ 6611166211
นายภานุวฒ
ั น์ จันทร์ทรง 6611166221
นางสาวสุภาพร ผลภิญโญ 6611166230

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ฟิสิกส์สาหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ
สาขาวิชา สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566

คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ฟิสิกส์สาหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ ชั้นปีที่ 1 โดยมีจุดประสงค์
เพื่อการศึกษาหาความรู้ใน เรื่อง เครื่องมือ Madnetic resonance imaging MRI เนื้อหาจะประกอบไปด้วย
หลักการทางานของเครื่องมือ อาการแบบไหนที่ควรมารับการตรวจ MRI วิธีใฃ้เครื่องมือ ประโยฃน์ของ
เครื่องมือ อันตรายจากเครื่องมือ และกรณีศึกษา หรือตัวอย่าง การนาเครื่องมือไปใช้ทางการแพทย์
คณะผู้จัดทาหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษาที่กาลังหาข้อมูล
เรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

คณะผู้จัดทา
นางสาวซีรีน ขวัญคาวิน
นางสาวนัศซานา ยืนยงค์
นายภานุวัฒน์ จันทร์ทรง
นางสาวสุภาพร ผลภิญโญ

สารบัญ
เรื่อง หน้า

คานา ก
สารบัญ ข
เครื่องมือ Madnetic resonance imaging MRI 1
หลักการทางาน 1-2
(อาการแบบไหนที่ควรมารับการตรวจ MRI)
วิธีการใช้งาน 2-4
- MRI ตรวจส่วนไหนของร่างกาย
- วิธีการตรวจ MRI
- การเตรียมตัวก่อน และหลังตรวจ MRI
- การตรวจด้วยเครื่อง MRI ใช้เวลานานเท่าไหร่
- ถ้ามีปัญหาระหว่างตรวจต้องทาอย่างไร
- ต้องเข้าอุโมงค์ กลัวที่แคบสามารถตรวจได้ไหม
ประโยชน์ของเครื่องMRI 5
อันตรายจากเครื่องMRI 6
กรณีศึกษา หรือ ตัวอย่าง การนาเครื่องมือไปใช้ทางการแพทย์ 7
อ้างอิง
1

เครื่องมือ Madnetic resonance imaging MRI

MRI หรือ การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ เทคนิคการสร้างภาพทางการแพทย์ที่ใช้ในรังสีวิทยาเพื่อ


การตรวจทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของร่างกายทั้งในด้านสุขภาพและโรคต่างๆโดยเครื่องตรวจที่ใช้
สนามแม่เหล็กและคลื่นวิทยุความเข้มสูงในการสร้างภาพเหมือนจริงของอวัยวะภายในต่างๆของร่างกาย
โดยเฉพาะ สมอง หัวใจ กระดูก-กล้ามเนื้อ และส่วนที่เป็นมะเร็ง ด้วยคอมพิวเตอร์รายละเอียดและความคมชัด
สูง เป็นภาพตามระนาบได้ทั้งแนวขวาง แนวยาวและแนวเฉียง เป็น 3 มิติ ภาพที่ได้จึงจะชัดเจนกว่า การ
ถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ หรือ CT Scan ทาให้แพทย์สามารถตรวจวินิจฉัยความผิดปกติในร่างกาย
ได้อย่างแม่นยา การตรวจทางการแพทย์ด้วยเครื่องมือชนิดนี้ไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดใดๆ แก่ร่างกาย และไม่
มีอันตรายจากรังสีตกค้าง

หลักการทางานของเครื่องMRI
เครื่อง MRI ประกอบด้วยแม่เหล็กซึ่งมีไฮโดรเจนอะตอม เมื่อร่างกายอยู่ท่ามกลางสนามแม่เหล็ก ร่างกาย
ก็จะมีโมเลกุลของน้า เครื่อง MRI ส่งสัญญาณวิทยุ เข้าไปกระตุ้นอวัยวะ ทาให้เกิดการกาทอน (Resonance)
ตามหลักการของฟิสิกส์ เมื่อเครื่องหยุดการส่งสัญญาณวิทยุแล้ว ร่างกายก็จะปล่อยไฮโดรเจนอะตอม เข้าสู่
อุปกรณ์เข้ารับสัญญาณ ออกมาเป็นสัญญาณภาพบนจอ อาศัยการส่งคลื่นวิทยุไปยังผู้ป่วยที่นอนอยู่ใน
สนามแม่เหล็กความเข้มสูง เมื่อหยุดกระตุ้นด้วยคลื่นวิทยุนิวเคลียสของอะตอมจะกลับเข้าสู่ภาวะระดับ
พลังงานปกติก็จะปลดปล่อยคลื่นวิทยุออกมาเป็นสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเราสามารถบันทึกคลื่นวิทยุที่
เนื้อเยื่อปล่ยออกมาแล้วนามาประมวลผล และสร้างภาพอวัยวะต่างๆ โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะได้ภาพที่
มีรายละเอียดของเนื้อเยื่อสูง และสามารถแสดงภาพได้ทุกระนาบของผู้ป่วย
2

อาการแบบไหนที่ควรมารับการตรวจ MRI
– ในผู้ที่เป็นพาหะไวรัสตับอักเสบบี ควรมาตรวจ MRI ของช่องท้อง หามะเร็งตับ
– มีประวัติว่าบิดาหรือมารดาเป็นเส้นเลือดในสมองแตก สมองโป่งพอง (Intracerebral Aneurysm) ควรมา
ตรวจ MRA เส้นเลือดสมอง
– เป็นโรคลมชัก
– มีอาการปวดหัว แขนขาอ่อนแรง หมดสติบ่อยๆ ความจาเสื่อมสับสน คลื่นใส้อาเจียน อาการวิงเวียนศีรษะ
คล้ายบ้านหมุน เสียการทรงตัว
ปากเบี้ยว หนังตาตก ลิ้นชาแข็ง ควรมาตรวจ MRI สมอง
– ปวดคอ ปวดหลัง ชาลงแขนหรือลาตัว ขาลีบ แขนหรือขาอ่อนแรง แขนขากระตุก สมรรถภาพทางเพศลดลง
ควบคุมปัสสาวะ อุจจาระไม่ได้ ควรมาตรวจ MRI ของกระดูกสันหลัง
– หายใจหอบเหนื่อย หายใจไม่อิ่ม ไอเรื้อรังไม่มีสาเหตุ เจ็บหน้าอก กลืนน้าหรืออาหารลาบาก ควรมาตรวจ
MRI ของทรวงอก
– ตัวเหลืองตาเหลืองคลื่นไส้อาเจียน เจ็บบริเวณชายโครง ท้องโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ควรมาตรวจ MRI ของช่อง
ท้องหรือท่อทางเดินน้าดีและถุงน้าดี
– ปวดท้องน้อยเป็นประจา มีเลือดออกจากช่องคลอด ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขัด ควรมาตรวจ MRI ของ
อุ้งเชิงกราน
– ได้รับอุบัติเหตุที่ข้อไม่ว่าจะเป็นข้อเข่า ข้อไหล่ ข้อศอก ข้อมือ ข้อนิ้ว ข้อตะโพก ข้อเท้า ควรมาตรวจ
MRI ของข้อนั้นๆ

วิธีใช้งานเครื่อง MRI
วิธีการตรวจ MRI เมื่อผู้ป่วยนอนลงบนเตียง เจ้าหน้าที่จะจัดตาแหน่งท่านอน และติดแถบรัดกันผู้ป่วย
ขยับ ติดเครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ที่ด้านซ้ายของหน้าอก และติดเครื่องวัดการหายใจไว้ที่หน้าท้อง ระหว่างการ
ตรวจจะมีเจ้าหน้าที่แจ้งผู้ป่วยให้กลั้นหายใจ ไม่เกิน20 วินาที เป็นระยะๆ ผู้ป่วยที่รับการฉีดสารทึบรังสีจะต้อง
ตรวจเลือดหาการทางานในไต ก่อนตรวจ MRI หลังจากนั้นแพทย์จะฉีดสารทึบรังสีเข้าที่เส้นเลือดดา
3

MRI ตรวจส่วนไหนของร่างกาย
- MRI สมอง สามารถตรวจได้ทุกเพศ ทุกวัย แม้ว่าจะไม่มีอาการทางสมอง โดยตรวจเนื้อสมอง และเส้น
เลือดสมอง หากมีอาการปวดหัว ความจาเสื่อม มึนหัว อาเจียน เห็นภาพซ้อน ควรมาตรวจ MRI สมอง
- MRI ช่องท้อง และกระดูกเชิงกราน สามารถตรวจได้ทุกเพศ ทุกวัย หรือหญิงตั้งครรภ์ ตรวจหาเนื้องอก
มะเร็งตับ นิ่ว ความผิดปกติของมดลูก และต่อมลูกหมาก
- MRI กระดูกสันหลัง สามารถตรวจให้เห็นถึง หากมีอาการปวดหลัง แขนขาอ่อนแรง อั้นปัสสาวะ
อุจจาระไม่ได้ หรือผู้ที่ประสบอุบัติเหตุมีปัญหา เรื่องหมอนรองกระดูก ควรมาตรวจ MRI กระดูกสันหลัง
เพื่อแพทย์จะได้วางแผนในการรักษา
- MRI กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ข้อ สามารถตรวจให้เห็นถึงการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ ในกระดูก หรือการฉีกขาด
ของกระดูกอ่อน ทาให้วางแผนการรักษา น้าในเข่า ข้อศอก หรือข้อนิ้ว
- MRI เส้นเลือด สามารถตรวจเส้นเลือดดา และเส้นเลือดแดง เพื่อหาความผิดปกติของการไหลเวียน
เลือด

วิธีการตรวจ MRI
- เมื่อผู้ป่วยนอนลงบนเตียง เจ้าหน้าที่จะจัดตาแหน่งท่านอน และติดแถบรัดกันผู้ป่วยขยับ
- ติดเครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ที่ด้านซ้ายของหน้าอก และติดเครื่องวัดการหายใจไว้ที่หน้าท้อง
- ระหว่างการตรวจจะมีเจ้าหน้าที่แจ้งผู้ป่วยให้กลั้นหายใจ ไม่เกิน20 วินาที เป็นระยะๆ
- ผู้ป่วยที่รับการฉีดสารทึบรังสีจะต้องตรวจเลือดหาการทางานในไต ก่อนตรวจ MRI หลังจากนั้น
แพทย์จะฉีดสารทึบรังสีเข้าที่เส้นเลือดดา

การเตรียมตัวก่อน และหลังตรวจ MRI


- ถ้าเป็นการตรวจ MRI ช่องท้อง และกระดูกเชิงกราน ต้องงดน้า และอาหาร 4-6 ชั่วโมง ตรวจ MRI
ส่วน อื่นๆไม่ต้องงด
- ผู้ป่วยต้องใส่ชุดของทางโรงพยาบาล ไม่แต่งหน้า ไม่นาเครื่องประดับที่ทาจากโลหะเข้าไป เช่น
นาฬิกาข้อมือ แหวน สร้อย เข้าไปขณะตรวจ เพราะจะทาให้ภาพที่สแกนออกมาไม่ชัดเจน
- ผู้ป่วยที่เป็นโรคกลัวที่แคบ แพทย์อาจจะมีการให้ยาสลบก่อนตรวจ
- ใช้เวลาในการตรวจ 45 นาที - 3 ชั่วโมง แล้วแต่กรณี
4

การตรวจด้วยเครื่อง MRI ใช้เวลานานเท่าไหร่


โดยการตรวจด้วยเครื่อง MRI นั้น ผู้รับการตรวจจะต้องนอนนิ่งๆ ในอุโมงค์ โดยระยะเวลาในการตรวจ
ขึ้นอยู่กับอวัยวะที่จะตรวจ เฉลี่ยประมาณ 30 นาที - 1 ชั่วโมง ทั้งนี้ยังขึ้นกับ รอยโรคที่สงสัย และความ
ร่วมมือของผู้ที่รับการตรวจด้วย เช่น การตรวจเพื่อดูความผิดปกติของเนื้อสมองโดยรวม จะอยู่ที่ประมาณ 30
นาที แต่ถ้าต้องการตรวจดูหลอดเลือดด้วย เวลาที่ใช้ในการตรวจ ก็จะเพิ่มขึ้นไปอีก กรณีที่ตรวจเพื่อดูความ
ผิดปกติของส่วนช่องท้อง จะใช้เวลาประมาณ 40-60 นาที เป็นต้น

ถ้ามีปัญหาระหว่างตรวจต้องทาอย่างไร
ขณะตรวจอยู่ หากผู้รับการตรวจรู้สึกผิดปกติหรือมีเหตุฉุกเฉิน เช่น ไอ จาม หรือสาลัก สามารถบีบลูกยาง
ฉุกเฉินที่เจ้าหน้าที่เตรียมไว้ให้ เพื่อหยุดตรวจชั่วคราวได้ ในขณะที่ท่านทาการตรวจอยู่ในเครื่องจะมีเจ้าหน้าที่
ดูแลท่านตลอดเวลา ถ้ามีปัญหาขัดข้องอะไร ท่านสามารถบอกได้โดยผ่านไมโครโฟนที่อยู่ภายในเครื่อง
นอกจากนี้ระหว่างการตรวจเครื่องจะมีเสียงดังเป็นระยะๆ ไม่ต้องกลัว เพราะจะมีฟองน้าหรือหูฟังอุดหูเพื่อลด
เสียงให้

ต้องเข้าอุโมงค์ กลัวที่แคบสามารถตรวจได้ไหม
ด้วยการตรวจด้วยเครื่อง MRI ผู้ป่วยจะต้องเข้าไปในเครื่องที่มีลักษณะเป็นอุโมงค์ โดยก่อนตรวจจะทาการ
สอบถามซักประวัติและประเมินความกลัวที่แคบก่อนว่ามากน้อยเพียงใด ถ้าท่านทราบมาก่อนว่ากลัวที่แคบ
ควรแจ้งให้ทราบในวันที่นัดตรวจ เพื่อจะได้ประเมินการเตรียมตัวให้ โดยก่อนตรวจเจ้าหน้าที่จะอธิบายลักษณะ
การตรวจ พร้อมให้ดูเครื่องและฟังเสียงการทางานของเครื่อง ทั้งนี้ขณะทาการตรวจยังสามารถติดต่อกับผู้ทา
การตรวจภายนอกได้ตลอดเวลา และให้ญาติอยู่ภายในห้องตรวจได้ด้วย หากกรณีที่ผู้รับการตรวจมีความกลัว
มากจนไม่สามารถจะตรวจได้ แพทย์จะให้ทานยาคลายเครียด หรืออาจจะต้องได้รับยานอนหลับ หรือยาสลบ
ก่อนตรวจ
5

ประโยชน์ของเครื่องMRI
MRI สามารถให้ภาพที่แยกความแตกต่างระหว่างเนื้อเยื่อต่างๆ ได้ชัดเจน ทาให้มีความถูกต้องแม่นยาใน
การ วินิจฉัยโรคมากยิ่งขึ้น อีกทั้งสามารถทาการตรวจได้ ในทุกๆระนาบ ไม่ใช่เฉพาะแนวขวางอย่างเอกซเรย์
คอมพิวเตอร์ ใช้ได้ดีกับส่วนที่ไม่ใช่กระดูก (non bony parts) คือเนื้อเยื่อ (soft tissues) โดยเฉพาะสมอง
เส้นประสาทไขสันหลัง และเส้นประสาทในร่างกาย (CT scan ดูภาพกระดูกได้ดีกว่า) ใช้ได้ดีกับ กล้ามเนื้อ
เส้นเอ็นยึดกระดูกและกล้ามเนื้อ สามารถตรวจเส้นเลือดได้โดย ไม่ต้องเสี่ยงกับการฉีดสารทึบรังสีและการสวน
สายยางเพื่อฉีดสี ซึ่งมีประโยชน์ ต่อวงการแพทย์แผนปัจจุบันเป็นอย่างมาก เพราะมีความปลอดภัยสูงและ
ค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างต่า นอกจากนี้ยัง สะดวกสบายกว่าเพราะไม่จาเป็นต้องเตรียมตัวใดๆ ทั้งก่อนและหลังการ
ตรวจ คนไข้สามารถกลับบ้านได้ทันทีที่ตรวจเสร็จ ไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดใดๆ แก่ร่างกายของคนไข้ รวมถึง
ไม่มีอันตรายจากรังสีตกค้าง เพราะไม่ใช้คลื่นรังสี

ประโยชน์จากMRI
1. สามารถให้ภาพที่แยกความแตกต่างระหว่างเนื้อเยื่อ ได้อย่างชัดเจน ทาให้มีความถูกต้องแม่นยาใน
การวินิจฉัยโรคมากยิ่งขึ้น
2. ใช้ได้ดีกับการตรวจสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง เส้นประสาทในร่างกาย กล้ามเนื้อ ตรวจเส้นเลือด
ได้ โดยไม่ต้องเสี่ยงกับการฉีดสารทึบรังสี และการสวนสายยาง ซึ่งมีประโยชน์ต่อวงการแพทย์แผน
ปัจจุบัน
3. การตรวจด้วยเครื่อง MRI ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อเพราะไม่ใช้คลื่นรังสี
4. ปัจจุบันการตรวจด้วยเครื่อง MRI สามารถตรวจพบความผิดปกติได้อย่างรวดเร็ว มีประโยชน์ในการ
วินิจฉัยโรค สามารถบอกขอบเขตของโรคได้ทาให้แพทย์สามารถวางแผนการรักษาโรคต่อไป
6

อันตรายจากเครื่องMRI
ข้อพึงระวังของการตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI ผู้ป่วยที่กลัวการอยู่ในที่แคบ ไม่สามารถนอนในอุโมงค์ตรวจ
ได้ (claustrophobic)
1. ควรหลีกเลี่ยงในรายที่มีโลหะฝังอยู่ในร่างกาย เช่น
- ที่ผ่าตัดติดคลิปอุดหลอด
- เลือดในโรคเส้นเลือดโป่งพอง (Aneurism Clips)
- metal plates ในคนที่ดามกระดูก
- ผู้ป่วยที่เปลี่ยนข้อเทียม
- ผู้ป่วยที่ใส่ลิ้นหัวใจเทียม (Artificial Cardiac valve)

2.ควรหลีกเลี่ยงในคนที่เตรียมตัวเข้ารับการผ่าตัด สมอง ตา หรือ หู ซึ่งจะต้องฝังเครื่องมือทางการแพทย์ไว้


(medical devices)

3. ผู้ป่วยที่ใส่เหล็กดัดฟัน ถ้าต้องทา MRI ตรวจในช่วงบริเวณ สมองถึงกระดูกคอควรต้องถอดเอาเหล็กดัดฟัน


ออกก่อน เพราะจะมีผลต่อความชัดของภาพ

4.ผู้ที่เคยได้รับอุบัติเหตุที่ลูกตา และสงสัยว่าจะมีโลหะชิ้นเล็กๆกระเด็นเข้าไปในลูกตาหรือมีอาชีพเกี่ยวข้องกับ
โลหะ และมีความเสี่ยงต่อการมีโลหะชิ้นเล็กๆ กระเด็นเข้าลูกตา ซึ่งถ้าเข้าไปอยู่ในสนามแม่เหล็กอาจมีการ
เคลื่อนที่ของโลหะชิ้นนั้นก่อให้เกิดอันตรายได้ (ภาพเอกซเรย์ธรรมดาของตาจะช่วยบอกได้ว่ามีหรือไม่มีโลหะ
อยู่ในลูกตา)

5.ผู้ที่รับการตรวจร่างกายด้วย MRI จะต้องนาโลหะต่างๆออกจากตัว เช่น กิ๊ฟหนีบผม ฟันปลอม ต่างหู


เครื่องประดับ ATM บัตรเครดิต นาฬิกา thumbdrive Pocket PC ปากกา ไม่เช่นนั้น อาจทาให้สิ่งของได้รับ
ความเสียหาย และอาจถูกฉุดกระชาก นอกจากนี้ยังทาให้ภาพที่อยู่บริเวณโลหะไม่ชัด
6.จากข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ไม่พบว่าการตรวจ MRI มีอันตรายต่อทารกในครรภ์ แต่ถ้าจาเป็นจริงๆไม่ควร
ตรวจในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
7

7.ไม่ควรใช้อายชาโดว์ และมาสคาร่า เพราะอาจมีส่วนผสมของโลหะ ทาให้เกิดเป็นสิ่งแปลกปลอมในภาพได้ 8.


ห้องตรวจ MRI มีสนามแม่เหล็กแรงสูงตลอดเวลา มีผลต่อการทางานของเครื่องมือที่ไวต่อแม่เหล็ก เช่น
เครื่องกระตุ้นการทางานของหัวใจ โลหะทุกชนิดที่เหนี่ยวนาแม่เหล็ก เช่น เหล็กโลหะ การ์ดที่ใช้แถบแม่เหล็ก
เช่น ATM, บัตรเครดิต, นาฬิกา, thumbdrive หรือพวกเครื่อง Pocket PC

กรณีศึกษา หรือ ตัวอย่าง การนาเครื่องมือไปใช้ทางการแพทย์

MRI สมอง สามารถตรวจได้ทุกเพศ ทุกวัย แม้ว่าจะไม่มีอาการทางสมอง โดยตรวจเนื้อสมอง และเส้น


เลือดสมอง หากมีอาการปวดหัว ความจาเสื่อม มึนหัว อาเจียน เห็นภาพซ้อน ควรมาตรวจ MRI
สมอง

MRI ช่องท้อง และกระดูกเชิงกราน สามารถตรวจได้ทุกเพศ ทุกวัย หรือหญิงตั้งครรภ์ ตรวจหาเนื้อ


งอก มะเร็งตับ นิ่ว ความผิดปกติของมดลูก และต่อมลูกหมาก

MRI กระดูกสันหลัง สามารถตรวจให้เห็นถึง หากมีอาการปวดหลัง แขนขาอ่อนแรง อั้นปัสสาวะ


อุจจาระไม่ได้ หรือผู้ที่ประสบอุบัติเหตุมีปัญหา เรื่องหมอนรองกระดูก ควรมาตรวจ MRI กระดูกสัน
หลัง เพื่อแพทย์จะได้วางแผนในการรักษา

MRI กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ข้อ สามารถตรวจให้เห็นถึงการฉีกขาดของกล้ามเนื้อ ในกระดูก หรือการฉีก


ขาดของกระดูกอ่อน ทาให้วางแผนการรักษา น้าในเข่า ข้อศอก หรือข้อนิ้ว

MRI เส้นเลือด สามารถตรวจเส้นเลือดดา และเส้นเลือดแดง เพื่อหาความผิดปกติของการไหลเวียน


เลือด
อ้างอิง
นพ.ภาณุ ดารงกิจชัยพร ความชานาญเฉพาะทาง : อายุรกรรมหัวใจ อนุสาขา : ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลเพชรเวช
[13พฤศจิกายน2564] สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2566 จากเว็ปไซต์
https://www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/What-is-MRI-meaning
พญ. ชมสิริ เสกสรรวิริยะ ศูนย์รังสีวินิจฉัย โรงพยาบาลนครธน [19 พฤศจิกายน 2565] ทาความเข้าใจ เข้าอุโมงค์ MRI ไม่น่า
กลัวอย่างที่คิด สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2566 จากเว็บไซต์ https://www.nakornthon.com/article/detail

You might also like