You are on page 1of 9

บทที่ 4

/ การระวังทัว่ ไปขณะเรื อจอดที่ท่ารับ ส่ งน้ำมันปิ โตรเลียม

(General Precaution While a Tanker is at a Petroleum Berth)


: /
วัตถุประสงค์และขอบเขต ในบทนี้ จะกล่าวถึงข้อควรระวังทัว่ ไปขณะที่เรื อจอดที่ท่ารับ ส่ งน้ำมัน เป็ นการเพิ่มเติมจากบทที่ 2 แต่จะไม่รวมถึงการปฏิบตั ิงานเฉพาะ เช่น การรับ
ส่งสิ นค้า , การถ่วงเรื อ , การรับน้ำมันเชื้อเพลิง และการล้างถัง ซึ่งจะกล่าวในบทต่อ ๆ ไป

4.1. การระมัดระวังในเรื่ องความปลอดภัยและวิธีการปฏิบตั ิเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน


(Safety Precaution and Emergency Procedure)
4.1.1. การปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของท่าและทางการ
(Compliance with Terminal and Local Regulation)
ท่ารับเรื อมีกฎระเบียบในเรื่ องความปลอดภัยและมลภาวะ ซึ่งทั้งพนักงานของท่าและของเรื อจะต้องปฏิบตั ิตาม เรื อบรรทุกน้ำมันที่เข้าจอดที่ท่าควรทราบเป็ นอย่างดีว่า
มีกฎระเบียบอะไรบ้างรวมถึงกฎระเบียบของทางการต่าง ๆ ด้วย ควรจะต้องให้ความเอาใจใส่ กบั เขตอันตรายบนฝั่ งที่กำหนดไว้ ดูขอ้ ( 4.12.4 และ 4.12.5)
4.1.2. กำลังคน (Manning Requirements)
ควรมีกำลังคนที่เพียงพอบนเรื อ และที่คลังน้ำมันเพียงพอที่จะแก้ไขเหตุการณ์ฉุกเฉินได้ตลอดเวลาที่เรื ออยูใ่ นท่า

/
พนักงานที่เกี่ยวข้องควรคุน้ เคยกับความเสี่ ยงที่จะเกิดอันตรายในการปฏิบตั ิรับ ส่งน้ำมันปิ โตรเลียม

4.1.3. เรื อจอดผูกทุ่น (At Buoy Moorings)


/
ควรปฏิบตั ิตามข้อควรระวังตามปกติขณะที่เรื อเทียบท่าเพื่อรับ ส่งน้ำมันเช่นเดียวกัน
/
การสื่ อสารระหว่างเรื อกับฝั่งนับว่าเป็ นสิ่ งสำคัญอย่างยิง่ ที่จะต้องทำได้ตลอดเวลา ขณะที่มีการรับ ส่งสิ นค้า ถ้าตำแหน่งของทุ่นผูกเรื ออยูใ่ นทะเลเปิ ดควรจะต้องมี
Berthing Master /
อยูบ่ นเรื อจนกว่าจะเสร็จการรับ ส่ งสิ นค้า

ท่ารับน้ำมัน SPM ที่มีระบบควบคุมระยะไกล (Remote Monitor) ทางท่าควรจะแจ้งให้เรื อทราบเป็ นระยะ ๆ ถึงแรงดึงในลวดผูกเรื อ โดยเฉพาะอย่างยิง่
เมื่อสภาพอากาศไม่ดี

4.1.4. การติดต่อประสานงานระหว่างเรื อกับฝั่ งเกี่ยวกับการปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภัย


(Tanker and Terminal Liaison on Safety Procedures)
หลังจากจอดเรื อเรี ยบร้อยแล้ว นายท่า ควรติดต่อกับนายประจำเรื อที่รับผิดชอบเพื่อที่จะ
 ตกลงกันกำหนดสถานที่สูบบุหรี่
 ตกลงกันในเรื่ องข้อจำกัดในการทำครัวและอุปกรณ์ที่ใช้
 แจ้งให้ทราบถึงวิธีการทำ “ Hot Work” และใบอนุญาตให้ทำ
 แจ้งให้ทราบถึงงานที่เกี่ยวข้องในบริ เวณใกล้เคียง
 ให้ข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับกฎระเบียบความปลอดภัยและมลภาวะของท่าและทางการ
 แจ้งให้ทราบถึงวิธีการแจ้งขอความช่วยเหลือจากท่าในเรื่ องไฟไหม้ การรักษาพยาบาล ตำรวจ และบริ การฉุกเฉินต่าง ๆ

Page 1 of 9
 แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับอุปกรณ์ดบั ไฟที่มีใช้บนเรื อและท่า
 ทำความเข้าใจการปฏิบตั ิของแต่ละฝ่ าย ในกรณี ไฟไหม้หรื อฉุกเฉินอื่น (ดูขอ้ 14.5 และแบบท้าย B)
 ทำความเข้าใจแผนการหนีไฟ ในกรณี ฉุกเฉิน เช่น จุดรวมพล และเส้นทางที่ใช้หนีข้ึนฝั่ง

/
ข้อควรระวังในเรื่ องความปลอดภัยที่ตอ้ งปฏิบตั ิตาม ก่อนเริ่ มการรับ ส่งน้ำมัน รวมถึงการทำ Ship/Shore Checklist กล่าวไว้ในบทที่ 5
4.1.5. สมอเรื อ
สมอเรื อตัวที่ไม่ได้ทิง้ จะต้องยึดอยูบ่ นเรื อให้มนั่ คงแต่ตอ้ งพร้อมใช้ได้ทนั ที

4.2. การจัดการการผูกเรื อขณะที่เรื อเทียบท่า


(Management of Moorings While Alongside)
/
พนักงานประจำเรื อมีหน้าที่รับผิดชอบในการตรวจตราและปรับแต่งความตึงของเชือก ลวดผูกเรื ออย่างระมัดระวัง ทั้งนี้ พนักงานท่าควรตรวจสอบเป็ นระยะอีกครั้ง
/
เพื่อให้แน่ใจว่าเชือก ลวดผูกเรื ออยูใ่ นสภาพที่ถูกต้อง

/ / /
เมื่อพบว่าเชือก ลวดผูกเรื อเส้นหนึ่งเส้นใดหย่อนหรื อตึงเกินไป ก่อนที่จะเก็บหรื อคลายจะต้องพิจารณาถึงเชือก ลวดทั้งหมดว่าจะทำให้เชือก ลวดเส้นอื่นได้รับแรง
/
มากเกินไปหรื อไม่ ตลอดเวลาการปรับเชือก ลวดตัวเรื อควรจะแนบอยูก่ บั กันกระแทกของท่าตลอดเวลา ไม่ควรหย่อนเชือกขณะที่เรื อไม่แนบอยูก่ บั กันกระแทกหน้า
ท่า

ควรจะพิจารณาใช้เรื อลากจูงช่วยให้เรื อคงอยูใ่ นตำแหน่งที่ถูกต้องได้ เมื่อเกิดหรื อคาดว่าจะเกิดสถานการณ์ดงั ต่อไปนี้


 ความเร็วลมเพิ่มหรื อทิศทางเปลี่ยนแปลงอย่างมาก โดยเฉพาะถ้าเรื อลอยตัวสูง
พ้นน้ำมาก
 คลื่นใต้น ้ำ
 ช่วงเวลาที่กระแสน้ำไหลแรงสุดขณะน้ำขึ้น ลง /
 ระยะห่ างจากกระดูกงูกบั ท้องทะเลมีจำกัด
 เรื ออื่นผ่านในระยะใกล้

ความรับผิดชอบในการปรับใช้เชือกผูกเรื อที่ส่งให้จากฝั่ง ได้แนะนำไว้แล้วในข้อ 3.5.6


4.3. การจัดการผูกเรื อที่ทุ่น (Management of Mooring At Buoys)
ขณะที่เรื อจอดผูกทุ่น CBM /
การตรวจตราเชือก ลวดผูกเรื อบ่อย ๆ และกำหนดช่วงเวลาการตรวจไว้แน่นอนเป็ นสิ่ งสำคัญยิ่ง ทั้งนี้ เพื่อให้แน่ใจว่าเชือก ลวดทุกเส้น /
ตึงและการเคลื่อนตัวของเรื อมีนอ้ ยที่สุด

สำหรับการผูกเรื อ SPM จะต้องมียามเฝ้ าที่หวั เรื อหนึ่งคน เพื่อรายงานถ้าเกิดเชือกผูกเรื อไม่สามารถยึดเรื อไว้ได้หรื อมีน ้ำมันรั่ว ยามจะต้องรายงานทันทีเมื่อเห็นว่า
เรื อเคลื่อนเข้าข้างเรื อเข้าหาทุ่น ยามหัวเรื อควรมีเครื่ องมือสื่ อสารที่เหมาะสมใช้ในการติดต่อกับนายยามได้ตลอดเวลา

4.4. ความพร้อม (State of Readiness)


4.4.1. อุปกรณ์ดบั ไฟ (Fire – Fighting Equipment)

Page 2 of 9
/
เมื่อเรื อถึงท่าที่จะรับ ส่ งสิ นค้า หรื อก่อนหน้านั้นเล็กน้อย ควรต่อสายดับเพลิงเข้ากับท่อน้ำดับเพลิงหน้าและหลังแมนิโฟลด์อย่างละเส้น เรื อที่มีปืนดับเพลิงติดตั้ง
ประจำที่ (Fire Monitor) ควรจะหันปลายกระบอกไปที่แมนิโฟลด์และปื นดับเพลิงนั้นต้องอยูใ่ นสภาพพร้อมใช้ เครื่ องมือดังเพลิง (ควรเป็ นแบบผงเคมี) ควร
วางไว้ในที่ที่หยิบใช้ได้สะดวกใกล้แมนิโฟลด์ กรณี รับ/ส่ งสิ นค้าทางแมนิโฟลด์ทา้ ยเรื อจะ
ต้องมีอุปกรณ์ดบั ไฟอย่างเพียงพอในบริ เวณใกล้เคียงเช่นกัน

4.4.2. ความพร้อมในการออกเรื อด้วยเครื่ องจักรของเรื อเอง (Readiness to Move Under Own Power)
ตามปกติขณะที่เรื อจอดที่ท่าน้ำมัน หม้อน้ำ เครื่ องจักรใหญ่ เครื่ องหางเสื อ และเครื่ องอื่น ๆ ที่จำเป็ นในการบังคับเรื อต้องอยูใ่ นสภาพที่สามารถจะใช้ออกเรื อได้ใน
ระยะเวลาอันสั้นเมื่อได้รับแจ้งจากทางท่า

จะต้องไม่ซ่อมทำใด ๆ ที่จะทำให้ไม่สามารถออกเรื อด้วยตนเองได้ นอกเสี ยจากได้ทำความตกลงกับท่าเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ก่อนจะมีการซ่อมทำดังกล่าวอาจจะต้อง


ขออนุญาตจากทางการ ซึ่งอาจมีเงื่อนไขในการอนุญาตที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามด้วย

4.5. การสื่ อสาร (Communications)


,
โทรศัพท์ วิทยุมือถือ VHF/UHF และระบบวิทยุโทรศัพท์ที่ใช้จะต้องเป็ นไปตามกฎข้อบังคับ ทางท่ารับเรื อรับผิดชอบในการจัดให้มีการสื่อสารระหว่างเรื อกับ
ฝั่งให้เพียงพอ ซึ่งรวมถึงระบบสื่ อสารสำรองด้วย

นายยามและนายท่าควรจะติดต่อสื่ อสารกันได้อย่างมีประสิ ทธิภาพตลอดเวลา

ถ้าใช้โทรศัพท์ในการติดต่อสื่ อสารต้องจัดให้มีคนเฝ้ าโทรศัพท์ ซึ่งสามารถติดต่อกับผูบ้ งั คับบัญชาที่รับผิดชอบได้ทนั ที และระบบโทรศัพท์ดงั กล่าวสามารถที่ผบู ้ งั คับ


บัญชาจะฟังและพูดแทรกได้

ถ้าใช้ VHF/UHF หรื อวิทยุโทรศัพท์ ควรจะเป็ นแบบมือถือหรื อพกพาไปได้ โดยนายยามและนายท่าหรื อผูท้ ี่สามารถติดต่อกับผูบ้ งั คับบัญชาได้ทนั ทีจะต้องพก
ติดตัวไว้ ถ้าใช้ระบบวิทยุโทรศัพท์ประจำที่ให้ปฏิบตั ิเช่นเดียวกับการใช้โทรศัพท์ที่กล่าวไว้ในตอนต้น

ควรจะมีแบบฟอร์มบันทึกระบบการสื่ อสารที่ทางเรื อและทางท่าเลือกใช้ รวมถึงหมายเลขโทรศัพท์หรื อช่องความถี่วิทยุสำหรับข่าวสารที่จำเป็ น บันทึกดังกล่าวควร


ลงชื่อโดยนายยามและนายท่า

ในกรณี มีปัญหาในเรื่ องการติดต่อสื่ อสารด้วยภาษาพูด ทางเรื อและทางท่าควรจะจัดให้มีล่ามที่มีความรู้ทางเทคนิคและการปฏิบตั ิการและเข้าใจภาษาทั้งสองฝ่ ายเป็ น


อย่างดี

4.6. /
ทางขึ้น ลงเรื อ (Access Between Ship and Shore)
4.6.1. /
อุปกรณ์ที่ใช้ข้ ึน ลงเรื อ (Means of Access)
/
ผูท้ ี่จะขึ้น ลงเรื อควรจะใช้ทางขึ้นลงที่จดั ไว้เฉพาะเท่านั้น

บันไดพาด (Gangway) ควรจะต้องมีตาข่ายรอรับข้างใต้ในตำแหน่งที่เหมาะสม และมีพวงชูชีพที่มีเชือกชีวิตไว้บริ เวณใกล้เคียง นอกจากนั้นอาจจะต้องมีเครื่ อง


ช่วยชีวิตอื่น ๆ เช่น เสื้ อชูชีพอยูใ่ นบริ เวณนั้นด้วย

/
ทางขึ้น ลงควรอยูใ่ กล้ที่พกั อาศัยมากที่สุด และอยูห่ ่ างจากแมนิโฟลด์มากที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้

Page 3 of 9
4.6.2. การพาดบันได (Gangway Landing)
ในกรณี ไม่มีบนั ไดของท่าจัดไว้ จำเป็ นต้องใช้บนั ไดพาดจากเรื อควรจะต้องหาที่พาดบนฝั่ งที่มีพ้ืนที่โล่งไม่มีสิ่งกีดขวาง และสามารถใช้ได้ไม่วา่ น้ำขึ้นหรื อลงหรื อเรื อ
สูงขึ้นหรื อต่ำลงก็ตาม

ควรจะเอาใจใส่ดูแลเป็ นพิเศากรณี ที่ทางขึ้นลงมีความสู งระหว่างดาดฟ้ าและท่าแตกต่างกันมาก ควรจะต้องมีสิ่งอำนวยความสะดวกพิเศษเมื่อดาดฟ้ าเรื ออยูต่ ่ำกว่าหน้า


ท่ามาก ๆ สำหรับทาง
/
ขึ้น ลงฉุกเฉินกล่าวไว้ในบทที่ 15
4.6.3. ไฟแสงสว่าง (Lighting)
ควรจัดให้มีไฟส่ องทางขึ้นลงในเวลากลางคืนให้พอเพียง (ไม่ควรอยูใ่ นตำแหน่งที่ส่องเข้าตา)
4.6.4. บุคคลที่ไม่มีสิทธิลงเรื อ (Unauthorized Persons)
ควรจะห้ามไม่ให้บุคคลที่ไม่มีกิจธุระตามกฎหมายหรื อบุคคลที่ไม่ได้รับอนุญาตจากนายเรื อลงมาในเรื อ ทางท่าควรจะเข้มงวดในการลงเรื อตามที่ตกลงไว้กบั นายเรื อ

4.6.5. /
ยามบนท่าและยามของเรื อต้องแน่ใจว่าไม่มีผหู ้ นึ่งผูใ้ ดสูบบุหรี่ ขณะผ่านขึ้น ลงเรื อ บุคคลที่มีอาการมึนเมาไม่ควรอนุญาตให้ลงเรื อ นอกจากสามารถควบคุมดูแลได้
อย่างถูกต้อง

เรื อควรมอบบัญชีรายชื่อลูกเรื อให้กบั หน่วยรักษาความปลอดภัยของท่า

4.7. ป้ ายเตือน (Notices)


4.7.1. ป้ ายเตือนบนเรื อ (notices on Tanker)
เมื่อเรื อถึงท่าทางเรื อควรติดป้ ายเตือนเขียนด้วยภาษาที่เหมาะสม ดังนี้

WARNING
NO NAKED LIGHTS
NO SMOKING
NO UNAUTHOZED PERSONS

หรื ออาจจะเลือกใช้คำพูดอื่นที่มีความหมายเช่นเดียวกันก็ได้

ป้ ายเตือนที่แสดงสี ความสะท้อนแสงและลูกศรชี้ ทางหนีฉุกเฉินควรติดไว้ตามตำแหน่งที่


เหมาะสม

“EMERGENCY ESCAPE ROUTE”


นอกจากนั้นพนักงานท่าควรจะปฏิบตั ิตามป้ ายเตือนต่าง ๆ สำหรับพนักงานเรื อที่ติดไว้บนเรื อด้วยเมื่อขึ้นไปบนเรื อ

4.7.2. ป้ ายเตือนบนฝั่ง (Notices on the Terminal)

Page 4 of 9
ป้ ายเตือนที่หา้ มสูบบุหรี่ และห้ามนำไฟเข้ามา (Naked Light) ที่ติดประจำอยูห่ น้าท่า ควรติดไว้ในที่ที่เห็นได้ชดั เจนและเขียนด้วยภาษาที่เหมาะสม และป้ าย
เตือนเช่นเดียวกันนี้ ควรติดไว้ที่ทางเข้าคลังหรื อที่ทางเข้าท่าจอดเรื อ

ในอาคารหรื อสถานที่ที่อนุญาตให้สูบบุหรี่ ควรมีป้ายแสดงไว้ในที่ที่เห็นได้ชดั

ควรแสดงเส้นทางหนีฉุกเฉินจากหน้าท่าไปฝั่งไว้ให้ชดั เจน

4.8. การสูบบุหรี่ (Smoking)


4.8.1. ควบคุมการสูบบุหรี่
การสูบบุหรี่ ควรอนุญาตภายใต้การควบคุมเท่านั้น การห้ามไม่ให้สูบบุหรี่ ที่ท่าและบนเรื อเสี ยเลยทั้งหมดนั้น เป็ นการฝื นความเป็ นจริ งและไม่ได้ผลในการบังคับใช้
และอาจจะทำให้มีการลักลอบสูบบุหรี่ โดยที่ไม่สามารถควบคุมได้ อย่างไรก็ตามในบางครั้งอาจจะจำเป็ นห้ามสูบบุหรี่ โดยเด็ดขาดได้ เช่น ขณะที่สูบถ่ายสิ นค้าหรื อ
เมื่อมีปัจจัยอื่นที่จะต้องทำเช่นนั้น ในกรณี เช่นนี้ นายประจำเรื อที่รับผิดชอบต้องหมัน่ ตรวจตราให้แน่ใจว่าการห้ามสูบบุหรี่ มีผลบังคับโดยแท้จริ ง

ควรห้ามการสูบบุหรี่ ในบริ เวณท่าจอดเรื อทั้งหมด และบนเรื อทุกลำที่จอดอยูท่ ี่ท่านอกจากในสถานที่ที่กำหนดไว้

4.8.2. การกำหนดสถานที่สูบบุหรี่ (Location of Designated Smoking Places)


การกำหนดสถานที่ที่สูบบุหรี่ บนเรื อและบนท่า ควรจะได้ตกลงร่ วมกันเป็ นลายลักษณ์อกั ษรระหว่างนายเรื อและนายท่าก่อนที่จะเริ่ มปฏิบตั ิการใด ๆ นายเรื อรับผิด
ชอบที่ตอ้ งแจ้งให้ลูกเรื อทุกคนทราบถึงสถานที่ที่อนุญาตและติดป้ ายเตือนที่เห็นควรนอกเหนือจากป้ ายเตือนถาวรที่มีไว้บนเรื อ

มีเกณฑ์ทวั่ ๆ /
ไปในการกำหนดสถานที่สูบบุหรี่ ขณะที่มีการรับ ส่ งน้ำมันหรื อกำลังถ่วงเรื อ กำลังเติมแก๊สเฉื่อย กำลังไล่แก๊ส และกำลังล้างถัง ดังนี้
 อยูใ่ นที่มิดชิดหลังจากถังสิ นค้าข้างท้ายเรื อ นอกเสี ยจากเรื อที่มีที่พกั อาศัยกลางลำและโอกาสแก๊สปิ โตรเลียมจะเข้าไปมีนอ้ ยมาก
 สถานที่ที่ไม่มีประตูหรื อช่องเปิ ดใด ๆ เปิ ดสู่ ดาดฟ้ าสิ นค้าโดยตรง
 ควรพิจารณาถึงสภาพที่อาจจะเป็ นอันตราย เช่น มีสิ่งบ่งบอกว่ามีแก๊สปิ โตรเลียมที่เข้มข้นผิดปกติ โดยเฉพาะขณะที่ลมสงบและเมื่อมีการปฏิบตั ิ
การของเรื ออื่นอยูใ่ นบริ เวณใกล้เคียงหรื อบนท่า

ช่องเปิ ดทั้งหมดของสถานที่สูบบุหรี่ ตอ้ งปิ ดไว้ตลอดเวลา และประตูสู่ทางเดินต้องปิ ดตลอดเวลา -


เว้นแต่ขณะเข้า ออกเท่านั้น

/
ขณะที่เรื อจอดที่ท่ารับ ส่งน้ำมัน ถึงแม้วา่ ไม่มีการปฏิบตั ิการใด ๆ ก็ตาม การสูบบุหรี่ คงทำได้ในสถานที่ที่ได้กำหนดไว้เท่านั้น หรื อสถานที่ที่นายเรื อและนายท่าได้
ตกลงกันเป็ นลายลักษณ์อกั ษรไว้แล้วว่าให้ใช้สถานที่แห่ งอื่นได้ในที่พกั อาศัย

/
เมื่อมีการรับ ส่งสิ นค้าทางแมนิโฟลด์ทา้ ยเรื อ ต้องระวังเป็ นพิเศษที่จะไม่ให้สูบบุหรี่ ในห้องพักอาศัยที่มีประตูหรื อช่องกระจกเปิ ดออกสู่ ดาดฟ้ าที่แมนิโฟลด์ทา้ ยเรื อตั้ง
อยู่

4.9. เตาและเครื่ องทำครัว (Galley Stoves and Cooking Appliances)


4.9.1. การใช้เตาและเครื่ องทำครัว (Use of Galley Stoves and Cooking Appliances)
ก่อนที่จะอนุญาตให้ใช้เตาและเครื่ องใช้ในครัวประกอบอาหารขณะที่เรื อจอดที่ท ่า นายเรื อและนายท่าจะต้องพิจารณาถึงตำแหน่ง โครงสร้าง และการระบายอากาศ
ของห้องครัวแล้วเห็นพ้องต้องกันว่าไม่มีอนั ตรายและต้องพิจารณาเป็ นพิเศษ /
ถ้ามีการรับ ส่งน้ำมันทางแมนิโฟลด์ทา้ ยเรื อ
ถ้าตกลงแล้วว่าใช้ครัวประกอบอาหารได้ควรปฏิบตั ิตามข้อควรระวังที่ระบุไว้ในข้อ 2.3.

Page 5 of 9
4.9.2. เครื่ องครัวที่ใช้ไอน้ำ (Steam Cookers and Water Boilers)
เครื่ องทำครัวและเครื่ องใช้อื่น ๆ ที่ทำความร้อนจากไอน้ำอาจจะใช้ได้ตลอดเวลา

4.10. อุปกรณ์ไฟฟ้ าติดตั้งประจำที่และเคลื่อนที่


(Fixed and Portable Electrical Equipments)
4.10.1. การแบ่งประเภทบริ เวณที่ใช้ (Area Classification)
การแบ่งประเภทบริ เวณการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ าในเรื อและบนบก มีขอ้ กำหนดแตกต่างกันดัง
รายละเอียดในบทที่ 19 เมื่อเรื อจอดที่ท่าเป็ นไปได้ที่บริ เวณที่ปลอดภัยในเรื ออาจจะเป็ นบริ เวณที่เป็ นอันตรายของคลังน้ำมันก็ได้ ในกรณี เช่นนี้ และแม้สงสัยว่า
บริ เวณที่มีอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ไม่อนุมตั ิใช้ (Unapproved Electrical Equipment) เป็ นบริ เวณที่เป็ นอันตราย (Hazardous Zone) ของคลัง
น้ำมันหรื อไม่ก็ตาม จะต้องตัดการจ่ายไฟ (Isolate) อุปกรณ์น้ นั ออกหรื อจะต้องมีการระมัดระวังในการใช้ที่กำหนดไว้เป็ นการเฉพาะ

/
เมื่อมีการรับ ส่งน้ำมันทางแมนิโฟลด์ทา้ ยเรื อบริ เวณที่ต่อท่อควรกำหนดให้ เป็ นบริ เวณที่เป็ นอันตราย (Hazardous or Dangerous Area) ตามความ
เหมาะสม อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ติดตั้งประจำที่ท้งั หมดในบริ เวณดังกล่าวจะต้องเป็ นประเภทที่อนุมตั ิใช้ในบรรยากาศที่ติดไฟได้ (Flammable Asphosphere)
ทั้งนั้นรวมถึงอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนดาดฟ้ าสิ นค้าด้วย เช่นเดียวกัน อุปกรณ์ไฟฟ้ าเคลื่อนที่จะต้องเป็ นแบบอนุมตั ิใช้ (Approved Type) ภายใต้เงื่อนไขของใบ
อนุญาตทำ Hot Work
4.10.2. การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ าเคลื่อนที่ในอันตราย (Hazardous Area)

โคมไฟและอุปกรณ์เคลื่อนที่สำหรับใช้ใน Hazardous Area ต้องเป็ นชนิดอนุมตั ิใช้ (Approved Type) ต้องดูแลเป็ นพิเศษที่จะป้ องกันไม่ให้สาย
ไฟที่ลากผ่านที่ต่าง ๆ ได้รับความเสี ยหาย

(Non-Approved Type) ไม่วา่ จะใช้ไฟจากสายเมนหรื อแบตเตอรี่ ก็ตามจะต้องไม่เปิ ดใช้ใน


อุปกรณ์ไฟฟ้ าหรื ออีเลคโทรนิคส์ที่ไม่อนุมตั ิใช้
Hazardous Area อุปกรณ์ดงั กล่าวรวมถึงวิทยุ โทรศัพท์มือถือ (Mobile Telephone) วิทยุติดตามตัว (Radio Pager) เครื่ องคิดเลข
(Calculator) เครื่ องถ่ายภาพ (Photographic Equipment) และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ไฟฟ้ า ไม่อนุมตั ิให้ใช้ใน Hazardous Area ทั้งหมด
ควรทำความเข้าใจว่า เครื่ องมือสื่ อสาร เช่น วิทยุมือถือและวิทยุติดตามตัว เมื่อถูกเรี ยกเข้ามากลไกในการตอบรับจะทำงานและเกิดอันตรายขึ้นได้ เนื่องจากการใช้
เครื่ องมือสื่ อสารดังกล่าวเป็ นไปอย่างกว้างขวาง ดังนั้นควรจะต้องมีมาตรการป้ องกันที่เหมาะสม ต้องให้ทุกคนทราบว่าห้ามใช้อุปกรณ์ที่ไม่อนุมตั ิใน
Hazardous Area และคลังน้ำมันควรมีนโยบายที่จะแจ้งให้ผมู้ าติดต่อให้ทราบถึงอันตรายในการใช้เครื่ องมือเหล่านั้น คลังน้ำมันควรจะสงวนสิทธิ์ในการให้
ฝากอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ไม่อนุมตั ิใช้ไว้ที่ประตูทางเข้าคลังหรื อบริ เวณใด ๆ ที่เหมาะสมภายในคลัง

วิทยุมือถือและวิทยุติดตามตัวจะเปิ ดได้ต่อเมื่ออยูใ่ นที่ที่ปลอดภัยเท่านั้น เช่น ในที่พกั อาศัยบนเรื อ

4.11. เครื่ องมือสื่ อสารของเรื อ (Communication Equipment)


4.11.1. ทัว่ ไป (General)
นอกจากจะมีใบรับรองว่าเป็ น “Intrinsically Safe” แล้ว บรรดาเครื่ องมือสื่ อสารไม่วา่ จะเป็ นโทรศัพท์ ระบบตอบกลับ (Talk – Back System)
ไฟสัญญาณ (Signalling Lamps) ไฟฉายใหญ่ (Search Light) โทรโข่ง (Loud Hailer) และเครื่ องบังคับหวูดไฟฟ้ า ไม่ควรใช้หรื อ
เสี ยบ/ถอดปลัก๊ ขณะที่อยูใ่ นบริ เวณที่เป็ นอันตรายของท่ารับเรื อ (Hazardous)

Page 6 of 9
4.11.2. /
เครื่ องรับ ส่งวิทยุ (Radio Equipments)
การใช้เครื่ องรับ/ส่ งวิทยุของเรื อขณะรับ/ส่ งสิ นค้าหรื อถ่วงเรื อค่อนข้างจะมีอนั ตราย (ดูขอ้ 2.7.) นอกจากเป็ นวิทยุ VHF และ UHF ติดประจำที่ที่ลดกำลังส่ ง
ให้เหลือ 1 วัตต์หรื อน้อยกว่า

การสื่ อสารกับฝั่งควรใช้ VHF/UHF ดังกล่าวเป็ นหลัก

เมื่อเรื อจอดในท่าควรต่อสายอากาศเครื่ องส่ งวิทยุหลักของเรื อลงดิน

/
ในกรณี จำเป็ นต้องใช้เครื่ องรับ ส่ งวิทยุหลักของเรื อในท่าเรื อเพื่อขอรับบริ การ ควรมีขอ้ ตกลงวิธีการปฏิบตั ิระหว่างเรื อกับท่าเพื่อให้แน่ใจว่าปลอดภัย เช่น อาจจะต้อง
ออกใบอนุญาต (Work Permit) ซึ่งอาจมีเงื่อนไขให้ใช้กำลังส่ งต่ำใช้ Dummy Antenna Load และให้ส่งได้ในช่วงเวลาที่เรื อไม่อยูใ่ น
Hazardous Zone
4.11.3. เรดาร์ (Ship’s Radar Equipment)
ถึงแม้วา่ คลื่นเรดาร์ที่แผ่กระจายจากจาน (Scammer) ซึ่งติดตั้งในที่ที่ถูกต้อจะไม่ทำให้เกิดจุดติดไฟ ขึ้นได้ แต่เรื อที่มีเรดาร์ กำลังส่ งสู ง (10 cm Radar)
อาจทำให้เกิดการเหนี่ยวนำไฟฟ้ ากับตัวนำไฟฟ้ าที่อยูบ่ ริ เวณใกล้เคียงได้ การเดินเรดาร์ยงั อาจจะทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ไม่อนุมตั ิใช้ทำงานเองได้ดว้ ย การใช้เรดาร์และ
หรื อการซ่อมเรดาร์ โดยที่จานส่ งเรดาร์อยูใ่ น พื้นที่อนั รายทางเรื อและท่าควรจะต้องปรึ กษากันเสี ยก่อน

4.11.4. เครื่ องมือสื่ อสารดาวเทียม (Satellite Communication Equipment)


ปกติเครื่ องมือสื่ อสารดาวเทียมจะทำงานที่ความถี่ 1.6 GHz และกำลังส่ งอยูใ่ นระดับที่จะทำให้เกิดอันตรายจากการจุดติดไฟได้ แต่เนื่องจากตำแหน่งสายอากาศ
อาจจะมีผลในการทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ไม่ได้รับอนุมตั ิใช้ทำงานจึงควรมีการปรึ กษาระหว่างเรื อกับท่าก่อนจะใช้งาน

4.11.5. โทรทัศน์วงจรปิ ด (Closed Circuit Television)


ในกรณี ที่บนเรื อหรื อบนท่าติดตั้งโทรทัศน์วงจรปิ ด กล้องจับภาพ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องต้องเป็ นแบบอนุมตั ิใช้ (Approved Design) ในบริ เวณที่ที่
อุปกรณ์น้ นั ๆ ติดตั้งอยู่ เช่นนี้แล้วการใช้โทรทัศน์วงจรปิ ดจะไม่มีขอ้ จำกัดในการใช้แต่อย่างใด (ดูขอ้ 4.11.1.)
ขณะที่เรื อจอดหน้าท่า ทางท่าและทางเรื อควรจะตกลงร่ วมกันถ้ามีการซ่อมบำรุ งเครื่ องมืออุปกรณ์เหล่านี้

4.11.6. โทรศัพท์ (Telephones)


ถ้ามีเครื่ องโทรศัพท์ต่อโดยตรงระหว่างเรื อกับห้องควบคุม (Control Room) บนฝั่ง ควรเดินสายโทรศัพท์ให้อยูน่ อกบริ เวณอันตราย (Dangerous
Zone) เป็ นการดี ถ้าไม่สามารถทำได้ควรให้ช่างโทรศัพท์ของท่า (Shore Quality Personnel) เป็ นผูเ้ ดินยึดสายให้อยูก่ บั ที่เพื่อป้ องกันอันตรายจาก
การใช้โทรศัพท์ที่สามารถจะเกิดขึ้นได้

4.12. งานที่ทำหน้าท่าหรื อที่จอดเรื อหรื อบนเรื อ


(Work on a Jetty or Petroleum Berth or on a Tanker at a Berth)
4.12.1. ระบบใบอนุญาต – ข้อพิจารณาทัว่ ไป (Work Permit System – General Consideration)
ระบบออกใบอนุญาตให้ทำงานใช้กนั อย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมน้ำมัน ใบอนุญาตให้ทำงานเป็ นเอกสารที่มีสาระสำคัญ ซึ่งบอกถึงลักษณะของงานที่อนุญาตให้
ทำและมาตรการที่ตอ้ งปฏิบตั ิและกำหนดวิธีการปฏิบตั ิและอุปกรณ์เครื่ องมือเครื่ องใช้ที่ปลอดภัย

(Hot Work) งานไฟฟ้ า (Electrical Work) และงานอื่น ๆ (Cold Work) ที่ทำ


โดยปกติใบอนุญาตควรจะต้องมีเมื่อทำงานเกี่ยวกับความร้อน
ในเขตอันตราย (Hazardous and Dangerous Area)

Page 7 of 9
ใบอนุญาตควรระบุรายการเฉพาะของอุปกรณ์และประเภทของบริ เวณของงานให้ชดั เจน ขอบเขตของงานที่อนุญาต เงื่อนไขที่จะต้องปฏิบตั ิ เวลาที่อนุญาต ซึ่งตาม
ปกติควรให้ทำและกำหนดเวลามีผลให้อยูใ่ นชัว่ โมงทำงาน (Working Day) ใบอนุญาตควรทำขึ้นสองฉบับ สำหรับผูอ้ อกใบอนุญาตเก็บไว้หนึ่งฉบับและอีก
ฉบับหนึ่งให้ไว้กบั ผูท้ ี่ทำงาน ณ สถานที่ที่อนุญาตให้ทำ

รู ปแบบของใบอนุญาตควรจะเป็ นรายการเช็คหัวข้อ (Check List) เพื่อให้ผอู ้ อกใบอนุญาตและผูใ้ ช้ใบอนุญาตแน่ใจว่ามีความปลอดภัยก่อนที่จะลงมือทำ และ


ได้ทำตามเงื่อนไขที่จำเป็ นทุกอย่าง ถ้าปรากฏว่ามีเงื่อนไขใดที่ไม่สามารถปฏิบตั ิได้จะต้องไม่ออกใบอนุญาตจนกว่าจะมีมาตรการแก้ไขเสี ยก่อน ตัวอย่างของใบ
อนุญาตให้ไว้ใน Appendix F และ G
( )
ใบอนุญาตของงานอันตรายที่ต่างกันควรแยกจากกันให้เห็นชัด เช่น ใช้สีตา่ งกัน จำนวนของใบอนุญาตมีมากน้อยแล้วแต่ความซับซ้อนของการปฏิบตั ิงาน ต้อง
ระวังอย่าออกใบอนุญาตให้ทำงานอื่นที่กระทบกับสภาพความปลอดภัยของงานที่ออกใบอนุญาตไว้ก่อนหน้าแล้ว ตัวอย่างเช่น ไม่ควรออกใบอนุญาตให้ถอดหน้า
แปลนในบริ เวณใกล้กบั งานที่ Hot Work Permit มีผลใช้บงั คับอยู่ ก่อนออกใบอนุญาตผูร้ ับผิดชอบต้องแน่ใจว่าสภาพของสถานที่ที่จะทำหรื อสภาพของชิ้น
งานที่จะทำปลอดภัยเพียงพอ

กรรมวิธีในการทำงานเกี่ยวกับความร้อนอธิบายไว้อย่างละเอียดในข้อ 2.8. แต่มีเงื่อนไขหลายอย่างที่นำไปใช้กบั การทำงานอื่น ๆ ได้ดว้ ย

4.12.2. ใบอนุญาตให้ทำงานเกี่ยวกับความร้อน (Hot Work Permit)


แบบฟอร์มของใบอนุญาตนี้ มีเจตนาที่จะให้มีการควบคุมและดูแลสั่งการเข้มงวดและใกล้ชิดในการทำงานเกี่ยวกับความร้อนบนเรื อ ดูขอ้ ( 2.8. สำหรับข้อควรระวัง
และการอนุมตั ิสำหรับ Hot Work และดู Appendix F สำหรับใบอนุญาต)

4.12.3. การอนุญาตให้ทำงานที่ท่าจอดเรื อ (Permit to Work on Tanker Berth)


, การซ่อม,
การก่อสร้าง การบำรุ งรักษา , การรื้ อถอน หรื อดัดแปลง สิ่ งอำนวยความสะดวกของท่าจอดเรื อ จะทำได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากผูจ้ ดั การคลัง
(Terminal Manager) ถ้ามีเรื อจอดอยูจ่ ะต้องได้รับความยินยอมจากนายเรื อด้วย

4.12.4. การอนุญาตให้ทำงานเกี่ยวกับความร้อนบนเรื อ (Permit to Work on Board a Tanker)


เมื่อมีงานซ่อมทำหรื อซ่ อมบำรุ งที่จะทำบนเรื อขณะจอดที่ท่า นายประจำเรื อที่รับผิดชอบต้องแจ้งให้นายท่าทราบและควรตกลงกันในเรื่ องข้อควรระวังต้องปฏิบตั ิที่
เกี่ยวกับการทำงานนั้นเสี ยก่อน

4.12.5. การอนุมตั ิให้ทำงานเกี่ยวกับความร้อนบนเรื อ (Approval for Hot Work on Board Ship)


ห้ามไม่ให้ทำงานเกี่ยวกับความร้อนจนกว่าจะปฏิบตั ิตามกฎระเบียบที่มีใช้และข้อควรระวังในเรื่ องความปลอดภัยแล้วทั้งหมด และจะต้องมีใบอนุญาตให้ทำงานก่อน
(ดูขอ้ 2.8. สำหรับข้อควรระวังทัว่ ๆ ไป และการอนุมตั ิให้ทำงานเกี่ยวกับความร้อน) ผูท้ ี่เกี่ยวข้องในการอนุมตั ิอาจจะเป็ นนายเรื อ บริ ษทั ฯ (Operator) เจ้า
หน้าที่เคมี (Chemist) ผูร้ ับเหมา (Shore Contractor) นายคลัง (Terminal Representative) และเจ้าท่า/การท่าเรื อตามความเหมาะสม

ขณะเรื อเทียบท่ารับเรื อน้ำมันไม่ควรอนุญาตให้ทำ Hot Work /


จนกว่าจะได้รับอนุมตั ิจากนายท่าและเจ้าท่า การท่าเรื อ (ถ้ามีกฎระเบียบ)
ใบอนุญาตให้ทำงานเกี่ยวกับความร้อน (Hot Work Permit) ควรจะออกให้หลังจากได้รับใบรับรองว่าไม่มีแก๊ส (Gas Free Certification)
จากเจ้าหน้าที่เคมีที่รับอนุญาตเท่านั้น (Authorized Chemist)
4.12.6. การตัดกระแสไฟอุปกรณ์ไฟฟ้ า (Isolation of Electrical Equipment)
เมื่อมีการทำงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้ าหรื ออุปกรณ์ที่ขบั เคลื่อนด้วยไฟฟ้ าทุกครั้ ง ใบอนุญาตให้ทำงาน (Work Permit) ควรระบุวา่ กระแสไฟฟ้ าที่จ่ายมีให้กบั
อุปกรณ์น้ นั ๆ ได้ถูกตัดออกไปแล้วโดยมีใบรับรอง “Electrical Isolation Certificate” ดังเช่นตัวอย่าง Appendix H

Page 8 of 9
การตัดกระแสไฟสามารถทำได้โดยยกสะพานไฟแล้วล็อค (Locking Off Switchgear) หรื อถอดฟิ วส์ออกควรพิจารณาถึงการควบคุมที่จะป้ องกันไม่
ให้กระแสไฟต่อกลับมาได้โดยอุบตั ิเหตุ
ตัวอย่างการล็อค เช่น ใช้แถบคาดสวิทช์และห้อยแผ่นป้ ายเตือน

4.12.7. การใช้เครื่ องมือ (Use of Tools)


ต้องไม่มีการใช้คอ้ นเคาะสนิม ขูดสนิม หรื อทำการพ่นกริ ต (Grit Blasting) หรื อการใช้เครื่ องมือ Power Tool นอกห้องหม้อน้ำ ห้องเครื่ องจักร หรื อ
ห้องพักอาศัยบนเรื อหรื อบนท่าขณะที่เรื อจอดอยู่ โดยไม่มีการตกลงกันระหว่างนายท่าและนายประจำเรื อที่รับผิดชอบและนอกจากมีใบอนุญาตให้ทำงานแล้ว

ไม่วา่ กรณี ใดก็ตามนายท่าและนายประจำเรื อที่รับผิดชอบต้องมัน่ ใจว่า ในบริ เวณที่ทำงานไม่มีแก๊สตลอดเวลาที่ทำงานและควรปฏิบตั ิตามข้อควรระวังในที่กล่าวไว้ใน


ข้อ 2.9.
4.12.8. ทางเข้าออกท่าจอดเรื อ
ควรมีการควบคุมพาหนะและการใช้อุปกรณ์เครื่ องมือโดยเฉพาะในเขตอันตราย (Hazardous Zone) ควรกำหนดเส้นทางเข้าออกและที่จอดรถไว้ ถ้าจำเป็ น
อาจต้องกั้นเชือกป้ องกันไม่ให้ผทู ้ ี่ไม่มีหน้าที่ผ่านเข้ามาได้

Page 9 of 9

You might also like