You are on page 1of 11

LIFE BOAT ( เรือช่ วยชีวิต )

ข้ อกำหนดทั่วไปสำหรับเรือช่ วยชีวิต
1. โครงสร้ างเรือช่ วยชีวิต
1.1 เรื อช่วยชีวิตทังหมดจะถู
้ กสร้ างและเป็ นรูปแบบและได้ สดั ส่วนที่มีความเสถียรมากพอในทะเลและมี Freeboard ที่
เพียงพอ เมื่อบรรทุกคนและอุปกรณ์เต็ม จำนวน เรื อช่วยชีวิตทุกลำจะมีตวั เรื อที่แข็งและสามารถรักษาความเสถียรในทางบวก เมื่อเรื ออยู่ใน
ตำแหน่งตังตรงในทะเลสงบและเมื
้ ่อบรรทุกคนและอุปกรณ์เต็มที่และมีช่องในตำแหน่งข้ างใต้ เส้ นแนวน้ำ โดยสมมุตใิ ห้ ไม่สญ ู เสียการลอยตัว
และไม่มีความเสียหายอื่น ๆ
1.2 เรื อช่วยชีวิตทุกลำจะต้ องมีความแข็งแรงเพียงพอเพื่อ
1.2.1 สามารถลงน้ำได้ อย่างปลอดภัย เมื่อบรรทุกคนและอุปกรณ์เต็มที่
1.2.2 สามารถถูกปล่อยและถูกลาก เมื่อเรื อกำลังมี Headway ที่ความเร็ว 5 kts ในทะเลเรี ยบ
1.3 ตัวเรื อและส่วนคลุมที่แข็งจะต้ องทนไฟหรื อไม่เกิดการเผาไหม้
1.4 ที่นงั่ จะต้ องจัดแบบตามขวาง ม้ ายาวหรื อเก้ าอี ้ที่ติดอยู่กบั ที่ต้องติดตังให้
้ ต่ำกว่าที่ทำได้ ในเรื อช่วยชีวิตและถูกสร้ าง
เพื่อให้ สามารถรองรับจำนวนคนที่แต่ละคนมีน้ำหนัก 100 กิโลกรัม สำหรับห้ องที่ถกู จัดให้ ตามข้ อกำหนดของย่อหน้ า 2.2.2
1.5 เรื อช่วยชีวิตแต่ละลำต้ องมีความแข็งแรงเพียงพอต่อการบรรทุก ปราศจากการหันเหของส่วนที่เหลือเมื่อเกิดการ
ย้ ายของการบรรทุก
1.5.1 ในกรณีเรื อช่วยชีวิตที่มีตวั เรื อเป็ นโลหะ 1.25 เท่าของจำนวนมวลของเรื อช่วยชีวิตเมื่อบรรทุกคนและอุปกรณ์เต็ม
จำนวน
1.5.2 ในกรณีของเรื อช่วยชีวิตอื่น ๆ 2 เท่าของจำนวนมวลของเรื อช่วยชีวิต เมื่อบรรทุกคนและอุปกรณ์เต็มจำนวน
1.6 เรื อช่วยชีวิตแต่ละลำต้ องมีความแข็งแรงเพียงพอ เพื่อต้ านทานเมื่อถูกบรรทุกด้ วยคนและอุปกรณ์เต็มและด้ วย
Skates หรื อ Fenders ในตำแหน่งป้องกันการกระแทกกับข้ างเรื อที่ความเร็วกระแทกอย่างน้ อยที่สดุ 3.5 เมตร/วินาที และการปล่อยจากความ
สูงอย่างน้ อยที่สดุ 3 เมตร
1.7 ระยะทางตังระหว่้ างพื ้นผิงและด้ านในของส่วนบิดหรื อฝาครอบเกิน 50% ของพื ้นที่พื ้นเป็ น
1.7.1 ไม่น้อยกว่า 1.3 เมตรสำหรับเรื อช่วยชีวิตที่สามารถบรรทุกคนได้ 9 คนหรื อน้ อยกว่า
1.7.2 ไม่น้อยกว่า 1.7 เมตรสำหรับเรื อช่วยชีวิตที่สามารถบรรทุกคนได้ 24 คนหรื อมากกว่า
1.7.3 ไม่น้อยกว่าระยะทางที่ได้ กำหนด โดยการสอดตามระยะยาวระหว่าง 1.3 เมตรและ 1.7 เมตร สำหรับเรื อช่วย
ชีวิตที่สามารถบรรทุกคนได้ 9 คนหรื อ 24 คน

2. ความจุการบรรทุกของเรือช่ วยชีวิต
2.1 ไม่อนุญาตให้ เรื อช่วยชีวิตบรรทุกคนได้ เกิน 150 คน
2.2 จำนวนของคนที่เรื อช่วยชีวิตสามารถบรรทุกเท่ากับหรื อน้ อยกว่าของ
2.2.1 จำนวนของคนที่มีมวลเฉลี่ย 75 กิโลกรัม ใส่เสื ้อชูชีพทังหมด ้ ที่สามารถนัง่ ในตำแหน่งปกติปราศจากการรบกวน
ของการขับเคลื่อนหรื อการปฏิบตั ิการของอุปกรณ์เรื อช่วยชีวิตอื่น ๆ หรื อ
2.2.2 จำนวนของช่องที่สามารถจัดให้ นงั่ ตามรูป 1 รูปทรงอาจเป็ นการซ้ อนกันดังแสดง จัดให้ มีที่พกั เท้ าและห้ องที่มี
ขนาดเพียงพอสำหรับขาและการแบ่งในทางตังระหว่ ้ างที่นงั่ ส่วนบนและที่นงั่ ส่วนล่งไม่น้อยกว่า 350 mm.
2.3 ตำแหน่งที่นงั่ ต้ องแสดงอย่างเด่นชัดในเรื อช่วยชีวิต
3. การลอยตัวของเรือช่ วยชีวิต
เรื อช่วยชีวิตทุกลำต้ องมีการลอยตัว โดยธรรมชาติหรื อต้ องถูกติดตังด้ ้ วยวัตถุที่ลอยตัวโดยธรรมชาติที่ไม่มีผลกระทบในน้ำทะเล
น้ำมันหรื อผลิตภัณฑ์น้ำมัน เพื่อให้ มีการลอยที่เพียงพอ เพื่อเรื อช่วยชีวิตพร้ อมอุปกรณ์ทงหมดถู ั้ กน้ำท่วมและอยู่ในทะเล ส่วนเพิ่มเติมวัตถุที่
ลอยตัวโดยธรรมชาติเท่ากับ แรงลอยตัว 280 นิวตันต่อคนที่ถกู จัดให้ มีสำหรับจำนวนของคนที่จะสามารถบรรทุกได้ วัสดุลอยตัวจะต้ องไม่ถกู ติด
ตังด้
้ านนอกของตัวเรื อเว้ นแต่ในส่วนเพิ่มเติมที่ต้องการข้ างต้ น

4. Lifeboat Freeboard และความเสถียร


เรื อช่วยชีวิตทุกลำ เมื่อได้ บรรทุก 50 % ของจำนวนคนบนเรื อช่วยชีวิตที่สามารถบรรทุกได้ โดยนัง่ ในตำแหน่งปกติที่กราบหนึง่ ของ
เส้ นกลางลำ โดยมีระยะ Freeboard โดยวัดจากเส้ นแนวน้ำที่ระยะต่ำสุดที่เรื อช่วยชีวิตอาจจะถูกน้ำท่วมได้ อย่างน้ อยที่สดุ 1.5% ของความยาว
ของเรื อช่วยชีวิต

5. การขับเคลื่อนของเรือช่ วยชีวิต
5.1 เรื อช่วยชีวิตต้ องได้ กำ ลังจากเครื่ องยนต์แบบ Compression Ignition เครื่ องยนต์ของเรื อช่วยชีวิตจะต้ องไม่ใช้
น้ำมันที่จดุ วาบไฟ 43 ํC หรื อน้ อยกว่าทดสอบในระบบปิ ด
5.2 เครื่ องยนต์ต้องจัดให้ มีคมู่ ือการติดเครื่ องยนต์ หรื อระบบการติด กำลังด้ วยแหล่งพลังงาน 2 แหล่งที่เป็ นแบบการ
ชาร์ จใหม่ได้ อย่างอิสระ การช่วยเหลือการติดเครื่ องที่ จำเป็ นจะต้ องจัดให้ มี ระบบการติดเครื่ องยนต์และการช่วยเหลือจะต้ องทำให้ เครื่ องยนต์
ติดที่อณ ุ หภูมิของสิ่งแวดล้ อม -15 ํC ภายใน 2 นาทีของการเริ่ มต้ นปฏิบตั ิ เว้ นแต่ในความเห็นขององค์การได้ พิจารณาถึงส่วนประกอบของเที่ยว
การเดินเรื อที่ซึ่งเรื อได้ บรรทุกเรื อช่วยชีวิตอย่างสม่ำเสมอความแตกต่างของอุณหภูมิเป็ นสิ่งที่เหมาะสม ระบบการติดตังเครื ้ ่ องยนต์จะต้ องไม่ถกู
ขัดขวางโดยกล่องเครื่ องยนต์ การวางขวางลำเรื อหรื อสิ่งกีดขวางอื่น ๆ
5.3 เครื่ องยนต์ต้องสามารถทำการควบคุมได้ ไม่น้อยกว่า 5 นาทีหลังจากได้ ติดจากอากาศเย็น เมื่อเรื อช่วยชีวิตไม่อยู่
ใน
5.4 เครื่ องยนต์ต้องสามารถทำการควบคุม เมื่อเรื อช่วยชีวิตถูกน้ำท่วมถึงเส้ นกลางของเพลาข้ อเหวี่ยง
5.5 เพลาใบจักรต้ องได้ มีการจัดการ เพื่อให้ ใบจักรสามารถไม่เกี่ยวกับเครื่ องยนต์ เพื่อให้ สามารถเรื อช่วยชีวิตขับ
เคลื่อนเดินหน้ าและถอยหลังได้
5.6 Exhaust Pipe ต้ องมีการจัดการ เพื่อป้องกันน้ำจากการเข้ าเครื่ องในการปฏิบตั ิปกติ
5.7 เรื อช่วยชีวิตทุกลำต้ องได้ รับการออกแบบด้ วยการคำนึงถึงความปลอดภัยของบุคคลในน้ำและความเป็ นไปได้ ของ
ความเสียหายถึงระบบขับเคลื่อน โดยการลอยของ Debris
5.8 ความเร็วของเรื อช่วยชีวิต เมื่อทำการเดินหน้ าในทะเลเรี ยบเมื่อบรรทุกคนและอุปกรณ์ครบและอุปกรณ์ช่วยกำลัง
เครื่ องยนต์ทงหมด
ั้ อย่างน้ อยที่สดุ 6 kt และอย่างน้ อยที่สดุ 2 kt เมื่อทำการลากแพช่วยชีวิตที่บรรทุกคน 25 คน และอุปกรณ์ครบจำนวนหรื อสิ่ง
ที่มีคา่ เท่ากัน น้ำมันเชื ้อเพลิงที่พอเพียงและเหมาะสมกับความแตกต่างของอุณหภูมิที่คาดว่าจะเกิดขึ ้นในพื ้นที่ที่เรื อได้ ผ่านไปต้ องสามารถทำ
เครื่ องยนต์เรื อช่วยชีวิตเดินไปอย่างเต็มที่ด้วยความเร็ว 6 kt เป็ นเวลาอย่างน้ อย 24 ชัว่ โมง
5.9 เครื่ องยนต์ของเรื อช่วยชีวิต เครื่ องส่งกำลัง และทางเข้ าของเครื่ องยนต์ต้องถูกปิ ดในกล่องทนไฟหรื อเครื่ องป้องกัน
อื่น ที่ลกั ษณะเหมือนกัน การจัดการนี ้ต้ องสามารถป้ องกันคนจากอุบตั ิเ หตุที่เกิดจากความร้ อนหรื อการเคลื่อนที่สว่ นต่าง ๆ และป้ องกัน
เครื่ องยนต์จากการสัมผัสกับสภาพอากาศและทะเล และต้ องมีการทำให้ เกิดการลดลงของเสียงเครื่ องยนต์ Starter Batteries ต้ องจัดให้ มีใน
กล่องที่ป้องกันการเข้ าของน้ำรอบด้ านล่างและด้ านข้ างของ Batteries กล่อง Batteries ต้ องมีการติดตังที ้ ่แน่นหนาด้ านบนสำหรับการระบาย
ก๊ าซ
การจัดให้ มีการลดเสียงเครื่ องยนต์นนคื ั ้ อสามารถได้ ยินการออกคำสัง่ ที่ต้องตะโกน
5.10 เครื่ องยนต์และทางเข้ าเครื่ องยนต์ของเรื อช่วยชีวิตต้ องถูกออกแบบ เพื่อ จำกัดการแพร่ของ Electromagnetic
เพื่อมิให้ เมื่อขณะใช้ เครื่ องไปรบกวนการปฏิบตั ิการทางวิทยุที่ใช้ บนเรื อช่วยชีวิต
5.11 ต้ องจัดให้ มีการ Charge ใหม่ของ Engine Starting ทังหมด ้ วิทยุและ Searchlight หมายความว่าต้ องจัดให้ มี
Recharging Lifeboat Batteries จากแหล่งจ่ายพลังของเรื อ โดยมีศกั ย์ไฟฟ้ าไม่เกิน 55 V ที่ซงึ่ สามารถไม่ต้องเชื่อมกับสถานีลงเรื อช่วยชีวิต
.12 คำสัง่ ที่สามารถกันน้ำสำหรับติดเครื่ อง และการควบคุมเครื่ องต้ องจัดให้ มีและตังในสถานที
้ ่ที่เห็นได้ ชดั ใกล้ กบั การ
ควบคุมการติดเครื่ องยนต์
6. เครื่องประกอบเรือช่ วยชีวิต
6.1 เรื อช่วยชีวิตทุกลำต้ องจัดให้ มี Valve ระบายน้ำอย่างน้ อยที่สดุ 1 Valve ติดตังไว้ ้ ใกล้ กบั จุดที่ต ่ำทีส่ ดุ ของตัวเรื อ
โดยต้ องสามารถเปิ ดได้ อย่างอัตโนมัติ เพื่อระบายน้ำจากตัวเรื อเมื่อเรื อช่วยชีวิตไม่อยู่ในน้ำและปิ ดได้ อย่างอัตโนมัติ เพื่อป้องกันการเข้ าของน้ำ
เมื่อเรื อช่วยชีวิตอยู่ในน้ำ Valve สำหรับระบายน้ำแต่ละ Valve ต้ องจัดให้ มี Cap หรื อ Plug เพื่อปิ ด Valve และต้ องถูกยึดติดกับเรื อช่วยชีวิต
ด้ วยเชือก
โซ่ ( Chain ) หรื อสิ่งอื่น ๆ ที่เหมาะสม Valve ระบายน้ำต้ องพร้ อมที่จะจับได้ ง่ายจากภายในเรื อช่วยชีวิตและตำแหน่งของ Valve ต้ องถูกแสดง
อย่างเด่นชัด
6.2 เรื อช่วยชีวิตทุกลำต้ องจัดให้ มีหางเสือ ( Rudder ) และคันบังคับหางเสือ ( Tiller ) เมื่อพังงาหรื อกลไกควบคุมการ
ถือท้ ายอื่น ๆ ได้ ถกู จัดให้ มดี ้ วย Tiller ต้ องสามารถควบคุมหางเสือในกรณีที่กลไกการถือท้ ายนันเสี ้ ย หางเสือจะต้ องยึดติดอย่างถาวรกับเรื อช่วย
ชีวิต Tiller ต้ องถูกติดตังอย่้ างถาวรบนหรื อถูกเชื่อมติดกับ Rudder Stock ( ฐานหางเสือ ) หางเสือและ Tiller ต้ องได้ มีการจัดการ เพื่อไม่เกิด
ความเสียหาย โดยการควบคุมของการปล่อยกลไกหรื อใบจักร
6.3 ยกเว้ นในที่ใกล้ กบั หางเสือและใบจักร Buoyant Lifeline ต้ องถูกยึดติดรอบ ๆ ด้ านนอกของเรื อช่วยชีวิต
6.4 เรื อช่วยชีวิตที่ไม่สามารถตังตรงได้
้ เอง เมื่อเกิดการล้ มต้ องมีที่จบั ที่เหมาะสมในด้ านใต้ ของตัวเรื อเพื่อสามารถให้
บุคคลเกาะเรื อช่วยชีวิตได้ ที่จบั ต้ องยึดแน่นกับเรื อช่วยชีวิตในวิธีที่เมื่อถูกกระแทกแล้ วแตกออกจากเรื อช่วยชีวิต โดยปราศจากความเสียหายต่อ
เรื อช่วยชีวิต
6.5 เรื อช่วยชีวิตต้ องประกอบด้ วย ตู้เก็บที่กนั น้ำอย่างเพียงพอหรื อห้ องเพื่อเก็บของหรื ออุปกรณ์ชิ ้นเล็ก ๆ น้ำ และ
อาหารตามย่อหน้ า 8 หมายความรวมถึงต้ องจัดให้ มีการเก็บน้ำฝน
6.6 เรื อช่วยชีวิตทุกลำที่ถกู ปล่อย โดยวิธี Fall ต้ องประกอบกลไกการปล่อยตามข้ อกำหนดดังนี ้
6.6.1 กลไกต้ องมีการจัดการ ขอเกี่ยวทังหมด ้ โดยปล่อยได้ ในเวลาเดียวกัน

6.6.2 กลไกจะมี Release Capabilities 2 อันดังนี ้


6.6.2.1 Normal Release Capability ที่ซงึ่ จะปล่อยเรื อช่วยชีวิต เมื่อเรื อช่วยชีวิตอยู่ในน้ำหรื อเมื่อไม่มีการบรรทุกบน
ขอเกี่ยว ( Hooks )
6.6.2.2 On Load Release Capability ที่ซงึ่ จะปล่อยเรื อช่วยชีวิตด้ วยการบรรทุกภายใต้ สภาพต่าง ๆ ของการบรรทุก
จาก No Load พร้ อมเรื อช่วยชีวิตอยู่ในทะเลด้ วยการบรรทุกของ 1.1 เท่าของจำนวนมวลทังหมดของเรื ้ อช่วยชีวิต เมื่อบรรทุกคนและอุปกรณ์
ครบจำนวน Release Capability นี ้จะต้ องป้องกันอุบตั ิเหตุหรื อการใช้ เมื่อยังไม่ถึงเวลาอันควร
6.6.3 การควบคุมการปล่อยต้ องถูกแสดงอย่างเด่นชัดด้ วยสีที่เด่นชัด
6.6.4 กลไกจะต้ องถูกออกแบบด้ วยส่วนประกอบของความปลอดภัยของ 6 ข้ อพื ้นฐานของความแข็งแรงที่สดุ ของวัสดุ
ที่ใช้ สมมุติให้ มวลของเรื อช่วยชีวิตมีการกระจายตัวอย่างเท่ากันระหว่างการตก
6.7 เรื อช่วยชีวิตต้ องประกอบด้ วยกลไกการปล่อยเพื่อสามารถให้ Forward Painter ถูกปล่อยเมื่ออยู่ภายใต้ การดึง
6.8 เรื อช่วยชีวิตทุกลำที่ซงึ่ ได้ ติดตังด้
้ วย Fixed Two Way VHF Radiotelephone Apparatus พร้ อมเสาอากาศที่ซงึ่ ติด
แยก โดยจัดให้ มีการจัดการ สำหรับที่ตงและความปลอดภั
ั้ ยของเสาอากาศในตำแหน่งที่ปฏิบตั ิ
6.9 เรื อช่วยชีวิตที่ต้องปล่อยลงด้ างข้ างเรื อต้ องมี Skates และ Fenders ที่จำเป็ นเพื่อความสะดวกในการปล่อยและ
การป้องกันความเสียหายต่อเรื อช่วยชีวิต
6.10 ไฟที่มองเห็นได้ ในเวลากลางคืนในบรรยากาศอย่างชัดเจนในระยะทางอย่างน้ อยที่สดุ 2 ไมล์เป็ นระยะเวลาไม่
น้ อยกว่า 12 ชัว่ โมง ติดไว้ ที่สว่ นบนของส่วนครอบหรื อฝาปิ ด ถ้ าไฟเป็ นไฟกระพริ บต้ องมีอตั ราการกระพริ บไม่น้อยกว่า 50 วับต่อนาทีที่ 2 ชัว่ โมง
แรกของการปฏิบตั ิของระยะเวลา 12 ชัว่ โมง
6.11 ตะเกียงแหล่งพลังงานของไฟต้ องไว้ ที่ด้านในเรื อช่วยชีวิต เพื่อให้ แสงสว่างไม่น้อยกว่า 12 ชัว่ โมง เพื่อสามารถ
ทำการอ่านคำสัง่ การช่วยชีวิตและคำสัง่ การใช้ อปุ กรณ์ อย่างไรก็ตามตะเกียงน้ำมันจะไม่ถกู ยินยอมสำหรับจุดประสงค์นี ้
6.12 เว้ นแต่การแสดงที่จดั ให้ มีเป็ นอย่างอื่น เรื อช่วยชีวิตทุกลำต้ องจัดให้ มีเครื่ องวิดน้ำที่มีประสิทธิภาพหรื อเป็ นเครื่ อง
วิดน้ำด้ วยตัวเองอย่างอัตโนมัติ
6.13 เรื อช่วยชีวิตทุกลำต้ องมีการจัดการให้ เห็นทางหัวเรื อและท้ ายเรื ออย่างเพียงพอและทังสองกราบถู ้ กจัดให้ มี
ตำแหน่งการควบคุมและตำแหน่งการถือท้ ายสำหรับการปล่อยและการเดินเรื อที่ปลอดภัย

LIFE LAFT ( แพช่ วยชีวิต )

ข้ อกำหนดทั่วไปสำหรับแพช่ วยชีวิต
1. โครงสร้ างของแพช่ วยชีวิต ( Construction Of Liferafts )
1.1 แพช่วยชีวิตทุกอันจะต้ องถูกสร้ างเพื่อสามารถทนทานต่อการลอยตากแดดตากลมเป็ นเวลา 30 วันในทะเลทุก
สภาวะ
1.2 แพช่วยชีวิตจะต้ องถูกสร้ าง เมื่อทิ ้งลงน้ำจากที่สงู 18 เมตร แพช่วยชีวิตและอุปกรณ์ของมันจะต้ องปฏิบตั ิ เพื่อ
ความพึงพอใจ ถ้ าแพช่วยชีวิตถูกจัดเก็บในที่สงู มากกว่า 18 เมตรจากแนวน้ำในสภาพที่สามารถสะดวกต่อการออกทะเล โดยแพช่วยชีวิตทุก
ประเภทจะต้ องนำมาซึง่ ความพอใจในการทดสอบทิ ้งลงจากที่สงู อย่างน้ อยที่สดุ
1.3 การลอยตัวของแพช่วยชีวิตจะต้ องสามารถทนทานต่อการกระโดดซ้ำ ๆ จากความสูงอย่างน้ อยที่สดุ 4.5 เหนือพื ้น
และปราศจากการตังของฝาครอบ

การทดสอบที่ได้ อธิบายในย่อหน้ า 1/5.2.1 ของมติ A.689 (17) การทดสอบอุปกรณ์ช่วยชีวิต เกี่ยวข้ องกับการทดสอบ
การกระโดดบนแพช่วยชีวิตจะต้ องไม่ถกู แปลเพื่อแสดงนัยที่ซึ่งแท่งสนับสนุนฝาครอบและหลอดการลอยตัวส่วนบน อาจจะต้ องถูกแยกส่วนหลัง
การพองตัว
1.4 แพช่วยชีวิตและการติดตังจะถู้ กสร้ างเพื่อสามารถถูกลากด้ วยความเร็ว 3 kts. ในทะเลสงบ เมื่อบรรทุกบุคคลและ
อุปกรณ์เต็มและพร้ อมด้ วยสมอทะเล ( Sea Anchors )
1.5 แพช่วยชีวิตจะมีฝาครอบ เพื่อป้องกันผู้อาศัยจากการตากแดดตากลมที่ซงึ่ จะต้ องเป็ นไป โดยอัตโนมัติ เมื่อแพช่วย
ชีวิตถูกปล่อยลงน้ำและคนมาโดยทางน้ำ ฝาครอบจะต้ องมีลกั ษณะดังนี ้
1.5.1 ให้ การป้องกันความร้ อนและความเย็น โดยความหมายคือ สองชันของวั ้ สดุที่ถกู แบ่งแยกโดยช่องอากาศหรื อ
ความหมายอื่น ๆ ที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน ไม่อย่างใดก็อย่างหนึง่ หมายความว่า จำต้ องจัดให้ มีการป้องกันการสะสมของน้ำในช่องอากาศ
1.5.2 ภายในของแพช่วยชีวิตจะต้ องมีสีที่ไม่นำมาซึง่ ความไม่สะดวกแก่ผ้ อู ยู่ภายในแพช่วยชีวิต
1.5.3 ทางเข้ าแต่ละทางจะต้ องแสดงอย่างชัดเจนและถูกจัดให้ มีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะสามารถถูกเปิ ดได้ ง่ายและ
รวดเร็วจากภายในและภายนอก แพช่วยชีวิต ซึง่ จะต้ องยินยอมให้ มีการระบายอากาศแต่ไม่รวมถึงน้ำทะเล ลมและความเย็น แพช่วยชีวิตที่มี
ขนาดจุได้ มากกว่า 8 คน จะต้ องมีทางเข้ าอย่างน้ อยที่สดุ 2 ทางในทิศตรงข้ ามกันบนเส้ นผ่าศูนย์กลาง
1.5.4 จะต้ องมีอากาศเพียงพอสำหรับผู้อยู่ภายในแพช่วยชีวิตตลอดเวลา แม้ แต่เมื่อทางเข้ าถูกปิ ด
1.5.5 จะต้ องจัดให้ มีช่องดูภาพภายนอกอย่างน้ อยที่สดุ 1 ช่องทางกราบซ้ าย
1.5.6 จะต้ องจัดให้ มีที่สำหรับเก็บน้ำฝน
1.5.7 จะต้ องจัดให้ มีห้องสำหรับผู้อยู่ภายในนัง่ ภายใต้ ฝาครอบ

2. ขีดความจุบรรทุกต่ำสุด และมวลของแพช่ วยชีวิต ( Minimum Carrying Capacity And Mass Of Liferafts )


2.1 ไม่ยินยอมให้ แพช่วยชีวิตที่มีขนาดความจุน้อยกว่า 6 คน ตามข้ อกำหนดของกฎข้ อ 39.3 หรื อ 40.3 ตามที่เห็น
สมควร
2.2 เว้ นแต่แพช่วยชีวิตถูกปล่อยลงน้ำ โดยความเห็นพ้ องของการปฏิบตั ิการปล่อยตามกฎข้ อ 48 และไม่ต้องการให้
สามารถถูกจับถือได้ มวลรวมของแพช่วยชีวิต ห้ องของแพช่วยชีวิตและอุปกรณ์ของแพช่วยชีวิตจะต้ องไม่มากกว่า 185 กิโลกรัม
แม้ จะมีกฎข้ อ III/15.1.2 และ 38.2.2 สถาบันอาจจะยินยอมให้ การปล่อยลงน้ำ โดยตรงจากตำแหน่งที่เก็บของยาน
ช่วยชีวิตที่มีมวลมากกว่า 185 กิโลกรัม โดยปราศจากการปฏิบตั ิตามข้ อ กำหนดของกฎข้ อ 48 จะต้ องบรรทุกได้ ถึง 200% ของจำนวนบุคคล
ทังหมดบนเรื
้ อ และเพียงพอสำหรับความจุรวมในแต่ละกราบของเรื อที่จะรองรับได้ อย่างน้ อยที่สดุ 100 % ของจำนวนบุคคลบนเรื อทังหมดใน

กรณีนี ้ ตามความเห็นจะต้ องมีความสามารถที่จะปล่อยยานช่วยชีวิตที่ถกู ต้ านจากรายชื่อตรงกันข้ าม

3. ส่ วนประกอบของแพช่ วยชีวิต ( Liferafts Filtings )


3.1 เชือกช่วยชีวิต ( Lifeline ) จะต้ องถูกยึดติดอย่างปลอดภัยรวมทังในและนอกของแพช่
้ วยชีวิต
3.2 แพช่วยชีวิตถูกติดตังพร้
้ อมด้ วยเชือก Painter ที่มีความยาวเพียงพอ โดยเท่ากับไม่น้อยกว่า 2 เท่าของระยะทาง
จากตำแหน่งที่เก็บถึงเส้ นแนวน้ำในสภาพที่สะดวกต่อการออกทะเลหรื อ 15 ที่ซงึ่ อย่างไรก็ตามนันมากกว่
้ า

4. เสา Davit ปล่ อยแพช่ วยชีวิต ( Davit Launched Liferafts )


4.1 คำอธิบายเพิ่มเติมของข้ อกำหนดข้ างต้ นเกี่ยวกับแพช่วยชีวิต เพื่อใช้ ในการปฏิบตั ิการปล่อยจะต้ อง
4.1.1 เมื่อแพช่วยชีวิตถูกบรรทุกด้ วยคน และอุปกรณ์ครบจำนวน ต้ องสามารถต้ านทานการกระทบทางข้ างเมื่อปะทะ
กับข้ างเรื อ ที่ความเร็วการกระทบไม่น้อยกว่า 3.5 เมตร/วินา และรวมทังการทิ ้ ้งลงน้ำจากที่สงู ไม่น้อยกว่า 3 เมตร โดยปราศจากความเสียหาย
ซึง่ จะมีผลกระทบต่อหน้ าที่
4.1.2 ถูกจัดให้ หมายรวมถึงการนำแพช่วยชีวิตเทียบข้ างเรื อ เมื่อลงเรื อจากดาดฟ้ าและปฏิบตั ิอย่างปลอดภัยระหว่าง
ลงเรื อ
4.2 เสา Davit Launched ของแพช่วยชีวิตบนเรื อโดยสารทุก ลำจะต้ องมีการจัดการที่สามารถปฏิบตั ิบนเรื อได้ อย่าง
รวดเร็ว โดยที่มีบคุ คลครบจำนวน
4.3 เสา Davit Launched ของแพช่วยชีวิตบนเรื อสินค้ าทุกลำจะต้ องมีการจัดการที่สามารถปฏิบตั ิบนเรื อ โดยบุคคล
ครบจำนวนในเวลาไม่เกิน 3 นาทีจากคำสัง่ ปฏิบตั ิบนเรื อเริ่ มขึ ้น
5. Float Free Arrangements For Liferafts
5.1 ระบบของเชือกกันกระแทก ( Painter System )
ระบบเชือก Painter ของแพช่วยชีวิตจะต้ องจัดให้ การผูกติดระหว่างเรื อและแพช่วยชีวิตและจะต้ องถูกจัดให้ แน่ใจที่ซงึ่
เมื่อแพช่วยชีวิตถูกปล่อยและในกรณีที่เป็ นแพช่วยชีวิตแบบพองตัวได้ โดยที่เมื่อพองแล้ วต้ องไม่ถกู ลากไปตามการมาของเรื อ
5.2 Weak Link
ถ้ า Weak Link ถูกใช้ ในการปฏิบตั ิ Float Free จะต้ องมีลกั ษณะดังนี ้
5.2.1 ไม่แตกหัก โดยแรงที่ดงึ เชือก Painter จากกล่องของแพช่วยชีวิต ( Liferaft Container )
5.2.2 สามารถปฏิบตั ิได้ ต้ องมีความแข็งแรงเพียงพอที่ยอมให้ การลอยตัวของแพช่วยชีวิต
5.2.3 แตกภายใต้ ความเครี ยด 2.2+0.4 kN
5.3 ระบบการปล่อยด้ วย Hydrostatic ( Hydrostatic Release Units )
ถ้ า Hydrostatic Release Unit ถูกใช้ ในการปฏิบตั ิ Float Free จะต้ อง
5.3.1 ถูกสร้ างด้ วยวัสดุที่เข้ ากันได้ ซึง่ สามารถป้ องกันความเสียหายต่อระบบ การชุบด้ วยสังกะสีหรื อวิธีเคลือบด้ วย
โลหะบนส่วนของ Hydrostatic Release Unit จะไม่ได้ รับการยินยอม
5.3.2 การปล่อยอย่างอัตโนมัติของแพช่วยชีวิตที่ความลึกไม่เกิน 4 เมตร
5.3.3 มีการระบายน้ำ เพื่อป้องกันการสะสมของน้ำในช่องของ Hydrostatic ( Hydrostatic Chamber ) เมื่อระบบอยู่
ในตำแหน่งปกติ
5.3.4 ถูกสร้ าง โดยป้องกันการปล่อย เมื่อสร้ างด้ วยน้ำทะเลบนระบบของมัน
5.3.5 มีเครื่ องหมายแสดงอย่างถาวรภายนอก โดยบอกชนิดและเลขทะเบียน ( Serial Number )
5.3.6 จัดให้ มีเอกสารหรื อแผ่นแจ้ ง วันที่ผลิต ชนิดและเลขหมายประจำเครื่ อง
5.3.7 ส่วนต่างที่ผกู ติดกับระบบ Painter ต้ องมีความแข็งแรงไม่น้อยกว่าความต้ องการสำหรับ Painter

การแสดงเครื่องหมายบนแพช่ วยชีวิตแบบพองตัว
แพช่วยชีวิตจะต้ องมีเครื่ องหมาย
1 ชื่อผู้ผลิตหรื อชื่อการค้ า
2 เลขทะเบียน
3 วันที่ผลิต ( เดือนและปี )
4 ชื่อขององค์การที่อนุญาต
5 ชื่อของสถานที่ของสถานีบริ การที่ได้ ทำการตรวจครัง้ สุดท้ าย
6 จำนวนคนที่สามารถบรรจุได้ เหนือทางเข้ าแต่ละทางไม่น้อยกว่า 100
mm. ในความสูงด้ วยสีที่เด่นชัด
อุปกรณ์ ท่ มี อี ยู่ใน LIFE RAFT
1. FIRST AID KIT (กล่องใส่ยาสามัญต่าง ๆ)
2. Torch ไฟฉาย
3. Food ration อาหารแบบแพ็ค
4. Drinking cup แก้ วน้ำดื่ม
5. knife มีด
6. Rocket Parachute จรวดแบบพุ่งขึ ้นท้ องฟ้ า
7. SPONGE ฟองน้ำ
8. Fishing tickle อุปกรณ์ตกปลา
9. Red hand flares พลุมือสีแดง
10. flating mist signal เครื่ องทำสัญญาณหมอก
11. Bailer เครื่ องวิดน้ำ
12. Manual for survivors คูม่ ือสำหรับผู้รอดชีวิต
13. illustration for Survival Signal คำอธิบายสำหรับสัญญาณรอดชีวิต
14. mending Solution สารละลาย , ปะ, ซ่อม
15. Radar reflector อุปกรณ์สะท้ อนกลับไปยังเรดาร์ ของเรื อลำหนึง่
16. Scrape Flake พลุสญ ั ญาณ
17. Mending solution ผ้ าที่ใช้ สำหรับปะ ซ่อม
18. Painter เชือกผูกติดกับเรื อใหญ่
19. Sanded paper กระดาษทราย
20. Brush แปรง
22. Scissors กรรไกร
23. whistle นกหวีด
24. Daylight - Signaling สัญญาณใช้ กลางวัน (mirror)
25. Paddles พาย , ใบพัดน้ำ
26. Emergency plug (small) ปลัก๊ ฉุกเฉิน (เล็ก)
27. Emergency plug (large) ปลัก๊ ฉุกเฉิน (ใหญ่)
28. Inflator เครื่ องเป่ าลม
29. Fresh water tins ถุงน้ำจืด
30. Emergency repair clamp ปากกาสำหรับจับวัสดุซอ่ ม
31. Seawater wetivated cell or dry cells ที่ใส่แบตเตอรี่
32. Support of Radar effector เครื่ องมือช่วยในการสะท้ อนเรดาร์
33. sea anchor สมอทะเล

การปฏิบัตขิ อง LIFE RAFTS


1. การเก็บรักษา LIFE RAFT จะถูกเก็บไว้ ในกระเป๋ าหิ ้วขนาดเล็ก หรื อตู้อื่น ซึง่ เหมาะสมกับการประกอบไว้ ทงเรื ั ้ อ การเปิ ดและ
การปฏิบตั ิการดึงเชือกทางหัวของ LIFE RAFT HYDRO-STATIC ก็ปล่อยออกมา
2. การปล่อยลงน้ำ และการสามารถพองตัวของ LIFE RAFT
เมื่อ LIFE RAFTS ถูกปล่อยลงน้ำแล้ ว สาร HYDRO - STATIC ก็จะปฏิบตั ิพองตัวด้ วยระบบ AUTOMATIC ตามรูปร่างด้ วย
การช่วยเหลือของ CO2 + N2 ก๊ าซก็ถกู ปล่อยจากขวด CO2 + N2 LIFE RAFTS ควรติดตังให้ ้ สงู อย่างน้ อย 11 เมตร จากระดับน้ำทะเลดึง
สายปฏิบตั ิการท่อ cylinders ของก๊ าซก็จะปล่อยออกมาอย่างเร็ว ทำให้ LIFE RAFTS พองตัวตามขนาดรูปร่าง
3. เมื่อ LIFE RAFT พองตัวแล้ ว บุคคลที่ใส่ LIFE - Jackets แล้ วขึ ้นไปบน LIFE RAFTS ได้ โดยใช้ BOARDING LADDER
เกาะขึ ้นด้ านหน้ าของ LIFE RAFT และหกหลังเข้ าไปใน LIFE RAFT แต่ถ้าเรื อบางลำด้ านข้ างต่ำ ๆ ก็กระโดดเข้ ามาใน LIFE RAFT ได้ เลย
แต่ต้องระวังคนข้ างใน LIFE RAFT
4. บางครัง้ LIFE RAFT เมื่อพองตัวแล้ วคว่ำลง ดังนันจึ
้ งต้ องทำการดึง LIFE RAFT ให้ กลับมาด้ านหน้ า
5. เมื่อขึ ้นไปบน LIFE RAFT แล้ ว ก็ควรตัด Printer ที่ติดกับเรื อใหญ่ เพื่อไม่ให้ LIFE RAFT จมตามเรื อใหญ่
6. นำเอาพายออกมาพายจะต้ อง clear อย่างรวดเร็วภายใน LIFE RAFT อุปกรณ์ตา่ ง ๆ
7. ถอดเครื่ องเป่ าลมออกมาแล้ วทำการต่อกับท่อของเครื่ องเป่ าลมไปยังวาลว์ในพื ้นแล้ วเครื่ องเป่ าลมก็จะทำให้ พองตัวขึ ้น
8. แล้ วเอาเรดาร์ ออกมาจากกล่อง ทำการติดตังตามคู
้ ม่ ือ
ขัน้ ตอนในการปล่ อยแพชูชีพ (Liferaft)
(Launching Instruction For Liferaft)

1. ตรวจสอบให้ แน่นอนว่าเชือก Automatic Painter ได้ ผกู ยึดติดกับแท่นวางแพชูชีพเรี ยบร้ อยแล้ ว


(Ensure the automatic painter has been fastened to the cradle.)
2. ตรวจสอบให้ แน่นอนว่าเชือก Painter ได้ ผกู ยึดติดกับ Release unit เรี ยบร้ อยแล้ ว
(Ensure the painter has been fastened to the automatic release unit.)
3. ปลดสลัก “Safety lock” ออก
(Release the safety lock.)
4. ดึง “Launch shaft” ออก
(Pull out the launch shaft.)
5. ลงแพชูชีพด้ วยบันไดสละเรื อใหญ่
(Boarding to the liferaft by the Jacob’s ladder.)
6. ตัดเชือก “Painter” ออกด้ วยมีด
(Cut off the Painter by the knife.
วิธีการปล่ อย Rescue boat
1. ปลด Rescue boat lashing ออกทัง้ หมด
2. ปลดเสากัน้ ด้ นข้ างเรือออก
3. สตาร์ ทเครื่อง davit ที่ใช้ บังคับ Rescue boat ซึ่งจะควบคุม 2 ทิศทาง คือ
- swing Rescue boat โดยใช้ hydraulic เพื่อที่จะทำให้ Rescue boat ออกไปนอกเรือใหญ่
- hook ที่เกี่ยว Rescue boat เพื่อที่จะหย่ อน Rescue boat ลงน้ำ ซึ่งจะหย่ อนในแนวดิ่ง

LIFE JACKET ( เสือ้ ช่ วยชีวิต )

เสื ้อช่วยชีวิตจะต้ องมีลกั ษณะตามกฎของ SOLAS โดยต้ องจัดมีครบจำนวนคนที่อยู่บนเรื อและในส่วนเพิ่มนี ้


1. จำนวนของ Lifejackets สำหรับเด็กจะต้ องเท่ากับหรื ออย่างน้ อยที่สดุ 10% ของจำนวนผู้โดยสารบนเรื อที่สามารถ
จัดได้ หรื อมากกว่าเท่าที่จะจัดให้ มีได้ สำหรับเด็กแต่ละคน
2. จำนวนของ Lifejackets จะต้ องเพียงพอกับบุคคลที่ปฏิบตั ิหน้ าที่ในการเข้ ายามและสำหรับใช้ บนสถานีเรื อช่วยชีวิต
( Survival Craft Station )
2.2 Lifejackets จะต้ องเก็บในที่ ๆ มีความพร้ อมในการนำมาใช้ และตำแหน่งที่เก็บจะต้ องมีการแสดงอย่างกระจ่างชัด
ที่ไหนโดยขึ ้นอยู่กบั ส่วนประกอบการจัดของเรื อ Lifejackets จัดให้ มีตามข้ อกำหนดใน SOLAS อาจจะกลายเป็ นสิ่งที่ไม่สามารถนำมาใช้ ได้ โดย
ในการจัดหาจะต้ องนำมาซึ่งความพึงพอใจของสถาบันที่ซงึ่ อาจจะประกอบด้ วยการเพิ่มขึ ้นของจำนวน Lifejackets ที่จะต้ องถูกเก็บ

ส่ วนประกอบ LIFE JACKET


- ชื่อของเรื อ และเมืองท่าที่เรื อจดทะเบียน
- กระดาษสะท้ อนแสงติดอยู่ที่ LIFE FACKET
- นกหวีดหรื อสิ่งที่มีลกั ษณะเหมือนกัน สามารถทำให้ เกิดเสียงได้
- ไฟพร้ อมแบตเตอรี่ เก็บนานได้ 5 ปี จงึ เปลี่ยน
LIFEBUOYS ( ห่ วงช่ วยชีวิต )

พวงชูชีพถูกนำมาใช้ สำหรับกรณีฉกุ เฉินต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็ นการช่วยเหลือคนตกน้ำ หรื อแม้ แต่วา่ การสละเรื อใหญ่ก็ตาม พวงชูชีพที่
ใช้ บนเรื อมีอยู่ 3 แบบ ได้ แก่
1. พวงชูชีพที่มีไฟลอยน้ำและควันสัญญาณติดอยู่ด้วย (Lifebouy With Bouyant Light and Smoke Signal)
2. พวงชูชีพที่มีเชือกลอยน้ำและควันสัญญาณติดอยู่ด้วย (Lifebouy With Bouyant Line)
3. พวงชูชีพที่มีไฟลอยน้ำและสามารถติดได้ ด้วยตัวมันเอง (Lifebouy With Self-Igniting Light)

ห่ วงช่ วยชีวิตจะต้ องมีลักษณะตามกฎของ SOLAS ดังนี ้


1. จะต้ องจัดแบ่งให้ มีทงั ้ 2 กราบเรื อและบนดาดฟ้ าเปิ ดทังสองกราบเรื
้ อและอย่างน้ อยที่สดุ 1 อันติดตังไว้
้ ใกล้ ท้ายเรื อ
2. จะต้ องเก็บไว้ ในที่สามารถปลดออกได้ อย่างรวดเร็วและไม่มีความแน่นหนาในทุกที่
1.2 ห่วงช่วยชีวิตอย่างน้ อย 1 อันในแต่ละกราบจะต้ องพร้ อมกับเชือกช่วยชีวิตที่ลอยน้ำได้ ตามกฎของ SOLAS โดยมี
ความยาวเท่ากับไม่น้อยกว่า 2 เท่าของความสูงที่ซงึ่ เก็บห่วงช่วยชีวิต เหนือเส้ นแนวน้ำ ( Waterline ) ในสภาพที่สามารถปล่อยลงน้ำได้ สะดวก
หรื อ 30 เมตรหรื อที่ซงึ่ อย่างไรก็ตามมีความยาวกว่า
1.3 ไม่น้อยกว่า 11/2 ของห่วงช่วยชีวิตทังหมดจะต้
้ องจัดให้ มี Self Igniting Lights โดยเป็ นไปตามกฎข้ อ 31.2 ไม่น้อย
กว่า 2 อันจะต้ องจัดให้ มี Self Activating Smoke Signals โดยเป็ นไปตามกฎข้ อ 31.3 และสามารถถูกปล่อยได้ อย่างรวดเร็วจากชันสะพานเดิ ้ น
เรื อ ( Navigating Bridge ) ห่วงช่วยชีวิตพร้ อมสัญญาณไฟและสัญญาณควันจัดให้ มีทวั่ ไปทัง้ 2 กราบของเรื อในจำนวนที่เท่ากัน และไม่จำเป็ น
ต้ องจัดให้ มีเชือกช่วยชีวิต ( Lifelines ) ตามกฎของย่อหน้ า 1.2
1.4 ห่วงช่วยชีวิตแต่ละอันจะต้ องทำเครื่ องหมายด้ วยอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่ โดยมีชื่อเรื อและท่าที่จดทะเบียนเรื อ
( Port of Registry of the Ship )
1. ห่วงชูชีพ ( Lifebuoys )
1.1 เรื อบรรทุกสินค้ าจะต้ องบรรทุกห่วงชูชีพไม่น้อยกว่าจำนวนที่กำหนดไว้ ตามกฎข้ อ 7.1 และ 31 ดังได้ อธิบายไว้ ตาม
ตารางดังนี ้
ความยาวของเรื อหน่วยเป็ นเมตร จำนวนแพชูชีพต่ำสุด
ต่ำกว่า 100 8
100 และต่ำกว่า 150 10
150 และต่ำกว่า 200 12
200 และมากกว่า 14
1.2 Self Igniting Light สำหรับห่วงชูชีพบนเรื อน้ำมันตามกฎข้ อ 7.1.3 จำต้ องใช้ แบตเตอรี่ ชนิดไฟฟ้ า

3. Immersion Suits And Thermal Protective Aids


3.1 ย่อหน้ าที่บงั คับใช้ กบั เรื อสินค้ าทุกลำ ด้ วยเรื อสินค้ าที่ตอ่ ก่อน 1 ก.ค. 1986 และย่อหน้ านี ้จะไม่บงั คับใช้ หลังจาก 1
ก.ค. 1991
3.2 เรื อสินค้ าจะต้ องมี Immersion Suits อย่างน้ อยที่สดุ 3 ชุด สำหรับเรื อบดแต่ละลำบนเรื อตามข้ อกำหนดของกฎข้ อ
33 หรื อ ถ้ าได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่า จำเป็ นและปฏิบตั ิได้ ควรจะมี Immersion Suit ตามข้ อกำหนดของกฎข้ อ 33 สำหรับทุกคนบนเรื อ อย่างไร
ก็ตามเรื อจะต้ องมี Thermal Protective Aids ตามข้ อกำหนดตามกฎข้ อ 34 สำหรับบุคคลบนเรื อไม่ต้องจัดหาไว้ พร้ อม Immersion Suit
Immersion Suit และ Thermal Protective Aids ไม่จำเป็ นต้ องมีถ้าเรื อ
1. มีเรื อบดที่ปิดรอบทังหมด
้ ในแต่ละกราบของเรื อ ซึง่ ความจุรวมพอที่จะรองรับ จำนวนคนทังหมดบนเรื
้ อ หรื อ
2. มีเรื อบดที่เปิ ดรอบทังหมด
้ ( Totally Enclose Lifeboats ) สามารถทำการปล่อยลงน้ำด้ วยวิธีการปล่อยตกอย่าง
อิสระเหนือท้ ายเรื อ ซึง่ ความจุรวมต้ องสามารถรองรับ จำนวนคนทังหมดบนเรื ้ อและที่ซงึ่ อยู่บนเรื อ และถูกปล่อยอย่างตรง ๆ จากตำแหน่งที่เก็บ
รวมทังแพช่
้ วยชีวิตในแต่กราบของเรื อซึง่ มีความจุรวมพอที่จะรองรับจำนวนคนบนเรื อทังหมด ้ หรื อ
3. เป็ นเที่ยวการเดินทางที่มีสภาพอากาศอบอุ่นอยู่ตลอดเวลา ในความเห็นแล้ ว Immersion Suit ไม่จำเป็ นต้ องมี
3.3 เรื อสินค้ าต้ องปฏิบตั ิตามข้ อกำหนดของกฎข้ อ 26.1.3 จะต้ องมี Immersion Suit ตามกฎข้ อ 33 สำหรับบุคคลบน
เรื อทุกคน เว้ นแต่เรื อ
1. มี Davit Launched แพช่วยชีวิตหรื อ
2.มีแพช่วยชีวิตที่สามารถบริ การ โดยอุปกรณ์ที่เหมือนกัน โดยสามารถใช้ ได้ ทงสองกราบเรื ั้ อและที่ซงึ่ ไม่ต้องการให้ น ้ำ
เข้ าในแพช่วยชีวิต หรื อ
3. มีเที่ยวการเดินทางในสภาพอากาศที่อบอุ่นเสมอ ซึง่ ในความคิดแล้ วเห็นว่า Immersion Suit ไม่จำเป็ นต้ องมี
3.4 Immersion Suit ที่ต้องการโดยกฎข้ อนี ้อาจจะปฏิบตั ิตามกฎข้ อ 7.3 ก็ได้
3.5 เรื อบดที่ปิดรอบทังหมดที
้ ่อ้างถึงในย่อหน้ า 3.2.1 และ 3.2.2 ที่ถกู บรรทุกบนเรื อสินค้ าที่สร้ างก่อน 1 กค. 1986 ไม่
จำเป็ นต้ องปฏิบตั ิตามกฎข้ อ 44
Immersion Suits
1. ข้ อกำหนดทัว่ ไปสำหรับ Immersion Suits ( General Requirements For Immersion Suits )
1.1 Immersion Suit จะต้ องสร้ างด้ วยวัสดุกนน้ำ ั ้ ดังต่อไปนี ้
1.1.1 มันสามารถนำมาจากห่อและสวมใส่ โดยปราศจากการช่วยเหลือใน 2 นาที ถ้ านำมาใส่กบั ชุดอื่นและเสื ้อชูชีพ
ถ้ า Immersion Suit ถูกสวมใส่ร่วมกับเสื ้อชูชีพ
1.1.2 จะต้ องไม่ช่วยในการเผาไหม้ หรื อหลอมละลายภายหลังจากถูกห้ อมล้ อมในไฟเป็ นเวลา 2 วินาที
1.1.3 จะต้ องปกคลุมร่างกายทังหมด ้ ยกเว้ นใบหน้ า มือควรจะถูกปกคลุมด้ วยเว้ นแต่จะมีถงุ มือยึดติดมาด้ วยอย่าง
ถาวร
1.1.4 จำต้ องให้ มีการจัดการ เพื่อให้ ลดน้ อยต่ำที่สดุ ของอากาศหรื อลดลงของอากาศในขาของชุด
1.1.5 ต้ องสามารถกระโดดจากที่สงู ไม่น้อยกว่า 4.5 เมตร ลงน้ำโดยทีไ่ ม่มีน้ำเข้ าจำเกินควรในชุด
1.2 Immersion Suit ที่ปฏิบตั ิตามกฎข้ อ 32 ด้ วยอาจจะจัดอยู่ในเสื ้อชูชีพ
1.3 Immersion Suit จะต้ องให้ บคุ คลสามารถสวมใส่ได้ และสวมใส่พร้ อมเสื ้อชูชีพด้ วย ถ้ า Immersion Suit ถูกใส่กบั
เสื ้อชูชีพ ดังนี ้
1.3.1 ปี นขึ ้นและลงบันไดในทางตังยาวอย่้ างน้ อยที่สดุ 5 เมตร
1.3.2 ปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ อย่างปกติระหว่างสละเรื อ
1.3.3 กระโดดลงน้ำจากที่สงู ไม่น้อยกว่า 4.5 เมตร ปราศจากการเสียหายหรื อหลุดออกหรื อได้ รับบาดเจ็บและ
1.3.4 ว่ายน้ำในระยะทางสัน้ ๆ และขึ ้นบนเรื อช่วยชีวิต
1.4 Immersion Suit ที่ซงึ่ มีการลอยตัวและถูกออกแบบให้ สวมใส่ปราศจากเสื ้อชูชีพจะต้ องติดตังไฟได้ ้ ด้วย ตามข้ อ
ปฏิบตั ิของกฎข้ อ 32.3 และนกหวีดก็ได้ อธิบายตามกฎข้ อ 32.1.6
1.5 ถ้ า Immersion Suit ถูก สวมใส่ก บั เสื ้อชูช ีพ เสื ้อชูช ีพ จะต้ อ งสวมใส่ก บั ชุด Immersion Suit บุค คลที่ส วมใส่
Immersion Suit จะต้ องสามารถสวมใส่เสื ้อชูชีพ โดยปราศจากการช่วยเหลือ
2. ข้ อกำหนดการปฏิบตั ิเกี่ยวกับความร้ อนสำหรับ Immersion Suits ( Thermal Performance Requirements For Immersion
Suits )
2.1 Immersion Suit ผลิตด้ วยวัสดุที่ซงึ่ ไม่ป้องกันกระแสไฟฟ้ า โดยธรรมชาติจะต้ องเป็ นดังนี ้
2.1.1 ถูกแสดงด้ วยคำแนะนำที่ซงึ่ อาจจะถูกสวมใส่ร่วมกับชุดที่อบอุ่น
2.1.2 ถูกสร้ างโดย เมื่อสวมใส่ร่วมกับชุดที่อบอุ่นและร่วมกับเสื ้อชูชีพ ถ้ า Immersion Suit ถูกสวมใส่กบั เสื ้อชูชีพ
Immersion Suit มีการป้องกันอุณหภูมิอย่างเพียงพอติดต่อกัน โดยผู้สวมใส่กระโดดลงน้ำจากที่สงู 4.5 เมตร เพื่อแสดงความแน่ใจว่าสวมใส่ได้
เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมงในสภาพของน้ำที่ไม่มีคลื่นลมที่อณ ุ หภูมิ 5 ํC โดยอุณหภูมิของร่างกายของผู้สวมใส่จะต้ องไม่ลดลงเกิน 2 ํC
2.2 Immersion Suit ที่ผลิตด้ วยวัสดุที่ป้องกันกระแสไฟฟ้ า โดยธรรมชาติ เมื่อถูกสวมใส่โดยตัวของชุดเองหรื อกับเสื ้อ
ชูชีพไม่อย่างใดก็อย่างหนึง่ ถ้ า Immersion Suit ถูกสวมใส่ร่วมกับเสื ้อชูชีพจะต้ องให้ ผ้ สู วมใส่ป้องกันอุณหภูมิได้ อย่างเพีย งพอ โดยที่เมื่อ
กระโดดลงน้ำจากที่สงู 4.5 เมตร โดยที่แน่ใจได้ วา่ อุณหภูมิของร่ างกายผู้สวมใส่ไม่ลดเกินกว่า 2 ํC หลังจากผ่านไป 6 ชัว่ โมงที่อยู่ในสภาพทะเล
ที่สงบนิ่งซึง่ อุณหภูมิอยู่ในช่วง 0 ํC และ 2 ํC
2.3 Immersion Suit จะต้ องให้ บคุ คลที่สวมใส่ได้ รับการปกคลุมมือเพื่อหยิบดินสอและเขียนได้ หลังอยู่ในน้ำที่อณ ุ หภูมิ
5 ํC เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง
3. ข้ อกำหนดการลอยตัว ( Buoyancy Requirements )
บุคคลทีส่ วมใส่ Immersion Suit หรื อใส่ Immersion Suit ร่วมกับเสื ้อชูชีพ ในน้ำจืดไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง จะต้ องสามารถพลิกหน้ า
จากสภาพที่คว่ำสูส่ ภาพที่หงายขึ ้นในเวลาไม่เกิน 5 วินาที

4. ชุดช่ วยเหลือการป้องกันอุณหภูมิ ( Thermal Protective Aids )


1. Thermal Protective Aid จะต้ อ งถูกผลิต ด้ ว ยวัสดุก นน้ำซึ ั้ ง่ มีล กั ษณะการนำความร้ อ นไม่เ กิน 0.25 N/(m.k) และจะต้ อ งมี
โครงสร้ าง เมื่อใช้ จะต้ องล้ อมรอบตัวบุคคล จะต้ องลดการพาความชื ้นและการสูญเสียความร้ อนจากตัวผู้สวมใส่
2. Thermal Protective Aid จะต้ อง
2.1 ปกคลุมทุกส่วนของร่างกายของบุคคลที่สวมใส่เสื ้อชูชีพเว้ นแต่ใบหน้ า มือจะต้ องได้ รับการปกคลุมด้ วยเว้ นแต้ ได้ มี
ถุงมืออย่างถาวรมาให้ ด้วย
2.2 สามารถนำออกจากห่อและสวมใส่ได้ สะดวกปราศจากการช่วยเหลือในเรื อช่วยชีวิตหรื อเรื อกู้ภยั
2.3 ทำให้ ผ้ สู วมใส่เคลื่อนที่ไปในน้ำได้ ไม่เกิน 2 นาที ถ้ ามันทำให้ เสียความสามารถในการว่ายน้ำ
3. Thermal Protective Aid จะต้ องเกี่ยวข้ องกับหน้ าที่ในการผ่านอุณหภูมิของอากาศในช่วง -30 ํ C ถึง +20 ํC
3.1 Thermal Protective Aids ตามทีไ่ ด้ อธิบายในกฎข้ อ III/30.2.6 มีสีที่สามารถมองเห็นได้ ชดั อย่างไรก็ตามสถาบัน
อาจจะยอมรับสีอื่นที่ถกู ใช้ กบั Thermal Protective Aid ซึง่ ไม่น่าจะใช้ ในน้ำได้
3.2 Thermal Protective Aid จะสามารถถูกสวมใส่ โดยบุคคล โดยไม่คำนึงถึงขนาด
5. Rocket Parachute Flares
มี 3 ชนิด ได้ แก่
Parachute Rockets จำนวน : 12 อัน บนสะพานเดินเรื อ
Rocket จำนวน : 4 อัน บนเรื อช่วยชีวิต
Line Throwing Apparatus จำนวน : 4 อัน บนสะพานเดินเรื อ
Smoke Signal Orange จำนวน : 4 อัน บนเรื อช่วยชีวิต
Red Hand Flares จำนวน : 6 อัน บนเรื อช่วยชีวิต

1. Rocket Parachute Flares จะต้ องมีลกั ษณะดังนี ้


1.1 ถูกบรรจุในกล่องที่กนน้ำ
ั้
1.2 มีแนะนำอย่างสัน้ ๆ และแผ่นภาพที่แสดงอย่างแจ่มชัดในการใช้ Rocket Parachute Flare พิมพ์ติดไว้ ที่กล่อง
1.3 มีความหมายอย่างเดียวกับคำว่าการจุดให้ ลกุ
1.4 จะต้ องถูกออกแบบไม่นำมาซึง่ ความไม่สะดวกแก่บคุ คลที่คือ เมื่อนำมาใช้ ตามคำแนะนำของผู้ผลิต
2. Rocket จะต้ องมีประกายไฟพุ่งในทางตังสู ้ งไม่น้อยกว่า 300 เมตร ที่หรื อใกล้ จดุ สูงสุดของวิถีกระสุน Rocket จะ
ต้ องปล่อย Parachute Flare ( ร่มชูชีพ ) ที่ซงึ่ จะ
2.1 ไหม้ เป็ นประกายสีแดง
2.2 ไหม้ มคี วามเข้ มแสงเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 30,000 cd
2.3 มีเวลาในการเผาไหม้ ไม่น้อยกว่า 40 วินาที
2.4 มีอตั ราของตกต่ำลงไม่มากกว่า 5 เมตร/วินาที
2.5 ไม่ทำลายร่มชูชีพของมัน หรื อยึดติดขณะเผาไหม้
6. Hand Flares
1. Hand Flares จะต้ องมีลกั ษณะดังนี ้
1.1 ถูกบรรจุในกล่องกันน้ำ

1.2 มีคำแนะนำอย่างสัน้ ๆ หรื อแผนภาพที่แสดงอย่างชัดเจน ถึงวิธีการใช้ ของ Hand Flare พิมพ์ติดไว้ ที่ข้างกล่อง
1.3 การบรรจุด้วยตัวเอง หมายความถึงการจุดให้ ลกุ
1.4 มีการออกแบบที่ไม่นำมาซึง่ ความไม่สะดวกของผู้ใช้ ขณะถือและไม่ ทำให้ เรื อช่วยชีวิตอยู่ในอันตราย โดยการเผาไหม้ สว่ นที่
เหลือจากการเผาไหม้ เมื่อถูกใช้ ตามคำแนะนำของผู้ผลิต
2. Hand Flare จะต้ องมีลกั ษณะดังนี ้
2.1 ไหม้ พร้ อมกับเปล่งแสงสีแดง
2.2 ต้ องมีการเผาไหม้ ที่ให้ ความเข้ มของการส่องสว่างเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 15,000 แรงเทียน
2.3 มีระยะเวลาในการเผาไหม้ ไม่น้อยกว่า 1 นาที
เผาไหม้ ได้ ติดต่อกันภายหลังจมลงในน้ำเป็ นเวลา 10 วินาทีที่ความลึก 100 มิลลิเมตร

7. Buoyant Smoke Signals


1. Buoyant Smoke Signal จะต้ องมีลกั ษณะดังนี ้
1.1 บรรจุอยู่ในกล่องกันน้ำ

1.2 จะต้ องไม่ทำให้ เกิดการจุดระเบิด เมื่อถูกใช้ ตามคำแนะนำการใช้ ของผู้ผลิต
1.3 มีคำแนะนำอย่างสัน้ ๆ หรื อแผนภาพที่ดีแสดงอย่างชัดเจน ในการใช้ Buoyant Smoke Signal พิมพ์ไว้ ที่ข้างกล่อง
2. Buoyant Smoke Signal จะต้ อง
2.1 ปล่อยควันด้ วยสีที่สามารถมองเห็นได้ ชดั ในอัตราปกติเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 3 นาที เมื่อลอยอยู่ในทะเลที่สงบ
2.2 ไม่ปล่อยเปลวไฟระหว่างเวลาที่ปล่อยทังหมด ้
2.3 ต้ องไม่ถกู ท่วมในน้ำทะเล
2.4 ต้ องปล่อยควันติดต่อกัน เมื่อจมอยู่ในน้ำเป็ นเวลา 10 วินาทีที่น้ำลึก 100 มิลลิเมตร
11. Radio Life Saving Appliances ( อุปกรณ์ วิทยุช่วยชีวิต )
1 วิทยุโทรศัพท์ 2 ทางแบบ VHF ( Two Way VHF Radiotelephone Apparatus ) เรื อจะต้ องจัดให้ มีวิทยุโทรศัพท์ 2 ทางแบบ
VHF อย่างน้ อยที่สดุ 3 เครื่ องบนเรื อโดยสารทุกลำและเรื อสินค้ าทุกลำที่มีขนาดตังแต่ ้ 500 tons gross tonnage ขึ ้นไปและอย่างน้ อยที่สดุ 2
เครื่ อ งสำหรับ เรื อ สิน ค้ า ทุก ลำที่ม ีข นาดตังแต่
้ 300 tons gross tonnage ขึ ้นไปแต่น้ อ ยกว่า 500 tons gross tonnage อุป กรณ์จ ะต้ อ งมี
มาตรฐานไม่ต่ำกว่าที่องค์กรนำมาใช้ ถ้ าติดตังวิ ้ ทยุโทรศัพท์ 2 ทางแบบ VHF ในเรื อช่วยชีวิต
2 Radar Transponders อย่างน้ อยที่สดุ จะต้ องจัดให้ มี Radar Transponder บนเรื อโดยสารกราบละ 1 อันและเรื อสินค้ าที่มี
Gross/Tons อยู่ระหว่าง 300 ตันแต่ไม่ถึง 500 ตัน บังคับให้ มีอย่างน้ อย 1 อัน
Radar Transponders จะต้ องมีมาตรฐานไม่ต่ำกว่าที่นำมาใช้ โดยองค์การและจะต้ องจัดเก็บในตำแหน่งที่สามารถเคลื่อนย้ ายได้
สะดวกและรวดเร็วในเรื อช่วยยชีวิต แพช่วยชีวิต
3.On Board Communications And Alarm Systems ( การสื่อสารบนเรื อและระบบสัญญาณเตือนภัย )
ระบบสัญญาณเตือนภัยฉุกเฉิน โดยทัว่ ไปยินยอมให้ ปฏิบตั ิตามกฎข้ อ 50 จะต้ องจัดให้ มีและเคยใช้ สำหรับเรี ยกผู้โดยสารและลูก
เรื อสำหรับสถานีฉกุ เฉินและการกระทำต่าง ๆ ในรายชื่อเรื อ ระบบดังกล่าวจะต้ องมีสว่ นประกอบโดยมีตำแหน่งโดยทัว่ ไป หรื อความหมายอื่น ๆ
ของการสื่อสารอย่างใดอย่างหนึ่ง
ระบบกระจายเสียงสาธารณะ ตำแหน่งโดยทัว่ ไปจะต้ องมีการติดตังลำโพงที ้ ่สามารถกระจายเสียงข้ อความไปยังที่ตา่ ง ๆ ที่ซงึ่ ลูก
เรื อหรื อผู้โดยสารหรื อทังสองอยู
้ ่เป็ นประจำ โดยยินยอมให้ มีการส่งข้ อความจากสะพานเดินเรื อหรื อในที่ตา่ ง ๆ บนเรื อ ตามที่สถาบันหรื อองค์กร
เห็นสมควร โดยการติดตังจะต้ ้ องพิจารณาถึงขอบเขตความเหมาะสมและไม่ต้องการการกระทำจากผู้ร่วมอาศัย โดยจะต้ องสามารถป้องกันการ
ต่อต้ านจากผู้ไม่มีสิทธิ
12.EPIRB (Emergency position INDICATOR RADIO BACON)
ตำแหน่ง: ปี กสะพานเดินเรื อกราบซ้ าย
จำนวน: 1 ชุด
Transponders)เป็ นเครื่ องช่วยชีวิต
ระบบการค้ นหา และช่วยชีวิตจากดาวเทียม เป็ นเครื่ องมือที่ทนั สมัยที่สดุ เมื่อเกิดเหตุการณ์ประสบภัยอันตรายขึ ้นใน
ทะเล ก็หมุนสวิทซ์ของ EPIRB ไปที่ ON EPIRB ก็จะเริ่ มส่ง LAT & LONG ขึ ้นไปยังดาวเทียม ดาวเทียมก็จะส่งต่อไปยัง
กระโจมวิทยุฝั่งที่ใกล้ ที่สดุ เพื่อขอความช่วยเหลือก็สามารถรู้ ตำแหน่งของผู้ประสบภัยทางทะเลได้ อย่างถูกต้ องและรวดเร็ว

ส่วนประกอบของ EPIRB
1. FLEXIBLE ANTENNA เสาอากาศ
2. HATERPROOF TEST SWITCH (PUSH BUTOM) สวิทซ์การทดสอบ EPIRB
3. TRANSMITING INDICATOR LIGHT ไฟแสดงการส่งสัญญาณเมื่อ TURN SWITCH “ON”
4. SPACER RINGS ใต้ สดุ ที่มีรอยต่อของแบตเตอรี่ กบั ตัวส่งสัญญาณ
5. BRIDLE สายทีผ่ กู ติดบางครัง้ อาจจะชำรุดของรอยต่อ
6. LANYARD เชือกที่ผกู ติดกับเรื อเพื่อแสดงตำบลที่จมของเรื อ
7. BOTTOM CAP (REMOVEABLE FOR BATTERY REPLACEMENT) ที่ใส่แบตเตอรี่
ลักษณะทัว่ ไปของ EPIRB
- FREQUENCY 121.5 AND 243.0 MHz
- OPERATING LIFE 48 ชม. อุณหภูมิต่ำที่สดุ ที่ -20 ํ C แต่จะใช้ ได้ นานขึ ้นเมื่ออุณหภูมิมากกว่านี ้
- Battery Magnesium battery 3 ปี จะต้ องถูกเปลี่ยน
- Operational Retention ใช้ เชือกผูกติดกับบุคคลที่อยู่ในแพช่วยชีวิต หรื อยานพาหนะที่รอดชีวิต
- TEMPARATURE -20 ํ C 10 + 55 ํC C + 4 ํ F to + 13 1 ํF)

การปฏิบัตงิ านของ EPIRB


- EPIRB สามารถปฏิบตั ิงานโดยอัตโนมัติหรื อ “MANUALLY ACITVATED” สามารถถูกทดสอบการปฏิบตั ิการและถูกกระทำ
สำหรับการบำรุงรักษา
1. AUTOMATIC ACTIVATION
“AUTO” ตำแหน่ง EPIRB จะส่งสัญญาณโดยอัตโนมัติ จากตัวของ EPIRB โดยความดันของน้ำ
2. MANUAL ACTIVATION
ใช้ สำหรับเหตุการณ์ที่หนักหนาและอันตรายจริ ง ๆ เพียงอย่างเดียว
การป้องกันการหยุดของ EPIRB MODE สวิทซ์ “MANUAL” ตำแหน่ง EPIRB จะส่งสัญญาณเตือนให้ ระวังและหมุนสวิทซ์มายัง
“OFF”
3. TESTING THE EPIRB
การทดสอบ EPIRB โดยหมุนสวิทซ์ไปที่ “TEST” EPIRB ก็จะแสดงไฟสีเขียว การทดสอบนี ้ ควรทำทุกเดือน
4. การบำรุงรักษาจะอยู่ที่ MODE “OFF” ของตำแหน่ง
PORTABLE LIFT BOAT RADIO
- เป็ นเครื่ องมือส่งสัญญาณโดยใช้ รหัสมอร์ ส ประจำอยู่ในเรื อบด โดยนายวิทยุของเรื อจะเป็ นผู้ดแู ลรับผิดชอบในการส่งคลื่น
ความถี่ โดยการขอความช่วยเหลือ
- เก็บไว้ อยู่บนสะพานเดินเรื อ
- การติดต่อสื่อสาร จะส่งข่าวประสบภัยอันตราย ต้ องได้ รับอนุญาตจากนายเรื อก่อน หรื อบุคคลที่รับผิดชอบในเรื อ
1. alarm signal จะต้ องส่งสัญญาณโดย AUTO KEYER สัญญาณ AUTO KEYER จะประกอบด้ วย 3 รอบ ของสัญญาณ
ALARM ดังนี ้
+ SOS สำหรับความถี่ 500 HZ และ 8964 KHZ
+ MAYDAY สำหรับความถี่ 2182 KHZ
2. การเรี ยก Station
Dequemce A2 500,8364 KHZ A3 2182 KHZ NO.OF TIME
1 SOS ... - - - ... MAYDAY 3 ครัง้
2 DE --.. . THISIS 1 ครัง้
3 STATION’S CALL SIGN STATION’S CALL SIGN 3 ครัง้

การส่งข่าวต้ องส่งตามลำดับดังนี ้
1. สัญญาณประสบภัย SOS (telegraph) หรื อ MAYDAY (radio phone)
2. ชื่อหรื ออย่างอื่นที่มีลกั ษณะเหมือนกัน ของสถานีเรื อที่ประสบอันตราย
3. ตำแหน่งที่มีลกั ษณะพิเศษของสถานที่ ชนิดของความช่วยเหลือที่ปรารถนา และท่าอื่น ๆ ซึง่ ต้ องการความช่วยเหลือชีวิตที่ ทำได้
ง่ายต่อการสื่อสาร
4. หลังจากส่งข่าวประสบอันตรายแล้ ว สถานีเรื อจะต้ องส่งสัญญาณดังนี ้
1. ส่ง 2 doshes ระยะห่างกัน 10-15 วินาที
2. call sign ของสถานีที่ประสบอันตราย

2. ชุดป้องกันสารเคมี
ชุดป้องกันสารเคมี ใช้ สำหรับป้องกันอันตรายต่อการสัมผัสสารเคมีในลักษณะต่างๆ ทังที ้ ่เป็ นฝุ่ น ไอระเหย ความชื ้น สารละลาย
กัดกร่อนต่างๆ เช่น กรด-ด่าง เป็ นต้ น การเลือกใช้ ชดุ ป้องกันสารเคมีก็จะต้ องพิจารณาถึงชนิดของสารเคมีที่จะสัมผัสนันๆ ้ ชุดป้องกันสารเคมี
แบ่งได้ เป็ นหลายลักษณะ ดังนี ้
(a) ผ้ าคลุมหน้ าอกและลำตัว
(b) ชุดแยกส่วนที่ประกอบด้ วยเสื ้อคลุมและกางเกง
(c) ชุดเดียวตลอดทังตั ้ วจากคอถึงเท้ า
(d) ชุดเดียวตลอดทังตั ้ วจากคอถึงเท้ า พร้ อมทังมี
้ การเป่ าอากาศช่วยหายใจ
การสวมชุดป้องกันสารเคมีจะสามารถป้องกันในเฉพาะส่วนของลำตัว แขนและขาเท่านัน้ การจะป้องกันสารเคมีให้ ครอบคลุมทุก
ส่วนของร่างกาย จำเป็ นต้ องใช้ ควบคูก่ บั อุปกรณ์ป้องกันอันตรายอื่นๆ เช่น แว่นตา กระบังป้องกันใบหน้ า ถุงมือ รองเท้ า เป็ นต้ น
วัสดุที่ใช้ ทำชุดป้องกันสารเคมี ได้ แก่ ยางธรรมชาติโอลิฟีน ยางสังเคราะห์ นิโอฟรี น ไวนิล โพลีโปรไพลีน และโพลีเอททิลีน
เป็ นต้ น
การบำรุงรักษาชุดป้องกันเฉพาะงาน
1. ทำความสะอาดทุกครัง้ หลังจากเลิกใช้ งาน
2. ทำความสะอาดตามคำแนะนำที่มีมาพร้ อมกับเครื่ องมือ เช่น ชุดป้องกันความร้ อนที่ฉาบด้ วยอะลูมิเนียม ต้ องทำความสะอาดด้ วยสารเคมี
บางประเภท
3. จัดเก็บในสถานที่ที่เหมาะสม
นำมาตรวจเช็คสภาพตามระยะเวลากำหนด

You might also like