You are on page 1of 7

การจัดยามในเรือ ( WATCH KEEPING )

การเข้ายามในเรือ ( Watch keeping )


1. นายยามต้องทําความเข้าใจในคําแนะนําต่าง Procedure เพื่อให้แน่ใจว่าการอยู่ยามเดินเรือเพื่อ
ความปลอดภัยได้มกี ารปฏิบตั เิ ป็ นประจําตลอดเวลา
2. การเดินเรือทีก่ ําหนดไว้จะต้องมีการวางแผน เป็ นการดีทจี่ ะได้ปฏิบตั ติ รงกันและมีขอ้ มูลข่าวสารที่
ตรงกัน เข็มเรือทีว่ างไว้ต้องมีการตรวจสอบและได้รบั อนุญาตจากนายเรือ ก่อนทีจ่ ะเริม่ ออกเดินทาง
3. นายยามต้องทําการเดินเรือด้วยความปลอดภัยและรอบคอบตลอดเวลา และต้องมีความเข้มงวด
ตามกฎข้อบังคับการป้ องกันเรือโดนกันในทะเล
4. ระหว่างการอยู่เวรยาม การหมุนเข็ม ตําแหน่ง ความเร็วจะต้องมีการตรวจสอบอย่างมีประสิทธิภาพ
อย่างสมํ่าเสมอ โดยใช้อุปกรณ์ช่วยในการเดินเรือตามความจําเป็ น เพื่อให้แน่ใจว่าเรือได้ไปตามเข็ม
ทีไ่ ด้วางไว้
5. นายยามเดินเรือจะต้องมีความรูอ้ ย่างถ่องท้ถงึ สถานทีต่ ดิ ตัง้ และการปฏิบตั งิ านเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยและอุปกรณ์การเดินเรือทีต่ ดิ ตัง้ ไว้ และต้องทราบถึงข้อจํากัดของอุปกรณ์เหล่านัน้
6. นายยามเดินเรือทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จะต้องไม่มอบหมาย หรือรับหน้าทีอ่ นั อื่นอันอาจรบกวนถึงการ
เดินเรือด้วยความปลอดภัย
7. นายเรือต้องต้องแน่ใจได้ว่าการอยู่เวรยามได้มกี ารจัดทําให้เพียงพอทีจ่ ะรักษาให้การอยู่ ยามเรือ
เดินมีความปลอดภัย องค์ประกอบการเข้าเวรยามจะต้องเพียงพอและเหมาะสมเมื่อสภาพคลื่นลม
จัด และเงื่อนไขทีจ่ ะต้องปฏิบตั กิ ารเฝ้ าดูได้ลุล่วง
8. ระบบการอยู่เวรยามจะต้องจัดทําให้มปี ระสิทธิภาพโดยผูอ้ ยู่เวรยาม ( ทัง้ นายประจําเรือและ
รองลงมา ) โดยต้องไม่ให้มกี ารอ่อนเพลีย
9. นายยามเรือเดินจะต้องให้ความสนใจเป็ นพิเศษ เพื่อให้แน่ใจว่ามีการเฝ้ าดูทเี่ พียงพอ นายยามอาจ
ต้องไปตรวจสอบทีเ่ รือในห้องแผนทีท่ ุก 15 นาที สําหรับการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ นนายยามเรือเดิน ซึ่ง
จะทําด้วยวิธใี ดก็ตามก็แล้วแต้ก่อนทีจ่ ะแน่ใจว่า มีความปลอมภัยเมื่อได้ปฏิบตั เิ ช่นนัน้
10. นายยามเรือเดินต้องระลึกเสมอว่า จะสามารถจัดการสั ่งเครื่องจักรได้เสมอ และต้องไม่ลงั เล ทีจ่ ะใช้
ถ้ามีความต้องการเกิดขึน้
11. นายยามเรือเดินจะต้องทราบลักษณะอาการต่าง ๆ ของเรือ และเล็งเห็นว่าเรือลําอื่นมีอาการที่
แตกต่างกัน
12. นายยามจะต้องไม่ลงั เลทีจ่ ะใช้การถือท้ายด้วยมือ และต้องรูว้ ธิ ปี ฏิบตั ใิ นการเปลีย่ นทีถ่ ูกต้อง คือ
การใช้ดว้ ยมือเป็ นอัตโนมัติ และการใช้อตั โนมัตกิ ลับไปใช้ดว้ ยมือ
13. นายยามจะต้องไม่ลงั เลทีจ่ ะใช้สญ ั ญาณเสียง ( หวูดเรือ แตรหมอก หรือระฆัง ) เมื่อต้องการและ
ต้องเป็ นไปตามข้อบังคับสากลของการป้ องกันเรือโดนกันในทะเล
14. ต้องไม่มเี วลาใดทีจ่ ะปล่อยให้สะพานเดินเรือไม่มผี ดู้ ูแล ถ้านายยามมีความต้องการทีจ่ ะลงจาก
สะพานเดินเรือ ต้องมอบหมายให้ผหู้ นึ่งผูใ้ ดปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทน
หน้าทีใ่ นการเดินเรือและความรับผิดชอบ

1. ภายใต้การชี้แนะของนายเรือและทิศทาง นายยามมีหน้ทรี่ บั ผิดชอบในการเดินเรือให้ปลอดภัย


ระหว่างการรับหน้าทีใ่ นการอยู่เวรยาม โดยเฉพาะทีเ่ กี่ยวเนื่องกับการหลีกเลีย่ งการโดนกันในทะเล
และการเกยตื้น
2. ในฐานะทีเ่ ป็ นตัวแทนของนายเรือ นายยามเรือเดินจะมีความรับผิดชอบเป็ นอันดับแรกในการ
เดินเรือให้มคี วามปลอดภัย และต้องปฏิบตั ติ ามกฎข้อบังคับของการป้ องกันการโดนกันในทะเล
ตลอดเวลา
อ้างถึง IMO Publication 904.90.10 E “ COLREGS 1972 as amended “
3. นายยามเรือเดินจะต้อง
- ให้อุปกรณ์การเดินเรือทัง้ หมดใช้งานอย่างได้ผลสูงสุดตามจํานวนทีม่ อี ยู่และเหมาะสม
- จะต้องอยู่เวรยามบนสะพานเดินเรือ โดยไม่ละทิ้งไปไหน จนกว่าจะถึงเวลาออกเวร
- จะต้องรับผิดชอบอย่างต่อเนื่องสําหรับการเดินเรือด้วยความปลอดภัย แม้ว่านายเรือจะอยู่บน
สะพาน จนกว่าในเวลานัน้ จะได้รบั แจ้งจากนายเรือเป็ นพิเศษว่าจะเป็ นผูร้ บั ผิดชอบเองในการ
เดินเรือ และจะต้องเข้าใจตรงกัน
- แจ้งนายเรือเมื่อมีขอ้ สงสัยอันใดทีจ่ ะกระทําต่อไปในเรื่องความปลอดภัย
- ต้องไม่มอบงานในการอยู่ยามให้กบั ผูอ้ ่นื ทีอ่ อกเวรไปแล้ว มีเหตุผลทีเ่ ชื่อถือได้ว่าผูท้ อี่ อกเวร ไม่ม ี
ความพร้อมในการปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ ในกรณีต้องแจ้งนายเรือทันที
4. การเปลีย่ นเวรยาม นายยามทีม่ าใหม่ต้องตรวจสอบให้แน่ใจในการคาดคะเนของเรือ หรือตําแหน่ง
ทีเ่ ป็ นจริง เส้นทางทีต่ งั ้ ใจ เข็มและความเร็ว และการบันทึกอันตรายทีค่ าดว่าจะเกิดในการเดินเรือ
ระหว่างอยู่เวรยาม
5. การบันทึกทีถ่ ูกต้องทีจ่ ะต้องเก็บไว้ การเคลื่อนทีแ่ ละการกระทําทัง้ หมดระหว่างการอยู่เวรยามที่
เกี่ยวข้องกับการเดินเรือและความปลอดภัยของเรือ

การระมัดระวัง

1. การเพิม่ เติมทีจ่ ะทําให้มกี ารระมัดระวังอย่างเพียงพอ สําหรับเหตุผลของการประเมินสถานการณ์


และความเสีย่ งในการโดนกัน การเกยตื้น และอันตรายอืน่ ๆ เกี่ยวกับการเดินเรือ หน้าทีใ่ นการเฝ้ า
ระวังรวมถึงการตรวจพบเรือหรือเครื่องบินทีอ่ ยู่ในสถานการณ์เลวร้าย เช่น เรือ จม
2. การเฝ้ าระวังต้องมีความตัง้ ใจเป็ นอย่างมากเพื่อให้มกี ารเฝ้ าระวังอย่างเพียงพอ และไม่ได้รบั
มอบหมายหน้าทีอ่ ่นื ทีก่ ระทบการทํางานตามหน้าที่
3. หน้าทีใ่ นการอยู่เวรในการเฝ้ าระวังและนายท้ายจะต้องแยกจากกัน นายท้ายจะต้องไม่ทําหน้าทีอ่ ่นื
เมื่อทําการถือท้าย
4. นายยามเรือเดินอาจเฝ้ าระวังในบางโอกาสต่อไปนี้
4.1 ได้มกี ารประเมินสถานการณ์อย่างระมัดระวังโดยมั ่นใจว่า มีความปลอดภัยทีจ่ ะหมอบหมายให้ผอู้ ่นื
ทําหน้าทีใ่ นการเฝ้ าระวังแทน
4.2 รับผิดชอบอย่างเต็มทีใ่ นองค์ประกอบทีเ่ กี่ยวข้อง โดยยกเว้น
- สภาพของอากาศ
- ทัศนะวิสยั
- ความหนาแน่นของการสัญจร
- ใกล้ทอี่ นั ตรายในการเดินเรือ
- ความจําเป็ นทีจ่ ะต้องมัน้ ใจให้มากในการเดินเรือในบริเวณหรือใกล้บริเวณเขตแยกการสัญจร
- ให้ความช่วยเหลือทันทีทไี่ ด้รบั การเรียกหาจากสะพานเดินเรือ เมื่อมีการเปลีย่ นแปลงใน
สถานการณ์ต่าง ๆ

การเปลีย่ นเวรยาม

1. นายยามทีจ่ ะมารับงาน จะต้องดูให้ม ั ่นใจว่ามีผทู้ จี่ ะต้องเข้าเวรอยู่พร้อมเต็มกําลังสําหรับการ


ปฏิบตั งิ านตามหน้าที่ รายระเอียดทีจ่ ะต้องปรับเปลีย่ นในช่วงกลางคืน ก่อนทีจ่ ะรับหน้าที่
2. นายยามทีจ่ ะรับงานจะต้องยังไม่รบั งานในการอยู่เวรยามจนกว่าการมองเห็นชินกับสภาพของแสง
ไฟ และต้องมีความพอใจในสิง่ ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
- คําสั ่งในการอยูายามและคําอนะนําพิเศษจากนายเรือทีเ่ กี่ยวข้องกับการเดินเรือ
- ตําแหน่งเรือ เข็ม ความเร็ว และสภาพการกินนํ้าลึกของเรือ
- ความแรงและการคาดการณ์ระดับนํ้า กระแสนํ้า สภาพอากาศ ทัศนะวิสยั และองค์ประกอบต่าง ๆ
ทีม่ ผี ลต่อเข็มและความเร็วของเรือ
- สภาพการปฏิบตั งิ านของอุปกรณ์การเดินเรือและความปลอดภัยทีใ่ ช้อยู่และคาดว่าจะใช้ในระหว่าง
ทีอ่ ยู่เวร
- อัตราผิดเข็มทิศไยโรและเข็มทิศแม่เหล็ก
- การเคลื่อนทีป่ ัจจุบนั ของเรือในสายตาหรือทีอ่ ยู่ในรัศมีใกล้เคียง
- เงื่อนไขในสถานการณ์เลวร้ายแก่การเดินเรือทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ระหว่างการเข้าเวร
- ผลทีเ่ ป็ นไปได้จากอาการเอียง อาการด้อยหัวท้าย ความหนาแน่นของนํ้า และอาการซุนของเรือที่
กระทําใต้ทอ้ งเรือ
3. ถ้าถึงเวลาเปลีย่ นเวร การหมุนหรือการกระทําอื่นใดเพื่อหลีกเลีย่ งอันตรายกระทําอยู่ การอยู่เวร
จะต้องกระทําต่อจนกว่าการกระทํานัน้ เสร็จสิน้ เรียบร้อย

การเรียกนายเรือ

1. นายยามเรือเดินจะต้องเรียกนายเรือทันทีถ้ามีเงื่อนไขดังต่อไปนี้
- ทัศนะวิสยั จํากัดเกิดขึน้ หรือคาดว่าจะเกิดขึน้
- สภาพของการสัญจรหรือการเคลื่อนไหวของเรืออื่น ทีม่ สี าเหตุเกี่ยวเนื่องกัน
- ถ้ามีประสบการณ์ไม่เพียงพอในการถือเข็ม
- เมื่อมองไม่เห็นฝัง่ เครื่องหมายเดินเรือทีอ่ ยู่ในสายตา การการวัดระดับความลึกตามเวลาทีค่ าดไว้
- ถ้าไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่า จะเห็นฝัง่ หรือเครื่องหมายเดินเรือ หรือมีการเปลีย่ นแปลงระดับ
ความลึกเกิดขึน้
- เมื่อเกิดความเสียหายต่อเครื่องจักร เครื่องถือท้าย หรืออุปกรณ์การเดินเรืออื่น ๆ
- ในสภาพอากาศเลวร้าย ถ้ามีขอ้ สงสัยทีจ่ ะเป็นไปได้ว่าจะทําความเสียหายแก่เรือ อุปกรณ์ หรือ
สินค้า
- ถ้าเรือเจอสถานการณ์อนั ตรายในการเดินเรือเช่นภูเขานํ้าแข็งหรือซากเรือ
- ในสถานการณ์ฉุกเฉิน อื่น ๆ หรือมีเหตุผลทีน่ ่าสงสัยอะไรก็ตาม
2. แม้มคี วามต้องการทีจ่ ะต้องแจ้งแก่นายเรือทันทีในสถานการณ์ทเี่ ป็ นไป นายยามจะต้องไม่ลงั เลที่
จะทําการอื่นใดทันทีเพื่อความปลอดภัย เมื่อไรก็ตามทีส่ ถานการณ์นนั ้ จะต้องทําทันที

ในน่านนํ้าชายฝัง่
1. ต้องมีแผนทีเ่ ดินเรือขนาดใหญ่ทสี่ ุดบนเรือ เหมาะสมกับแผนที่ และมีการแก้ไขให้ถูกต้องตาม
ข่าวสารทีไ่ ด้รบั ล่าสุดหรือปัจจุบนั เพื่อทีจ่ ะนํามาใช้
2. ตําบลทีเ่ รือต้องมีการตรวจสอบเป็ นระยะ ถ้าเป็ นไปได้ตําแหน่งของเรือจะต้องถูกกําหนดมากกว่า 1
วิธี อาจใช้การตรวจสอบด้วยสายตาและวิธกี ารทาง electronic
3. นายยามจะต้องระบุยนื ยันเครื่องหมายการเดินเรือทีถ่ ูกต้อง
4. ในพืน้ ทีท่ มี่ จี ราจรคับคั ่งหรือมีเรือประมงเป็ นจํานวนมาก การอยู่ยามเรือเดินจะต้องจัดทําให้
เพียงพอเหมาะสมตามเงื่อนไข
5. นายเรือจะต้องพยายามหลีกเลีย่ งพืน้ ทีท่ ราบว่า “มีความยุ่งยาก” เช่นมีสงครามหรือมีโจรสลัด เมื่อมี
ความต้องการทางการค้าหรือกําหนดการอื่น ทีท่ ําให้ไม่สามารถหลีกเลีย่ งพืน้ ทีน่ นั ้ ได้ เมื่อนายเรือ
แน่ใจว่าได้เพิม่ การเฝ้ าระวังให้มากขึน้ และติดคําเตือนตามความจําเป็ นและ/หรือได้รบั คําแนะนําจาก
บริษทั สําหรับรายระเอียดของสถานการณ์

เมื่อทัศนะวิสยั จํากัด
1. เมื่อเรือเจอหรือคาดการณ์ว่าจะเจอสภาพทัศนะวิสยั จํากัด ความรับผิดชอบเบื่องแรกของนายยาม
จะต้องเป็ นไปตามกฎข้อบังคับการป้ องกันเรือโดนกันในทะเล และต้องทํารายระเอียดในการใช้หวูด
สัญญาณหมอก การใช้ความเร็วทีป่ ลอดภัย และต้องแน่ใจว่าเครื่องจักรอยู่ในสภาพพร้อมในการ
เปลีย่ นทิศทางของเรือทันที ส่วนเพิม่ เติมทีจ่ ะต้องทํา
- แจ้งนายเรือ
- จัดตัง้ การอยู่เวรยามตามความเหมาะสม
- เปิ ดไฟเรือเดิน
- การปฏิบตั แิ ละการใช้เรดาร์
- เปลีย่ นการถือท้ายเป็ นการควบคุมด้วยมือ
- ใช้อุปกรณ์ทที่ ําให้มองเห็นชัดเจนบนหน้าต่างสะพานเดินเรือ
เมื่อสภาพทัศนะวิสยั ดี
1. นายเรือจะต้องทําการแบริงด้วยเข็มทิศในการนําเรือให้บอ่ ยและเพียงพอทีจ่ ะได้ทําการตรวจพบ
ก่อนทีเ่ รือจะมีความเสีย่ งในการโดนกัน เช่น ความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ เมื่อทําการเปลีย่ นทิศทาง
ต้องทําให้ชดั เจน รายระเอียดเมื่อเรือเดินใกล้เรือขนาดใหญ่ หรือเรือลากจูง หรือเมื่อมีเรืออื่นใน
รัศมีใกล้เคียง
2. นายยามจะต้องเริม่ ปฏิบตั กิ ารและการกระทําให้เป็ นไปตามกฎข้อบังคับของการป้ องกันเรือโดนกัน
ในทะเล และต้องมีการตรวจสอบการกระทํานัน้ ได้ผลตามความต้องการ
ในสภาพอากาศเลวร้าย
1. นายยามจะต้องทราบตลอดเวลาในการเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศ และผลทีเ่ กิดขึน้ กับการ
เดินเรือและการปฏิบตั งิ าน
2. ในบางเวลาถ้ามีความสงสัยเกี่ยวกับความปลอดภัยของเรือนายยามต้องแจ้งนายเรือทราบทันที
3. เมื่อได้พจิ ารณาตามความจําเป็ นเพื่อให้ง่ายแก่การเดินเรือในเส้นทาง เข็มและความเร็วทีจ่ ะ
เปลีย่ นแปลงแก้ไขกระทําเมื่อมีสภาพทีป่ ระกันได้
4. เมื่อทราบว่าจะมีสภาพอากาศเลวร้ายเกิดขึน้ ต้นเรือจะต้องนําในการตรวจตราเรือเพื่อให้แน่ใจว่า
อุปกรณ์และวัสดุทสี่ ามารถเคลื่อนทีไ่ ด้มคี วามมั ่นคงเพียงพอ ต้องสังเกตเป็ นพิเศษสําหรับพืน้ ที่
บริเวณหัวเรือ การปฏิบตั งิ านต่าง ๆ ทีไ่ ด้รบั การพิจารณาว่าเป็ นอันตรายจะต้องยกเลิกจนกว่าจะ
ถึงเวลาทีม่ คี วามปลอดภัยในการทํางาน
5. รายระเอียดของการตรวจตรา เข็มและความเร็วทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป และการยกเลิกการทํางาน
จะต้องบันทึกลงในปูมปากเรือ
6. นายเรือจะต้องสังเกตสภาพอากาศในปัจจุบนั และการพยากรณ์อากาศอย่างใกล้ชดิ ตลอดเวลา ต้อง
ทําการแก้ไขเข็มและความเร็วตามความจําเป็ น ถ้าการกระทําเช่นนัน้ จะสามารถหลีกเลีย่ งอากาศที่
เลวร้ายได้ ความเสียหายต่อเรือ หรือป้ องกันอันตรายเพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ลูกเรือ
7. นายเรือจะต้องรวบรวมรายงานอากาศให้เพียงพอและถูกต้อง การศึกษาอย่างใกล้ชดิ ของข้อมูล
ข่าวสารทีถ่ ูกต้อง จะทําให้สามารถหาวิธแี ละทิศทางผ่านพายุหรือสภาพอากาศทีเ่ ป็ นอันตราย จะ
เป็ นการหลีกเลีย่ งได้ถ้ามีการตื่นตัวตลอดเวลา
8. เมื่ออยู่ในสภาพทีม่ อี ากาศเลว การผูกมัดสินค้า รวมทัง้ สินค้าปากระวางต้องได้รบั การตรวจสอบ
เป็ นระยะ ๆ

การจัดเวรยาม
ผูท้ ไี่ ด้รบั มอบหมายให้มหี น้าทีใ่ นการอยู่เวรยามจะต้องมีประกาศนียบัตรและ STCW ในการอยู่ยามที่
ถูกต้อง

ในทะเลเปิ ดและทัศนะวิสยั ปลอดโปร่ง ( พระอาทิตย์ถงึ พระอาทิตย์ตก )


1. ระหว่างทีอ่ ยู่ในทะเลเปิ ด และทัศนะวิสยั ปลอดโปร่ง การอยู่ยามเรือเดินจะต้องได้รบั การบรรจุดงั นี้
PERSONEL LOCATION DUTIES
Deck officer Bridge Comm/Navigation/Look out
AB or OS Stand by Stand by

2. ลูกเรือทีม่ หี น้าทีเ่ ตรียมพร้อม ต้องพร้อมเสมอและต้องอยู่ใกล้สะพานเดินเรือ ไม่ว่าเวลาใดอาจ


ได้รบั การเรียกหาจากสะพานเดินเรือให้ทําหน้าทีใ่ นการเฝ้ ามองหรือทําการถือท้ายด้วยมือ ดังนัน้
งานทีไ่ ด้รบั มอบระหว่างการเตรียมพร้อมจะต้องไม่ทําให้ไม่สามารถติดต่อกับสะพานเดินเรือได้ทนั ที
เมื่อมีการเรียกหา

ในทะเลเปิ ดและทัศนะวิสยั ปลอดโปร่ง ( พระอาทิตย์ตกถึงพระอาทิตย์ขน้ึ )


1. ระหว่างเงื่อนไขในทะเลเปิ ดและทัศนะวิสยั ปลอดโปร่ง การอยู่ยามเรือเดินต้องได้รบั การบรรจุดงั นี้

PERSONAL LOCATION DUTIES


Deck officer Bridge Comm /Navigation /Look
out
AB or OS Stand by Look out

ทัศนะวิสยั จํากัด
1. ทีใ่ ดก็ตามถ้ามีทศั นะวิสยั จํากัด การอยู่ยานเรือเดินต้องได้รบั การบรรจุดงั นี้

PERSONAL LOCATION DUTIES


The Master Bridge The command
Deck officer Bridge Navigation / Look out
AB or OS Bridge Look out

2. ถ้ากําลังใช้เครื่องถือท้ายอัตโนมัติ จะต้องปฏิบตั ติ ามความต้องการทีร่ ะบุใน Regulation 19 of


Chapter V of Solas1974 as amended
3. นายเรือจะต้องอยู่บนสะพานเดินเรือ และอาจทําหน้าทีใ่ นการเฝ้ าระวังในการเดินเรือ และ
รับผิดชอบในการเดินเรือให้มคี วามปลอดภัย
4. หน้าทีห่ ลักของนายประจําเรือแผนกปากเรือจะทําหน้าทีช่ ่วยเหลือนายเรือ หรือนายประจําเรือ
อาวุโส ความรับผิดชอบอันดับแรกคือการเดินเรือและการหลีกเลีย่ งการโดนกัน นายประจําเรือร้อง
ขอให้การถือท้ายเป็ นการควบคุมด้วยมือถ้าสถานการณ์จาํ เป็ น
5. ลูกเรือทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้มหี น้าทีใ่ นการเฝ้ าระวัง จะต้องปฏิบตั ติ ามหน้าที่
6. ถ้าสภาพแวดล้อมไม่ปกติ นายเรือจะต้องทําการแทนต้นเรือหรือนายประจําเรือ ในความรับผิดชอบ
ในการควบคุมการถือท้าย และนายประจําเรืออื่น ให้ทําหน้าทีใ่ นการเดินเรือหรือเฝ้ าดู
ในร่องนํ้าทีจ่ ํากัด
1. การอย฿เวรยามต่อไปนี้ต้องจัดทําขึน้ เมื่อใดก็ตามทีเ่ รืออยู่ในร่องนํ้าจํากัด ไม่ต้องคํานึงถึงทัศนะ
วิสยั

PERSONAL LOCATION DUTIES


The Master Bridge The command
Deck officer Bridge Navigation/Collision
Avoidance
AB Bridge Helmsman
AB or OS Bridge Look out
AB or OS Forecastle Stand by Anchor Windlass
2. ภายใต้การจัดเวรยาม ลูกเรือ 1 คน จะต้องถือท้ายด้วยการควบคุมด้วยมือเสมอ
3. นายเรือหรือนายประจําเรืออาวุโสจะทําหน้าทีใ่ นการเฝ้ าระวังในการเดินเรือ และรับผิดชอบทีจ่ ะ
เดินเรือด้วยความปลอดภัย
4. หน้าทีห่ ลักของนายประจําเรือแผนกปากเรือจะต้องให้ความช่วยเหลือนายเรือหรือนายประจําเรือ
อาวุโส หน้าทีร่ บั ผิดชอบอันแรกเกี่ยวกับการเดินเรือ และหลีกเลีย่ งการโดนกัน
5. ภายใต้การจัดให้มกี ารเฝ้ าระวังนัน้ ลูกเรือ 1 คน จะถูกกําหนดให้มหี น้าทีใ่ นการเฝ้ าระวัง และต้อง
ไม่ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ่นื
6. ถ้าสภาพแวดล้อดไม่เป็ นปกตินายเรือจะต้องมอบหมายความรับผิดชอบในการควบคุมเรือแก่ต้นเรือ
หรือนายประจําเรืออาวุโส จากนัน้ จะต้องมอบหมายหน้าทีใ่ ห้นายประจําเรือคนอื่นในการเดินเรือ
และหลีกเลีย่ งการโดนกัน

You might also like