You are on page 1of 21

เข็มทิศแม่ เหล็ก

การทำงานของเข็มทิศแม่ เหล็ก
เมื่อติดตั้งเข็มทิศแม่เหล็กบนเรื อ แท่งแม่เหล็กจะวางตัวตามแนวแกนของสนามแม่เหล็กโลก สมมุติ
ว่าไม่มีอิทธิพลใดๆ การวางตัวนี้ จะขนานกับแกนในแนวนอนของสนามแม่เหล็กโลก ซึ่ งการวางตัว
ของแผ่นวงเข็มในลักษณะนี้ ไม่ค ำนึงถึงทิศหัวเรื อเมื่อแผ่นวงเข็มถูกทำให้หนั ไปในทิศแม่เหล็กทิศ
000 บนแผ่นวงเข็มนี้จะชี้ทิศเหนือแม่เหล็กและทิศหัวเรื อจะอ่านได้จากทิศหัวเรื อ ถ้าไม่มีอิทธิ พล
ใดๆมากระทำกับมันแล้ว เข็มทิศก็จะไม่มีดิวิเอชัน ดังนั้นทิศนี้กจ็ ะเป็ นทิศหัวเรื อแม่เหล็ก การติดตั้ง
เข็มทิศจะต้องระมัด ระวังให้เส้นหัวเรื ออยูใ่ นแนวกับเส้นกลางลำเรื อ เรื อนเข็มทิศ และเส้นหัวเรื อ
จะหมุนไปกับเรื อ ดังนั้นทิศที่เราอ่านได้จาดเส้นหัวเรื อจะแสดง ทิศที่หวั เรื อชี้ เพราะทอด 000 บน
แผ่นวงเข็มนั้นจะชี้ทิศเหนือแม่เหล็กเสมอ เมื่อเรื อหันหัวเรื อไปเส้นหัวเรื อก็จะหันตามไปด้วย ใน
ขณะที่แผ่นวงเข็มยังคงชี้ทิศเหนือเข็มทิศ ทิศหัวเรื อในขณะใดขณะหนึ่งเราสามารถอ่านได้จากเส้น
หัวเรื อ ซึ่ งเส้นหัวเรื อจะหมุนไปกับเรื อ ส่ วนแผ่นวงเข็มนั้นจะอยูก่ บั ที่ตลอดเวลา
การเติมของเหลวในเข็มทิศแม่ เหล็ก
เข็มทิศแม่เหล็กส่ วนใหญ่ ปกติถา้ มีฟองอากาศในเข็มทิศเราจะเติมน้ำกลัน่ ไปแทนที่อากาศ
เท่านั้น ยกเว้นเรื อวิ่งเขตหนาว อาจผสมเอธิ ลอัลกอฮอล 70 เปอรเชนต์ดว้ ยเพื่อกันน้ำเป็ นน้ำแข็ง
ปริ มาณขึ้นอยูก่ บั ความหนาวที่จะ เจอเช่นถ้าวิ่งแถบขั้วโลกจะใช้อลั กอฮอล 70 เปอรเชนต์แทนน้ำ
กลัน่ ทั้งหมดอัลกอฮอลจะพร่ องเร็ วกว่าน้ำ และถ้าใช้เข้มข้นเกิน 70 เปอรเชนต์ อาจทำให้สีภายใน
เสี ยหายได้
แผ่นเข็มทิศจะมี 2 แบบ คือ
1.แบบจม -แผ่นหนัก ถ้าเอาแผ่นมาลอยน้ำจะจม อาจทำจากพลาสติกหนา
2.แบบลอย -แผ่นเบา ลอยน้ำได้ ลักษณะเป็ นแผ่นบาง อาจจะเจาะรู ตวั เลข
ถ้าแผ่นเข็มทิศเป็ นแบบจม การเติมของเหลว อาจใช้ น้ำกลัน่ + กลีเซอรี น อัตราส่ วน 3 : 1
ถ้าแผ่นเข็มทิศเป็ นแบบลอยใช้น ้ำกลัน่ อย่างเดียวก็พอในกรณี เปลี่ยนถ่ายของเหลวปริ มาณ
มาก จะใช้ น้ำกลัน่ + กลีเซอรี น อัตราส่ วน 3 : 1
เข็มทิศรุ่ นใหม่บางรุ่ นเป็ นแบบจมแต่ของเหลวเป็ นน้ำมันอย่างเดียวทำให้ไม่ค่อยมีปัญหา
การพร่ องของของเหลวจากการระเหย แต่ของเหลวก็อาจจะพร่ องได้ถา้ ซี ลรั่ว เข็มทิศแบบนี้ ได้แก่
C-Plath Type 2060 ถ้ามีการพร่ องของของเหลวรุ่ นนี้เล็กน้อยเราอาจใช้ Baby oil lotion เติมได้
แต่ถา้ มากใช้เบบี้ออยล์กอ็ าจทำให้แผ่นลอยมากเกินไปอย่างไรก็ตามถ้าเข็มทิศรุ่ นนี้พร่ องก็แสดงว่ามี
ความผิดปรกติแล้วควรให้ช่างแก้ไขอย่าใช้น ้ำยาเติม GYRO เติมในเข็มทิศแม่เหล็กเพราะจะมีส่วน
ผสมของกรดทำให้เสี ยหายได้

อัตราผิดของเข็มทิศแม่ เหล็ก และ วิธีการแก้


อัตราผิดของเข็มทิศแม่เหล็ก มีอยู่ 2 ชนิดคือ 1. Variation และ 2. Deviation
1.Variation
เนื่องจากแม่เหล็กโลก เป็ นแม่เหล็กที่ไม่สม่ำเสมอ (Irregular magnet) ดังนั้นสนามแม่
เหล็กโลกจึงมีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา และทุกสถานที่ ทำให้เกิดผลกระทบกับเข็มทิศแม่
เหล็กขึ้น คือเข็มทิศจะเกิดการเบี่ยงเบนไปตามเมอริ เดียนแม่เหล็ก และไม่ช้ ีไปทางทิศเหนือจริ ง
เราจะทราบว่าค่าวาริ เอชัน่ มีมากน้อยเพียงใดได้จาก วงเข็มทิศในแผนที่เดินเรื อซึ่ งแต่ละ
แผ่นจะบอกไว้ให้ที่วงเข็มทิศทุกวง และยังสามารถดูได้จากแผนที่วาริ เอชัน่ (Isogonic chart) ซึ่ ง
จะพิมพ์ออกทุกๆ 5 ปี
2.Deviation
เนื่องจากภาวะแม่เหล็กของตัวเรื อ เครื่ องประกอบในตัวเรื อและสิ นค้า จะกระทำให้เข็มทิศ
แม่เหล็กผิดไปจากแนวเมอริ เดียนแม่เหล็ก เราเรี ยกอัตราผิดนี้วา่ Deviation

ให้ ดูที่นิยามให้ ดจี ำให้ ได้ รวมถึงการหมุนเรือหาดิวเิ อชันด้ วยเพราะเป็ นข้ อสอบ ที่เกีย่ วกับการหาอัตราผิดเข็ม
ทิศ

กฏในการแก้ อตั ราผิดเข็มทิศ


C, -D, -M, -V, -T การแก้อตั ราผิดเข็มทิศมีกฏที่จ ำง่าย ๆ โดยใช้ค ำว่า เข็มเรื อ
(C )ดิวิเอชัน่ (D) เข็มแม่เหล็ก (M) วาริ เอชัน่ (V) และ เข็มจริ ง (T) โดยใช้สมการ

C+D=M
M+V=T

เป็ น ( - ) เมื่อดิวิเอชัน่ หรื อวาริ เอชัน่ เป็ นตะวันตก


เป็ น ( + ) เมื่อดิวิเอชัน่ หรื อวาริ เอชัน่ เป็ นตะวันออก

ตัวอย่ าง เรื อลำหนึ่งแล่นในทิศ 127 ด้วยเข็มเรื อ ทิศหัวเรื อมีดิวิเอชัน่ 16 องศา E และวา


ริ เอชัน่ 4 องศา W จงหาทิศหัวเรื อแม่เหล็ก และทิศหัวเรื อจริ ง
C 127 องศา
D + 16 องศา E
M 143 องศา
V - 4 องศา W
T 139 องศา

เราสามารถแยก Deviation ออกเป็ นประเภทต่ างๆได้ ซึ่งจะเรียกว่ า Coefficient


Coefficient A
เป็ น Deviation ที่มีคา่ เท่ากัน ทุกทิศหัวเรื อเป็ นประจำ ซึ่ งเกิดจากการสร้างเข็มทิศ เช่น
แกนแท่งแม่เหล็กไม่ขนานกับทิศเหนือ - ใต้ ของแผ่นเข็ม การแบ่งขีดองศาคลาดเคลื่อน หรื ออาจ
เกิดจากการวางเหล็กตัวเรื อที่ไม่สมส่ วนกัน หรื อเข็มทิศไม่อยูใ่ นแนวกระดูกงู แต่ Coefficient A น ้ ี
มีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ในทางปฏิบตั ิจึงมิได้ค ำนึงถึงอัตราผิดนี้
Coefficient B
เป็ น Deviation ที่แม่เหล็กโลกชักนำให้เหล็กต่างๆ ที่ประกอบเป็ นตัวเรื อในขณะที่ต่ออยูใ่ น
อู่เป็ นเวลานาน มีอ ำนาจแม่เหล็กเป็ นแม่เหล็กประจำในทาง Longitudinal สามารถแบ่งได้เป็ น 2
อย่างคือ
(1) Coefficient -B
เกิดจากขณะต่อเรื อ หัวเรื อหันไปทางทิศเหนือแม่เหล็ก เหล็กตัวเรื อส่ วนหัวจะมีอ ำนาจแม่
เหล็กประจำเป็ นเหนือ ส่ วนท้ายเรื อจะมีอ ำนาจแม่เหล็กประจำเป็ นใต้ ดังนั้นเมื่อเรื อออกทะเลแล่น
ไปทางทิศเหนือจะไม่มี Deviation แต่เมื่อเปลี่ยนเข็มไปทางทิศตะวันออก ขั้วแม่เหล็กใต้ทางท้าย
เรื อ จะทำให้เ ข็ม ทิศ มี Deviation เป็ น ตะวัน ตกมากที่สุ ด เมื่อ เรื อ แล่น ไปทางทิศ ใต้ก จ็ ะไม่ม ี
Deviation เช่นเดียวกับแล่นไปทางทิศเหนือ แต่เมื่อเปลี่ยนเข็มเป็ นแล่นไปทางทิศตะวันตก ขั้วแม่
เหล็กใต้ทางท้ายเรื อจะทำให้เข็มทิศมี Deviation เป็ นตะวันออกมากที่สุด
วิธีแก้
ให้แล่นเรื อไปทางทิศตะวันออก หรื อทิศตะวันตก แล้วใช้แท่งแม่เหล็กสอดใต้หม้อเข็มทิศ
ตามยาวของลำเรื อ โดยเอาปลายที่มีข้วั ใต้ไปทางหัว เรื อ แล้วเลื่อ นแท่งแม่เหล็กขึ้น -ลง จนไม่มี
Deviation เพราะปลายขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็ก จะดึงปลายขั้วเหนือของเข็มทิศให้กลับมาดังเดิม

(2) Coefficient +B
เกิดจากขณะต่อเรื อหัวเรื อหันไปทางทิศใต้ ของเมอริ เดียนแม่เหล็กเมื่อต่อในอู่เหล็กตัวเรื อ
ส่ วนหัวจะมีอ ำนาจแม่เหล็กประจำเป็ นใต้ ส่ วนเหล็กตัวเรื อส่ วนท้ายจะมีอ ำนาจแม่เหล็กประจำเป็ น
เหนือดังนั้นเมื่อเรื อออกทะเล โดยแล่นไปในทางทิศเหนือ และทิศใต้ จะไม่มี Deviation แต่เมื่อ
แล่นไปในทางทิศตะวันออกขั้วแม่เหล็กใต้ที่อยูท่ างหัวเรื อ จะทำให้ Deviation มีคา่ เป็ นตะวันออก
ส่ ว นเมื่อ เรื อ แล่น ไปในทางทิศ ตะวัน ตก ขั้ว แม่เ หล็ก ใต้ท ี่อ ยูท่ างหัว เรื อ จะท ำให้เ ข็ม ทิศ มีค ่า
Deviation เป็ นตะวันตก
วิธีแก้
ให้เรื อแล่นเข็มไปทางทิศตะวันออกหรื อทิศตะวันตก แล้วใช้แท่งแม่เหล็กสอดในช่องที่
เรื อนเข็มทิศ บริ เวณใต้หม้อเข็มทิศไปตามยาวลำเรื อ โดยเอาปลายที่มีข้วั เหนือไปทางหัวเรื อ แล้ว
เลื่อนแท่งแม่เหล็กขึ้น-ลง จนกว่าจะไม่มี Deviation เพราะปลายขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็กจะดึงปลาย
ขั้วเหนือของแม่เหล็กกลับมา
Coefficient C
เกิดจากขณะต่อเรื อ หัวเรื อหันไปทางทิศตะวันออก และทิศตะวันตก ทำให้มีอ ำนาจแม่
เหล็กประจำไปทางกราบเรื อทั้งสองกราบ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 2 อย่างคือ
(1) Coefficient +C
เกิดจากหัวเรื อหันไปทางทิศตะวันออกขณะเรื อต่อในอู่ เหล็กตัวเรื อกราบซ้ายจะมีอ ำนาจ
แม่เหล็กประจำเป็ นเหนือ ส่ วนกราบขวาจะมีอ ำนาจแม่เหล็กประจำเป็ นใต้ เมื่อเรื อแล่นเข็มไปทาง
ทิศ ตะวันออก หรื อทิศตะวันตก ก็จะไม่มี Deviation แต่เมื่อแล่นเข็มไปทางทิศใต้ ขั้วแม่เหล็กใต้
ทาง
กราบขวา จะทำให้เข็มทิศมี Deviation เป็ นตะวันตก และเมื่อแล่นเข็มไปทางทิศเหนือขั้วแม่เหล็ก
ใต้ทางกราบขวาจะทำให้เข็มทิศมี Deviation เป็ นตะวันออก
วิธีแก้
คือให้แล่นเรื อไปทางทิศเหนือหรื อใต้ แล้วใช้แท่งแม่เหล็กสอดตามขวางลำเรื อ โดยเอา
ปลายขั้วใต้ไปทางกราบซ้าย แล้วเลื่อนแท่งแม่เหล็กขึ้น-ลง จนกว่าจะไม่มี Deviation เพราะปลาย
ขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็ก จะดึงปลายขั้วเหนือของเข็มทิศให้กลับมา
(2) Coefficient -C
เกิดจากขณะต่อเรื อหัวเรื อหันไปทางทิศตะวันตก ดังนั้นตัวเรื อกราบขวาจะมีอ ำนาจแม่
เหล็กประจำเป็ นเหนือ สวนตัวเรื อกราบซ้ายจะมีอ ำนาจแม่เหล็กประจำเป็ นใต้ เมื่อเรื อออกสู่ ทะเล
และแล่นเข็มไปทางทิศตะวันออกหรื อทิศตะวันตก ก็จะไม่มี Deviation แต่เมื่อเปลี่ยนเป็ นแล่นเข็ม
ไปทางทิศเหนือ ขั้วแม่เหล็กใต้ทางกราบซ้าย จะทำให้เข็มทิศมี Deviation เป็ นตะวันตก และเมื่อ
เรื อแล่นเข็มไปทางทิศใต้ ขั้วแม่เหล็กใต้ทางกราบซ้าย จะทำเข็มทิศมี Deviation เป็ นตะวันออก
วิธีแก้
ให้แล่นเรื อไปทางทิศเหนือหรื อทิศใต้ แล้วใช้แท่งแม่เหล็กสอดตามขวางลำเรื อ โดยเอา
ปลายขั้วใต้ไปทางกราบขวา แล้วเลื่อนแท่งแม่เหล็กขึ้น-ลง จนกว่าจะไม่มี Deviation เพราะปลาย
ขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็กจะดึงปลายขั้วเหนือของเข็มทิศกลับมา
เมื่อเรือหันไปทางทิศเฉียงต่ างๆเมื่อต่ อในอู่
ขณะที่เรื อต่อในอู่ เรื ออาจจะหันไปทางทิศเฉี ยงใดๆก็ได้ แล้วแต่อู่น้ นั ๆ อำนาจแม่เหล็ก
โลกก็จะกระทำกับตัวเรื อ ให้มีอ ำนาจแม่เหล็กประจำไปตามทิศเฉี ยงนั้นๆด้วย เราสามารถแยกแรง
แม่เ หล็ก ประจำนี้ ออกไปตามยาวลำเรื อ และตามขวางลำเรื อ ได้ คือ มีท้ งั Coefficent B และ
Coefficient C
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
สมมติให้เรื อขณะอยูใ่ นอู่ต่อเรื อ หันหัวเรื อไปทางทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือ (NW หรื อ 315 ํ)
จะเห็นได้วา่ หัวเรื อกราบขวาจะมีอ ำนาจแม่เหล็กประจำเป็ นเหนือ ส่ วนทางท้ายเรื อกราบซ้ายจะมี
อำนาจแม่เหล็กประจำเป็ นใต้ แกนแม่เหล็กจะเฉี ยงทำมุมกับตัวเรื อ 45 ํ และแยกแรงออกเป็ นตาม
ยาวลำเรื อ และตามขวางลำเรื อและเมื่อ เรื อ แล่น ไปในทิศ ทาง NW หรื อ เข็ม 315 ํ ก็จ ะไม่เ กิด
Deviation แต่ถา้ แล่นไปในทิศทางอื่น ก็จะเกิด Deviation ขึ้น
วิธีแก้
1. ให้แล่น เรื อ ไปตามทิศ เหนือ แม่เ หล็ก ปลายขั้ว เหนือ ของเข็ม ทิศจะถูก ผลัก ไปทางซ้า ยคือ มี
Deviation เป็ นตะวันตก จากนั้นให้สอดแท่งแม่เหล็กตามขวางลำเรื อ โดยเอาปลายขั้วใต้ไปทาง
กราบขวา เพื่อดึงปลายขั้วเหนือคืน
2. แล่นเรื อไปในทิศตะวันออกของทิศแม่เหล็ก ปลายขั้วเหนือของเข็มทิศจะถูกผลักไปทางท้ายเรื อ
คือ Deviation ตะวันตก หรื อ Coefficient -B จากนั้นให้สอดแท่งแม่เหล็กตามยาวลำเรื อ โดยเอา
ปลายขั้วใต้ไปทางหัวเรื อเพื่อดึงปลายขั้วเหนือคืนการแก้ตามวิธีดงั กล่าว จะแก้ Coefficient -B หรื อ
-C ก็ได้แล้วแต่สะดวก
ก่อนทำการแก้ ควรหมุนเรื อหา Deviation เสี ยก่อนเพื่อให้ทราบว่ามี Coefficient B และ C
เท่าใดและเมื่อแกเสร็ จแล้วควรหมุนเรื อหา Deviation อีกครั้งเพื่อบันทึกเป็ นกราฟไว้ใช้งานต่อไป
Coefficient D
เกิดจากอำนาจแม่เหล็กจรในขื่อเหล็กอ่อนแนวนอน ทั้งตามยาวและตามขวางของลำเรื อ
สามารถแบ่งได้เป็ น
(1) Coefficient +D
Deviation นี้เกิดจากอำนาจแม่เหล็กจรในขื่อเหล็กอ่อนแนวนอน วางตามขวางลำเรื อ ซึ่ งต่อ
เป็ นแผ่นเดียวกับขื่อเหล็กอ่อน แนวนอนตามยาวลำเรื อ แต่ขาดตอนกัน เมื่อเรื อแล่นไปในทิศ NE
และ SW จะมี Deviation ตะวัน ออกมากที่สุ ด และเมื่อ เรื อ แล่น ไปในทิศ SE และ NW จะมี
Deviation ตะวันตกมากที่สุด แต่เมื่อแล่นไปในทิศ N , S , E , W จะไม่มี Deviation เลย
วิธีแก้
ให้หนั หัวเรื อไปในทิศเฉียงทิศใดทิศหนึ่ง สมมติให้หนั ไปทาง NW จากนั้นให้ขยับเลื่อนลูก
กลมเหล็กอ่อน ซึ่ งอยูต่ ามแนวขวางของลำเรื อทั้งสองข้างของเข็มทิศ เลื่อนเข้าหากันหรื อออกห่าง
จากกัน จนปลายขั้วเหนือชี้ตรงทิศเหนือแม่เหล็ก ลูกกลมเหล็กอ่อนนี้เปรี ยบเสมือนเหล็กอ่อนแนว
นอนตามยาวลำเรื อที่ขาดตอนนัน่ เอง
(2) Coefficient -D
เกิดจากอำนาจแม่เหล็กจร ในขื่อเหล็กอ่อนแนวนอนวางตามยาวลำเรื อ ซึ่ งต่อเป็ นแผ่น
เดียวกัน กับขื่อเหล็กอ่อนแนวนอนตามขวางลำเรื อแต่ขาดตอนกัน เมื่อเรื อแล่นในทิศ NE และ SW
จะมี Deviation เป็ นตะวันตกมากที่สุด และเมื่อเรื อแล่นไปในทิศ SE และ NW จะมี Deviation เป็ น
ตะวันออกมากที่สุด แต่เมื่อเรื อแล่นไปในทิศ N , E , S , W จะไม่มี Deviation เลย
วิธีแก้
ให้หนั หัวเรื อไปในทิศเฉียงทิศใดทิศหนึ่ง สมมติให้หนั ไปในทาง NW จากนั้นให้ขยับ
เลื่อนลูกกลมเหล็กอ่อน ซึ่ งอยูต่ ามแนวยาวของลำเรื อ ทั้งสองข้างของเข็มทิศขยับเลื่อนเข้าหากัน
หรื อออกห่างจากกัน จนปลายขั้วเหนือของเข็มทิศชี้ ตรงกับทิศเหนือแม่เหล็ก ซึ่ งลูกกลมเหล็กอ่อน
ก็เปรี ย บเสมือน เหล็กอ่อนแนวนอนตามขวางลำเรื อที่ข าดตอนนัน่ เอง แต่โดยปกติแล้วจะเกิด
Deviation แบบ +D เสมอ เพราะขื่อ(Frame)มักต่อกันโดยตลอด จะมีเพียงเล็กน้อย เช่นห้องเครื่ อง
เท่านั้น ดังนั้นในทางปฏิบตั ิจึงทำการแก้เฉพาะ Coefficient +D หรื อใช้ลูกกลมเหล็กอ่อนวางตาม
ขวางลำเรื อเท่านั้น
Coefficient +E
Deviation ชนิดนี้เกิดจากอำนาจแม่เหล็กจรในขื่อเหล็กอ่อนแนวนอน ที่วางทะแยงจากหัว
เรื อซ้ายไปท้ายเรื อขวา และขื่อเหล็กอ่อนแนวนอนที่ขาดตอนกันซึ่ งวางทะแยงจากหัวเรื อขวาไปท้าย
เรื อซ้าย เมื่อเรื อแล่นไปในทิศ N หรื อ S จะมี Deviation ตะวันออกมากที่สุด และเมื่อเรื อแล่นไปใน
ทิศ E หรื อ W จะมี Deviation ตะวันตกมากที่สุด ถ้าแล่นในทิศ NE , SE , SW และ NW จะไม่มี
Deviation เลย

วิธีแก้ คอื
ให้วางลูกกลมเหล็กอ่อน ทิศ W อำนาจแม่เ หล็กจรของลูกกลมเหล็กอ่อ น ก็จะลบล้า ง
Deviation Coefficient +E ให้หมดไป
Coefficient -E
เกิดจากอำนาจแม่เหล็กจรในขื่อเหล็กอ่อนแนวนอน ที่วางติดต่อกันทะแยงจากหัวเรื อขวา
ไปท้ายเรื อซ้าย และขื่อเหล็กอ่อนแนวนอนที่ขาดตอนกัน ซึ่ งวางทะแยงจากหัวเรื อซ้ายไปท้ายเรื อ
ขวา เมื่อเรื อแล่นไปในทิศ N หรื อ S จะมี Deviation ตะวันตกมากที่สุด และเมื่อเรื อแล่นไปในทิศ
E หรื อ W จะมี Deviation เป็ นตะวันออกมากที่สุด แต่ถา้ เรื อแล่นไปในทิศ NE , SE , SW และ NW
จะไม่มี Deviation เลย
วิธีแก้ คอื
ให้ว างลูก กลมเหล็ก อ่อ น ทิศ W อำนาจแม่เ หล็ก จรของลูก กลมเหล็ก อ่อ น จะลบล้า ง
Deviation Coefficient -E ให้หมดไป
การเปลีย่ นขั้วของเหล็กอ่ อนแนวยืน
เหล็กอ่อนแนวยืนของดาดฟ้ าเรื อได้แก่ ปล่องควัน , เสากระโดง , หลักเดวิท , เสาเดอร์ริก
เป็ นต้น แบ่งออกเป็ น 2 พวกคือ พวกแรก อยูท่ างกราบซ้าย และ กราบขวา อีกพวกหนึ่งอยูใ่ นแนว
กระดูกงูเรื อ เมื่อเรื ออยูท่ ี่ข้ วั เหนือครึ่ งล่างของเหล็กอ่อนแนวยืนพวกนี้ ก็จะมีอ ำนาจแม่เหล็กจรเป็ น
ขั้วเหนือ ส่ วนครึ่ งบนของเหล็กดังกล่าวจะมีอ ำนาจแม่เหล็กจรเป็ นขั้วใต้ และเมื่อเรื ออยูท่ ี่อิเคว
เตอร์ เหล็กอ่อนซีกทางขั้วเหนือจะมีอ ำนาจแม่เหล็กจรเป็ นเหนือ ส่ วนทางขั้วใต้กจ็ ะมีอ ำนาจแม่
เหล็กจรเป็ นใต้
สมมติให้เรื ออยูท่ ี่ซีกโลกเหนือ เหล็กอ่อนแนวยืนบนดาดฟ้ าบริ เวณกราบขวาและกราบซ้าย
จะทำให้เข็มทิศผิดไปทางกราบขวา หรื อกราบซ้าย แต่ปรกติการต่อเรื อจะออกแบบให้สมดุลย์กนั ทั้ง
กราบขวา และกราบซ้าย ดังนั้นอำนาจแม่เหล็กจึงลบล้างกันไปหมด ส่ วนเหล็กอ่อนแนวยืนบริ เวณ
กระดูกงูเรื อ ทางหัวเรื อและท้ายเรื อ ไม่ได้ติดตั้งให้สมส่ วนกัน ดังนั้นเข็มทิศจึงอาจถูกดึงให้มี
Deviation ไปทางหัวเรื อหรื อท้ายเรื อก็ได้ เช่นเดียวกับ Coefficient B เนื่องจากเหล็กอ่อนแนวยืน
จะอยูท่ างท้ายเรื อ และเข็มทิศก็ต้ งั ค่อนมาทางท้ายเรื อ และอยูส่ ู งไปทางด้านบนของเหล็กอ่อนแนว
ยืน ดังนั้นเข็มทิศจึงถูกดึงให้ผดิ ไปทางท้ายเรื อ

วิธีการแก้คอื
ให้ใช้ Flinders bar ซึ่ งเป็ นแท่งเหล็กอ่อน ให้วางไว้หน้าเรื อนเข็มทิศ แล้วเลื่อนขึ้น-ลงจน
เข็มทิศไม่มี Deviation การแก้น้ ีให้เรื อแล่น ไปในทิศตะวัน ออก หรื อทิศตะวัน ตก การใช้แท่ง
Flinders bar แก้น้ ีเพราะเมื่อเหล็กอ่อนแนวยืนด้านท้ายเรื อมีอ ำนาจแม่เหล็กเปลี่ยนไป Flinders
bar ก็จะมีอ ำนาจแม่เหล็กเปลี่ยนไปด้วย ในอัตราส่ วนที่เท่ากัน และลบล้างกันหมดทุก Latitude
การหา Coefficient ต่า งๆ เมื่อ หมุน เรื อ หา Deviation แล้ว ใช้สูต รต่อ ไปนี้ใ นการหาค่า
Coefficient

1. Coefficient A = (N) + (E) + (S) + (W)


4
* เท่ากับผลเฉลี่ยตามเครื่ องหมายของ Deviation ตามทิศหัวเรื อใหญ่

2. Coefficient B = (E) - (W)


2
* เท่ากับผลเฉลี่ยของ Deviation ในทิศ E และ W โดยเปลี่ยนเครื่ องหมาย W

3. Coefficient C = (N) - (S)


2
* เท่ากับผลเฉลี่ยของ Deviation ในทิศ N และ S โดยเปลี่ยนเครื่ องหมาย S

4. Coefficient D = (NE) - (SE) + (SW) - (NW)


2
* เท่ากับผลเฉลี่ยของ Deviation ในทิศ NE , SE , NW , SW
โดยเปลี่ยนเครื่ องหมาย SE และ NW

5. Coefficient E = (N) - (E) + (S) - (W)


2
* เท่ากับผลเฉลี่ยของ Deviation ตามทิศหัวเรื อใหญ่ท้ งั 4
โดยเปลี่ยนเครื่ องหมาย E และ W

การหมุนเรือหาดิวเิ อชั่นออกสอบด้ วยพยายามจำวิธีท้งั หมด


การแก้ เข็มทิศแม่เหล็ก
การแก้เข็มทิศจากปฏิกิริยาของสนามแม่เหล็ก เข็มทิศแม่เหล็กนั้นจะมีปฏิกิริยากับการทำงานของ
สนามแม่เหล็กไฟฟ้ าที่เกิดขึ้น ซึ่ งการเดินสายไฟและการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ าในบริ เวณใกล้เคียงเข็ม
ทิศแม่เหล็กจะทำให้เกิดอัตราผิดในการชี้ทิศขั้วเหนือของแม่เหล็กเกิดขึ้น เพราะการเดินสายไฟและ
ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ าจะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าภายนอกขึ้นและเกิดการเหนี่ยวนำทำให้
ทำให้เข็มทิศชี้ทิศผิดไปจากปรกติ ซึ่ งการแก้ไขสามารถกระทำได้ดงั ต่อไปนี้
1. ติดตั้งเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ า หรื ออุปกรณ์ไฟฟ้ าให้ห่างจากเข็มทิศแม่เหล็กอย่างน้อย 50 ฟุต
หรื อ 15.24 เมตร และถ้าหลีกเลี่ยงได้ควรหลีกเลี่ยงการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ าใกล้เข็มทิศแม่เหล็ก
2. สายไฟฟ้ าใกล้ๆเข็มทิศจะต้องเดินด้วยสายคู่ เพื่อให้กระแสไฟบวก และลบหักล้างกัน
สนามแม่เหล็กจะลดลง หรื ออาจไม่เกิดขึ้น ฉะนั้นการหมุนเรื อเพื่อหาดิวิเอชัน่ จึงต้องกระทำทั้งขณะ
เปิ ดไฟและปิ ดไฟ
3. สอดแท่งแม่เหล็กและแต่ลูกกลมเหล็กใหม่ ซึ่ งการแก้ที่ละเอียดถูกต้องสมบูรณ์จะต้อง
ประกอบด้วย
- มีที่รองรับ หรื อช่องว่างสำหรับวาง หรื อสอดแท่งแม่เหล็กในแนวนอนโดยวางในทางตาม
ขวางของเรื อซึ่ งจะต้องให้สมั พันธ์ กับพื้นแนวยืนทางขวาของเรื อที่ผา่ นเข็มทิศและให้คงอยูใ่ น
ระยะที่ตอ้ งการจากเข็มทิศ
- มีที่รองรับหรื อช่องว่างสำหรับวางเหนือสอดแท่งแม่เหล็กแนวนอนโดยวางในแนวทาง
ตามยาวของเรื อซึ่ งจะต้องให้สัมพันธ์กบั เข็มทิศ
- มีเท้าแขนรองรับลูกกลมเหล็กอ่อนกลวงอยูท่ ้ งั สองข้างของเรื อนเข็ม ซึ่ งมีระยะสำหรับให้
เลื่อนกลมไปมาจากเข็มทิศได้
- มีสาแหรกสำหับใส่ แท่งแม่เหล็กแนวยืน แก้ผดิ เรื อเอียงอยูต่ รงใต้ศูนย์กลางของแผ่นเข็ม
ทิศ ซึ่ งสามารถให้แท่งแม่เหล็กนี้เลื่อนขึ้นลงได้ตามระยะที่ตอ้ งการภายใต้เข็มทิศ
-มีกระบอกใส่ Finder Bar ขนาดของ Finder Bar เส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 3 นิ้ว แต่ความ
ยาวต่างกัน 12 นิ้ว , 3 นิ้ว และ 1.5 นิ้ว
4. การหมุนเรื อเพื่อหาดิวิเอชัน่ เป็ นการแก้เข็มทิศแม่เหล็กวิธีหนึ่ง เนื่องจากว่าเรื อเหล็กนั้น
มีคุณสมบัติของสนามแม่เหล็กทำให้รบกวนต่อเข็มทิศแม่เหล็กที่ติดดั้งบนเรื อ ส่ งผลให้แกนเหนือ
ใต้ ของเข็มทิศชี้ทิศผิดไปจากเมอริ เดียนแม่เหล็กจึงทำให้เกิดค่า ดิวิเอชัน่ ขึ้นดิวเิ อชัน่ ( Deviation )
เข็มทิศแม่เหล็กจะหมุนโดยอิสระในแนวระดับด้วยแรงของเส้นแรงแม่เหล็กโลก เมื่อนำไป
ติดตั้งบนเรื อที่เป็ นโลหะจะได้รับอิทธิพลจากเหล็กตัวเรื อ เพราะตัวเรื อก็จะแสดงตัวเป็ นแท่งแม่แม่
เหล็กเช่นเดียงกัน ทำให้เข็มทิศหันเหไปจากเมอริ เดียนแม่เหล็ก มุมทีทเกิดจากทิศเหนือใต้ของแผ่น
วงเข็มกับเมอริ เดียนแม่เหล็กนี้เรี ยกว่า ดิวิเอชัน่ ถึงแม้เรื อจะสร้างด้วยไม้หรื อไฟเบอร์กย็ งั มีอ ำนาจ
แม่เหล็กจากเครื่ องจักร ถังน้ำมัน อุปกรณ์จบั ยึด และอื่นๆ ซึ่ งเป็ นสาเหตุท ำให้เกิด ดิวิเอชัน่ เช่น
เดียวกันเช่นเดียวกันดิวิเอชัน่ ที่เกิดจากไฟฟ้ าก็ไม่ควรข้ามเสี ยทีเดียว ไฟฟ้ ากระแสตรงที่ผา่ นขดลวด
จะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ดงั นั้นการเดินกระแสไฟฟ้ าผ่านขดลวดบริ เวณเข็มทิศแม่เหล็กต้อง
พยายามทำให้มีอิทธิพลต่อเข็มทิศแม่เหล็กน้อยที่สุด ซึ่ งสามารถตรวจสอบได้โดยการทดลองเปิ ด
ปิ ดสวิทช์ไฟฟ้ าแล้วดูการเปลี่ยนแปลงของเข็มทิศ
ประเภทของการหมุนเรือหาดิวเิ อชั่น
1. การหมุนเรื อหาดิวิเอชัน่ และสอดแท่งแม่เหล็กเข็มทิศ ( รวมทั้งลูกกลมเหล็กอ่อน และ
Finder Bar ) ซึ่ งจะกระทำก็ต่อเมื่อ- เมื่อต่อเรื อเสร็ จใหม่ๆก่อนทำการทดลองแล่น
- เมื่อมีการดัดแปลงตัวเรื อ หรื อเปลี่ยนที่ต้ งั เข็มทิศ
2. การหมุนเรื อหาดิวิเอชัน่ โดยไม่สอดแท่งแม่เหล็กแก้เข็มทิศจะกระทำก็ต่อเมื่อ
- จากเหตุผลข้อ 1
- ทุกๆ 1 ปี
- ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงแท่งแม่เหล็กยาวถาวร ลูกกลมเหล็ออ่อน และ Finder Bar
- เมื่อเปลี่ยนละติจูดแม่เหล็ก
การเตรียมการหมุนเรือหาดิวเิ อชั่น
1. จัดทำบันทึกการหมุนเรื อทั้งเวลาเปิ ดไฟและปิ ดไฟ หมุนเรื อกราบซ้ายและกราบขวา ติดแสดงไว้
ใกล้เรื อนเข็มทิศ และที่โต๊ะแผนที่
2. ก่อนหมุนเรื อหาดิวิเอชัน่ อุณหภูมิของปล่องต้องเป็ นลักษณะเดียวกับเรื อออกทะเล
3. ตัวเรื ออยูใ่ นสภาพตรงไม่เอียง
4. ตรวจสอบความผืดของแผ่นเข็ม
5. ตรวจเส้นหัวเรื อให้อยูใ่ นแนวขนานกับแนวกระดูกงูของเรื อ
6. อุปกรณ์ที่ท ำจากเหล็กเคลื่อนที่ได้ ควรอยูใ่ นสภาพเรื อเดินปกติ
7. ควรหลีกเลี่ยงเรื ออื่นไม่ควรควรเข้ามาใกล้เกิน 3 เคเบิล เพราะจะทำให้เกิดการรบกวนจากสนาม
แม่เหล็กจากเรื อลำอื่นได้
8. ควรหมุนเรื อทั้งเวลากลางวันเปิ ดและปิ ดไฟ และ กลางคืนปิ ดและเปิ ดไฟ เพราะกระแสไฟฟ้ ามี
ผลต่อการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก
วิธีการหมุนเรือเพือ่ หาดิวิเอชั่น ของเข็มทิศแม่ เหล็ก
สามารถกระทำได้ 5 วิธีดว้ ยกัน ดังนี้
1. โดยการแบริ่งวัตถุสิ่งเดียวอยู่ไกล ( By bearing of a object )
เป็ นวิธีการหาดิวิเอชัน่ ที่นิยมใช้กนั มากที่สุด เพราะเพียงทราบตำบลที่เรื ออยูใ่ นปั จจุบนั และมีที่
หมายชักเจน เช่น กระโจมไฟ เป็ นต้น ซึ่ งก็สามารถหาแบริ่ งแม่เหล็กได้ หลักการหมุนเรื อสามารถ
กระทำได้ดงั นี้
- พยายามหมุนเรื อให้เป็ นวงเล็กที่สุดเท่าที่กระทำได้ และพยายามให้เข็มทิศกระทบ
กระเทือนน้อยที่สุด
- ถ้าเรื อผูกทุ่น ระยะห่างระหว่างเรื อกับวัตถุไม่ควรน้อยกว่า 4 ไมล์
- ถ้าเรื อทอดเสมอตัวเดียว ระยะห่างระหว่างวัตถุกบั เรื อไม่ควรน้อยกว่า 6 ไมล์
- ถ้าเรื อแล่น ระยะห่างระหว่างวัตถุกบั เรื อไม่ควรน้อยกว่า 10 ไมล์ ซึ่ งต้องใช้ระยะทางไกล
เพราะจะทำให้แบริ่ งเหล็กเปลี่ยนน้อยมาก
- การหมุนเรื อนั้นให้หมุนทีละ 15 , 20 หรื อ 45 องศา ซึ่ งนิยมใช้ทิศหัวเรื อทีละ 45 องศา
เพราะถ้าใช้ทิศน้อยอาจทำการวัดแบริ่ งไม่ทนั ทิศหัวเรื อทิศแรกที่จะหมุนควรใช้ทิศเหนือก่อน
เพราะจะเป็ นการสะดวกที่จะหมุนไปทางขวาหรื อทางซ้าย
- ถ้าหมุนเรื อทั้งทางขวาและทางซ้าย ต้องเอาแบริ่ งเข็มเรื อของแต่ละทิศการหมุนทั้งสองมา
เฉลี่ยกันก่อนแล้วนำมารวมกันเพื่อนำมาหารด้วยจำนวนครั้งที่แบริ่ ง
- นำแบริ่ งทั้งหมดมารวมกันแล้วหารด้วยจำนวนทิศหัวเรื อที่แบริ่ งไว้ ผลลัพธ์ที่ได้เป็ นแบ
ริ่ งแม่เหล็กของวัตถุ

ตัวอย่ าง
ทำการหมุน เรื อ หาดิว ิเ อชัน่ เข็ม ทิศ แม่เ หล็ก (เข็ม ทิศ เรื อ นเอก)ของเรื อ ลำหนึ่ง โดยการแบริ่ ง
ประภาคาร ได้ผลลัพธ์ดงั ตาราง

ทิศหัวเรือโดยเข็มทิศแม่ เหล็ก แบริ่งประภาคาร แบริ่งแม่ เหล็ก ดิวเิ อชั่น


000 346 336'15.0" 9'45.0" W
045 340 336'15.0" 3'45.0" W
090 348 336'15.0" 11'45.0" W
135 336 336'15.0" 0'15.0" E
180 330 336'15.0" 6'15.0" E
225 334 336'15.0" 2'15.0" E
270 342 336'15.0" 5'45.0" E
315 314 336'15.0" 22'15.0" E
ผลบวกเฉลี่ย 336'15.0"        
2. โดยการแบริ่งวัตถุซึ่งรู้ แบริ่งจริงแล้ ว ( By transits or ranges )
เป็ นวิธีที่ได้ผลดีที่สุด ซึ่ งจะใช้กบั ที่หมายนำ ซึ่ งจัดให้วตั ถุสองแห่งอยูใ่ นแนวเดียวกัน เรี ยกว่า แนว
นำ(Leading time) เพื่อให้เรื อพ้นจากที่อนั ตราย หรื อเป็ นแนวบอกร่ องน้ำที่เรื อควรแล่น หรื อแล้ว
แต่จุดประสงค์การสร้าง ซึ่ งจะบอกแบริ่ งแนวนำของแผนที่ เมื่อรู ้แนวแบริ่ งของวัตถุแล้ว ก็หาแบริ่ ง
แม่เหล็กได้ โดยนำเอาแบริ่ งจริ งของวัตถุแก้ดว้ ยค่าวาริ เอชัน่ ที่ได้จากแผนที่กจ็ ะได้แบริ่ งแม่เหล็ก
ของวัตถุ นำค่าแบริ่ งแม่เหล็กของวัตถุ ลบด้วยแบริ่ งของวัตถุโดยเข็มทิศก็จะได้ค่าดิวิเอชัน่
วิธีการก็เช่นเดียวกันทำการหมุนเรื อทุกๆ 10,5 องศา แต่นิยมใช้ 45 องศา โดยให้แนวทางเรื อผ่าน
แนวนำเมื่อที่หมายนำทั้งสองอยูใ่ นแนวเดียวกันแล้วก็ให้วดั แบริ่ งของวัตถุ ทำดังนี้จนครบทุกทิศหัว
เรื อที่ตอ้ งการ
ตัวอย่ าง
ทำการหาดิวเิ อชัน่ เข็มทิศเรื อเอกของเรื อลำหนึ่ง โดยวิธีการนำเรื อแล่นผ่านหลักนำซึ่ งรู ้แบ
ริ่ งจริ งตามทิศหัวเรื อต่างๆ โดยวาริ เอชัน่ ของตำบลที่น้ ีเป็ น 6 องศาตะวันออก และ แบริ่ งจริ งของ
แนวนำ 306 ผลแสดงดังตาราง

ทิศหัวเรือ แบริ่งจริง วาริเอชั่น แบริ่งแม่ แบริ่งวัตถุ ดิวเิ อชั่น


โดยเข็มทิศ ของวัตถุ เหล็กของ โดยเข็มทิศ
เรื อนเอก วัตถุ เรื อนเอก

000 306 6E 300 310'30" 10'30" W


045 306 6E 300 306'15" 6'15" W
090 306 6E 300 304'00" 4'00" W
135 306 6E 300 301'00" 1'00" W
180 306 6E 300 277'00" 3'00" E
225 306 6E 300 269'30" 31'00" E
270 306 6E 300 285'00" 15'00" E
315 306 6E 300 305'00" 5'20" W
345 306 6E 300 311'00" 11'00" W
3. โดยการแบริ่งกลับเข็ม
ทิศบนบก ( By reciprocal Bearings ) มีวธิ ีการปฏิบัติ 2 วิธี คือ
3.1 เมื่อมีสถานีตรวจแม่ เหล็ก
ที่สถานีตรวจแม่เหล็กจะมีวงเข็มใบ้ต้ งั ไว้ในแนวเมอริ เดียนแม่เหล็กเมื่อใช้เข็มใบ้น้ ี วดั แบริ่
งก็จะได้แบริ่ งแม่เหล็กและเมื่อแบริ่ งกลับก็จะได้แบริ่ งแม่เหล็กของสถานีตรวจแม่เหล็กซึ่ งขณะ
เดียวกันเรื อใหญ่กจ็ ะวัดแบริ่ งของสถานีตรวจแม่เหล็กไว้ ผลต่างระหว่างแบริ่ งที่วดั จากเรื อและแบริ่
งกลับ คือค่าดิวิเอชัน่ ของเข็มทิศแม่เหล็ก
3.2 เมื่อไม่มีสถานีตรวจแม่เหล็ก
ก็ให้น ำเข็มทิศแม่เหล็กขึ้นไปบนบก ติดตั้งไว้ในตำบลที่ๆเห็นเด่นชัดไม่มีอ ำนาจแม่เหล็กรบกวน
เมื่อทิศหัวเรื อหันไปในทิศทางที่ตอ้ งการแล้วให้เรื อทำการแบริ่ งเข็มทิศบนบก ซึ่ งแบริ่ งที่ได้จะเป็ น
แบริ่ งของเข็มทิศเรื อนเอก( ตามเข็มทิศที่ใช้วดั ) และเข็มทิศแม่เหล็กบนฝั่งก็จะแบริ่ งเรื อใหญ่ แบริ่ ง
ที่ได้เมื่อทำเป็ นแบริ่ งกลับแล้วจะเป็ นแบริ่ งแม่เหล็ก ผลต่างของแบริ่ งกลับของเข็มทิศบนบก กับแบ
ริ่ งเข็มทิศบนบกโดยเรื อใหญ่กค็ ือ ค่าดิวเิ อชัน่
ตัวอย่ าง ทำการหาดิวิเอชัน่ ของเข็มทิศเรื อนเอกของเรื อลำหนึ่ง โดยวิธีแบริ่ งกลับเข็มทิศบนบก ได้
ผลแสดงดังตาราง
เวลา ทิศหัวเรื อ แบริ่ งของเรื อ แบริ่ งกลับของเข็มทิศ แบริ่ งเข็มทิศบนบก ดิวิเอชัน่
โดยเข็มทิศ โดยเข็มทิศ บนบก(แบริ่ งแม่เหล็ก) โดยเข็มทิศเรื อนเอก
  เรื อนเอก บนบก    
1400 000   030   210   216   06 W
1406 045   023   203   200   03 E
1413 090   017   197   189   08 E
1420 135   024   204   201   03 E
1425 180   031   211   209   02 E
1432 225   034   214   218   04 W
1436 270   036   216   222   06 W
1444 315   040   220   229   09 W

4. โดยเปรียบเทียกกับเข็มทิศไยโร ( By comparision with the Gyro compass )


วิธีจะใช้ได้กต็ ่อเมื่อมีเข็มทิศไยโรซึ่ งเป็ นวิธีที่ทนั สมัยที่สุด ประหยัดเวลา และสะดวกที่สุด
เพราะปั จจุบนั เรื อสิ นค้าได้ติดตั้งเข็มทิศไยโรวิธิปฏิบตั ิน้ นั ก่อนที่จะทำการหมุนเรื อเพื่อหาดิวิเอชัน่
จะต้องทราบความลาดเคลื่อนของเข็มทิศไยโรนั้นเสี ยก่อนโดยการหาอัตราผิดของเข็มทิศไยโรทาง
ดาราศาสตร์ และความเคลื่อนคลาดของเข็มทิศแก้กบั ค่าวาริ เอชัน่ ของตำบลที่น้ นั ๆ
ตังอย่ าง
ทำการหาดิวเิ อชัน่ ของเข็มทิศเรื อนเอกของเรื อลำหนึ่ง โดยการเปรี ยบเทียบกับเข็มทิศไยโร วาริ เอชัน่
ณ ตำบลที่น้ นั 13 E และอัตราผิดของเข็มทิศไยโร 2 E ได้ผลแสดงดังตาราง
ทิศหัวเรือ อัตราผิด ทิศหัว ทิศหัวเรือ ความคลาด วาริเอชั่น ดิวเิ อชั่น
โดยเข็มทิศ เข็มทิศไยโร เรือจริง โดยเข็มทิศ เคลือ่ น
ไยโร เรือนเอก ( Var. + Dev )
000 2E 001 016 13 W 13 W 2 W
030 2E 031 046 13 W 13 W 1 W
060 2E 061 075 12 W 13 W 1 W
090 2E 091 103 10 W 13 W 1 E
120 2E 121 132 09 W 13 W 2 E
150 2E 151 162 09 W 13 W 2 E
180 2E 181 192 09 W 13 W 2 E
210 2E 211 222 09 W 13 W 2 E
240 2E 241 252 09 W 13 W 2 E
270 2E 271 283 10 W 13 W 1 E
300 2E 301 313 10 W 13 W 1 E
330 2E 331 345 12 W 13 W 1 W
5. โดยการแบริ่งวัตถุท้องฟ้ า ( By bearing of the Celestial Bodies )
ใช้การคำนวณทางวิชาดาราศาสตร์หาแบริ่ งจริ งของวัตถุทอ้ งฟ้ า แล้วนำไปเปรี ยบเทียบกับ
แบริ่ งที่วดั ได้จากเข็มทิศแม่เหล็ก ซึ่ งจะได้ค่าอัตราผิด ค่าอัตราผิดนี้ เกิดจากค่า วาริ เอชัน่ + ค่าดิวิเอชั่
นของเข็มทิศแม่เหล็ก และเมื่อนำค่าวาริ เอชัน่ ที่ได้จากแผนที่มากระทำตามหลักพีชคณิ ตอับอัตราที่
ได้กจ็ ะทราบค่าดิวิเอชัน่ ของเข็มทิศแม่เหล็ก โดยวิธีน้ ี สามารถหาอัตราผิดของเข็มทิศไยโรได้อีกด้วย
ตัวอย่ าง
การหาอัตราผิดของเข็มทิศไยโร และดิวิเอชัน่ ของเข็มทิศแม่หลักของเรื อ Helikon วันที่ 13 Feb 98
โดยที่ แบริ่ งดวงอาทิตย์ตอนเช้าด้วยเข็มทิศไยโร 103.8 และเข็มทิศแม่เหล็ก 102.2 วาริ เอชัน่ 1.3 W
ให้หาแบบ แอมปริ จูด

ตำบลที่ขณะทำการตรวจสอบ Lat 15'59.8 " N


Long 069'55.7" E

ZT 06-50-03
ZD -5
GMT 01-50-03
tab Dec. 13' 28.9" S
d. 0.8
d, corr -0.7
Dec. 13'28.2" S
From Sin Amp. = Sin Dec. x Sec Lat
Amp.
Zn 104.02
Gyro Brg. 103.8   Meg. Brg. 102  
Gyro Error 0.22 L   Meg.Error 1.8 E
      Var. 1.3 W
      Dev. 3.1 E
เข็มทิศไยโร ( Gyro Compass )
ตั้งแต่สมัยโบราณมาแล้วนักเดินเรื ออาศัยเข็มทอดแม่เหล็กเป็ นเครื่ องมือหลักในการเดินเรื อ
ต่อมาเมื่อการเดินเรื อเจริ ญมากยิง่ ขึ้น การต่อเรื อนิยมที่จะใช้เหล็กในการต่อเรื อ ตลอดจนส่ วนประ
กอบอื่นๆที่เป็ นเหล็ก และกระแสไฟฟ้ าในเรื อ สิ่ งต่างๆเหล่านี้มีส่วนทำให้เข็มทิศแม่เหล็กมีความ
ผิดพลาดมากขึ้น ด้วยเหตุน้ ี Mr. Sperry Anchuts และ Mr.Brown 3 ท่านนี้จึงได้คน้ คิดผลิตเข็มทิศ
ไยโรขึ้นมาในปี ค.ศ.19 เพื่อที่จะใช้เข็มทิศซึ่ งมิได้อาศัยอำนาจแม่เหล็กในการชี้ทิศ และพ้นจากการ
รบกวนของสนามแม่เหล็กต่างๆที่เกิดที่เกิดขึ้นบนเรื อและพื้นโลก นอกจากนี้ยงั สามารถติดตั้ง
Repeater ของ เข็มทิศไยโรไว้ในที่ต่างๆได้อีกด้วย
พืน้ ฐานของเข็มทิศไยโร
เข็มทิศไยโรนั้นประกอบไปด้วยไยโรสโคบตั้งแต่หนึ่งตัวหรื อมากกว่านั้น ซึ่ งจะมีองค์
ประกอบของหน่วยกำเนิดไฟฟ้ า ซึ่ งแต่ละแบบอาจไม่เหมือนกัน เข็มทิศไยโรเมื่อเปิ ดใช้ครั้งแรกจะ
ต้องอาศัยเวลาในการเซ็ทตัวประมาณ 4-6 ชัว่ โมง เพื่อให้ไยโรสโคบเกิดการหมุนในอัตราเร็ วระดับ
หนึ่งเพื่อแก้ค่าเฟสและแมกนิจูด เมื่อหมุนจนได้ความเร็ วในระดับที่ท ำให้ไยโรสโคบเกิดการหมุน
รอบแกนทั้งสามแกนแล้วแกนในแนวตั้งจะหมุนสัมพันธ์กบั การหมุนของโลก ส่ วนแกน Spin axis
นั้นก็จะหมุนในระดับที่ขนานกับเมอริ เดียนเพื่อป้ องกันการกวัดแกว่งไยโรสโคบชนิดลูกตุม้ นี้ ถือได้
ว่าเป็ นพื้นฐานของระดับเข็มทิศไยโร ซึ่ งจะอธิ บายถึงระบบของเข็มทิศ และหลักการของเข็มทิศไย
โรได้โดยสรุ ปคือ เมื่อแกนของไยโรสโคปที่หมุนตัวอิสระจะชี้ ทิศคงที่ไปในทิศเดียวเสมอ ดังนั้นจึง
ยังไม่สามารถนำมาใช้ในการบอกทิศได้ แต่ถา้ เอาน้ำหนักอันหนึ่งวางแขนไว้ใต้ไยโรสโป โดย
แขวนติดกับปลายทั้งสองของแกนแล้วแกนนั้นจะหันเข้าหาเมอริ เดียน ในกรณี ที่ไยโรสโคปอยูท่ ี่
อิเควเตอร์ซ่ ึ งมีแกรอยูใ่ นแนวนอนหันอยูใ่ นแนวตะวันออกตะวันตก โดยที่โลกหมุนจากทิศตะวัน
ตกไปออก ฉะนั้นแกนของไยโรสโคปพยายามอยูน่ ิ่งคงที่ในอวกาศ หรื อพยายามกระดก ให้สมั พันธ์
อยูก่ บั โลก แต่ขณะเมื่อมันกระดกไปนั้นน้ำหนักก็ถูกยกขึ้น อาการของความถ่วงบนน้ำหนักก็จะ
พยามดึงให้แกนกลับไปยังตำแหน่งที่สุด จึงเกิดแรงกระทำขึ้นที่แกนทำให้ Precession หันเข้าหา
เมอริ เดียน แรงนี้ กระทำที่ปลายทั้งสองของแกนเรี ยกว่าแกนคควบคู่มุมฉาก ( Righting Couple ) แรง
ของน้ำหนักที่ท ำให้เกิด Precession แต่ไม่ท ำให้แกนกลับคืนเข้าไปในแนวนอนเนื่องจากเป็ นไปตา
มกฏของ Precession ดังนั้นการหมุนตัวต่อเนื่องกันของโลกทำให้แกนข้างสู งกระดกขึ้นต่ำ
เนื่องจากไปส่ งผลให้แรง๕ควบมุมฉากทวีข้ ึน เมื่อแกนหันไปถึงเมอริ เดียนจะทำให้แรงคู่ควบ
มุมฉากมีก ำลังสูงสุ ด เมื่อการเคลื่อนที่ยงั คงดำเนินต่อไปแต่เมื่อข้ามเมอริ เดียนไปแล้วแรงจึงค่อยๆ
ลดลงพร้อมทั้งอัตรา Precession ก็ค่อยๆลดลงด้วยและจะเป็ นศูนย์เมื่อมุมที่หมุนเลยเมอริ เดียนไป
แล้วเท่ากับมุมที่หมุนจากตำแหน่งเดิมเข้าไปถึงเมอริ เดียนเมื่อไยโรสโคปแกว่งกวัดข้ามเมอริ เดียน
อย่างต่อเนื่องแล้ว จะใช้เป็ นเข็มทิศไม่ได้เว้นแต่จะทำให้ไยโรสโคปหมุน ณ เมอริ เดียนนั้นได้ทนั ที
จึงต้องทำให้แกนของไยโรสโคปไม่เกิด Precession ขึ้น ซึ่ งสามารถแก้ไขได้โดยใช้ลูกเบี้ยวหรื อใช้
ปรอทถ่วงซึ่ งการใช้ ปรอทถ่วงนั้นเป็ นวิธีที่ใช้กบั เข็มทิศสมัยใหม่ ปรอทถ่วงนี้บรรจุอยูใ่ นกระปุก
เหล็กคู่หนึ่งที่มีท่อเหล็กต่อถึงกัน ซึ่ งปรอทถ่วงนี้มีแขนและลูก กลิ้งติดต่อกับห้องไยโร ปรอทใน
กระปุกนั้นได้บรรจุไว้เต็มเสมอกับระดับพื้นในสภาพสมดุลแล้วเข็มทิศจะชี้ไปยังทิศเหนือจริ ง
ไยโรสโคป
เป็ นที่ทราบโดยทัว่ ไปแล้วว่าเทหวัตถุ ที่หมุนไปโดยเร็ วนั้นมีอิสระในการหมุนตัวโดยรอบ
แกนตั้งฉาก ซึ่ งกันและกันทั้งสามแกนทำให้เกิดเป็ นไยโรสโคป(คำว่าไยโร ในภาษากรี ก หมายถึงว่า
หมุนหรื อหมุนรอบ และ สโคป หมายถึง ดู หรื อมอง ) การที่น ำเอาชื่อไยโรสโคปมาใช้ เพราะว่ามี
คุณสมบัติในการอยูน่ ิ่งในอวกาศ อาการนี้ เรี ยกว่า เฉื่ อยไยโรสโคป เช่นขณะโลกหมุนรอบแกนตัว
เองนั้นแกนการหมุนตัวของไยโรสโคปเปลี่ยนทิศทางของมันติดต่อไปเรื่ อยไปโดยสัมพันธ์กบั โลก
ฉะนั้นไยโรสโคปนี้ เองทำให้เราแลเห็นการหมุนตัวของโลก ถึงมีแรงหนึ่งมากระทำต่อไยโรสโคปที่
กำลังปั่ นอยูแ่ ล้วจะทำให้แกนนั้นไม่หมุนตัวไปในทิศที่แรงนั้นมากระทำแต่หมุนไป
ในทิศ 90 องศา จากแรงที่มากระทำ อาการนี้เรี ยกว่า Precession หรื ออาการเซ Mr. Focault ชาว
ฝรั่งเศส เป็ นบุคคลที่ตรวจกฎของ ไยโรสโคป และเป็ นผูค้ น้ พบปรากฏการนี้ ข้ ึนจึงเรี ยกชื่อกฎตาม
ชื่อของท่านกล่าวคือ เทหวัตถุที่หมุนจะพยายามเหวี่ยงตัวไปรอบๆ เพื่อ ให้แกนของมันไปอยูข่ นาน
กันกับแรงที่มากระทำ ฉะนั้นทิศทางการหมุนตัวของมันจึงเป็ นเดียวกับทิศของแรงที่มากระทำ
ลักษณะทั่วไปของไยโรสโคป
ลูกข่างหมุนได้รอบแกนหมุนปลายทั้งสองข้างของแกนหมุนติดกับวงนอน ในแนวเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง และวงนอนนี้ ติดต่อกับวงดิ่งตามเส้น ผ่านศูนย์กลาง ซึ่ งตังฉากกับแกนหมุนจึงทำให้แกน
ของลูกข่างเป็ นอิสระในการกระดกสูง หรื อต่ำลงตามแกนนอน วงดิ่งติดอยูก่ บั โครงฐานของเครื่ อง
ตามแนวซึ่ งตั้งฉากกับแกนนอน และตั้งได้ฉากกับแกนหมุน โดยลักษณะการประกอบขึ้นนั้นจึง
ทำให้แกนลูกข่างเป็ นอิสระ ในการหันไปมาทางข้างตามแนวแกนดิ่ง ติดกันที่จุดเดียว คือ
จุดศูนย์ถ่วงของลูกข่าง ดังนั้นย่อมเห็นได้วา่ ลูกข่างของเครื่ องไยโรสโคป เป็ นอิสระในการ
เคลื่อนไหวสามแนวคือ ในการหมุนรอบแกนตัวเองในการกระดกสู งต่ำตามแนวนอนในแนวหัน
หรื อส่ ายไปมาทางข้างตามแนวดิ่ง
คุญสมบัติของไยโรสโคป
เมื่อหมุนลูกข่างของไยโรให้มีความเร็ วสู งพอแล้วย่อมเกิดคุณสมบัติ หรื อปรากฏการณ์ 2 ประการ
คือ อาการนอนวัน( Gyro scope martial or rigidity in space )
หมายถึงอาการที่แกนของลูกข่างชี้ประจำทิศในที่วา่ งอากาศ ซึ่ งการที่ลูกข่างจะเกิดอาการ
นอนวันได้น้ นั ขึ้นอยูก่ บั น้ำหนัก ความเร็ วในการหมุน รู ปร่ าง

อาการที่แกนของลูกข่ างหันไปทางข้ างตามแนวแกนดิง่


เหนือกระดกสูงต่ำตามแนวแกนนอน เมื่อมีแรงภายนอกมากระทำกับแกนของลูกข่าง ดัง
นั้นแกนของลูกข่างจะ Precession เรื่ อยไปจนกว่าแรงที่กระทำนั้นหมดไป ซึ่ ง Precession จะเกิดขึ้น
ได้น้ นั ลูกข่างจะต้องอยูใ่ นแนวตั้งฉากกับทิศทางของแรงที่มากระทำเสมอ
หลักการสร้ างเข็มทิศไยโร
อาการหมุนของโลกทำให้ไยโรสโคปกระดก และหันเหออกนอกแนวเมอริ เดียน ดังนั้นการ
ที่จะทำให้ไยโรสโคปเป็ นเข็มทิศไยโรจะต้องทำให้ไยโรสโคปชี้ทิศเหนือใต้ หรื ออยูใ่ นแนว
เมอริ เดียน โดยการจัดให้แกนหมุนของไยโรสโคปขนานกับแนวเมอริ เดียนและแกนของไยโรส
โคบ ได้ระดับกับพื้นที่น้ นั ๆซึ่ งหลักเกณฑ์ท้ งั สองจะเกิดขึ้นได้กต็ ่อเมื่ออาศัยอาการชี้ประจำทิศใน
อากาศ Precession เมื่อมีแรงภายนอกมากระทำกับแกนของลูกข่างอาการหมุนของโลกทำให้ไยโรส
โคปกระดก และหันเหออกนอกแนวเมอริ เดียน ดังนั้นการที่จะทำให้ไยโรสโคปเป็ นเข็มในการที่จะ
ใช้แรงภายนอกมากระทำกับแนวของไยโรให้หนั เข่าหาเมอริ เดียนนั้นจะกระทำได้ 2 วิธีคือ
1. ใช้น ้ำหนักถ่วงด้านล่างตรงแนวศูนย์กลางน้ำหนักของลูกข่าง เข็มทิศไยโรแบบนี้ เรี ยกว่า
Pendilous Gyro ( Rotor หมุนตามเข็ม )
2. ใช้น ้ำหนักของๆเหลซึ่ งสามารถไหลถ่ายเทเปลี่ยนศูนย์น ้ำหนักได้ ถ่วงในแนว
จุดศูนย์กลางของศูนย์น ้ำหนักของ Rotor เข็มทิศไยโรแบบนี้ เรี ยกว่า Non-Pendulous Gyro หรื อ
Liquid controlled Gyro ( Rotor หมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ) เมื่อโลกหมุนจะทำให้แกนเหนือ
ศูนย์น ้ำหนักที่ถ่วงจะออกแรงมากระทำต่อแนวตั้ง และอาการหมุนของโลกก็จะกระทำต่อ
แกนนอนด้วยทำให้แกนของลูกข่าง Precession กลับในทิศตะวันตกเข้าหาเมอริ เดียน ขณะที่ลูก
หมุนจะทำให้ปลายของลูกข่างด้านใต้ สูง น้ำหนักที่ถ่วงจะออกแรงกระทำกับแนวของไยโรทำให้
ปลายด้านเหนือ Precession กลับมาทางทิศตะวันออกเข้าหาแนวเมอริ เดียน  อาการแกว่งของ Rotor
แกว่งไปแกว่งมา เรี ยกว่า Oscillation จะเป็ นรู ปอิลิปซ์ ดังนั้นการที่จะกระทำให้ Gyro scope
เป็ นเข็มทิศไยโร จะต้องทำให้ปลายแกนด้านเหนือชี้เหนือ ซึ่ งจะต้องใช้ Damping og Oscillation
โดยการติดโลกตุม้ น้ำหนักเยี้อง ออกนอกแนวศูนย์กลางไปทางตะวันออกประมาณ 1-2 องศา ซึ่ ง
เรี ยกว่า Eccentric pilot จะทำให้ตุม้ น้ำหนักออกแรวกระทำต่อแกน ของลูกข่างทั้งตามแนวแกนตั้ง
และตามแนวแกนนอน แรงที่กระทำตามแนวแกนตั้งจะทำให้หนั ( Azimuth ) และแรงที่มากระทำ
ตามแนว แกนนอนจะทำให้กระดก( Tilt ) โดยเหตุน้ ีเมื่อแกนด้านเหนือของลูกข่างกระดกขึ้น ตุม้
น้ำหนักจะบังคับให้ลูกข่าง Precession กลับมา ทางตะวันตก และในขณะเดียวกันนั้นก็ได้บงั คับให้
ลูกข่างกระดกต่ำลงด้วย อาการเคลื่อนที่ของปลายแกนซึ่ งเปลี่ยนลักษณะจากรู ป
อิลิปซ์ มาเป็ นวงก้นหอย ( Spiral ) Perdulous Gyro บางครั้งเรี ยกว่า BottomHeavy

ความคลาดเคลือ่ นของเข็มทิศไยโร
เข็มทิศไยโรที่ได้แต่งและแก้ไขถูกต้องดีแล้วเมื่ออยูบ่ นบก แต่เมื่ออยูบ่ นเรื อก็อาจมี
ความคลาดเคลื่อนบางประการดังนี้ คือ
1. ความคลาดเคลือ่ นเรือโครงในทิศเฉียง( Inter-cardinal rolling error )
อาการโคลงของเรื อทำให้เกิดแรงความเร่ ง( accelertion force ) กระทำต่อมวลสารของลูก
ตุม้ ของไยโรเป็ นเหตุให้ลูกข่างเบี่ยงเบนไปจากทิศเหนือจริ ง ความคลาดเคลื่อน นี้ ได้ชื่อมาจากความ
จริ งในการที่มีความคลาดเคลื่อนมากที่สุดในเมื่อหัวเรื อหันไปในทิศเฉี ยง เข็มทิศไยโรแบบ Sperry
ใช้แก้ความคลาดเคลื่อนนี้ ดว้ ยการเพิ่มไยโรช่วย ( Auxiliary gyro ) เล็กๆเรี ยกว่า Floating ballistic
สำหรับทำให้จุดเชื่อมระหว่างตัวไยโรจริ ง และลูกตุม้ ( Pendulum ) มีความมัน่ คง ส่ วนเข็มทิศไยโร
แบบ Arma ใช้ตวั ไยโรจริ ง 2 ตัวอยูน่ อกเมอริ เดียนในทิศตรงกันข้าม ฉะนั้นตัวไยโรพยายาม precess
ในทิศตรงกันข้าม จึงทำให้สะเทิน ( Neutralizing ) ซึ่ งกันและกัน
2. ความคลาดเคลือ่ นอัตราเร็ว ( Speed error )
เมื่อเรื อแล่นด้วยอัตราเร็ วคงตัวในทิศประจำก็คือการแล่นตามทางโค้งในอากาศเพราะว่า
แล่นไปตามผิงพื้นโลกซึ่ งเป็ นพื้นโค้ง อาการนี้ ท ำให้เกิด Vector ที่จะต้องเพิ่มเข้ากับการหมุนตัวของ
โลก การแก้น้ ีพ่ งึ พิงกับเข็มที่เรื อแล่น อัตราเร็ วของเรื อ และละติจูด อัตราเร็ วใช้ต้ งั ด้วยมือ หรื อแก้ไว้
โดยอัตโนมัติดว้ ย Log Speed ใต้น ้ำ ละติจูดใช้ ตั้งเอาด้วยมือ และเข็มทิศนั้นเองก็บอกทิศที่แล่น
ฉะนั้นเส้นหัวเรื อจะชี้ทิศที่ถูก โดยจะหันแผ่นข็มนั้นชี้ไปที่ไหนก็ได้ตามต้องการ
3. ความคลาดเคลือ่ นละติจูด ( Latitude error )
โดยที่ใช้วิธีการลดการแกว่งของเข็มทิศไยโรแบบ Sperry ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อน
ละติจูดขึ้น ฉะนั้นจึงต้องแก้ละติจูดช่วยโดยการแก้ดว้ ยมือความคลาดเคลื่อนแบบนี้ ไม่มีในเข็มทิศ
ชนิด Arma เพราะใช้วิธีอื่นในการลดการแกว่งกวัด
4.ความคลาดเคลือ่ น Damping ( Damping error )
เมื่อเรื อเปลี่ยนเข็ม หรื ออัตราเร็วที่เกิดแรงความเร่ ง หรื อแรงความหน่วง( Accelerating
force or decelerating force ) ขึ้นให้การสมดุลของปรอท เปลี่ยนไปทำให้เกิด Precession โดยรอบ
แนวแกนยืนขึ้น หรื อทำให้เข็มทิศเบี่ยงเบนไปจากทิศเหนือจริ ง ดิวิเอชั้นที่มากที่สุดนี้จะเกิดขึ้น
ประมาณ 20 นาทีภายหลังที่เปลี่ยนเข็มหรื ออัตราเร็ วภายหลังที่เข็มทิศได้แกว่งกวัดข้ามศูนย์และได้
ลดความคลาดเคลื่อนลงสิ้ นแล้ว เข็มทิศไยโรแบบ Arma ใช้แก้ความคลาดเคลื่อนอันนี้ โดยการตัด
การติดต่อระหว่างกระปุกปรอทเมื่อแรงและความเร่ งถึงขีดที่ก ำหนดโดยอัตโนมัติ ส่ วนเข็มทิศไยโร
แบบ Sperry ใช้แก้โดยการต่อของลูกเบี้ยวระหว่าง Ballistic และห้องไยโรไปยังจุดหนึ่งในแนวกับ
แกนยืนของเข็มทิศ เข็มทิศทั้งสองแบบนี้ มี Solenoid เป็ นเครื่ องแก้อตั โนมัติระหว่างคาบของ
ความเร่ งและความหน่วง

5. ความคลาดเคลือ่ นการเหของปรอท ( Ballistic deflection error )


ความเร่ งอันเกิดจากการเปลี่ยนเข็ม หรื ออัตราเร็ วของเรื อได้ส่งอาการไปยังมวลสารชนิดลูก
ตุม้ ของหน่วยชี้ทิศ( Sensitive element ) ด้วยเช่นเดียวกับที่กระทำกับปรอท สำหรับเข็มทิศแบบ
Sperry นั้นกระปุกปรอททั้งสามฝาแต่ละกระปุกมีลิ้นเชื่อมไปยังท่อเหล็กติดต่อถึงกันได้ ดังนั้น
ปรอทเพียงหนึ่งสองหรื อสามกระปุกอาจจะทำหน้าที่ของมันแล้วแต่ความต้องการที่เกิดจากการ
เปลี่ยนละติจูดได้ การแก้โดยวิธีน้ ี ดว้ ยการถ่ายเทของน้ำหนักปรอทในกระปุกต่างๆ และท่อที่ต่อ
กระปุกจะทำให้แก้การหักเหของปรอทได้ทุกละติจูดแทนที่จะให้มีนอ้ ยเกินไปหรื อมากเกินไป
นอกจากที่ได้ออกแบบไว้แต่เดิม เข็มทิศ แบบหลังนี้ ไม่ได้แยกกระปุกปรอทไว้แต่ได้ติดไว้ให้ปรอท
เคลื่อนเข้าหรื อออกได้จึงทำให้บงั คับได้ถูกต้อง โดยที่ความคลาดเคลื่อนนี้ ท ำไปในทิศตรงข้ามกับ
การเปลี่ยนแปลงของความคลาดเคลื่อนอัตราเร็ วเมื่อเปลี่ยนเข็มหรื อเปลื่ยนอัตราเร็ วฉะนั้นจึงแต่
อัตราเร็ วไยโรสโคปและโมเมนตัมเชิงมุมของมันให้สมดุลได้โดยถูกต้องกับอึตราเร็ วเข็มทิศ
แบบ Arma ใช้การแก้วิธีน้ ี อัตราเร็ วที่ถูกต้องนี้ พ่ งึ พิงกับละติจูดฉะนั้นการแก้ละติจูดของเข็มทิศ
แบบ Arma เป็ นการแก้อตั ราเร็ ว
6. ความเคลือ่ นคลาดวงรักษาระดับ ( Gimballing error )
ความเร่ งแนวนอนอันเกิดจากเรื อโคลง ทำให้วงรักษาระดับซึ่ งรองรับเข็มทิศไว้เกิดการกระ
ดก ( Tilting ) จึงทำให้เข็มทิศมีการเคลื่อนคลาดเล็กน้อย เข็มทิศแบบ Arma ใช้แก้ความเคลื่อนคลาด
นี้โดยทำให้วงรักษาระดับวงนอกมรความเที่ยงสัมพันธ์อยูก่ บั หน่วยชี้ทิศ ส่ วนเข็มทิศแบบ Sperry
ได้ติดตั้งไว้ในลักษณะที่ให้ความคลาดเคลื่อนนี้ มีนอ้ ยที่สุดจึงไม่มีแก้ไว้
ความถูกต้ องของเข็มทิศไยโร
ถึงแม้วา่ จะมีการแก้ไขในเรื องของความเคลื่อนคลาดไว้กต็ าม เข็มทิศไยโรก็ยงั ไม่ถูกต้อง
สมบูรณ์แท้ทีเดียว ซึ่ งเข็มทิศไยโรในสมัยปั จจุบนั นี้ เมื่อได้แก้ความเคลื่อนคลาดแล้วก็จะมีอตั ราผิด
ไม่เกิน 1 องศา ตามปรกติในทางปฏิบตั ิถือว่าความเล็กน้อยเพียงแค่น้ ีเป็ นศูนย์เลยก็ได้แต่ท้ งั นี้กม็ ิได้
หมายความว่าจะมิตอ้ งตรวจสอบเลยหาความเคลื่อนคลาด แต่กย็ งั จะต้องหาอยูโ่ ดยเสมอ เพราะถ้า
เรื อแล่นเข็มใดเข็มหนึ่งนานๆก็จะทำให้ต ำแหน่งของเรื อผิดเซห่างออกไปจาดที่หมายหรื อเส้น
ทางการเดินเรื อได้

วิธีหาความเคลือ่ นคลาดของเข็มทิศไยโร
วิธีหนึ่งวิธีใดในบรรดาวิธีต่างๆ ที่ใช้หาดิวิเอชัน่ ของเข็มทิศแม่เหล็กก็สามารถใช้หาความ
เคลื่อนคลาดของเข็มทิศไยโร หรื อโดยการหาจากวิธีอื่นได้ดงั นี้
โดยเครื่องวัดแดดหรือเครื่องตั้งมุม
คือใช้เครื่ องวัดแดดวัดมุมสองมุม ( มุมขวาและมุมซ้าย ) ของวัตถุสามแห่งที่เหมาะจาก
ที่ต้ งั ของเข็มทิศไยโรเรื อนที่จะใช้ตรวจสอบ และในขณะที่ใช้เครื่ องวัดแดดวัดมุมของวัตถุไว้น้ันให้
ใช้เข็มทิศไยโรย่อยเรื อนนั้นวัดแบริ่ งของวัตถุท้ งั สามด้วยพ้อมกัน แล้วเอามุมที่วดั ได้น้ นั ตั้งลงใน
เครื่ องวัดมุมแล้วทาบหาที่เรื อในแผนที่ ตำบลที่เรื อที่หาได้น้ นั เป็ นตำบลที่อนั ถูกต้องของ
เข็มทิศไยโรเรื อนนั้นขณะเมื่อวัดมุม แล้วขีดหาแบริ่ งของวัตถุน้ นั ทั้งสามแห่งในแผนที่ เมื่อเอาแบริ่ ง
ของวัตถุท้ งั สามแห่งซึ่ งใช่เข็มทิศไยโรย่อยแบริ่ งได้ไปเปรี ยบเทียบกับแบริ่ ง ซึ่ งขีดจากแผนที่กจ็ ะได้
ความเคลื่อนคลาดของเข็มทิศไยโร จะต้องตรวจสอบเข็มทิศไยโรย่อยกับเข็มทิศไยโรเรื อนเอกไว้
ทุกครั้งที่ใช้เข็มทิศไยโรย่อยวัดแบริ่ งตรวจสอบทุกๆมุมแบริ่ งไป
โดยการแบริ่งวัตถุ 3 แห่ ง
การปฏิบตั ิให้ท ำการวัดแบริ่ งวัตถุสามแห่งในเวลาเดียวกันแล้วขีดแบริ่ งทั้งสามไว้บนแผนที่
ถ้าแบริ่ งทั้งสามตัดกันเป็ นจุดเดียวกันแล้วเข็มทิศไยโรนั้นก็ถูกต้อง แต่ถา้ ตัดกันเป็ นสามเหลี่ยมแล้ว
ก็สามารถแก้ให้มนั ไปตัดที่จุดเดียวกันได้โดยการทดลองและการใช้ความเคลื่อนคลาดคือเอา 1
องศาบวกเข้าหรื อลบออกจากแบริ่ งแต่ละแบริ่ งแล้วเอาแบริ่ งที่แก้แล้วขีดลงในแผนที่อีกถ้ารู ป
สามเหลี่ยมที่ท้ งั สามตัดกันมีขนาดเล็กลงและเมื่อได้กระประมาณว่าความเคลื่อนคลาดมีอยูใ่ นทิศใด
ถูกต้องดีแล้วได้ อัตราที่เหมาะสมเส้นแบริ่ งควรต้องตัดเป็ นจุดเดียวกัน รวมอัตราแก้ท้ งั หมดก็จะ
เป็ นความเคลื่อนคลาดของเข็มทิศไยโรตัวนั้น
เครื่องประกอบเข็มทิศไยโร มีหลายอย่างที่ใช้กบั เข็มทิศเรื อนเอก สำหรับเรื อขนาดใหญ่ในปั จจุบนั
วางมาตรฐานไว้ให้มีเข็มทิศไยโรเรื อนเอกสองเรื อน พร้อมด้วยเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ าตามสมควรและ
เครื่ องบังคับเป็ นต้น ส่ วนในเรื อเล็กโดยส่ วนมากมีเข็มทิศเรื อนเอกเพียงเรื อนเดียวสำหรับเข็มทิศไย
โรย่อยให้มีตามพอเหมาะสมกับการใช้งาน ที่หอ้ งถือท้ายจัดให้มีเข็มทิศไยโรย่อยไว้สองเรื อนเพื่อ
แสดงทิศจากเข็มทิศเรื อนเอกไว้ท้ งั สองเพื่อเป็ นการเปรี ยบเทียบและตรวจสอบกันได้เป็ นประจำที่
ห้องถือท้ายเหล่านั้น
เข็มทิศไยโรย่อย ( Gyro compass repeater ) แผ่นเข็มทิศที่ติดอยูท่ ี่ปลายข้าวหนึ่งของเพลาของ
มอเตอร์ที่ท ำงานตามกัน( Syncho motor ) Rotor ของมอเตอร์น้ ีหมุนพร้อมกันกับ transmitter ของ
เข็มทิศไยโรเรื อนเอก เข็มทิศไยโรย่อยนี้มีรูปลักษณะคล้ายคลึงใกล้เคียงกับเข็มทิศแม่เหล็กมาก แต่
ตำแหน่งที่ติดตั้งเข็มทิศไยโรย่อยไม่ยงุ่ ยากหรื อจำกัดเหมือนเข็มทิศแม่เหล็กที่จะต้องระวังสนามแม่
เหล็กบนเรื อ เข็มทิศไยโรย่อยมีอยูด่ ว้ ยกันหลายแบบด้วยกันแต่ละแบบก็เหมาะสำหรับประโยชน์ที่
มุ่งหมายใช้
ข้ อดีและข้ อเสียของเข็มทิศไยโร
ข้ อดีของเข็มทิศไยโร
เข็มทิศไยโรมีขอ้ ดีกว่าเข็มทิศแม่เหล็กดังนี้
1. ชี้เมอริ เดียนจริ งแทนที่จะชี้ เมอริ เดียนแม่เหล็ก
2. ใช้ใกล้ข้ วั แม่เหล็กได้ ส่ วนเข็มทิศแม่เหล็กใช้ไม่ได้
3. ติดตั้งไว้ในห้องที่มีผนังล้อมรอบใต้ดาดฟ้ าได้ ส่ วนเข็มทิศแม่เหล็กนั้นมวลสารของวัสดุแม่เหล็ก
ที่ลอ้ มรอบอยูน่ ้ นั จะทำให้แรงตรงของเข็มทิศลดลงไปมาก การแสดงทิศของเข็มทิศไยโรที่ติดตั้งไว้
ใต้ดาดฟ้ า ใช้กระแสไฟฟ้ าส่ งอาการไปยังเข็มทิศไยโรย่อยซึ่ งติดตั้งไว้ในที่ใดๆในเรื อที่เหมาะสมได้
4. ใช้ไฟฟ้ าส่ งทิศจากเข็มทิศไยโรไปใช้ในเครื่ องควบคุมการยิงในเรื อรบได้และยังสามารถใช้ส่ งทิศ
ไปยังเครื่ องจดที่เรื อรายงาน เครื่ องบันทึกเข็มที่เรื อแล่นไป และเครื่ องถือท้ายอัตโนมัติได้ หรื อ
เครื่ องมือเดินเรื อประกอบอื่นๆเป็ นต้น
ข้ อเสี ยของเข็มทิศไยโร
ถึงแม้วา่ เข็มทิศไยโรสมัยใหม่จะมีขอ้ ดีหลายประการแต่กย็ งั มีขอ้ เสี ยบางประการอัน
เนื่องจากการออกแบบคือ
1. เป็ นกลไกที่ประณี ตยุง่ ยาก ง่ายต่อการชำรุ ดหรื อขัดข้องเมื่อถูกกระทบกระเทือนแรงๆ
2. ต้องใช้ก ำลังไฟฟ้ าที่มีก ำลังไฟคงตัว
3. เข็มทิศไยโรไม่สามารถทำงานได้ตามประสงค์เมื่อมีอตั ราเร็ วและความเร่ งมาก เช่น ในเครื่ องบิน
4. แรงตรงของเข็มทิศไยโรลดลงตามละติจูดและสู ญหายไปหมดเมื่ออยูท่ ี่ขวั่ โลกภูมิศาสตร์ แต่
โดยที่ไม่ได้เอาเข็มทิศไยโรไว้ในเครื่ องบินและทั้งเรื อก็ไม่สามารถไปถึงขั้วโลกได้
5. เข็มทิศไยโรมีความเคลื่อนคลาดบางประการตามที่ได้กล่าวไว้จากข้างต้นแล้วสำหรับเข็มทิศไย
โรสมัยใหม่ถึงแม้จะมีขอ้ เสี ยดังกล่าวก็ตาม แต่ถา้ เอาใจใส่ เป็ นอย่างดีแล้วย่อยสามารถใช้ได้ผลเป็ นที่
หน้าพอใจและเชื่อถือได้ แต่กอ็ ย่างวางใจเกินไปนักเพราะเข็มทิศไยโรเป็ นกลไกลที่ประณี ตและต้อง
อาศัยพลังงานไฟฟ้ าเมื่อเกิดขัดข้องขึ้นมาก็เป็ นเรื อยุง่ ยากที่จ ำทำการแก้ไขได้เอง ดังนั้นไม่ควรที่จะ
ทอดทิ้งเข็มทิศแม่เหล็กเป็ นอันขาดต้องหมัน่ แก้ความเคลื่อนคลาด และทำบัญชีดิวเิ อชัน่ ไว้ให้ถูก
ต้องเสมอ
สรุ ปผลการใช้
เข็มทิสไยโรนั้นมีความสำคัญมากในการเดินเรื อ ซึ่ งจะเป็ นตัวบอกทิศทางของเรื อว่าเรื อจะเดินไป
ในทิศทางใด ในการเดินเรื อในปัจจุบนั ขณะอยูใ่ นทะเลเปิ ดนั้นจะตั้งเข็มเดินทางโดยอัตโนมัติ ทำให้
ไม่มีความจำเป็ นที่จะต้องถือท้ายแต่อย่างใดจะใช้เพียงสายตาในการตรวจดูเท่านั้น การแก้อตั ราผิด
ของเข็มทิศไยโรในแต่ละผลัดของการเข้ายามอย่างน้อย 1 ครั้ง ซึ่ งโดยส่ วนมากจะใช้ตรวจสอบกับ
วัตถุทอ้ งฟ้ าควบคู่ไปกับการแก้ไขเพื่อหาอัตราผิดของเข็มทิศแม่เหล็ก ในการเดินทางแต่ละครั้ง นาย
ยามปากเรื อจะต้องคอยตรวจเช็คเข็มทิศแม่เหล็กกับเข็มทิศไยโรทุกครั้งเมื่อเริ่ มต้นในการเข้ายาม
และจดค่าที่อ่านได้จาดเข็มทิศทั้งสอง ลงบนกระดานเพื่อป้ องกันในกรณี ที่เข็มทิศไยโรเกิดขัดข้อง
อย่างกะทันหันจะได้สามารถเดินทางโดยใช้เข็มทิศแม่เหล็กได้อย่างถูกต้อง

You might also like