You are on page 1of 31

เครื่องมือเดินเรือ

เครื่องมือเดินเรือ
 เครื่องมือแบริ่ง

 เครื่องวัดมุม

 เครื่องเขียน

 เครื่องวัดระยะทาง

 เครื่องหาอัตราน้ำลึก

 เครื่องประกอบอื่น ๆ
 เครื่องมือ
แบริ่ง
เข็มทิศ
เครื่องมือสำหรับวัดเข็ม
แบริ่งที่หมาย นำเรือไปยัง
ที ห
่ มาย
แบ่งเป็ น 2 ชนิด
1. เข็มทิศแม่เหล็ก
2. เข็มทิศไยโร
เข็มทิศแม่เหล็ก
- อาศัยอำนาจสนาม
แม่เหล็กโลก - ปลายชี ้
ขัว
้ เหนือแม่เหล็กโลก
- แบ่
ไม่ใงช้เป็ไฟฟ้
น 2า ชนิด
1. เข็มแห้ง
2. เข็มน้ำ
เข็มทิศ
เรือนเอก
(เข็มทิศแม่
ชนิดของเข็มทิศแม่เหล็ก
1. เข็มแห้ง
แผ่นเข็มทำด้วยกระดาษ
น.น.เบาแกว่งตัว
ง่าย ไม่เหมาะสมที่
ใช้ในเรือ
2. เข็มน้ำ
แผ่นเข็มทำด้วยไมก้า
ทองเหลือง อลูมิเนียม
แผ่นเข็มแช่น้ำ
เคลื่อนไหวช้า
นิยมใช้ทั่วไป
เข็มทิศไยโร

- อาศัยอาการไยโร
สโคป - ชีเ้ หนือ
จริง(ภูมิศาสตร์) - ใช้
ไฟฟ้ าแบ่งเป็ น 2 ชนิด
1. มาสเตอร์ไยโร
2. รีพีทเตอร์ไยโร
เข็มทิศไยโร (มาสเตอร์)

เข็มทิศไยโร (รีพีทเตอร์)
ส่วนต่างๆ ของเข็มทิศแม่เหล็ก
เข็มทิศแม่เหล็ก แบ่งเป็ น
4 ส่1.
วนหม้อเข็ม
2. เรือนเข็ม
3. หน้าปั ด
เข็มทิศเรือน
4. ฝาครอบ เอก
(เข็มทิศแม่
เส้นหัว
1. หม้อเข็มทิเรืศอ

โลหะแม่เหล็กไม่ดูด
รูปคล้ายขันน้ำ
มีน้ำหนัก
ถ่วงอยู่ที่ก้น ฝา
เป็ นกระจก/เซลลูลอยด์
กึ่งกลางหม้อเข็ม
ทิศมีเดือย เส้นหัว
2. เรือนเข็มทิศ
- ไม้/โลหะแม่เหล็กไม่ดูด
รูปทรง
กระบอก ใช้วางหม้อเข็มทิศ
- เท้าแขนด้านข้าง
รองรับลูกกลม เหล็กอ่อน
- ด้าน
หน้ากระบอกใส่ฟลินเดอร์บาร์
- ด้านในเรือนเข็ม มีช่อง
เรือนของเข็มทิศ
แบ่งเป็ น 3 ตอน
- ตอนบน ติดเข็มทิศ รองรับ
เดือย วงระดับ
- ตอนกลาง
หลอดไฟ ให้แสงสว่าง
รูตรงศูนย์กลางเรือนเข็ม เพื่อ
สวม สาแหรกแท่งแม่เหล็ก
แนวยืน - ตอนล่าง
เรือนเข็มทิศ
ดอกลิ
3.หน้าปั ดเข็มลี่
ทิศ- กระดาษ/โลหะแม่เหล็กไม่ดูด
- ศูนย์กลางหน้าปั ด
ด้านล่าง สวมบน
เดือยในหม้อเข็มทิศ
ลายดอกไม้ ที่ทิศเหนือ( ลิลี่ )
- ใต้แผ่นเข็มติดแท่งแม่
เหล็ก เป็ นคู่ ทัง้ สอง
ด้านแกนเข็ม (2,
3. หน้าปั ดเข็ม
ทิศแบ่งเป็ น 3 วิธี
1. องศา 360◦อ่านเลข 3 ตัว ง่าย
สะดวก ที่นิยม
2. ปอยนต์ มี 32 ปอยนต์(1 ปอ
ยนต์=11¼◦,11◦15)
3. แบ่งเป็ นภาค มี 4 ภาค ๆละ 90◦
นับจาก N หรือ S
ไปทาง E หรือ W
1. แบ่งเป็ นองศา

360◦ นับจากทิศเหนือเป็ น 0
เวียนไปทางทิศตะวันออก
– ทิศเหนือ
มีขีดแสดงไว้ทุก 1 ◦ มีกำลังกำกับทุก 1
0◦ การอ่าน อ่านเลข 3 ตัวเสมอ
เป็ นวิธีง่าย สะดวก
และเป็ นที่นิยมใช้กันทั่วไป
2. แบ่งเป็ นปอยนต์
มี 32 ปอยนต์ 1 ปอยนต์
= 11 ¼ ◦ 11 ◦ 15 ' แบ่ง
เป็ น 4 วิธี ดังนี ้
2.1 ปอยนต์ใหญ่
2.2 ปอยนต์รอง
2.3 ปอยนต์อักษร 3 ตัว
2.4 ปอยนต์ค่อน
1. ปอยนต์ใหญ่

แบ่งหน้าปั ดเข็มทิศเป็ น 4 ส่วน 4 ทิศ


คือ N , E , S, W
2. ปอยนต์รอง
แบ่งกึ่งกลางปอยนต์ใหญ่ มี 4
ทิศ คือ NE, SE, SW, NW
3. ปอยนต์อักษร 3 ตัว
แบ่งกึ่งกลางปอยนต์ใหญ่ -
4. ปอยนต์ค่อน โดยแบ่งกึ่งกลาง
ระหว่างปอยนต์ต่างๆ มี 16 ทิศ
N by E NE by N NE by
E E by N
E by S SE by E SE by
S S by E
S by W SW by S SW by
W W by S
W by N NW by W NW by
การแบ่งหน้าปั ด
เป็ นปอยนต์

N/W
N

NNWN

N/E
NNE
NW W

E/N
NW E
/

N
N E/E
WNW N
/W N E
W/N
EN
E/N
W E
W/S E/S
S W E SE
W W SE/
/
SW SW SE E
SE/
/S

SSE
SSW

S
S/E
SW

S/W

S
3. แบ่งเป็ นภาค
4 ภาค 90 ◦/ภาค
ทิศเหนือและใต้เป็ น
ศูนย์ (0) แล้วนับไปทาง ตะวัน
ออก – ตะวันตก เป็ น 90 ◦
การอ่านใช้ทิศเหนือ/ใต้เป็ นหลัก
เช่น S 45 E ( ใต้ 45 ไป
ทางตะวันออก )
4. ฝาครอบเข็มทิศ

- ทองเหลือง/โลหะแม่
เหล็กไม่ดูด - บาง
แบบมีที่สวมไฟ/ใส่ตะเกียง
ประโยชน์ของ
เข็มทิศ
1. ใช้ในการนำเรือไปในที่
ต่าง ๆ
2. ใช้ในการแบริ่งหาที่เรือ
3. ใช้ในการทำแผนที่
4. ใช้ในการเดินทางในป่ า
หรือเวลาค่ำคืน
การระวังรักษาเข็มทิศ
1. อย่าให้กระทบกระเทือนอย่าง
แรง
2. อย่าให้ส่วนประกอบต่าง ๆ
เคลื่อนที่
3. อย่าให้ถูกความร้อนมาก
4. อย่านำเหล็กหรือนิเกิลเข้าใกล้
5. เมื่อน้ำในหม้อเข็มทิศพร่อง
เติมให้เต็มที่
แอสซิมัธ
เป็ นวงกลมขนาดเท่าส่วนบนของ
เข็มทิศ ตอนบนมีกระจกปริซึม ไว้
สำหรับขยายวงเข็ม เพื่อให้อ่าน
ง่ายขณะแบริ่ง บนขอบด้านตรงข้าม
มีหลักสำหรับเล็ง
ประโยชน์แอสซิมัธ
ใช้ประกอบกับเข็มทิศในการแบริ่งที่
หมายต่าง ๆ
การระวังรักษา
1. ระวังอย่าให้หลักเล็งโค้งงอ
2. ระวังอย่าให้กระทบ
กระแทก
3. ระวังอย่าให้น้ำเค็มจับเป็ น
สนิม เมื่อไม่ใช้
แอสซิมัธ
เข็มใบ้
ทำเป็ นแผ่นวงเข็ม
ทิศ 000 ของเข็มใบ้
ขนานกับแนวกระดูกงูเรือ
หน้าปั ด  360
◦ /บางแบบ แบ่ง 180◦
ขวา-ซ้าย ทำวงเข็ม
ซ้อนกัน 2 วง วงใน ตัง้ เข็มเรือ
วงนอก ที่หมาย แบริ่งที่หมาย =
ประโยชน์
ใช้แบริ่งที่หมาย เมื่อใช้เข็มทิศ
เรือนอื่นแบริ่งไม่ได้
การระวังรักษา
1. ระวังอย่าให้หลักเล็งโค้งงอ
2. ระวังอย่าให้กระทบ
กระแทก
3. ระวังอย่าให้น้ำเค็มจับเป็ น
สนิม เมื่อไม่ใช้

You might also like